หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4...

26
การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการข้อกาหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบรายละเอียด สาหรับก่อสร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝ่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง SEATEC-SPAN-DEC 5 - 1 หมวดที5 : งานคอนกรีต 5.1 คอนกรีตสาหรับงานโครงสร้างท่าเทียบเรือ 5.1.1 ทั่วไป (1) คอนกรีตที่ระบุในหมวดนี้หมายถึงคอนกรีตทะเล ใช้สาหรับก่อสร้างโครงสร้างท่าเทียบเรือ และงานคอนกรีตโครงสร้างปิดทับหน้าลาดตล่ง ซึ่งต้องเสร็จสมบูรณ์และเป็นไปตามแบบรายละเอียดก่อสร้างและ ข้อกาหนดอย่างเคร่งครัด และเป็นไปตามข้อกาหนดและสภาวะต่างๆ ของสัญญา (2) หากมิได้ระบุในแบบรายละเอียดก่อสร้างและข้อกาหนดรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับองค์อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็กและงานคอนกรีตทั้งหมดให้เป็นไปตาม “มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก” ของ AMERICAN CONCRETE INSTITUTE ACI 318 และตามเงื่อนไขข้อกาหนดงานก่อสร้าง ถ้ามีข้อกาหนดขัดแย้งกันให้ อ้างอิงข้อกาหนดงานก่อสร้างเป็นหลัก การเก็บตัวอย่างและทดสอบคอนกรีตให้เป็นไปตามมาตรฐาน ดังนี(1) วิธีทดสอบกาลังอัดของแท่งทรงกระบอกคอนกรีต ASTM C39 (2) วิธีทาและการบ่มชิ้นตัวอย่างคอนกรีตรับแรงดันในสนาม ASTM C31 (3) การทดสอบ OBTAINING AND TESTING DRILLED CORES AND SAWED BEAMS OF CONCRETE ASTM C42 (4) คุณภาพน้าในคอนกรีต AASHTO T26 (5) การวิเคราะห์ขนาด (SIEVE ANALYSIS) ของมวลรวมหยาบและละเอียด ASTM C136 (6) ค่าความถ่วงจาเพาะ (SPECIFIC GRAVITY) และการดูดน้ามวลละเอียด ASTM C128 (7) ค่าความถ่วงจาเพาะ (SPECIFIC GRAVITY) และการดูดน้ามวลหยาบ ASTM C127 (8) วิธีทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต ASTM C143 (9) หน่วยน้าหนัก และปริมาณอากาศในคอนกรีต ASTM C138 (10) วิธีทาและบ่มชิ้นตัวอย่างคอนกรีตสาหรับใช้ทดสอบแรงอัดและแรงดัด ASTM C192 (11) การเก็บตัวอย่างคอนกรีตสด ASTM C172 (12) ปริมาณอากาศในคอนกรีตที่ผสมใหม่ด้วยวิธีบีบอัด ASTM C231 5.1.2 วัสดุที่ใช้ผสมคอนกรีต จะต้องมีคุณสมบัติดังนี(1) ปูนซีเมนต์ ปูนซีเมนต์ที่จะนามาใช้ในการผสมคอนกรีต จะต้องเป็นปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 แทนที่ด้วย FLY ASH และ/หรือ SILICA FUME ร้อยละ 25 ถึงร้อยละ 40 ของน้าหนักปูนซีเมนต์ ตามมาตรฐานวัสดุและ การก่อสร้างของ วสท. (1014-46) ชั้นคุณภาพ 2ก หรือชั้นคุณภาพ 2ข ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Upload: others

Post on 01-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 1

หมวดที ่5 : งานคอนกรีต

5.1 คอนกรีตส าหรับงานโครงสร้างท่าเทียบเรือ

5.1.1 ทั่วไป

(1) “คอนกรีต” ที่ระบุในหมวดนี้หมายถึงคอนกรีตทะเล ใช้ส าหรับก่อสร้างโครงสร้างท่าเทียบเรือ และงานคอนกรีตโครงสร้างปิดทับหน้าลาดตลิ่ง ซึ่งต้องเสร็จสมบูรณ์และเป็นไปตามแบบรายละเอียดก่อสร้างและข้อก าหนดอย่างเคร่งครัด และเป็นไปตามข้อก าหนดและสภาวะต่างๆ ของสัญญา

(2) หากมิได้ระบุในแบบรายละเอียดก่อสร้างและข้อก าหนดรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กและงานคอนกรีตทั้งหมดให้เป็นไปตาม “มาตรฐานส าหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก” ของ AMERICAN CONCRETE INSTITUTE ACI 318 และตามเงื่อนไขข้อก าหนดงานก่อสร้าง ถ้ามีข้อก าหนดขัดแย้งกันให้อ้างอิงข้อก าหนดงานก่อสร้างเป็นหลัก

การเก็บตัวอย่างและทดสอบคอนกรีตให้เป็นไปตามมาตรฐาน ดังนี้

(1) วิธีทดสอบก าลังอัดของแท่งทรงกระบอกคอนกรีต ASTM C39

(2) วิธีท าและการบ่มชิ้นตัวอย่างคอนกรีตรับแรงดันในสนาม ASTM C31

(3) การทดสอบ OBTAINING AND TESTING DRILLED CORES AND

SAWED BEAMS OF CONCRETE ASTM C42

(4) คุณภาพน้ าในคอนกรีต AASHTO T26

(5) การวิเคราะห์ขนาด (SIEVE ANALYSIS) ของมวลรวมหยาบและละเอียด ASTM C136

(6) ค่าความถ่วงจ าเพาะ (SPECIFIC GRAVITY) และการดูดน้ ามวลละเอียด ASTM C128

(7) ค่าความถ่วงจ าเพาะ (SPECIFIC GRAVITY) และการดูดน้ ามวลหยาบ ASTM C127

(8) วิธีทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต ASTM C143

(9) หน่วยน้ าหนัก และปริมาณอากาศในคอนกรีต ASTM C138

(10) วิธีท าและบ่มชิ้นตัวอย่างคอนกรีตส าหรับใช้ทดสอบแรงอัดและแรงดัด ASTM C192

(11) การเก็บตัวอย่างคอนกรีตสด ASTM C172

(12) ปริมาณอากาศในคอนกรีตที่ผสมใหม่ด้วยวิธีบีบอัด ASTM C231

5.1.2 วัสดุที่ใช้ผสมคอนกรีต

จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้

(1) ปูนซีเมนต์

ปูนซีเมนต์ที่จะน ามาใช้ในการผสมคอนกรีต จะต้องเป็นปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 แทนที่ด้วย FLY ASH และ/หรือ SILICA FUME ร้อยละ 25 ถึงร้อยละ 40 ของน้ าหนักปูนซีเมนต์ ตามมาตรฐานวัสดุและการก่อสร้างของ วสท. (1014-46) ชั้นคุณภาพ 2ก หรือชั้นคุณภาพ 2ข ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Page 2: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 2

ที่ มอก. 15-2514 เป็นปูนซีเมนต์ที่ใหม่และแห้ง ไม่จับตัวเป็นก้อนปูน ซีเมนต์ที่น ามาส่งถึงที่ก่อสร้างแล้วจะต้องน าไปเก็บไว้ในโรงเก็บ ยกพื้นสูงจากพื้นดิน มีหลังคาคลุมเรียบร้อย เพื่อป้องกันฝนและความชื้น

(2) ทราย

ทรายที่ใช้ ให้ใช้ทรายธรรมชาติ ได้แก่ ทรายน้ าจืด หรือทรายบกที่หยาบคม แข็งแกร่งสะอาด ปราศจากผง ฝุ่น ดิน เถ้าถ่าน เปลือกหอย หรืออินทรีย์สารอ่ืนๆ และจะต้องไม่มีกรด ด่างหรือเกลือเจือปน โดยเมล็ดทรายต้องแข็งแกร่งมีแง่มุม และมี GRADATION ดังนี้

ขนาดตะแกรง %ที่ผ่านมา

3/8” 100

NO.4 95-100

NO.8 80-100

NO.16 50-85

NO.30 25-60

ขนาดตะแกรง %ที่ผ่านมา

NO.50 10-30

NO.100 2-10

(3) หิน

หินที่จะน าไปใช้ในการผสมคอนกรีต จะใช้ขนาด 2 ขนาดคือหินหนึ่งและหินสอง การใช้หินแต่ละขนาดนี้ให้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะและขนาดของงาน โดย “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็นผู้พิจารณาและก าหนดให้ใช้ หินที่จะน ามาใช้ต้องเป็นหินทีแ่กร่ง มีเหลี่ยมคม สะอาด ไม่เป็นหินหยาบ ดูดซึมน้ าได้เกินกว่าร้อยละ 10 โดยน้ าหนัก หลักจากแช่ทิ้งเป็นเวลา 24 ชั่วโมง และหินทั้งสองขนาดนี้จะต้องมี GRADATION ดังนี้

ขนาดตะแกรง %ที่ผ่าน

หินหนึ่ง หินสอง 2”

1 ½” 1”

2/4” ½”

3/8” NO.4 NO.8

- -

100 90-100

- 20-55 0-10 0-5

100 95-100

- 35-70

- 10-30

0-5 -

Page 3: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 3

(4) น้ า

น้ าที่ใช้ผสมคอนกรีต เป็นน้ าดี ใสสะอาด ปราศจากน้ ามัน กรด ด่าง เกลือ และสิ่งสกปรก ห้ามใช้น้ าทะเล น้ าจากคู คลอง หรือแหล่งน้ าอื่นใดๆก่อนได้รับอนุญาต โดยผ่านการทดสอบมาตรฐาน AASHTO T26

อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 แทนที่ด้วย FLY ASH และ/หรือ SILICA FUME เท่ากับ 0.5

(5) สารผสมเพิ่ม (ADMIXTURES)

สารผสม หมายถึง สารที่ผสมเพิ่มเติมเข้าไปในคอนกรีต นอกเหนือไปจากปูน ทราย หิน และน้ าเพื่อเพิ่มคุณสมบัติบางประการให้กับคอนกรีตเพื่อให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการ

สารผสมเพิ่มไม่ควรใส่นอกจากได้รับการอนุมัติจาก “ผู้ควบคุมงาน” โดย “ผู้รับจ้าง” ต้องเสนอตัวอย่างสารผสมเพิ่มต่อ “ผู้ควบคุมงาน” ก่อนจะทดสอบส่วนผสมคอนกรีต

สารผสมเพื่อลดปริมาณความร้อน

เนื่องจากการเทคอนกรีตโครงสร้างขนาดใหญ่ที่มีความหนามากหรือมีปริมาณการเทในแต่ละครั้งเป็นจ านวนมาก จะท าให้ความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยา HYDRATION มีปริมาณสูงมาก ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการแตกร้าวได้ จึงจ าเป็นต้องมีการผสมสารพิเศษเพิ่มในคอนกรีตนอกเหนือจากส่วนผสมตามปกติแล้วเพื่อลดความร้อน สารผสมดังกล่าวที่นิยมใช้ในประเทศไทย คือ PFA (PULVERIZED FUEL ASH) สารผสมดังกล่าวจะใช้ผสมแทนปูนซีเมนต์ในสัดส่วนที่เหมาะสมแล้วแต่ความต้องการในด้านอุณหภูมิ

ส าหรับคอนกรีตความร้อนต่ า (LOW HEAT CONCRETE) ที่จะน ามาใช้ในโครงการนี้ก าหนดให้ใช้กับการเทคอนกรีตโครงสร้างที่มีความหนามากหรือมีปริมาณการเทครั้งละมากๆ โดย “ผู้รับจ้าง” จะต้องเสนอชนิดและปริมาณสารผสมเพิ่มพร้อมกรรมวิธีอ่ืนๆ ในการผสมคอนกรีต ให้ “ผู้ควบคุมงาน” พิจารณาอนุมัติก่อนจึงจะด าเนินการได้

น้ ายากันซึม

น้ ายากันซึมเป็นน้ ายาที่ใช้ผสมคอนกรีตเพื่อเพิ่มคุณสมบัติของคอนกรีตไม่ให้ดูดซึมน้ า งานคอนกรีตในส่วนของอาคารที่ระบุไว้ข้างล่างนี้จะต้องผสมด้วยน้ ายากันซึม

- คอนกรีตที่ใช้กับพื้นห้องน้ า ระเบียง กันสาด รางน้ า หลังคา ดาดฟ้าและอื่นๆ ที่ต้องถูกฝนหรือเปียกน้ าในขณะใช้งาน

- พื้นชั้นล่างภายในอาคาร ในส่วนที่พื้นต้องสัมผัสกับดินยกเว้นพื้นที่มีความหนาเกินกว่า 25 ซม.

- คอนกรีตที่ใช้เทถังน้ า ทั้งถังน้ าใต้ดิน บนดิน และบนหลังคา

- คอนกรีตที่ใช้เทสถานีสูบน้ า

- ส่วนอื่นๆ ของอาคารที่ได้ระบุไว้ในแบบ หรือรายการก่อสร้างว่าให้ผสมน้ ายากันซึม

น้ ายากันซึมที่น ามาใช้จะต้องมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ เช่น ASTM, BS CODE หรือ มาตรฐานอื่นๆ เทียบเท่า

Page 4: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 4

น ายาเร่งก าลังคอนกรีต

น้ ายาเร่งก าลังคอนกรีตเป็นน้ ายาที่ใช้ในกรณีที่ต้องการถอดแบบให้เร็วกว่าก าหนดหรือต้องการใช้งานโครงสร้างคอนกรีตส่วนนั้นเร็วกว่าปกติ น้ ายาที่จะใช้เป็นตัวเร่งก าลังนี้จะต้องมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่เชื่อถือได้เช่น ASTM หรือ BS CODE หรือมาตรฐานอื่นๆ เทียบเท่า

น ายาชะลอการแข็งตัวของคอนกรีต

น้ ายาชะลอการแข็งตัวของคอนกรีตเป็นน้ ายาที่ใช้ผสมคอนกรีต เพื่อยึดระยะเวลาการแข็งตัวของคอนกรีต ซึ่งจะใช้ในกรณีที่ต้องขนส่งคอนกรีตเป็นระยะทางไกลๆ หรือใช้ส าหรับการเทคอนกรีตในจุดที่การเทค่อนข้างล าบากและต้องสิ้นเปลืองเวลาในการเทมาก น้ ายาที่ใช้ชลอการแข็งตัวนี้จะต้องมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่เชื่อถือได้ และได้รับอนุมัติจาก “ผู้ควบคุม”

สานผสมอ่ืนๆ

สารผสมอื่นๆ ที่ใช้ผสมคอนกรีตเพื่อเพิ่มคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของคอนกรีตโดยเฉพาะก่อนที่ “ผู้รับจ้าง” จะน ามาใช้จะต้องได้รับอนุมัติจาก “ผู้ควบคุมงาน”

5.1.3 อัตราส่วนผสมของคอนกรีต

คอนกรีตส าหรับโครงสร้าง เช่น รากฐาน เสา คาน พื้น และอื่นๆ “ผู้รับจ้าง” จะใช้คอนกรีตผสมเสร็จ (READY MIX CONCRETE) ซึ่งผลิตโดยบริษัทที่เชื่อถือได้ หรือจะใช้คอนกรีตที่ “ผู้รับจ้าง” ผสมเอง โดยใช้เครื่องผสมคอนกรีตซึ่งอัตราส่วนผสมของคอนกรีตจะต้องสามารถควบคุมได้ถูกต้องและสะดวกต่อการตรวจสอบของ “ผู้ควบคุมงาน”

“ผู้รับจ้าง” จะต้องส่งรายการค านวณส่วนผสมของคอนกรีต (MIXED DESIGN) ให้ “ผู้ควบคุมงาน” พิจารณาตรวจสอบเสียก่อนจึงจะท างานคอนกรีตได้ ในรายการค านวณนั้นให้ค านวณโดยให้คอนกรีตสามารถรับก าลังอัดได้ไม่น้อยกว่าระบุในแบบรูปหรือรายการละเอียดเฉพาะงาน และในคอนกรีต 1 ลูกบาสก์เมตร จะต้องมีส่วนผสมของปูนซีเมนต์ไม่น้อยกว่า 325 กิโลกรัม ถ้ามิได้ก าหนดไว้เป็นอย่างอื่น (เช่น กรณี LOW HEAT CONCRETE เป็นต้น) อัตราส่วนของคอนกรีตหยาบให้ใช้ส่วนผสมที่มีปูนซีเมนต์ไม่น้อยกว่า 300 กิโลกรัม ต่อคอนกรีตหยาบ 1 ลูกบาศก์เมตร

5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (STRENGTH OF CONCRETE)

ก าลังต้านทานแรงอัด (CONPRESSIVE STRENGTH) ของคอนกรีตที่จะใช้ส าหรับโครงการนี้

ส าหรับคอนกรีตโครงสร้างส่วนต่างๆ ของอาคารและงานโยธา ถ้าแบบรายละเอียดไม่ได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ให้ใช้คอนกรีตที่มีก าลังอัดดังนี้

พื้นคอนกรีตอัดแรง (PRE TENSION) 350 กก./ซม.2

โครงสร้างหน้าท่า คาน พื้น คอนกรีตทับหน้าพื้นส าเร็จรูป 280 กก./ซม.2

คอนกรีตทับหน้าลาดตลิ่ง และ Transition Slab

การทดสอบก าลังต้างแรงอัด ให้ทดสอบจากตัวอย่างแท่งคอนกรีตรูปทรงกระบอก (CYLINDER) ขนาด 0.15 ม. x 0.30 ม. ที่มีอายุ 28 วัน ส าหรับคอนกรีตธรรมดา และที่อายุ 56 วันส าหรับ LOW HEAT CONCRETE การทดสอบให้กระท ามาตรฐาน ASTM C39

Page 5: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 5

5.1.5 ความข้นเหลวของคอนกรีต

“ผู้รับจ้าง” จะต้องควบคุมปริมาณน้ าที่ใช้ในการผสมคอนกรีต ให้คอนกรีตมีความข้นเหลวที่สม่ า เสมอตามที่ก าหนดไว้ ห้ามเติมน้ าลงในคอนกรีตระหว่างการเทแบบเพื่อเพิ่มความเหลว การทดสอบความข้นเหลวให้กระท าโดยวิธี SLUMP TEST ตามมาตรฐาน ASTM C143 เครื่องมือที่จะท า SLUMP TEST นี้ “ผู้รับจ้าง” จะต้องเป็นผู้จัดให้ทดสอบ ตรวจสอบโดย “ผู้ควบคุมงาน” และจะกระท าการทดสอบเมื่อไรก็ได้ตามต้องการ ความข้นเหลวของคอนกรีตจะก าหนดได้ตามลักษณะของงานดังนี้ :-

ชนิดของงาน เกณฑ์การยุบตัวของคอนกรีต

สูงสุด (ซม.) ต่ าสุด (ซม.)

ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก

คาน พื้น และก าแพง คสล.

เสาอาคาร ครีบ และผนังบางๆ

พื้นดิน ถนน ทางเท้า

7.5

10.0

12.5

7.5

2.5

5.0

7.5

2.5

5.1.6 การควบคุมคุณภาพของคอนกรีต

“ผู้รับจ้าง” จะต้องท าการควบคุมคุณภาพของคอนกรีตตามข้อก าหนดข้างล่าง เพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย โดย “ผู้รับจ้าง” เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น

(1) ทั่วๆ ไป

“ผู้รับจ้าง” จะต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่ต่อคุณภาพของคอนกรีตตามที่ระบุไว้ในข้อก าหนดนี้ แม้ “ผู้ควบคุมงาน” จะได้ท าการทดสอบและยอมรับคอนกรีตนั้นแล้ว ก็จะไม่เป็นสาเหตุที่จะให้ “ผู้รับจ้าง” พ้นจากความรับผิดชอบนั้นได้

ฉะนั้น “ผู้รับจ้าง” จะต้องหาวิธีทดสอบที่จ าเป็นเพิ่มเติม เพื่อควบคุมคุณภาพของคอนกรีตให้มีความสม่ าเสมอด้วยดุลยพินิจของ “ผู้รับจ้าง” เอง

(2) การควบคุมการผลิตคอนกรีต

- วัสดุที่ใช้จะต้องท าตามวิธีในข้อ 2.1.2

- โรงงานและอุปกรณ์ โรงงานผสมคอนกรีตจะต้องท าการทดสอบต่อหน้า “ผู้ควบคุมงาน” ทุกครั้ง เมื่อผลิตคอนกรีตได้ประมาณ 1,000 ลูกบาศก์เมตร หรือก่อนที่จะท าการเทคอนกรีตครั้งส าคัญ หรือ ณ เวลาใดๆ เมื่อ “ผู้ควบคุมงาน” เห็นสมควร เครื่องชั่งมวลรวมและปูนซีเมนต์ อุปกรณ์ส าหรับเติมน้ าและสารผสมเพิ่มจะต้องท าการตรวจสอบ เพื่อให้เป็นไปตามข้อก าหนดซึ่งอธิบายไว้ในข้อ 2.1.7

- คอนกรีต การทดสอบการยุบตัวของคอนกรีตจะต้องท าทุกครั้งที่ “ผู้ควบคุมงาน” สั่งและอย่างน้อย 1 คร้ังต่อคอนกรีต 25 ลูกบาศก์เมตร หรือทุกครั้งที่ท าการหล่อก้อน

Page 6: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 6

ทรงกระบอก“ผู้รับจ้าง” จะต้องจัดหาอุปกรณ์และแรงงานส าหรับการทดสอบนี้ และให้ท าการทดสอบต่อหน้า “ผู้ควบคุมงาน”

(3) การควบคุมก าลังอัด

“ผู้รับจ้าง” จะต้องท าการชักตัวอย่างเพื่อทดสอบ “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็นผู้ก าหนดจ านวนตัวอย่าง จ านวนครั้งในเก็บตัวอย่างและสถานที่ให้ “ผู้รับจ้าง” ต้องจัดหาอุปกรณ์ (เช่น แบบหล่อทรงกระบอก)และแรงงานในการชักตัวอย่างให้เพียงพอกับการด าเนินงาน การชักตัวอย่างให้กระท าต่อหน้า “ผู้ควบคุมงาน”

(4) เกณฑ์ทั่วไป

ก าลังคอนกรีตที่ระบุค่าก าลังอัดของก้อนทรงกระบอกที่อายุ 28 วัน ส าหรับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 แทนที่ด้วย FLY ASH และ/หรือ SILICA FUME ร้อยละ 25 ถึงร้อยละ 40 ผลการทดสอบ ที่มีค่าต่ ากว่าที่ระบุไว้จะต้องมีจ านวนไม่มากกว่าร้อยละ 5 ของผลการทดสอบทั้งสิ้น

(5) แผนการทดสอบ

การชักตัวอย่างเพื่อทดสอบก าลังของคอนกรีต จะต้องด าเนินการไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อวัน หรือไม่น้อยกว่า 1 คร้ังต่อปริมาณคอนกรีต 25 ลูกบาศก์เมตร หรือไม่น้อยกว่า 1 ครั้งในการเทคอนกรีตแต่ละคราว ก้อนทรงกระบอก 1 ก้อน จะต้องหล่อจากตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง ซึ่งสุ่มจากคอนกรีตในการเทคร้ังเดียวหรือ ณ สถานที่แห่งเดียว

ค่าก าลังอัดทดสอบ จะต้องเป็นค่าเฉลี่ยของก้อนทรงกระบอกอย่างน้อย 4 ก้อน จากสถานที่เดียวกัน ท าการทดสอบเมื่ออายุครบ 28 วัน หรือเทียบเท่า “ผู้ควบคุมงาน” จะวินิจฉัยยอมรับค่าก าลังอัดของคอนกรีต ก็ต่อเมื่อค่าก าลังอัดเฉลี่ยที่ได้จากการทดสอบต้องเท่ากับหรือมากกว่าค่าก าลังอัดของก้อนทรงกระบอกที่ก าหนดในข้อ 2.1.4 และค่าก าลังอัดของก้อนทรงกระบอกแต่ละก้อนจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ของค่าก าลังอัดต่ าสุดที่ก าหนดให้

เพื่อเป็นการเสริมข้อก าหนดดังกล่าวข้างต้น จะต้องใช้วีธีทางสถิติเขียนรูปแสดงและบันทึกค่าผลการทดสอบส าหรับคอนกรีตที่จะใช้ในโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง ก าลังอัดค่าเฉลี่ยตามเป้าหมายจะต้องมีค่ามากกว่าค่าก าลังอัดที่ระบุไว้ไม่น้อยกว่า 1.64 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ยกเว้นในกรณีที่ไม่ใช้การทดสอบทางสถิติ (การทดสอบทางสถิติจะใช้ก็ต่อเมื่อมีผลการทดสอบก้อนทรงกระบอกมากกว่า 40 ค่า)

“ผู้รับจ้าง” อาจหล่อก้อนทรงกระบอกเพิ่มเติมส าหรับท าการทดสอบคอนกรีตที่อายุ 3 วันหรือ 7 วันเพื่อให้ได้ข้อมูลทางด้านก าลังอัดก่อนอายุ 28 วัน ไม่ว่า “ผู้รับจ้าง” จะตีความจากผลการทดลองนี้ (ที่ 3 วัน และ 7 วัน) เป็นอย่างไร หรือว่า “ผู้ควบคุมงาน” จะได้อนุญาตให้กระท าการใดหลังจากนั้นก็ตาม ให้ถือว่าค่าก าลังอัดที่ 28 วันหรือเทียบเท่าเท่านั้น เป็นค่าที่ยอมรับในการวัดก าลังอัดของคอนกรีต งานใดที่ช ารุดเสียหายเนื่องมาจากการปฏิบัติด้วยวิธีการดังกล่าวจะต้องได้รับการแก้ไขถูกต้อง โดย “ผู้รับจ้าง” ต้องออกค่าใช้จ่ายเองและ “ผู้รับจ้าง” จะไม่ได้รับอนุญาตให้ต่อเวลาในสัญญาจากการนี้

(1) ค าสั่งให้ปฏิบัติในกรณีที่ไม่เป็นไปตามแผนการทดสอบ

เมื่อค่าก าลังอัดเฉลี่ยของก้อนทรงกระบอก 4 ก้อนไม่เป็นไปตามข้อก าหนดดังกล่าวข้างต้น “ผู้รับจ้าง” จะต้องท าการเปลี่ยนแปลงปฏิภาคของส่วนผสมของคอนกรีตที่ตามมา เพื่อเป็นการเพิ่มก าลังอัด

“ผู้ควบคุมงาน” จะพิจารณาสั่งการในกรณีที่คอนกรีต (ซึ่งแทนด้วยก้อนทรงกระบอก) ไม่เป็นไปตามข้อก าหนด (หรือจากการพิสูจน์ด้วยวิธีทางสถิติอันเป็นที่เชื่อถือได้ว่าค่าก าลังอัดไม่ได้ตามที่ก าหนด) ค าสั่งอาจเป็นไปได้ระหว่างการยอมรับในกรณีที่ไม่เกิดความเสียหาย ไปจนถึงการปฏิเสธไม่ยอมรับและให้ท าการรื้อถอนในกรณีที่จะเกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง

Page 7: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 7

“ผู้ควบคุมงาน” อาจสั่งให้ “ผู้รับจ้าง” พิสูจน์ก าลังอัดด้วยวิธีทางสถิติ โดยเจาะเอาแท่งคอนกรีตออกมาจากโครงสร้าง และท าการทดสอบตามวิธีการมาตรฐานใดที่ “ผู้ควบคุมงาน” เห็นชอบ ทั้งนี้ “ผู้รับจ้าง” ต้องออกค่าใช้จ่ายในการนี้เองทั้งสิ้น และจะต้องพิจารณาอายุและสภาพการแข็งตัวของคอนกรีตขณะท าการทดสอบครั้งใหม่นี้

(2) การควบคุมการแข็งตัว

ถ้า “ผู้รับจ้าง” ต้องการถอดแบบหล่อและค้ ายันก่อนก าหนดเวลาที่ระบุไว้ในข้อ 5.1.7 ข้อ 11 “ผู้รับจ้าง” จะต้องหล่อตัวอย่างทดสอบเพิ่มตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” สั่ง และต้องทดสอบตัวอย่างนี้ก่อนท าการถอดแบบหล่อ จากผลการทดสอบ “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็นผู้วินิจฉัยก าหนดเวลาที่จะให้ถอดแบบหล่อ

5.1.7 วิธีการก่อสร้าง

(1) ทั่วๆ ไป

ภายในเวลาอันควรก่อนการเริ่มงาน “ผู้รับจ้าง” จะต้องเสนอวิธีการก่อสร้างและแผนงานพร้อมทั้งปรึกษาหารือกับ “ผู้ควบคุมงาน” เพื่อขอรับความเห็นชอบก่อน

“ผู้รับจ้าง” จะต้องจัดหาผู้ควบคุมดูแลงาน และหัวหน้างานซึ่งมีความสามารถ และประสบการณ์ส าหรับดูแลและควบคุมงานในจ านวนที่พอเพียงเหมาะสมกับสภาพงาน

(2) ค้ ายันและแบบหล่อ

(ก) ค้ ายัน

“ผู้รับจ้าง” จะต้องส่งรายละเอียด แบบแปลน รายการค านวณด้านโครงสร้าง และความยืดหยุ่นต่อ “ผู้ควบคุมงาน” เพื่อตรวจสอบ และไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตาม “ผู้รับจ้าง” จะไม่พ้นจากความรับผิดชอบในผลที่ได้รับจากการใช้แบบแปลน ฯลฯ นี้

“ผู้รับจ้าง” จะต้องออกแบบ และสร้างค้ ายันเพื่อให้ได้ความแข็งแกร่งที่พอเหมาะ ทั้งนี้จะต้องรับน้ าหนักบรรทุกได้ในเกณฑ์ที่ได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” อาจสั่งให้ “ผู้รับจ้าง” ใช้แม่แรงหรือลิ่มไม้เนื้อแข็งยกส่วนที่ทรุดของแบบหล่อหรือปรับระดับเพิ่มเติมก่อนในระหว่างการเทคอนกรีต

ถ้าไม่สามารถตั้งค้ ายันบนพื้นธรรมดาได ้จะต้องท าการรองรับค้ ายันนั้นด้วยฐานทรายอัดแน่นอย่างน้อย 1.0 เมตร หรือรองรับด้วยเสาเข็มซึ่งจะต้องให้ “ผู้ควบคุมงาน” ให้ความเห็นชอบก่อนการตั้งค้ ายัน ในบางกรณีอาจรองรับค้ ายันด้วยโครงสร้างซึ่งก่อสร้างแล้ว ในกรณีเช่นนี้ “ผู้รับจ้าง” จะต้องส่งข้อมูลด้านน้ าหนักบรรทุกนั้น เพื่อให้ความเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษร

“ผู้รับจ้าง” จะต้องตั้งค้ ายันเผื่อการตกท้องช้าง โดย “ผู้ควบคุมงาน” เป็นผู้ก าหนดค่าให้ ในระหว่างการเทคอนกรีต หากปรากฏว่าค้ ายันไม่แข็งแรงพอเกิดการทรุดตัวขึ้น “ผู้รับจ้าง” จะต้องหยุดงานนั้นและท าการรื้อถอนโครงสร้างที่ได้รับผลกระทบกระเทือน แล้วเสริมค้ ายันให้แข็งแรงก่อนที่จะเร่ิมงานต่อไป

วัสดุทุกอย่างที่ใช้ในการสร้างค้ ายันจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน AASHTO ที่เก่ียวข้อง “ผู้ควบคุมงาน” อาจต้องการใหม้ีการทดสอบวัสดุและให้ส่งใบรับรองผลการทดสอบนั้นด้วย และอาจสั่งให้มีการตรวจตราการเชื่อม การทดสอบการรับน้ าหนักบรรทุกของค้ ายัน เพื่อหาความยืดหยุ่นและความแข็งแรง ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นในการทดสอบและตรวจตราค้ ายันดังกล่าวจะต้องตกเป็นของ “ผู้รับจ้าง” ทั้งสิ้น เม่ือใช้ค้ ายันเหล็ก สีที่ทาไว้กับค้ ายันจะต้องไม่เปื้อนหรือกัดกร่อนโครงสร้างคอนกรีต “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็นผู้ก าหนดเวลาในการร้ือถอนค้ ายัน

Page 8: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 8

(ข) แบบหล่อ

แบบหล่อหมายถึง แบบหล่อชั่วคราวและแบบหล่อถาวรที่ใช้ในการหล่อคอนกรีต เพื่อให้ได้รูปร่างตามก าหนด แบบหล่อจะต้องท าจากไม้หรือโลหะ ป้องกันปูนสอไม่ให้รั่วซึมออกมาได้ และต้องแข็งแรงพอ เพื่อรักษาคอนกรีตให้อยู่ในที่ระหว่างการเท การอัดแน่น การก่อตัว และการแข็งตัว

แบบหล่อส าหรับคอนกรีตเปลือย(ชนิดผิวเรียบ)ทีโ่ครงสร้างหน้าท่า ท าจากโลหะที่มีความแข็งเกร็งในตัวพอ ปราศจากรอยต าหนิที่ผิวอันจะท าลายคุณภาพผิวของคอนกรีต จะต้องไม่ใช้แบบโลหะที่เป็นสนิมหรือโก่งงอให้ลบมุมที่คานพื นทุกด้านของแบบหล่อ (Chamfer) ขนาด 2x2 ซม.

แบบหล่อส าหรับคอนกรีตผิวหยาบส าหรับงานโครงสร้างอาคารที่มีการก่อฉาบ ไม้ที่ใช้ท าแบบจะต้องอยู่ในสภาพที่ดีปราศจากการโก่งงอหรือบิด และไม่มีต าหนิอื่นใดอันจะท าให้ความแข็งแรงหรือลักษณะของโครงสร้างที่หล่อแล้วเสร็จเกิดความเสียหายได้

แบบหล่อจะต้องตั้งอยู่ในที่จนกระทั่งคอนกรีตแข็งตัว “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็น ผู้ก าหนดเวลาในการถอดแบบหล่อให้ ถ้าปรากฏว่าแบบหล่อมีสภาพไม่ดีพอไม่ว่าจะก่อนหรือระหว่างการเทคอนกรีต “ผู้ควบคุมงาน” อาจสั่งให้หยุดงานนั้นจนกระทั่ง “ผู้รับจ้าง” ได้แก้ไขส่วนบกพร่องนั้นแล้วเสร็จ

“ผู้รับจ้าง” ต้องส่งแบบแปลนแสดงรายละอียด และรายการค านวณแบบหล่อให้ “ผู้ควบคุมงาน” ตรวจสอบก่อนท าการก่อสร้าง

“ผู้รับจ้าง” จะต้องบ ารุงรักษาแบบหล่อที่น ามาใช้ซ้ าให้คงรูปร่าง ก าลัง และความแข็งแกร่ง ความกันน้ า และความเรียบของผิวแบบอยู่เสมอ ไม้ที่โก่งหรือบวมเกินขนาดห้ามน ามาใช้เป็นแบบหล่ออีก “ผู้รับจ้าง” จะต้องไม่น าแบบหล่อซึ่งไม่อยู่ในสภาพที่ดีพอมาใช้อีกไม่ว่ากรณีใดๆ

แท่นยึดโลหะที่ใช้ยึดแบบหล่อจะต้องติดตั้งให้ถูกต าแหน่ง ให้อยู่ในเนื้อคอนกรีตลึกเกินกว่า 5 เซนติเมตร รูหรือร่องที่เกิดจากจ้อต่อหรือน๊อตยึดจะต้องออกแบบให้มีขนาดเล็ก และจะต้องอุดรูหรือร่องนี้ด้วยปูนสอผิวที่อุดแล้วจะต้องอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย สม่ าเสมอ และมีสีกลมกลืนกับผิวคอนกรีตข้างเคียง

“ผู้รับจ้าง”จะต้องตั้งแบบหล่อให้สะดวกต่อการท าความสะอาด สามารถขจัดเศษวัสดุออกได้ง่าย การท าความสะอาดก่อนการเทคอนกรีตต้องไม่กระทบกระเทือนต่อแบบหล่อ ซึ่ง “ผู้ควบคุมงาน” ได้ตรวจสอบและให้ความเห็นชอบแล้ว

เมื่อ “ผู้ควบคุมงาน” ตรวจสอบแบบหล่อนั้นแล้ว “ผู้รับจ้าง” จะต้องทาแบบหล่อด้วยน้ ามันทาแบบ “ผู้ควบคุมงาน” อาจสั่งให้ทดลองทาน้ ามันแบบหล่อก่อนจะอนุญาตให้ใช้ เพื่อให้แน่ใจว่าน้ ามันทาแบบที่ “ผู้รับจ้าง” เสนอใช้นั้นจะไม่ท าให้สีผิวของคอนกรีตเปลี่ยนไป หรือท าลายผิวของคอนกรีตที่หล่อ

ก่อนเทคอนกรีต “ผู้รับจ้าง” จะต้องเก็บกวาดเศษไม้ เศษลวดผูกเหล็ก ดิน ขยะ และวัตถุไม่พึงประสงค์อย่างอื่นออกจากแบบหล่อ และจะต้องล้างแบบหล่ออย่างระมัดระวังให้ทั่วด้วยน้ า ถ้าไม่ระบุเป็นอย่างอื่น ความคลาดเคลื่อนของโครงสร้างคอนกรีตที่หล่อแล้วจะต้องมีค่า ดังนี้

ฐานราก ทางแนวราบ ± 30 มิลลิเมตร

ทางแนวดิ่ง ± 20 มิลลิเมตร

ก าแพง ผนัง ทางแนวราบ ± 10 มิลลิเมตร

ทางแนวดิ่ง ± 10 มิลลิเมตร

Page 9: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 9

ความเอียงไม่เกิน 1:400

มิติขององค์อาคาร ± 10 มิลลิเมตร และพื้นที่ภาคตัดขวางไม่คลาดเคลื่อนไปจากแบบร้อยละ 30

(ค) คอนกรีตหยาบและทรายรองพื้น

ส าหรับงานฐานรากทุกชนิดจะต้องมีชั้นปรับระดับรองคอนกรีตหยาบอยู่ใต้สุด เพื่อท าหน้าที่แทนแบบหล่อชั้นปรับระดับนี้จะต้องมีความหนาไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร และจะต้องตั้งอยู่บนชั้นทรายซึ่งมีความหนาไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร เช่นกัน ในกรณีที่เทคอนกรีตหยาบบนชั้นที่กลบแต่งด้วยวัสดุคัดเลือกอยู่แล้ว ไม่จ าเป็นต้องมีชั้นทรายนี้ก็ได้

(ง) การให้ความเห็นชอบค้ ายันและแบบหล่อ

ก่อนจะประกอบติดตั้งค้ ายันและแบบหล่อ “ผู้รับจ้าง” จะต้องได้รับความเห็นชอบแบบแปลนและรายการค านวณเป็นลายลักษณ์อักษรจาก “ผู้ควบคุมงาน” ความเห็นชอบที่แสดงออกนั้นจะไม่ท าให้ “ผู้รับจ้าง” พ้นความรับผิดชอบต่องานคอนกรีตส่วนนั้น

“ผู้ควบคุมงาน” จะใช้ระยะเวลาอันควรในการตรวจแบบแปลนและรายการค านวณโดยเฉพาะกรณีเมื่อจะมีการวางค้ ายันลงบนโครงสร้างที่เพิ่งแล้วเสร็จ “ผู้รับจ้าง” จะไม่ได้รับอนุญาตให้ต่ออายุสัญญาเนื่องจากการรอคอยเพื่อการให้ความเห็นชอบนี้

“ผู้ควบคุมงาน” จะตรวจสอบแบบหล่อและค้ ายันก่อนการเทคอนกรีต ห้าม “ผู้รับจ้าง” เทคอนกรีตจนกว่า “ผู้ควบคุมงาน” จะได้ตรวจสอบและให้ความเห็นชอบแบบหล่อหรือค้ ายันนั้นแล้ว การให้ความเห็นชอบดังกล่าว จะไม่ท าให้ “ผู้รับจ้าง” พ้นจากความรับผิดชอบต่อการก่อสร้างงานสว่นนัน้ให้แล้วเสร็จสมบรูณ์และถูกต้องภายใต้สัญญานี้

(3) การดูแลและการเก็บวัสดุส าหรับคอนกรีต

วัสดุส าหรับผลิตคอนกรีต ปูนซีเมนต์ สารผสมเพิ่ม น้ า และมวลรวม จะต้องมีปริมาณส ารอง (ณ สถานที่ท างาน) อย่างเพียงพอ ในการหล่อคอนกรีตแต่ละครั้งถ้ามีไม่พอ “ผู้รับจ้าง” จะต้องแจ้งให้ “ผู้ควบคุมงาน” ทราบและ “ผู้รับจ้าง” ต้องรับรองว่าจะหาปริมาณที่ต้องการมาเพิ่มได้ทันการ

(ก) การเก็บปูนซีเมนต์

ปูนซีเมนต์ที่ใช้จะต้องเก็บไว้ในอาคารหรือถังเก็บ ซึ่งได้รับการป้องกันจากสภาพลมฟ้า อากาศมิให้ปูนซีเมนต์ถูกความชื้นได้ อาคารหรือถังเก็บจะต้องตั้งอยู่ในที่ซึ่ง “ผู้ควบคุมงาน” เห็นชอบ “ผู้รับจ้าง” จะต้องเก็บปูนซีเมนต์ไว้ใช้อย่างพอเพียง ปูนซีเมนต์ที่ส่งมาแต่ละครั้งจะต้องแยกเก็บเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าตรวจสอบได้ อาคารที่เก็บจะต้องมีความจุพอเพียงส าหรับการใช้งาน ปูนซีเมนต์ในถังเก็บเมื่อทดสอบแล้วจะต้องได้คุณสมบัติตามข้อก าหนด

(ข) การเก็บมวลรวม

“ผู้รับจ้าง” จะต้องเก็บมวลรวมโดยป้องกันมิให้ปนกับวัสดุที่ไม่พึงประสงค์ และต้องไม่กองมวลรวมไว้บนคันทางที่ได้ระดับแล้ว มวลรวมต่างขนาดและชนิดจะต้องกองแยกกัน กองของมวลรวมหยาบที่ จัดขนาดคละแล้วจะต้องวางเป็นชั้นๆ ตามแนวราบ มีความหนาชั้นละไม่เกิน 1 เมตร โดยจะต้องกองมวลรวมชั้นหนึ่งชั้นใดให้เสร็จไปก่อน จึงจะเร่ิมชั้นใหม่หรือวีธีการอื่นที่เหมาะสม ถ้ามีการแยกแยะของมวลรวมเกิดขึ้นจะต้องน ามวลรวมนั้นมาจัดขนาดคละอีกคร้ังให้ได้ตามข้อก าหนด

Page 10: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 10

หากมีการท าความสะอาดมวลรวมโดยการลา้งน้ าแลว้ จะต้องปล่อยให้ระบายน้ าออกอย่างน้อยเป็นเวลา 12 ชั่วโมงก่อนน าไปใช้ผสมคอนกรีต

(4) การตระเตรียมงานก่อนการเทคอนกรีต

ก่อนการเทคอนกรีตแต่ละครั้ง “ผู้รับจ้าง” จะต้องท า “แผนงานเทคอนกรีต” แสดงรายละเอียดทางด้านพนักงานผู้เกี่ยวข้อง คนงาน การใช้วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ การส ารองคนงานและวัสดุ วิธีการล าเลียงและเทคอนกรีต การควบคุมงาน ฯลฯ และได้รับอนุมัติจาก “ผู้ควบคุมงาน” ก่อนเร่ิมงานเทคอนกรีต

อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการล าเลียงวัสดุและคอนกรีต ต้องมีแบบ สมรรถนะ และสภาพทางกลเป็นที่พอใจของ “ผู้ควบคุมงาน”

อุปกรณ์ไม่ได้รับการบ ารุงรักษาให้อยู่ในสภาพการใช้งานได้เต็มที่ หรือไม่สามารถให้ผลงานตามที่ระบุไว้ “ผู้รับจ้าง” จะต้องปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือเปลี่ยนใช้อุปกรณ์ที่ดีกว่า หรือเสริมอุปกรณ์เข้าไปอีก ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของ “ผู้ควบคุมงาน”

(5) การวัดปริมาณวัสดุ

(ก) ทั่วๆ ไป

สัดส่วนของวัสดุส าหรับส่วนผสมคอนกรีตให้กระท าด้วยวิธีชั่งน้ าหนัก โรงงานผสมคอนกรีตจะต้องมีคอกกั้น ถังปิดเปิด (ส าหรับรับมวลรวมไปชั่ง) และเครื่องชั่ง เพื่อแยกและชั่งมวลรวมละเอียดและมวลรวมหยาบแต่ละขนาดถ้าใช้ปูนซีเมนต์ถังจะต้องมีคอกก้ันถังปิดเปิดและเครื่องชั่งให้ด้วย ภาชนะบรรจุปูนซีเมนต์จะต้องกันน้ าได้

“ผู้รับจ้าง” ต้องจัดหาอุปกรณ์ซึ่งผู้ควบคุมเห็นว่าจ าเป็น เพื่อใช้ในการตวงวัดส่วนประกอบอื่นๆ ลงในส่วนผสมคอนกรีต โรงงานผสมคอนกรีตจะเป็นชนิดผสมอยู่กับที่หรือชนิดผสมเคลื่อนที่ก็ ได้ โรงงานต้องตั้งให้ได้ระดับที่ถูกต้อง เพื่อให้กลไกในการชั่งน้ าหนักท างานได้อย่างแม่นย า

(ข) คอกกัน้และถังปิดเปิด

คอกกั้นจะต้องมีช่องแยกเฉพาะเป็นสัดส่วนส าหรับมวลรวมละเอียดและมวลรวมหยาบแต่ละขนาด แต่ละช่องจะต้องปล่อยมวลรวมเข้าสู่ถังปิดเปิดได้โดยอิสระและอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีวิธีควบคุมเพื่อให้ได้ปริมาณมวลรวมที่ตกลงสู่ถังปิดเปิดชั่งน้ าหนักตามที่ต้องการ นอกจากนี้จะต้องมีช่องหรือทางผ่านส าหรับน าเอามวลรวมส่วนเกินที่หล่นจากถังปิดเปิดออกไป ถังปิดเปิดจะต้องปล่อยมวลรวมที่บรรจุออกได้ทั้งหมด

(ค) เครือ่งชั่ง

เครื่องชั่งส าหรับชั่งมวลรวมและปูนซีเมนต์ต้องเป็นชนิดคานหรือชนิดเข็มชี้ไร้สปริง เครื่องชั่งจะต้องอ่านค่าน้ าหนักได้อย่ างละเอียด ความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินรอยละ 0.5 ทุกครั้งขณะใช้งาน “ผู้รับจ้าง” จะต้องจัดหาก้อนน้ าหนักขนาด 25 กิโลกรัม จ านวน 10 ก้อนไว้ เพื่อท าการทดสอบความละเอียดของเครื่องชั่ง “ผู้รับจ้าง” จะต้องหมั่นท าความสะอาดจุดหมุนแขน และส่วนประกอบอื่นของเครื่องชั่งที่มองเห็นอย่างสม่ าเสมอ ในกรณีที่ใช้เครื่องชั่งชนิดคานจะต้องมีอุปกรณ์แสดงให้ผู้ควบคุมเครื่องเห็นค่าน้ าหนักของมวลรวมในถังปิดเปิดอย่างน้อยอีก 100 กิโลกรัมก่อนจะถึงค่าที่ต้องการ และแสดงให้เห็นน้ าหนักที่เลยค่าที่ต้องการไปอีกไม่เกิน 25 กิโลกรัม ผู้ควบคุมเครื่องจะต้องมองเหน็อุปกรณ์ที่ใช้ในการชั่งทั่วทุกชิ้น และต้องสามารถเข้าถึงปุ่มควบคุมกลไกต่างๆ ได้อย่างสะดวก

Page 11: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 11

การตวงวัดปูนซีเมนต์โดยการชั่งน้ าหนัก อาจใช้การนับจ านวนถุงซีเมนต์มาตรฐานซึ่งมีน้ าหนักสุทธิ 50 กิโลกรัม เมื่อตวงวัดโดยน้ าหนักจะต้องสวมซองที่เครื่องชั่งและถังปิดเปิดเพื่อใช้ถ่ายปูนซีเมนต์อย่างถูกวิธีไม่ให้ซีเมนต์ตกหล่น

น้ าหนักของปูนซีเมนต์จากการชั่งจะต้องไม่คลาดเคลื่อนกว่าร้อยละ 1 และน้ าหนักของมวลรวมทุกประเภทจะต้องไม่คลาดเคลื่อนมากกว่าร้อยละ 2

นอกจากนี้แล้วค่าความเบี่ยงเบนจากปริมาณเฉลี่ยของวัสดุอัดแทรก (วัสดุซึ่งประกอบด้วยปูนซีเมนต์ และอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่า 0.25 มิลลิเมตร) โดยค านวณจากตัวอย่างจ านวน 10 ตัวอย่าง ซึ่งท าการสุ่มจากรุ่นผสมของคอนกรีตที่แตกต่างกันจะต้องไม่มากกว่าร้อยละ 6

(1) การผสมคอนกรีต

(ก) ทั่วๆ ไป

การผสมคอนกรีตให้ท าในเครื่องผสมโดยอาจท าการผสมคอนกรีต ณ สถานที่ก่อสร้างโรงงานผสมคอนกรีตกับที่หรือในรถผสมคอนกรีต เครื่องผสมคอนกรีตแต่ละเครื่องจะต้องติดฉลากโลหะจากโรงงานผู้ผลิตแสดงความจุของโม่เป็นปริมาตรของคอนกรีตและอัตราเร็วที่โม่หมุน

(ข) เครื่องผสมคอนกรีต ณ สถานที่ก่อสร้างย่อย

เครื่องผสมคอนกรีต ณ สถานที่ก่อสร้างย่อย จะต้องเป็นชนิดโม่สามารถผสมมวลรวมปูนซีเมนต์และน้ าเข้าด้วยกันอย่างทั่วถึง และได้มวลคอนกรีตที่สม่ าเสมอภายในเวลาที่ผสมที่ก าหนด และจะต้องถ่ายคอนกรีตได้โดยปราศจากการแยกตัว เครื่องผสมจะต้องติดตั้งถังปิดเปิด (ส าหรับเติมส่วนผสม) ถังเก็บน้ าและเครื่องวัดปริมาณน้ าที่มีความละเอียดร้อยละ 1 โดยมีอุปกรณ์ควมคุมให้เติมน้ าได้ในขณะที่เติมส่วนผสมลงในโม่เท่านั้น ในการถ่ายคอนกรีตจากโม่จะต้องมีอุปกรณ์ที่เหมาะสมควบคุมด้วย เครื่องผสมคอนกรีตจะต้องท าความสะอาดตามระยะเวลาอันควร เมื่อใบมีดกวาดและใบมีดสาดในโม่สึกหรอมากกว่าร้อยละ 10 ของความลึกของใบมีดจะต้องเปลี่ยนใส่ใบมีดใหม่แทน

เครื่องผสมจะต้องท างานที่อัตราการหมุนของโม่ 15-20 รอบ/นาที ในการผสมจะต้องเติมน้ าส่วนหนึ่งก่อนแล้วใส่ปนูซีเมนต์และมวลรวมลงไปในโม่ และให้น้ าส่วนที่เหลือไหลต่อเนื่องกับส่วนแรกจนหมดจ านวนหลังจากที่เติมปูนซีเมนต์และมวลรวมทั้งหมดลงไปแล้วไม่น้อยกว่า 5 วินาที การนับเวลาที่ใช้ผสมให้เริ่มนับตั้งแต่ปูนซีเมนต์และมวลรวมลงสู่โม่ (ไม่นับเวลาที่ใช้เติมน้ า) เวลาที่ใช้ผสมส าหรับโม่ที่มีความจุ 1 ลูกบาศก์เมตรหรือน้อยกว่าต้องไม่ต่ ากว่า 50 วินาที หรือเกินกว่า 70 วินาที คอนกรีตที่ใช้เวลาผสมน้อยกว่าที่ก าหนดจะไม่เป็นที่ยอมรับ และ “ผู้รับจ้าง” จะต้องขนออกไปทิ้งโดยออกค่าใช้จ่ายเอง

ปริมาตรของคอนกรีตที่ผสมในแต่ละรุ่นจะต้องไม่เกินคววามจุที่ระบุของเครื่องผสม (ลูกบาศก์เมตรหรือลูกบาศก์ฟุต) ดังแสดงไว้บนฉลากก าหนดพิกัดความจุมาตรฐานจากโรงงานผู้ผลิตเครื่องผสม เว้นในบางกรณีอาจอนุญาตให้ปริมาตรผสมมากกว่าความจุที่ระบไุว้ได้ แต่ต้องไม่มากกว่าร้อยละ 20 โดยพิจารณาว่าค่าก าลังอัด การไม่แยกตัวของมวลรวม และความขันเหลวของคอนกรีตต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ดังได้กล่าวมาแล้วและคอนกรีตจะต้องไม่ล้นออกจากโม่

ห้ามมิให้เพิ่มน้ าในคอนกรีตหรือใช้วิธีอื่นใดเพื่อเป็นการเพิ่มความข้นเหลวแก่คอนกรีต ห้ามเทคอนกรีตซึ่งไม่ได้ความเข้มข้นเหลวตามที่ก าหนด

Page 12: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 12

(ค) เครื่องผสมคอนกรีตส าหรับโรงงานผสมกับที่

เครื่องผสมคอนกรีตนี้จะต้องเป็นชนิดโม่ สามารถผสมมวลรวม ปูนซีเมนต์ และน้ าเข้าด้วยกันอย่างทั่วถึง ได้มวลคอนกรีตที่สม่ าเสมอภายในเวลาผสมที่ก าหนด การถ่ายคอนกรีตต้องไม่ให้เกิดการแยกตัวและมีอุปกรณ์ตั้งเวลาเพื่อบังคับมิให้เครื่องผสมถ่ายคอนกรีตก่อนครบก าหนดเวลาผสม ระบบการเติมน้ าให้เครื่องผสม อาจเป็นถังตวงวัดที่เปรียบเทียบปริมาตรแล้ว หรือเป็นมาตรวัดติดกับเครื่องผสมหรือจะเป็นชนิดที่แยกส่วนออกจากเครื่องผสมก็ได้

เครื่องผสมจะต้องท าความสะอาดตามระยะเวลาอันควร มีการส ารวจตรวจมาตรฐานดูความเปลี่ยนแปลงสภาพภายในของโม่ผสมเป็นประจ าทุกวัน เม่ือใบมีดกวาด และใบมีดสาดในโม่สึกหรอเกินร้อยละ 10 ของความลึกของใบมีดจะต้องเปลี่ยนใส่ใบมีดใหม่แทน

เครื่องผสมคอนกรีตในโรงงานผสมกับที่ใช้เวลาผสมไม่น้อยกว่า 90 วินาที ส าหรับโม่ที่มีความจุระหว่าง 2 ถึง 5 ลูกบาศก์เมตร และไม่น้อยกว่า 120 วินาที ส าหรับโม่ที่มีความจุเกินกว่า 5 ลูกบาศก์เมตร ทั้งนี้เมื่อได้วิเคราะห์และทดสอบคอนกรีตที่ใช้แล้ว จะต้องได้ก าลังและความสม่ าเสมอตามที่กล่าวไว้ในข้อ (ข) คอนกรีตที่ผสมแล้วจะต้องขนส่งจากโรงงานผสมไปยังหน้างาน โดยรถขนส่งชนิดติดตั้งเครื่องกวน หรือจะใช้ขนส่งชนิดไม่ติดตั้งเครื่องกวนก็ได้ ตามความเห้นชอบของ “ผู้ควบคุมงาน” เป็นลายลักษณ์อักษร การส่งคอนกรีตต้องควบคุม เพื่อให้การเทเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (เว้นแต่ว่าการเทนั้นจะหยุดชะงักหรือล่าช้าเอง) ระยะเวลาในการขนส่งคอนกรีตแต่ละคร้ัง จะต้องไม่นานจนท าให้คอนกรีตที่เทแข็งตัวในส่วนหนึ่งส่วนใด และไม่ว่าในกรณีใดๆ ระยะเวลาดังกล่าวจะต้องไม่มากกว่า 30 นาที ยกเว้น เมื่อได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” เมื่อมีการปรับกรุงแก้ไขส่วนผสมของคอนกรีต

(ง) รถขนส่งชนิดใช้เครื่องกวน

เว้นแต่ว่า “ผู้ควบคุมงาน” ได้ให้ความเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรให้เป็นอย่างอื่น รถขนส่งชนิดใช้เครื่องกวนจะต้องมีโม่หมุนขนิดกันน้ ารั่วได้ ติดตั้งในต าแหน่งที่เหมาะสม รถต้องสามารถขนส่งและถ่ายคอนกรีตได้โดยไม่เกิดการแยกแยะ อัตราเร็วในการกวนของโม่จะต้องไม่น้อยกว่า 2 รอบต่อนาที และไม่มากกว่า 6 รอบต่อนาที ปริมาตรของคอนกรีตที่ให้ผสมในโม่ต้องไม่เกินค่าที่โรงงานผู้ผลิตก าหนดไว้ หรือไม่มากกว่าร้อยละ 80 ของปริมาตรรวมในโม่

“ผู้ควบคุมงาน” อาจอนุญาตให้ใช้รถผสมชนิดใบมีดหมุนแบบเปิดส่วนบน แทนรถขนส่งชนิดเคร่ืองกวน เพื่อใช้ในการขนส่งคอนกรีตจากโรงงานผสมกับที่ก็ได้ ปริมาตรภายในของเคร่ืองกวนจะต้องระบุเป็นลูกบาศก์เมตรหรือลูกบาศก์ฟุต ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มเติมน้ าลงสู่โม่ของเคร่ืองผสม (ณ โรงงานผสมคอนกรีต) จนกระทั้งถ่ายคอนกรีตออกจากเคร่ืองกวน (บนรถขนส่ง) จะต้องไม่เกิน 45 นาที (ยกเว้นเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขส่วนผสมของคอนกรีต) ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวจะต้องกวนส่วนผสมอย่างต่อเนื่อง

(จ) รถขนส่งชนิดไม่มีเคร่ืองกวน

อุปกรณ์ขนส่งคอนกรีตชนิดไม่กวนจะต้องเป็นถังโลหะผิวเรียบ กันน้ ารั่วได้ มีช่องปิดเปิดเพื่อควบคุมการถ่ายคอนกรีต และมีฝาปิดเปิดป้องกันแดดและฝน ถังอุปกรณ์นี้จะต้องถ่ายคอนกรีตที่หน้างานในอัตราที่เหมาะสม และได้มวลคอนกรีตที่สม่ าเสมอ

ความสม่ าเสมอของมวลคอนกรีต จะเป็นที่ยอมรับได้ก็ต่อเมื่อค่าความยุบตัวของตัวอย่างที่สุ่มเมื่อถ่ายคอนกรีตออก ¼ และ ¾ ของมวลคอนกรีตจากถังมีความแตกต่างกันไม่มากกว่า 3 เซนติเมตร คอนกรีตจะต้องถ่ายออกจากถังให้หมดภายในเวลา 30 นาที (ยกเว้นเมื่อได้รับความเห็นจาก “ผู้ควบคุมงาน” เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขส่วนผสมของคอนกรีต) นับตั้งแต่เริ่มเติมน้ าให้ส่วนผสมของปูนซีเมนต์และมวลรวมที่โรงงานผสม

Page 13: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 13

(ฉ) รถผสม

เครื่องผสมบนรถผสมจะต้องติดตั้งเครื่องนับจ านวนรอบการหมุนของโม่หรือใบมีดชนิดท างานด้วยพลังไฟฟ้า เครื่องนับจะต้องท างานตั้งแต่เริ่มผสม ปริมาตรของส่วนผสมคอนกรีตภายในโม่จะต้องไม่มากกว่าร้อยละ 60 ของปริมาตรรวมของโม่ เคร่ืองผสมจะต้องสามารถผสมส่วนประกอบต่างๆ ของคอนกรีตเข้าด้วยกันอย่างทั่วถึง ได้มวลที่สม่ าเสมอและต้องถ่ายคอนกรีตออกโดยไม่มีการแยกตัว

นอกเสียจากว่าจะประสงค์ใช้เป็นเครื่องกวนเพียงอย่างเดียว รถผสมจะต้องมีอุปกรณ์วัดปริมาณน้ าได้อย่างละเอียด ปริมาณน้ าที่เติมจะต้องไม่คลาดเคลื่อนจากปริมาณที่ก าหนดไว้เกินร้อยละ 1

รถผสมอาจใช้ผสมคอนกรีตให้เสร็จสมบูรณ์ที่โรงชั่งวัสดุส าหรับผสม หรือใช้เป็นรถกวนเพื่อส่งคอนกรีตไปหน้างาน หรืออาจใช้ผสมคอนกรีตให้เสร็จสมบูรณ์ที่หน้างานก็ได้ รถผสมจะต้องเป็นชนิดโม่ทึบหมุนได้และกันน้ ารั่วหรือเป็นชนิดมีใบมีดหรือใบพายหมุน และส่วนบนของโม่ต้องเปิดได้

ระยะเวลาในการผสมให้ก าหนดเป็นจ านวนรอบที่โม่หมุน เมื่อใช้รถผสมจะต้องผสมคอนกรีตในแต่ละรุ่นผสมต่อการหมุน 70-100 รอบ ตามอัตราการหมุนที่โรงงานผู้ผลิตก าหนดให้เป็น “อัตราเร็วในการผสม” ดังแสดงไว้บนฉลากโลหะ ถ้ารุ่นผสมใดมีปริมาตรต่ ากว่าความจุที่ระบุของโม่ไป 0.5 ลูกบาศก์เมตรเป็นอย่างน้อยจ านวนรอบการหมุนของโม่อาจเหลือไม่น้อยกว่า 50 รอบ

หากจะใช้น้ าล้าง (น้ าชะโม่) เป็นส่วนหนึ่งของน้ าที่จะใช้ในการผสมคอนกรีตคร้ังต่อไป “ผู้รับจ้าง” จะต้องวัดปริมาณของน้ าล้างนีอ้ย่างละเอียด แล้วน าไปหาปริมาณน้ าที่จะเพิ่มเติมลงในโม่เพื่อให้ครบจ านวนที่ก าหนด เมื่อบรรทุกน้ าล้างไปในรถผสมจะต้องแยกให้อยู่ในภาชนะต่างหากจากภาชนะที่บรรจุหรือตวงวัดน้ าผสมคอนกรีต เมื่อ “ผู้ควบคุมงาน” อนุญาตให้ใช้น้ าล้างหรือน้ าชะโม่ “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็นผู้ก าหนดปริมาณที่จะใช้ ถ้าหาก “ผู้รับจ้าง” จะใช้ “น้ าล้าง” โดยไม่วัดปริมาณหรือขาดการควบคุม “ผู้ควบคุมงาน” จะก าหนดให้ใช้ “โม่แห้ง” (ถ่าย “น้ าล้าง” ทิ้งจากโม่) ส าหรับผสมคอนกรีตในรุ่นต่อไป

การใช้รถผสมท าการผสมคอนกรีตเพื่อให้เสร็จสมบูรณ์ที่โรงชั่งวัสดุส าหรับผสม จะต้องเริ่มการผสมคอนกรีตภายในเวลา 30 นาที หลังจากได้เติมปูนซีเมนต์ลงไปในมวลรวมแล้ว ในระหว่างการขนส่งรถผสมจะท าหน้าที่กวนคอนกรีตในอัตราเร็วที่โรงงานผู้ผลิตก าหนด และจะต้องถ่ายคอนกรีตให้เสร็จเรียบร้อยภายในเวลา 45 นาที หลังจากเติมปูนซีเมนต์ลงไปในมวลรวม การส่งคอนกรีตไปยังหน้างานจะต้องมีใบแสดงเวลาที่ออกจากโรงชั่งวัสดุผสมติดมาด้วยทุกครั้ง

(2) การล าเลียงและการเทคอนกรีต

อุณหภูมิของคอนกรีตในขณะท าการเทจะต้องไม่เกิน 35 องศาเซลเซียส

ก่อนเทคอนกรีตจะต้องก าจัดขี้เลื่อย เศษไม้ เศษผง เศษลวดผูกเหล็ก และวัสดุอื่นที่ไม่ต้องการออกจากแบบหล่อ

ในขณะเทคอนกรีตจะต้องระมัดระวังมิให้เกิดการแยกตัว และมิให้เหล็กเสริมเคลื่อนที่ไปจากต าแหน่งเดิม การใช้กระบะ ราง หรือท่อเพื่อล าเลียงคอนกรีตจากเครื่องผสมไปยังแบบหล่อที่ จะต้องได้รับความเห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรจาก “ผู้ควบคุมงาน” เท่านั้น ในกรณีที่การล าเลียงด้วยวิธีการดังกล่าวท าให้คุณภาพของคอนกรีตด้อยไป “ผู้ควบคุมงาน” จะสั่งให้ระงับการใช้วิธีล าเลียงนั้น แล้วจัดให้ล าเลียงคอนกรีตด้วยวิธีที่เห็นว่าเหมาะสม

กระบะหรือรางแบบเปิดจะต้องเป็นโลหะหรือมีขอบเป็นโลหะ ถ้าหากจ า เป็นต้องเทคอนกรีตตามรางที่ลาดชันและยาวจะต้องติดตั้งแผ่นกั้นบนราง หรือแบ่งรางเป็นส่วนสั้นๆ ส าหรับเบนทิศทางการไหลของคอนกรีต

Page 14: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 14

“ผู้รับจ้าง” จะต้องระวังรักษากระบะ ราง และท่อ ให้สะอาดมิให้คอนกรีตแข็งติด โดยท าความสะอาดด้วยน้ าหลังจากใช้งานเสร็จแต่ละคร้ัง น้ าที่ใช้ท าความสะอาดจะต้องเททิ้งให้ห่างจากโครงสร้างคอนกรีต

ในกรณีที่ระยะเทคอนกรีตสูงกว่า 1.5 เมตร ให้ใช้ท่อเทคอนกรีต ขณะท าการเทคอนกรีตจะต้องไหลเต็มท่อ และปลายล่างของท่อต้องจมอยู่ในคอนกรีต ห้ามทุบแบบหล่อหลังจากที่คอนกรีตเริ่มอยู่ตัวครั้งแรก และต้องระมัดระวังไม่ให้ปลายเหล็กเสริมที่โผล่จากคอนกรีตถูกกระทบกระเทือน

ทั้งนี้ในระหว่างและภายหลังการเทจะต้องอัดคอนกรีตให้แน่นสม่ าเสมอ โดยตลอดการอัดแน่นจะต้องกระท าด้วยวิธีทางกล ดังต่อไปนี้

(ก) การสั่นสะเทือนจะต้องกระท าในเนื้อคอนกรีต เว้นแต่ว่า “ผู้ควบคุมงาน” จะสั่งเฉพาะให้เป็นวิธีอื่น

(ข) เครื่องสั่นจะต้องเป็นชนิดและแบบที่ “ผู้ควบคุมงาน” เห็นชอบ ทั้งนี้ต้องสามารถถ่ายทอดการสั่นสู่คอนกรีตได้ด้วยความถี่ไม่น้อยกว่า 4,500 รอบต่อนาที

(ค) ความแรงในการสั่นจะต้องกระเทือนอย่างเห็นได้ชัดในรัศมีไม่น้อยกว่า 45 เซนติเมตร จากจุดที่เคร่ืองสั่นจี้ เมื่อใช้งานกับมวลคอนกรีตซึ่งมีค่าความยุบตัว 2 เซนติเมตร

(ง) “ผู้รับจ้าง” จะต้องจัดหาเครื่องสั่นในจ านวนที่เพียงพอ เพื่ออัดแน่นคอนกรีตทันทีหลังจากเทลงในแบบหล่อ

(จ) การอัดแน่นคอนกรีตจะต้องใช้เครื่องสั่นจี้คอนกรีตให้ทั่วทั้งบริเวณรอบๆ เหล็กเสริมและ อุปกรณท์ี่ฝังคอนกรีตและตามเหลี่ยมตามมุมของแบบหล่อ

การใช้เคร่ืองสั่นจี้ให้กระท าใกล้จุดที่คอนกรีตไหลลงสู่แบบหล่อ และในบริเวณที่มีคอนกรีตสด ทั้งนี้ จะต้องแหย่และถอดเครื่องสั่นอย่างช้าๆ การสั่นจะต้องใช้ระยะเวลาและความแรงพอเพื่ออัดคอนกรีตจนทั่ว แต่จะต้องไม่นานจนท าให้คอนกรีตเกิดการแยกตัว ห้ามแช่เครื่องสั่นที่จุดหนึ่งจุดใดนานจนเกิดน้ าปูนขึ้นที่ผิวคอนกรีต

การใช้เคร่ืองสั่นจี้ตามจุดต่างๆ ให้ด าเนินการโดยเว้นระยะห่างอย่างสม่ าเสมอ แต่ต้องไม่เกิน 2 เท่าของค่ารัศมีการสั่น เม่ือสังเกตด้วยตาเปล่า

(ฉ) ห้ามใช้เครื่องสั่นจี้บนเหล็กเสริม หรือชั้นของคอนกรีตที่แข็งตัว โดยสังเกตได้จากการที่คอนกรีตไม่ไหลแม้จะจี้แล้วก็ตาม และห้ามใช้เครื่องสั่นจี้คอนกรีตในแบบหล่อให้ไหลไปไกลจนเกิดการแยกตัว หรือใช้เครื่องสั่นในการย้ายมวลคอนกรีตไปยังที่ต่างๆ ในแบบหล่อ

(ช) การสั่นจะต้องกระท าควบคู่ไปกับการใช้พลั่วตักตามความจ าเป็น เพื่อให้ผิวหน้าของคอนกรีตเรียบ และแน่นตลอดตามผิวแบบหล่อ มุม และต าแหน่งซึ่งเครื่องสั่นเข้าไปไม่ถึง

(ซ) ข้อก าหนดในที่นี้ใช้ได้กับเสาเข็มหล่อส าเร็จ และองค์อาคารหล่อส าเร็จอื่นๆ ด้วย นอกเสียจากว่าโรงงานผู้ผลิตจะใช้วิธีการสั่นอย่างอื่นที่ “ผู้ควบคุมงาน” ยอมรับ

คอนกรีตจะต้องเทเป็นชั้นตามแนวราบหน้าชั้นละไม่เกิน 30 เซนติเมตร เว้นแต่ “ผู้ควบคุมงาน” จะก าหนดให้เป็นอย่างอื่น คอนกรีตชั้นบนจะต้องเทและสั่นให้แน่นก่อนที่คอนกรีตชั้นล่างจะเริ่มอยู่ตัวครั้งแรก ทั้งนี้เพื่อป้องกันความเสียหายต่อคอนกรีตสดหรือการแยกตัวระหว่างชั้นคอนกรีตหรือรอยต่อก่อสร้างกับคอนกรีตส่วนล่าง

Page 15: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 15

เมื่อหยุดการเทคอนกรีตชั่วคราวจะต้องรอให้คอนกรีตแข็งพอที่จะรักษารูปทรงได้ แล้วจึงท าความสะอาดผิวคอนกรีตโดยขจัดฝ้าปูน และวัสดุไม่พึงประสงค์อย่างอื่นออกจนเห็นเนื้อคอนกรีตที่ดี เพื่อป้องกันมิให้เกิดรอยแตกที่ผิวคอนกรีตเปลือยจะต้องใช้เกรียงแต่งผิวบนของคอนกรีตที่ติดกับแบบหล่อให้เรียบ

ทันที่หยุดเทคอนกรีตจะต้องขจัดปูนที่แห้งติดเหล็กเสริมและแบบหล่อออกให้หมด ห้ามผสมเศษปูนแห้งหรือฝุ่นเข้าไปในเนื้อคอนกรีต ถ้าจะขจัดเศษผงต่างๆ ดังกล่าวออกหลังจากที่คอนกรีตก่อตัวแล้ว จะต้องระมัดระวังตัวมิให้การยึดหน่วงระหว่างคอนกรีตกับเหล็กถูกท าลายไป

ในการเทคอนกรีตบนโครงสร้างช่วงเดียว ให้เริ่มเทจากจุดศูนย์กลางของช่วงเข้าสู่ปลายทั้งสองข้างส าหรับคานหลักให้เทคอนกรีตทีละชั้น แต่ละชั้นหนาอย่างสม่ าเสมอตลอดความยาว ล าดับการเทคอนกรีตของโครงสร้างที่มีช่วงต่อเนื่องจะต้องเป็นไปตามที่ก าหนดในแบบแปลนหรือตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” เห็นชอบ

การเทคอนกรีตในส่วนขยายความลึกของพื้นและคานหลัก ซึ่งมิติที่ขยายนั้นมีค่าน้อยกว่า 1.0 เมตร ให้ด าเนินการไปพร้อมๆ กับการเทตัวคานหลัก

การเทคอนกรีตในคานให้เทไปพร้อมพื้นอย่างต่อเนื่องจนเสร็จในการเทคร้ังเดียว

การเทคอนกรีตในผนัง และตอม่อให้ด าเนินการอย่างต่อเนื่องจนเสร็จในการเทครั้งเดียว ถ้า “ผู้ควบคุมงาน” ไม่ก าหนดให้เป็นอย่างอื่น

เว้นแต่เมื่อ “ผู้ควบคุมงาน” จะอนุญาตให้เป็นอย่างอื่น “ผู้รับจ้าง”จะต้องไม่เทคอนกรีตในโครงสร้างส่วนบนจนกว่าจะได้ถอดแบบหล่อเสาออกเพื่อดูลักษณะของเนื้อคอนกรีตในผนังแล้ว ห้ามถ่ายน้ าหนักของโครงสร้างส่วนบนลงสู่ผนังถ้าอายุคอนกรีตในผนังยังไม่ครบ 14 วัน ยกเว้นได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน”

การเทคอนกรีตโดยใช้แรงดันลม จะกระท าได้ก็ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” แล้วเท่านั้น จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ที่ใช้โดยมิให้การสั่นสะเทือนของเคร่ืองไปกระทบกระเทือนต่อคอนกรีตสด

ในการล าเลียงและเทคอนกรีตด้วยวิธีใช้แรงดันลม อุปกรณ์จะต้องเป็นชนิดที่เหมาะสมแก่การใช้งานและต้องมีสมรรถนะเพียงพอ เคร่ืองส่งคอนกรีตจะต้องอยู่ใกล้กับจุดที่จะเทคอนกรีตให้มากที่สุด ปลายท่อส่งจะต้องอยู่ห่างจากจุดที่เทไม่เกิน 3.0 เมตร ท่อส่งจะต้องอยู่ในแนวราบหรือเอียงขึ้นจากเครื่องเมื่อการเทคอนกรีตสิ้นสุดจะต้องท าความสะอาดอุปกรณ์ทุกชิ้น

การเทคอนกรีตโดยใช้เครื่องสูบคอนกรีตจะกระท าได้ก็ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” แล้วเท่านั้น ทั้งนี้จะต้องติดตั้งอุปกรณ์โดยมิให้การสั่นของเคร่ืองไปกระทบกระเทือนต่อคอนกรีต เคร่ืองสูบคอนกรีตจะต้องเป็นชนิดที่เหมาะแก่การใช้งาน และมีสมรรถนะพอเพียงเพื่อที่จะล าเลียงและเทคอนกรีตด้วยความดัน เครื่องสูบจะต้องส่งคอนกรีตให้ไหลไปตามท่ออย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิดโพรงอากาศในท่อ เมื่องานสูบคอนกรีตแล้วเสร็จและต้องการน าเอาคอนกรีตที่ค้างอยู่ในท่อไปใช้ต่อ จะต้องดันคอนกรีตที่ค้างอยู่ออกอย่างระวัดระวังมิให้วัสดุอื่นมาเจือปนซึ่งกระท าให้คอนกรีตเสียคุณภาพ และต้องระมัดระวังมิให้เกิดการแยกตัวของส่วนผสม เมื่อดันคอนกรีตออกจนหมดแล้วให้ท าความสะอาดอุปกรณ์ทุกชิ้น

(3) การท ารู และการฝังอุปกรณ์พิเศษ

ก่อนการเทคอนกรีต “ผู้รับจ้าง” จะต้องตรวจดูต าแหน่งในโครงสร้างเพื่อท ารูหรือฝังอุปกรณ์พิเศษ เช่น ท่อต่างๆ กล่องดึงสายไฟ ฐานรองรับท่อน้ าเย็น รูระบายน้ า ท่อระบายน้ า รู ระบายอากาศ เป็นต้น ถ้าเทคอนกรีตโดยมิได้จัดเตรียมการดังกล่าวไว้ก่อน “ผู้รับจ้าง” จะต้องท าการแก้ไขให้ถูกต้องโดยต้องออกค่าใช้จ่ายเอง

Page 16: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 16

อุปกรณ์พิเศษที่ต้องฝังในคอนกรีต ได้แก่

- สลักเกลียว และอุปกรณ์ส าหรับฐานรองรับท่อน้ าเย็น และรูระบายอากาศ

- รอยต่อเพื่อการขยาย และแผ่นฐานรองชนิดเคลื่อนตัวได้

- ท่อระบายน้ า

- ท่อร้อยสายไฟส าหรับเสาไฟฟ้าแสงสว่าง (ถ้ามี)

- สลักเกลียว และอุปกรณ์เพื่อวัตถุประสงค์ในการตรวจตรา และบ ารุงรักษา ตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” ก าหนด

อุปกรณ์อ่ืนๆ ที่ไม่ได้กล่าวไว้ข้างต้นจะต้องฝังไว้ตามที่แสดงไว้ในแบบแปลนหรือเป็นไปตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” ก าหนด

(4) รอยต่อก่อสร้าง

(ก) ทั่วๆ ไป

รอยต่อก่อสร้างให้ท าตามที่ก าหนดไว้ในแบบแปลนหรือแผนการเทคอนกรีตเท่านั้น ถ้า “ผู้ควบคุมงาน” ไม่ให้การเห็นชอบว่าเป็นอย่างอื่น

ถ้าไม่ได้ก าหนดไว้ในแบบแปลนหรือในกรณีฉุกเฉินจะต้องท ารอยต่อก่อสร้างตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” ก าหนดเหล็กเส้นเอียงให้ท าตามที่จ าเป็นเพื่อถ่ายทอดแรงเฉือน หรือยึดหน่วงโครงสร้าง 2 ส่วนเข้าด้วยกัน

(ข) การยึดหน่วง

ก่อนจะเทคอนกรีตใหม่ต่อกับคอนกรีตเดิมที่แข็งตัวแล้ว “ผู้รับจ้าง” จะต้องปรับแบบหล่อให้แน่น ท าผิวคอนกรีตเดิมให้ขรุขระตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” ก าหนด ปัดกวาดเศษมวลรวมหยาบหรือคอนกรีตที่ทุบออกให้หมด ขจัดวัตถุไม่พึงประสงค์รวมทั้งฝ้าปูนออก หลังจากนั้นท าผิวให้ชุ่มด้วยน้ า ขั้นต่อไปให้ไล้ผิวคอนกรีตเดิมนั้นด้วยปูนสอหรือปูนซีเมนต์บางๆ แล้วจึงเทคอนกรีตใหม่ก่อนที่ปูนสอจะก่อตัว

การเทคอนกรีตให้กระท าจากรอยต่อหนึ่งไปยังรอยต่ออีกหนึ่งอย่างต่อเนื่อง เส้นขอบที่ปรากฏขึ้นบนผิวรอยต่อทุกแห่งจะต้องได้รับการตกแต่งให้ได้แนวและระดับ

(5) การบ่มคอนกรีต

ผิวคอนกรีตต้องบ่มให้เปียกชื้นอย่างทั่วถึงเป็นเวลาอย่างน้อย 7 วัน หลังจากเทคอนกรีตให้คลุมพื้นและผิวของคอนกรีตด้วยผ้ากระสอบชุ่มน้ าทันทีที่ตกแต่งผิวคอนกรีตเสร็จ และคลุมผ้ากระสอบได้ตลอดระยะเวลาที่บ่มเมื่อผิวคอนกรีตแข็งพอที่จะป้องกันการขูดข่วนได้แล้วอาจใช้ทรายคลุมแทน ตลอดระยะเวลาบ่มจะต้องรักษาผ้ากระสอบหรือทรายให้เปียกชื้นอยู่เสมอ ผิวคอนกรีตอื่นๆ ยกเว้นผิวที่ยังไม่ได้ถอดแบบหล่อให้ใช้วิธีฉีดน้ า หรือคลุมด้วยผ้ากระสอบให้เปียกชื้นโดยตลอดจนกระทั่งสิ้นสุดการบ่ม แบบหล่อที่ยังไม่ถอดออกจากผิวคอนกรีตต้องชุ่มชื้นอยู่เสมอเพื่อป้องกันมิให้รอยต่อขอบแบบหล่อเสียหาย

หลังจากการบ่มได้ 7 วันให้รดน้ าผิวคอนกรีตเป็นประจ าทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง อีก 2 สัปดาห์หลังจากการบ่ม ทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้ผิวแห้ง

Page 17: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 17

“ผู้รับจ้าง” อาจเสนอใช้เยื่อบ่มชนิดสารผสมเหลว แทนการบ่มด้วยน้ า แต่ต้องได้รับอนุมัติจาก “ผู้ควบคุมงาน” ก่อนน ามาใช้

การบ่มด้วยไอน้ าจะต้องได้รับอนุมัติจาก “ผู้ควบคุมงาน”

(6) การรื้อถอนค้ ายันและแบบหล่อ

(ก) ก าหนดเวลารื้อถอน

ห้ามรื้อถอนแบบหล่อและค้ ายันก่อนได้รับอนุมัติจาก “ผู้ควบคุมงาน” การอนุมัติโดย “ผู้ควบคุมงาน” จะไม่ท าให้ “ผู้รับจ้าง” พ้นจากความรับผิดชอบต่อความปลอดภัยในงานนั้น เครื่องยึดโยงแบบหล่อให้ถอดออกพร้อมกับถอดแบบหล่อ ไม่ว่ากรณีใดๆ ห้ามทิ้งแบบหล่อไว้ในเนื้อคอนกรีต

ห้ามถอดแบบหล่อส าหรับผิวคอนกรีตเปลือยในแนวดิ่งก่อนเวลาที่ “ผู้ควบคุมงาน” ก าหนดโดยปกติไม่น้อยกว่า 2 วัน

ห้ามรื้อถอนค้ ายันและแบบหล่อใต้พื้น คาน และคานหลัก ก่อนคอนกรีตจะได้ก าลังตามที่ก าหนด ถ้า “ผู้รับจ้าง” ขอรื้อถอนก่อนเวลา “ผู้ควบคุมงาน” อาจอนุญาตให้กระท าได้ ทั้งนี้จะต้องมีผลการทดสอบจากตัวอย่าง (ตามข้อ 5.1.6) มารับรอง

“ผู้รับจ้าง” จะต้องรื้อไม้แบบของโครงสร้างนั้นให้หมด ก่อนจะเทโครงสร้างใหม่เชื่อมต่อ

(7) การซ่อมผิวคอนกรีต

เมื่อถอดแบบหล่อเสร็จ “ผู้รับจ้าง” จะต้องแจ้งให้ “ผู้ควบคุมงาน” มาท าการตรวจตราผิวคอนกรีตก่อนจะท าการซ่อมแซมใดๆ เส้นลวดหรืออุปกรณ์โลหะยึดโยงแบบหล่อ ซึ่งโผล่ออกจากผิวคอนกรีตต้องรื้อหรือตัดออกให้ลึกเข้าไปจากผิวตกแต่งไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร รูหรือหลุมที่เกิดขึ้นให้อุดด้วยปูนซีเมนต์กับมวลรวมละเอียดในอัตราส่วนเดียวกับที่ใช้ผสมคอนกรีตส าหรับโครงสร้างนั้น ก่อนอุดรูต้องท าความสะอาดผิวให้ทั่วถ้วน และท าผิวให้ชุ่มด้วยน้ าเสียก่อน

ในกรณี “ผู้ควบคุมงาน” เห็นว่ามีโพรงรังผึ้งเกิดขึ้นที่ผิวคอนกรีตมากเกินไป “ผู้ควบคุมงาน” จะสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ “ผู้รับจ้าง” ท าการรื้อทุบแล้วหล่อโครงสร้างส่วนนั้นขึ้นมาใหม่ โดย “ผู้รับจ้าง” ต้องออกค่าใช้จ่ายเอง

“ผู้ควบคุมงาน” อาจอนุญาตให้ท าการซ่อมโพรงรังผึ้ง และร่องรอยอื่นๆ ซึ่งมีขนาดเล็กได้แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมด้านโครงสร้าง การบ ารุงรักษาและความสวยงามก่อนท าการอนุญาตให้กระท า

(8) การเทคอนกรีต

ห้ามเทคอนกรีตใต้น้ า เว้นแต่ว่าจะได้รับความเห็นชอบและอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ “ผู้ควบคุมงาน” และในกรณีนี้วิธีการเทคอนกรีตให้กระท าตามที่ระบุต่อไปนี้

การเทคอนกรีตใต้น้ าโดยเทคอนกรีตลงอย่างระมัดระวัง เมื่อการเทแล้วเสร็จจะต้องได้มวลคอนกรีตที่อัดแน่น ภายหลังจากการเทห้ามมิให้มีการรบกวนต่อคอนกรีตนั้น และจะต้องระมัดระวังให้น้ าบริเวณที่จะเทคอนกรีตอยู่นิ่ง ห้ามเทคอนกรีตขณะน้ าไหล ต้องควบคุมวิธีการเทคอนกรีตเพื่อให้ได้ผิวที่อยู่ในแนวราบโดยประมาณ

Page 18: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 18

คอนกรีตต้องเทให้เสร็จภายในครั้งเดียว ท่อเทคอนกรีตใต้น้ าที่ใช้จะต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ข้อต่อทุกต าแหน่งในท่อจะต้องกันน้ ารั่วได้ ให้ยึดท่อในลักษณะซึ่งจะท าให้ท่อเคลื่อนที่อย่างอิสระเหนือคอนกรีตที่เท และสามารถเคลื่อนที่ลงอย่างรวดเร็วเมื่อต้องการหยุดหรือชะลอการไหลของคอนกรีต การเติมคอนกรีตลงในท่อต้องใช้วิธีซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้น้ าชะคอนกรีตได้ ปลายท่อล่างต้องให้จมอยู่ในคอนกรีตตลอดเวลาและคอนกรีตต้องอยู่เต็มท่อเสมอ ค่าความยุบตัวของคอนกรีตต้องอยู่ระหว่าง 15-20 เซนติเมตร

การสูบน้ าออกจะท าได้เมื่อคอนกรีตแข็งตัวพอต้านทานต่อแรงดันใดๆ ได้แล้ว หรือให้ได้ก าลังรับแรงอัดอย่างน้อยร้อยละ 80 ของก าลังรับแรงอัดสูงสุด

ฝ้าปูนหรือวัสดุไม่พึงประสงค์อย่างอื่นให้ขจัดออกจากผิวคอนกรีต โดยการขูด ฉีดด้วยน้ า กะเทาะออกหรือวีธีอื่นใดซึ่งจะไม่ท าอันตรายต่อคอนกรีต

(9) องค์อาคารคอนกรีตหล่อส าเร็จจากโรงงาน

“ผู้ควบคุมงาน” จะอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ผู้ผลิตองค์อาคารคอนกรีตหล่อส าเร็จท าการผลิตองค์อาคารนั้นๆ เพื่อใช้ในการงานได้ การอนุญาตอาจเพิกถอนได้ในภายหลัง โดย “ผู้ควบคุมงาน” จะเป็นผู้วินิจฉัย คอนกรีตที่ใช้ผลิตองค์อาคารหล่อส าเร็จ จะต้องเป็นไปตามข้อก าหนดที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น

ถ้า “ผู้ควบคุมงาน” ไม่ให้ความเห็นชอบเป็นอย่างอื่น ห้ามเคลื่อนย้ายองค์อาคารคอนกรีตหล่อส าเร็จออกจากที่หล่อถ้าก าลังอัดของคอนกรีตยังไม่ถึงร้อยละ 80 ของก าลังที่อายุ 28 วัน หรือห้ามขนส่งองค์อาคารนั้นถ้าก าลังอัดไม่ถึงร้อยละ 90 ของก าลังที่อายุ 28 วัน

“ผู้รับจ้าง” จะต้องระมัดระวังในการล าเลียงและเคลื่อนย้ายองค์อาคารคอนกรีต (Precast element) หล่อส าเร็จเป็นพิเศษ

ในการบรรทุกคานหลัก และพื้นหล่อส าเร็จให้วางด้านบนและด้านล่างของคานหรือพื้นให้ถูกต าแหน่งขณะขนส่งจะต้องป้องกันมิให้เกิดการสะเทือนต่อองค์อาคาร จุดรองรับและทิศทางของแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นกับองค์อาคารในระหว่างขนส่งและเคลื่อนย้ายให้อยู่ใกล้เคียงกับต าแหน่งจริงบนโครงสร้าง หาก “ผู้รับจ้าง” เห็นว่ามีวิธีอื่นเหมาะสมก็อาจใช้วิธีนั้นได้ หลังจากที่ได้แจ้งให้ “ผู้ควบคุมงาน” ทราบและได้รับความเห็นชอบแล้ว ทั้งนี้ “ผู้รับจ้าง” ต้องรับผิดชอบต่อผลจากการกระท านั้นเอง หากเกิดความเสียหายขึ้น “ผู้รับจ้าง” ต้องจัดหาองค์อาคารชิ้นใหม่แทนชิ้นที่ “ผู้ควบคุมงาน” ปฏิเสธไม่ยอมรับ

“ผู้รับจ้าง” ต้องเสนอรายละเอียดวิธีการล าเลียง และขนส่งองค์อาคารหล่อส าเร็จ เป็นลายลักษณ์อักษรต่อ “ผู้ควบคุมงาน” เพื่อให้เห็นความชอบก่อนด าเนินการ

“ผู้รับจ้าง” จะต้องท าเครื่องหมายถาวรบนองค์อาคารหล่อส าเร็จแสดงถึงประเภท/วัน/เดือน/ปี ที่หล่อ

(10) การถ่ายน้ าหนัก

ห้ามถ่ายน้ าหนักโครงสร้างส่วนบนลงคานรัดหัวเสา เสา หรือตอม่อ จนกว่า “ผู้ควบคุมงาน” จะออกค าสั่งและไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามห้ามถ่ายน้ าหนักใดๆ จนกว่าจะสิ้นสุดระยะเวลาการบ่มคอนกรีตนั้น ซึ่งโดยทั่วไปจะต้องหลังจากเทคอนกรีตแล้วเสร็จสมบูรณ์เป็นเวลาอย่างน้อย 28 วัน

Page 19: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 19

(11) การถมกลบวัสดุบนโครงสร้าง

ที่ว่างอันเกิดจากการขุดท าโครงสร้างหลังจากเทหล่อโครงสร้างนั้นแล้วเสร็จ ให้ท าการกลบและบดอัดด้วยวัสดุตามบทที่ 5 และตามที่ “ผู้ควบคุมงาน” เห็นชอบ

(12) การท าความสะอาด

เมื่อท างานโครงสร้างคอนกรีตแล้วเสร็จ ก่อนการตรวจรับงานขั้นสุดท้าย “ผู้รับจ้าง” จะต้องท าการรือ้ถอนแบบหล่อและค้ ายันออกจนหมด ภายในระดับ 0.50 เมตร ต่ าจากระดับพื้นดินซึ่งปรับแล้ว วัสดุที่ขุดขึ้นมาหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วและขยะต่างๆ ให้ขจัดออกจากบริเวณที่ก่อสร้างให้หมดจนพื้นที่อยู่ในสภาพที่สะอาดเรียบร้อย เป็นที่ยอมรับของ “ผู้ควบคุมงาน”

5.1.8 การวัดปริมาณและเงื่อนไขการจ่ายเงินงวด

การวัดปรมิาณงานคอนกรีตให้วัดเป็นลูกบาศก์เมตรของคอนกรีตแต่ละชนิด ตามที่ได้เทและได้รับความเห็นชอบ ในการค านวณหาปริมาณให้คิดจากแบบแปลน หรือโดยความยินยอมของ “ผู้ควบคุมงาน” แต่ทั้งนี้ต้องไม่รวมส าหรับงานชั่วคราว หรืองานซึ่งจ่ายแยกอยู่ในรายการอื่นๆ แล้ว การวัดปริมาณงานจะไม่หักปริมาณของช่องเปิดระบายน้ า ท่อซึ่งเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 30 เซนติเมตร ท่อร้อยสายไฟ ลบมุม เหล็กเส้นเสริม เหล็กอัดแรง รอยต่อขยาย ยางกันน้ า ตลอดจนหัวเข็มซึ่งจมอยู่ในคอนกรีต ยกเว้นงานหล่อส าเร็จ

งานหล่อส าเร็จให้วัดต่อหน่วยซึ่งติดตั้งในที่เรียบร้อย และเป็นที่ยอมรับแล้ว

รอยต่อรวมทั้งวัสดุทั้งวัสดุอุดรอยต่อ ยกเว้นรอยต่อเพื่อการขยายส าหรับท่อรวมฯ จะไม่วัดปริมาณงานแยกต่างหากยกเว้นจะระบุบ่งชัดเจนในบัญชีแสดงปริมาณวัสดุ

5.2 งานคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง

5.2.1 ค าอธิบาย

งานคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง ครอบคลุมถึงงานโครงสร้างของสิ่งก่อสร้างที่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงโดยรายละเอียดแสดงตามแบบก่อสร้างและข้อก าหนดประกอบแบบ ซึ่งก าหนดต้องสอดคล้องกับข้อที่ 5.1 (คอนกรีตส าหรับงานโครงสร้าง) ของข้อก าหนดงานก่อสร้างนี้

5.2.2 ทั่วไป

วัสดุงานคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้

(1) ปูนซีเมนต์

ปูนซีเมนต์ที่ใช้ควรสอดคล้องกับข้อ ที่ 5.1.2 ข้อที่ 1 ปูนซีเมนต์ของข้อก าหนดงานก่อสร้างนี้

(2) ทราย

ทรายที่ใช้ ควรสอดคล้องกับข้อที่ 5.1.2 ข้อที่ 2 ทรายของข้อก าหนดงานก่อสร้างนี้

(3) หิน

หินที่ใช้ ควรสอดคล้องกับข้อที่ 5.1.2 ข้อที่ 3 หินของข้อก าหนดงานก่อสร้างนี้

(4) น้ า

น้ าที่ใช้ ควรสอดคล้องกับข้อที่ 5.1.2 ข้อที่ 4 น้ าของข้อก าหนดงานก่อสร้างนี้

Page 20: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 20

(5) สารผสมเพิ่ม (ADMIXTURES)

สารผสมเพิ่มหรือสิ่งอื่นใดที่ผสมเพิ่มเติม ต้องได้รับการอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษรโดย “ผู้ควบคุมงาน” โดย “ผู้รับจ้าง” ต้องเสนอตัวอย่างสารผสมเพิ่มต่อ “ผู้ควบคุมงาน” ก่อนที่จะท าการทดลองส่วนผสมคอนกรีต

(6) ลวดเหล็ก (PRESTRESSING WIRE)

ลวดเหล็กที่ใช้ต้องมีสมบัติทางกลตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 95: มาตรฐานลวดเหล็กส าหรับงานคอนกรีตอัดแรง ดังมีรายละเอียดตามตารางดังนี้

ตารางแสดงสมบตัิทางกลของลวดเหล็ก

ลวดเหล็กประเภทไม่คลายแรงและคลายแรง (STRESS-RELIEVED AND NONSTRESS-RELIEVED)

ชื่อ ขนาด

เส้นผ่านศูนย์กลาง(มิลลิเมตร)

ความเค้นดึงสูงสุด (กิโลกรัมแรง ต่อ

ตารางเมตรมิลลิเมตร)

ความเค้นพิสูจน์ที่ 0.2% offset (กิโลกรัม ต่อตาราง

มิลลิเมตร)

การทดสอบ การดัดกลับ

ความล้า คิดเป็น ร้อยละ

ไม่น้อยกว่า ไม่มากกว่า ไม่น้อยกว่า ไม่มากกว่า จ านวนครั งไม่

น้อยกว่า รัศมีหัวดัดมิลลิเมตร

ไม่มากกว่า

PC 4 4.00

175 200 130 150 3

3

3

3

12.5

15

20

25

4.5

4.5

4.5

4.5

PC 4A 175 200 150 170 PC 5

5.00 175 200 130 150

PC 5A 175 200 150 170 PC 7

7.00 160 185 120 140

PC 7A 160 185 135 160 PC 9A 9.00 140 170 125 150

หมายเหตุ ค่าความล้าที่ก าหนดในตารางนี้ไว้ส าหรับการทดสอบนาน 10 ชั่วโมงเท่านั้น

ส่วนค่าที่ใช้ในการออกแบบให้เป็นไปตามมาตรฐานของการออกแบบสากล

ความคลาด เคลื่ อน เส้ นผ่ านศู นย์ กลางของลวด เหล็ กที่ ยอม ให้ต้ อ ง เป็น ไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 95: มาตรฐานลวดเหล็กส าหรับงานคอนกรีตอัดแรง ดังมีรายละเอียดตามตารางดังต่อไปนี้

ตารางแสดงความเคลื่อนที่ยอมให้ส าหรับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดเหล็ก

ชื่อขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง

(มิลลิเมตร) ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ (มิลลิเมตร)

พื นที่หน้าตัดระบุ (ตารางมิลลิเมตร)

น าหนักระบุ (กิโลกรัมต่อกิโลเมตร)

PC 4, PC 4A PC 5,PC 5A PC 7, PC 7A

PC 9A

4.00 5.00 7.00 9.00

± 0.050 ± 0.050 ± 0.050 ± 0.050

12.75 19.64 38.48 63.62

98.7 154.0 302.0 499.0

Page 21: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 21

(1) ลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น (UNCOATED SEVEN-WIRE STRESS-RELIEVED STRAND)

ลวดเหล็กตีเกลียวที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติทางกลมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 420: มาตรฐานลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น ส าหรับงานคอนกรีตอัดแรง ดังรายละเอียดตามตารางต่อไปนี้

ตารางแสดงคุณสมบัติทางกลของลวดเหล็กตีเกลียว

ชื่อขนาด

ความต้านแรงดึงที่จุดยืด แรงดึงสูงสุด (กิโลกรัมแรง) ไม่น้อยกว่า

ความยืด (ร้อยละ)

ไม่น้อยกว่า

ความล้า (ร้อยละ)

ไม่มากกว่า แรงดึงเริ่มต้น (กิโลกรัมแรง)

ความต้านแรงดึงที่จุดยืด ร้อยละ 1

(กิโลกรัมแรง) ไม่น้อยกว่า SPC 6A SPC 7A SPC 9A

SPC 11A SPC 12A SPC 15A SPC 9B

SPC 11B SPC 12B SPC 15B

410 660 910

1,220 1,630 2,450 1,040 1,410 1,880 2,660

3,470 5,580 7,710

10,430 13,880 20,820 8,870

11,950 15,910 22,580

4,080 6,480 9,070

12,240 16,320 24,490 10,430 14,060 18,730 26,480

3.5 3.5 3.5 3.5 3.5 3.5 3.5 3.5 3.5 3.5

3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0

ความคลาดเคลื่อนของเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดเหล็กตีเกลียวที่ยอมให้ ต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 420: มาตรฐานลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น ส าหรับงานคอนกรีตอัดแรง ดังมีรายละเอียดตามตารางดังต่อไปนี้

Page 22: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 22

ตารางแสดงความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ส าหรับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดเหล็กตีเกลียว

ชั นคุณภาพ ชื่อขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง

(มิลลิเมตร)

ค่าความแตกต่าง (มิลลิเมตร) ไม่น้อยกว่า

พื นที่ภาคตัดขวาง (ตารางมิลลิเมตร)

น าหนัก (กิโลกรัมต่อกิโลเมตร)

1725

1860

SPC 6A SPC 7A SPC 9A

SPC 11A SPC 12A SPC 15A SPC 9B

SPC 11B

SPC 12B

SPC 15B

6.35 ± 0.40 7.94 ± 0.40 9.53 ± 0.40

11.11 ± 0.40 12.70 ± 0.40 15.24 ± 0.40 9.53 + 0.65

- 0.15 11.11 + 0.65

- 0.15 12.70 + 0.65

- 0.15 15.24 + 0.65

- 0.15

0.03 0.04 0.05 0.07 0.08 0.10 0.05

0.07

0.08

0.10

23.22 37.42 51.61 69.68 92.90

139.35 54.84

74.19

98.71

140.00

182 294 405 548 730

1,094 432

582

775

1,102

(2) การดึงลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียวชนิด 7 เส้น

ถ้าไม่ได้ก าหนดไว้ในแบบรายละเอียดเป็นอย่างอื่นแล้ว ลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียวจะท าการดึงหรือตัดได้ก็ต่อเมื่อค่าแรงอัดของแท่งทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐาน 15 เซนติเมตร x 30 เซนติเมตร ของคอนกรีตโครงสร้างนั้น มีค่าไม่น้อยกว่าค่าที่ก าหนด

- งานอาคาร ร้อยละ 80 ของแรงอัดประลัยที่ก าหนดให้

- งานท่าเทียบเรือ ร้อยละ 85 ของแรงอัดประลัยที่ก าหนดให้

- งานเสาเข็ม ร้อยละ 70 ของแรงอัดประลัยที่ก าหนดให้

แต่ทั้งนี้การดึงลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียว จะต้องท าให้เกิดค่าแรงอัดในคอนกรีตไม่เกินร้อยละ 60 ของค่าแรงอัดประลัยของคอนกรีตในขณะดึงลวด

(3) ท่อร้อยลวดเหล็กและลวดเหล็กตีเกลียว

ท่อร้อยต้องไม่รั่วและไม่ท าปฏิกิริยากับคอนกรีต เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อต้องโตกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดเหล็ก หรือกลุ่มลวดเหล็กอย่างน้อย 6 มิลลิเมตร หรือมีพื้นที่หน้าตัดภายในอย่างน้อย 2 เท่า ของพื้นที่หน้าตัดของลวดเหล็ก หรือกลุ่มลวดเหล็กนั้น

(4) การอัดซีเมนต์เหลว

ซีเมนต์เหลวที่ใช้ในการอัดฉีดเข้าไปในโครงสร้างคอนกรีตอัดแรงนั้น ส่วนผสมของน้ าต่อปูนซีเมนต์ (W/C RATIO) จะต้องเหมือนกกับส่วนผสมของคอนกรีตอัดแรง และส่วนผสมของอลูมีเนียมฟลายแอช หรือวัสดุที่ใช้ในการนี้โดยเฉพาะ ซึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบเสียก่อน

Page 23: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 23

การฉีดซีเมนต์เหลวจะต้องท าด้วยเครื่องอัดใช้แรงดัน ประมาณ 6 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และจะเลิกอัดฉีดซีเมนต์เหลวได้ก็ต่อเมื่อที่ปลายอีกข้างหนึ่งมีซีเมนต์เหลวพุ่งไหลออกมาเต็มท่อ และพุ่งไหลสม่ าเสมอแล้วจึงอุดท่อได้

(5) การตัดลวดภายหลังการอัดซีเมนต์เหลว

การตัดลวดให้ตัดได้เมื่อซีเมนต์เหลวแข็งตัวแล้วไม่น้อยกว่า 3 วัน โดยการตัดท าได้ดังนี้

วิธีที่ 1 ใช้เครื่องตัดชนิดความเร็วสูง (HIGH-SPEED ABRASIVE CUTTING WHEEL) หรือเลื่อยตัด (FRICTION SAW) หรือวิธีอ่ืนใด ที่ได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” แล้ว

วิธีที่ 2 ใช้เคร่ืองตัดโลหะชนิดใส่แก๊ส ACETYLENE-OXYGEN ตัด โดยเพิ่มปริมาณของออกซิเจนเข้าไปขณะที่โลหะเริ่มหลอมละลาย แต่ควรระวังไม่ให้เปลวไฟกระเด็นไปถูกสมอยึด (ANCHORAGE) หรือเส้นลวดเหล็ก (TENDONS)

5.2.3 การวัดปริมาณงาน และเงื่อนไขการจ่ายเงินงวด

การวัดปริมาณงานคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง ให้วัดเป็นลูกบาศก์เมตร หรือเมตร ตามที่ระบุใน BILL OF QUANTITIES โดยรวมถึงลวดอัดแรง ท่อ DUCT อุปกรณ์ ส าหรับระบบดึงลวด เหล็กเสริมงานอัดฉีดน้ าปูน และงานอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง

5.3 งานเหล็กเสริมคอนกรีต

5.3.1 ทั่วไป

มาตรฐานนี้ครอบคลุมถึงงานเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป ยกเว้นลวดอัดแรงที่ใช้งานคอนกรีตอัดแรง โดยเหล็กเสริมคอนกรีตทั้งหมดที่จะน ามาใช้ จะต้องเป็น เหล็กเส้นที่ผลิตโดยโรงงานที่ได้รับใบรับรองคุณภาพสินค้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรม

5.3.2 มาตรฐานของเหล็กเสริมคอนกรีต

เหล็กเสริมคอนกรีตที่จะน ามาใช้ในโครงการจะต้องได้มาตรฐานดังนี้

(1) เหล็กเส้นกลม

เหล็กเส้นกลมที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 9 มม. หรือเล็กกว่าให้ใช้เหล็กเส้น-กลมผิวเรียบที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑอ์ุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรมที่ มอก. 20-2543 ชั้นคุณภาพ SR 24 (เหล็กรีดซ้ าห้ามใช้)

(2) เหล็กข้ออ้อย

เหล็กข้ออ้อยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 10 มม. จนถึง 28 มม. ให้ใช้เป็นเหล็กเส้นข้ออ้อยที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรมที่ มอก. 24-2548 ชั้นคุณภาพ SD 40 ส าหรับเหล็กข้ออ้อยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 28 มม. ให้ใช้เหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ SD 50

(3) ลวดผูกเหล็ก

ลวดที่ใช้ผูกเหล็กเสริมคอนกรีตให้ใช้ลวดเหล็กเหนียวขนาดมาตรฐานเบอร์ 18 (มอก.138-2535)

Page 24: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 24

(4) เหล็กเสริมตาข่าย

ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานอุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ มอก.737-2549

5.3.3 การตัดและการงอขอ

(1) เหล็กเสริมจะต้องตัดให้ถูกขนาดและได้รับตวามยาวตามที่ก าหนดไว้ในแบบ การตัดและดัดจะต้องไม่ท าให้เหล็กช ารุดเสียหายและคุณสมบัติเปลี่ยนไป

(2) การงอ หากในแบบไม่ได้ระบุถึงรัศมีของการงอขอเหล็ก ให้งอตามเกณฑ์ก าหนดต่อไปนี้

- ส่วนที่งอเป็นครึ่งวงกลม (ใช้เฉพาะเหล็กเส้นกลม) จะต้องมีขายื่นออกไปอีกอย่างน้อย 4 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น แต่ทั้งนี้ระยะนี้จะต้องไม่น้อยกว่า 6 ซม.

- ส่วนที่งอเป็นมุมฉาก (ใช้กับเหล็กข้ออ้อย) จะต้องมีขายื่นต่อออกไปอีกอย่างน้อย 10 เท่า ของขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น

- เฉพาะเหล็กลูกตั้งหรือเหล็กปลอกให้งอ 90 องศา หรือ 135 องศา โดยมีส่วนที่ยื่นออกไปจากปลายส่วนโค้งอีกอย่างน้อย 6 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็ก แต่ทั้งนี้จะต้องไม่น้อยกว่า 6 ชม.

- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กที่สุดส าหรับการงอขอ (วัดที่ด้านในของเหล็กที่งอ) ยกเว้นเหล็กปลอก จะต้องไม่น้อยกว่าที่ระบุไว้ในตารางต่อไปนี้

ขนาดของเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กที่สุด

เหล็กกลมขนาด 6 ถึง 25 มม. 6 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น

เหล็กข้ออ้อย ขนาดไม่เกิน 25 มม. 6 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น

เหล็กข้ออ้อย ขนาดเกิน 25 มม. 8 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนั้น

5.3.4 การจัดวางเหล็กเสริม

(1) ที่รองรับ

จะต้องจัดวางเหล็กเสริมในต าแหน่งที่ถูกต้องและมีที่รองรับแข็งแรงและเพียงพอที่จะคงสภาพของเหล็กให้เป็นเส้นตรงซึ่งอาจจะเป็นแท่นคอนกรีต ขาตั้งโลหะ หรือเหล็กยึดเป็นระยะ โดยจะต้องมีการยึดระหว่างที่รองรับกับเหล็กเส้นให้แน่นพอซึ่งอาจจะใช้วิธีผูกด้วยลวด หรือใช้ตัวล็อก เพื่อไม่ให้เหล็กเส้นเคลื่อนที่ไปจากต าแหน่งเดิมในระหว่างการเทคอนกรีต

(2) ความหนาของคอนกรีตที่หุ้มเหล็กเสริม (วัดจากผิวเหล็ก)

คอนกรีตที่ห่อหุ้มเหล็กเสริม (เฉพาะคอนกรีตเทในที่) จะต้องมีความหนาอย่างน้อย 7.5 ซ.ม

5.3.5 การต่อเหล็กเสริม

(1) การต่อเหล็กเสริมให้กระท า ณ จุดที่ก าหนดไว้ในแบบ หรือ ณ ต าแหน่งที่ก าหนดให้ในตารางต่อไปนี้ การต่อเหล็กในต าแหน่งนอกเหนือจากนี้ ทั้ งต าแหน่งและวิธีการต่อจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน”

Page 25: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 25

ตารางแสดงรอยต่อของเหล็กเสริม

ชนิดขององค์อาคาร ต าแหน่งของรอยต่อ ชนิดของรอยต่อ

คานและพื้น เหล็กบนต่อที่กลางช่วงคานหรือพื้นเหล็กล่างต่อที่หน้าเสาถึงระยะไม่เกิน 1/5 จากศูนย์กลางถึงเสา

ต่อทาบแต่ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กมากกว่า 20 มม. อนุญาตให้ต่อโดยการเชื่อมได้

เสาและผนัง

(Shear Wall)

เหนือระดับพื้น 1 เมตร จนถึงระดับกึ่งกลางความสูงระหว่างชั้น

ต่อทาบแต่ถ้าเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กมากกว่า 20 มม. อนุญาตให้ต่อโดยการเชื่อมได้

ฐานราก ห้ามต่อ (ยกเว้นฐานรากขนาดใหญ่) ต่อทาบหรือเชื่อม

(2) รอยต่อแบบทาบให้ใช้ระยะทาบตาราง ดังนี้

ชนิดและขนาดเหล็ก ระยะทาบ

เหล็กกลม SR 24 ขนาด 6 ม.ม. ขนาด 9 ม.ม. เหล็กอ้อย SD 40 ขนาด 12 ม.ม. ขนาด 16 ม.ม. ขนาด 20 ม.ม. ขนาด 25 ม.ม. ขนาด 28 ม.ม. เหล็กข้ออ้อย SD 50 ขนาด 32 ม.ม.

48 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 48 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 40 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 40 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 40 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 40 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 50 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 50 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก

(3) ส าหรับการต่อเหล็กเสริมถ้าต่อโดยวิธีเชื่อมก าลังของรอยเชื่อมจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 125 ของก าลังของเหล็กเสริมนั้น (ยกเว้นเหล็ก SD50 ไม่อนุญาตให้มีการเชื่อม) ก่อนการท าการต่อด้วยวิธีนี้จะต้องท าตัวอย่างรอยเชื่อมเพื่อทดสอบก าลังของรอยเชื่อมก่อนโดยสถาบันที่เชื่อถือได้ โดย “ผู้รับจ้าง” จะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย

(4) การต่อเหล็ก โดยวิธีการอ่ืนๆ เช่น การหลอมละลาย การใช้ปลอกรัด หรือวิธีการอื่นๆ อนุญาตให้น ามาใช้ได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” แล้วเท่านั้น

(5) ณ หน้าตัดใดๆ จะมีรอยต่อของเหล็กเสริมได้ไม่เกินร้อยละ 25 ของจ านวนเหล็กเสริมทั้งหมดที่มีปรากฏในหน้าตัดนั้น ยกเว้นในกรณีที่ระบุไว้ในแบบ

Page 26: หมวดที่ 5 งานคอนกรีต · 5.1.4 ความแข็งแรงของคอนกรีต (strength of concrete) ก าลังต้านทานแรงอัด

การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) รายการขอ้ก าหนดและรายการประกอบแบบ งานจ้างที่ปรึกษาเพือ่ศึกษาวิเคราะห์โครงการและออกแบบบรายละเอยีด งานจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาวิเคราะหโ์ครงการและออกแบบรายละเอียด

ส าหรับกอ่สร้างโครงการท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง

SEATEC-SPAN-DEC 5 - 26

(6) รอยต่อทุกแห่งจะต้องได้รับการตรวจและอนุมัติ โดย “ผู้ควบคุมงาน” แล้วเท่านั้น จึงจะท าการเทคอนกรีตหุ้มได้

(7) เหล็กที่น ามาต่อทาบแบบวางทาบเหลื่อมกัน จะต้องดุ้งปลายเหล็กมีระยะดุ้งเท่ากับระยะทางดังกล่าว เพื่อให้แนวศูนย์กลางของเหล็กที่น ามาต่อกันนั้นอยู่ในแนวเดียวกัน

(8) การมัดเหล็กรวมเป็นก าต้องเพิ่มความยาวอีกร้อยละ 20 ส าหรับเหล็กเส้นสามเส้นมัดรวมเป็นก าและเพิ่มร้อยละ 33 ส าหรับเหล็กเส้นสี่เส้นมัดรวมเป็นก า

5.3.6 การเก็บตัวอย่างเหล็กเสริมเพ่ือการทดสอบ

“ผู้รับจ้าง” จะต้องท าการตัดเหล็กไม่น้อยกว่า 3 ท่อน ยาวท่อนละ 60 ซม. ทุก 200 ตันของเหล็กแต่ละขนาดเป็นอย่างน้อย ต่อหน้า “ผู้ควบคุมงาน” แล้วจัดส่งไปทดสอบคุณภาพยังสถาบันที่ “ผู้ควบคุมงาน” เห็นชอบ ถ้าผลการทดสอบได้ผลตามข้อก าหนดแล้วจึงอนุญาตให้ใช้เหล็กจ านวนนั้นได้ ค่าใช้จ่ายในการน าส่งและทดสอบตัวอย่าง “ผู้รับจ้าง” จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบทั้งสิ้น

5.3.7 การเปลี่ยนขนาดเหล็กเสริม

การเปลี่ยนขนาดเหล็กเสริมต้องได้รับความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” ก่อน เนื้อที่หน้าตัดของเหล็กเสริมที่น ามาใช้แทนจะต้องเทียบเท่าหรือมากกว่าเนื้อที่หน้าตัดของเหล็กเสริมที่ออกแบบไว้ และในกรณีนี้จะน าม าคิดค่างานเพิ่มข้ึนไม่ได้

5.3.8 แบบรายละเอียดการเสริมเหล็ก

“ผู้รับจ้าง” จะต้องจัดท าแบบก่อสร้างแสดงรายละเอียดของการเสริมเหล็กที่จะใช้ในการท างานให้แล้วเสร็จรวมทั้งกรณีที่จะมีการเปลี่ยนขนาดเหล็กเสริม เพื่อขอความเห็นชอบจาก “ผู้ควบคุมงาน” โดย “ผู้รับจ้าง” เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเอง