การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... ·...

24
การจัดทํารางแผนยุทธศาสตรเพื่อเปนแมบทในการจัดการ อุทยานแหงชาติ ศรีลานนา จังหวัดเชียงใหม 1. บทนํา อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,406 ตารางกิโลเมตร หรือ 878,750 ไร เดิมเปนที่ดินบางสวนของปาสงวนแหงชาติปาเชียงดาว ปาแมงัด และปาแมแตง จัดเปนปาตนน้ําลําธาร ชั้น 1 ที่อยูในทองที่ตําบลปงโคง ตําบลเชียงดาว ตําบลแมนะ อําเภอเชียงดาว ตําบลสันทราย ตําบลปาไหน ตําบลบานโปง ตําบลน้ําแพร ตําบลปาตุตําบลแมแวน ตําบลแมปตําบลโหลงขอด อําเภอพราว ตําบลบานเปา ตําบลชอแล ตําบลแมหอพระ อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งไดรับการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที1 สิงหาคม . . 2532 เปนอุทยานแหงชาติ ลําดับที60 ของประเทศ เพื่อรักษาสภาพปาไมที่ยังคงความอุดมสมบูรณ มีจุดเดนทางธรรมชาติที่สวยงาม มีสัตวปา นานาชนิด และเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในวโรกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 2. วัตถุประสงค การจัดทําแผนแมบทการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีวัตถุประสงคดังนี1) ไดแผนแมบทที่ใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนาในระยะ เวลา 5 (.. 2549 – 2553) 2) เพื่อใหการจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนาตอบสนอง และสอดคลองกับวัตถุประสงคหลัก ของการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ 3) เพื่อจัดลําดับความสําคัญของกิจกรรมที่ตองดําเนินการในการจัดการอุทยานแหงชาติ ศรีลานนา ในการทําแผนแมบทการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว ขางตน จําเปนตองดําเนินการโดยใชแนวทางตามแนวนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนภารกิจและอํานาจหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ซึ่งเนนการอนุรักษฟนฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โดยประชาชนมีสวนรวม การเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรการบริหารบูรณาการเชิงรุก ซึ่งเนนการมีสวนรวมของประชาชน องคกรสวนทองถิ่น และหนวยงานที่เกี่ยวของเปนสําคัญ 3. สถานภาพทรัพยากรพื้นฐานในพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา

Upload: others

Post on 07-Mar-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

การจัดทํารางแผนยุทธศาสตรเพื่อเปนแมบทในการจัดการ อุทยานแหงชาตศิรีลานนา จังหวัดเชียงใหม

1. บทนํา

อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,406 ตารางกิโลเมตร หรือ 878,750 ไร เดิมเปนที่ดินบางสวนของปาสงวนแหงชาติปาเชียงดาว ปาแมงัด และปาแมแตง จัดเปนปาตนน้ําลําธาร ช้ัน 1 ที่อยูในทองที่ตําบลปงโคง ตําบลเชียงดาว ตําบลแมนะ อําเภอเชียงดาว ตําบลสันทราย ตําบลปาไหน ตําบลบานโปง ตําบลน้ําแพร ตําบลปาตุม ตําบลแมแวน ตําบลแมปง ตําบลโหลงขอด อําเภอพราว ตําบลบานเปา ตําบลชอแล ตําบลแมหอพระ อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงไดรับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2532 เปนอุทยานแหงชาติ ลําดับที่ 60 ของประเทศ เพื่อรักษาสภาพปาไมที่ยังคงความอุดมสมบูรณ มีจุดเดนทางธรรมชาติที่สวยงาม มีสัตวปา นานาชนิด และเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในวโรกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ

2. วัตถุประสงค การจัดทําแผนแมบทการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีวัตถุประสงคดังนี ้

1) ไดแผนแมบทที่ใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนาในระยะ เวลา 5 ป (พ.ศ. 2549 – 2553)

2) เพื่อใหการจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนาตอบสนอง และสอดคลองกับวัตถุประสงคหลักของการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ

3) เพื่อจัดลําดับความสําคัญของกิจกรรมที่ตองดําเนินการในการจัดการอุทยานแหงชาติ ศรีลานนา

ในการทําแผนแมบทการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวข างตน จํ า เปนตองดํ า เนินการโดยใชแนวทางตามแนวนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนภารกิจและอํานาจหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ซ่ึงเนนการอนุรักษฟนฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ โดยประชาชนมีสวนรวม การเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรการบริหารบูรณาการเชิงรุก ซ่ึงเนนการมีสวนรวมของประชาชน องคกรสวนทองถ่ิน และหนวยงานที่เกี่ยวของเปนสําคัญ

3. สถานภาพทรัพยากรพื้นฐานในพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา

Page 2: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

2

3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต อุทยานแหงชาติศรีลานนา ตั้งอยูในเขต อําเภอพราว อําเภอเชียงดาว และอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม อยูในแผนที่สภาพภูมิประเทศ มาตราสวน 1:50,000 ระวางหมายเลข 4747I , 4747II ,4846 I , 4846IV ,4847I ,4847II ,4847III ,4847 IV ,4848II และ4848III

อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่อ่ืนๆ ดังนี้

ทิศเหนือ จด เสนแบงเขตอําเภอพราวกับอําเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม ทิศใต จด บานปางเกา บานปางหิน บานปางออ ตําบลลวงเหนือ อําเภอดอยสะเก็ด

จังหวดัเชยีงใหม และใกลพืน้ที่อางเก็บน้ําเขื่อนแมกวงอดุมธารา ทิศตะวนัออก จด เสนแบงเขตอําเภอพราวและอําเภอเวยีงปาเปา จังหวัดเชยีงราย

ทิศตะวนัตก จด ชวงน้ําปงในชวงที่ผานตําบลแมนะ อําเภอเชียงดาว และตาํบลอนิทขิล อําเภอแมแตง จังหวดัเชยีงใหม

3.1.2 ภูมิประเทศ พื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา สวนใหญเปนภูเขาสูงสลับซับซอนที่โอบลอม

พื้นที่ราบที่อยูใจกลางอันเปนที่ตั้งของอําเภอพราว ซ่ึงเปนสวนของพื้นที่ดานนอก สภาพพื้นที่โดยรวม มีความลาดชันเฉลี่ยเกิน 35 เปอร เซ็นต ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางต่ําสุด 400 เมตร สูงสุด 1,718 เมตร บริเวณที่มีพื้นที่ปาปกคลุมยังมีหนาดินลึกและสมบูรณอยู สวนบริเวณที่ถูกแผวถาง มีอัตราการกัดเซาะหนาดินที่รุนแรง ทําใหหนาดินตื้นและใกลช้ันหินมีลําหวยนอยใหญ ซ่ึงเกิดจากสภาพพื้นที่อันสลับซับซอนหลายสาย โดยสวนใหญจะไหลจากทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตก

3.1.3 สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศบริเวณอุทยานแหงชาติศรีลานนาจัดอยูในภูมิอากาศแบบฝนตกชุก

สลับแหงแลงในเขตรอน มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยรายป 1,156.26 มิลลิเมตร อุณภูมิเฉลี่ยทั้งพื้นที่เทากับ 25.5 องศาเซลเซียส

3.1.4 สภาพธรณีวิทยา ลักษณะทางธรณีวิทยาบริเวณอุทยานแหงชาติศรีลานนา ประกอบดวย หินหลาย

ชนิด ทั้งหินตะกอน หินอัคนี รวมทั้งตะกอนน้ําพา และตะกอนน้ําทวมถึง โดยชั้นหินตามการเรียงลําดับของชั้นหินจากชั้นหินอายุมากยุคออรโดวิเชียน จนถึงชั้นหินอายุนอยยุคควอเทอรนารี

Page 3: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

3

แผนที่ : แสดงที่ตั้งท่ีทําการอุทยานแหงชาติศรีลานนา และหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ

3.1.5 เสนทางคมนาคม

Page 4: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

4

เสนทางคมนาคมสู อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีความสะดวกพอสมควร แตเสนทางสายหลักทั้ง 3 สาย ซ่ึงประกอบไปดวยเสนทางสายเชียงใหม – ฝาง (ทางหลวงหมายเลข 107 ) เสนทางเชียงใหม – พราว (ทางหลวงหมายเลข 1101 ) และเสนทางสายเชียงใหม – เวียงปาเปา ( ทางหลวงหมายเลข 1150 ) กลับเปนปญหาในการควบคุมดูแลพื้นที่เพราะมียวดยานสัญจรผานพื้นที่อุทยานฯ ไดตลอด 24 ช่ัวโมง อุทยานฯไมสามารถตรวจสอบการสัญจรผานในลักษณะนี้ได

3.1.6 ทรัพยากรดิน หนวยของชุดดินที่พบมากที่ สุดในพื้นที่ อุทยานแหงชาติศรีลานนา ไดแก

หนวยผสมของพื้นที่ลาดชันซับซอน (slope complex) มีพื้นที่รอยละ 92.20 ของพื้นที่ทั้งหมด ซ่ึงสวนใหญดินชนิดดังกลาวเปนดินตื้นที่อยูในที่สูงชันไมสามารถใชประโยชนในการเกษตรได

3.1.7 ทรัพยากรน้ํา อุทยานแหงชาติศรีลานนาอยูในพื้นที่ลุมน้ําปงตอนบน ภายในพื้นที่อุทยานฯ

สวนใหญเปนพื้นที่ช้ันคุณภาพลุมน้ําที่ 1A รอยละ 66.36 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมาไดแก ช้ันคุณภาพ ลุมน้ําที่ 2, 3, 4, 1B และ 5 ตามลําดับ แหลงน้ําผิวดินที่สําคัญ ไดแก อางเก็บน้ําเขื่อนแมงัดสมบูรณชล และลําน้ําแมงัด มีลําหวยสาขาหลายสาย คุณภาพน้ําในอางเก็บน้ําเขื่อนแมงัดสมบูรณชล อยูในระดับดีพอใช เหมาะสมตอการใชประโยชนทุกดาน สวนน้ําใตดินบริเวณใกลเคียงพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา มีบอบาดาลจํานวน 90 จุด แตคุณภาพน้ําบาดาล ไมเหมาะสมตอการบริโภค เนื่องจากมีปริมาณเหล็กสูงกวาคามาตราฐาน

3.1.8 การใชประโยชนท่ีดิน ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตอุทยานแหงชาติศรีลานนาและในพื้นที่

รายรอบเขตอุทยานฯ ในระยะ 3 กิโลเมตร มีทั้งหมด 5 ประเภท และจํานวนพื้นที่ของแตละประเภทสรุปไดดังตาราง 3 – 1 ดังนี้

ประเภทที่ 1 : พื้นที่ปาไม ประกอบดวย ปาเบญจพรรรณ ปาเต็งรัง ปาดิบแลง ปาดิบเขา สวนปาผสม เปนตน

ประเภทที่ 2 : พื้นที่อยูอาศยั ประกอบดวย ที่อยูอาศัย ตัวเมืองและสถานที่ราชการ ประเภทที่ 3 : พื้นที่เกษตรกรรม ประกอบดวย นาขาว พืชไร ไมผล พืชไรผสม ไมผลผสม

ไรหมุนเวียนผสม และทุงหญาเลี้ยงสัตว ประเภทที่ 4 : พื้นที่แหลงน้าํ ประกอบดวย ทางน้ํา หนองน้ํา และอางเก็บน้ํา ประเภทที่ 5 : พื้นที่อ่ืนๆ ประกอบดวย ทุงหญาสลับไมพุมเตี้ย

Page 5: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

5

แผนที่ : แสดงการใชประโยชนท่ีดินในเขตอุทยานแหงชาติศรีลานนา

ตารางที่ 3 – 1 ประเภทการใชประโยชนท่ีดินในเขตอุทยานฯ และพื้นท่ีโดยรอบในระยะ 3 กิโลเมตร

Page 6: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

6

ในเขตอุทยานฯ พื้นที่โดยรอบอุทยานฯ ประเภทการใช ประโยชนท่ีดนิ เนื้อท่ี (ไร) รอยละ เนื้อท่ี (ไร) รอยละ

1. ปาไม 2. ที่อยูอาศัย 3. เกษตรกรรม 4. แหลงน้ํา 5. อ่ืนๆ

840,032 20,421 10,861 6,633

803

95.60 2.32 1.23 0.76 0.09

430,868 6,247

91,353 1,175 4,271

80.71 1.17 17.11 0.22 0.80

ที่มา : จากการคํานวณโดยการใชขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร ; GIS (2545)

3.2 ทรัพยากรชีวภาพ 3.2.1 ทรัพยากรพืช ในอุทยานแหงชาติศรีลานนา แบงออกเปน 5 ประเภท คือปาเตง็รัง

ปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ ปาดิบเขา และปาสนเขา สังคมพืชเหลานี้มีการกระจายอยูในพื้นที่ตางๆ ของอุทยานฯมีความผันแปรไปตามทองที่ ซ่ึงสามารถพิจารณาไดจากพันธุไมเดนที่ขึ้นอยูและองคประกอบของชนิดพันธุไมที่แตกตางกัน ความผันแปรของสังคมพืชใหขอมูลสําคัญเชิงพื้นที่ของสังคมพืชนั้นๆ และชวยในการวินิจฉัยบทบาทความสําคัญหรือสถานภาพของปาแตละชนิด สภาพความอุดมสมบูรณของปาไมที่มีความผันแปรไปตามพื้นที่นี้เปนขอมูลสําคัญอีกอยางหนึ่งสําหรับการวางแผนการจัดการปาไม ซ่ึงจากผลการ

สํารวจขอมูลสามารถสรุปผลไดดังนี้

สังคมพชื พื้นที่ (ไร ) เปอรเซ็นต 1. ปาเต็งรัง 2. ปาเบญจพรรณ 3. ปาดิบเขา 4. ปาสนเขา 5. ปาดิบแลง 6. อ่ืนๆ (สวนปาผสม, แหลงน้ํา )

321,567.06 235,410.53 179,999.20 76,754.34 42,533.63 15,943.12

36.60 26.79 20.48 8.73 4.84 2.56

รวม 878,750.00 100.00 ที่มา : การสํารวจภาคสนามและ GIS (2545)

สภาพความอุดมสมบูรณของปาไมในอุทยานแหงชาติศรีลานนาขึ้นอยูกับทองที่และการกระจายตัวของชุมชน พื้นที่ปาสวนใหญที่อยูใกลแหลงชุมชนและเขาถึงไดงายจะมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา ลักษณะเดนของสังคมพืชอยูที่จํานวนชนิดพันธุไมในปาเบญจพรรรณที่มีจํานวนคอนขางมาก ทั้งนี้เปนผล มาจากการกระจายตัวของพันธุไมในปาดิบที่อยูในบริเวณที่ใกลเคียงกระจายเขามาเพิ่ม ปาดิบเขาและ ปาสนเขา สวนใหญมีความอุดมสมบูรณคอนขางนอย มีรองรอยการทําไรเล่ือนลอย และบุกรุกอยูทั่วไป

Page 7: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

7

3.2.2 ทรัพยากรสัตวปา ที่สํารวจพบในอุทยานแหงชาติศรีลานนา (พ.ศ. 2545) สามารถสรุป ไดดังนี้

ชนิดสตัว อันดับ วงศ ชนิด สํารวจพบโดยตรง (ชนดิ) 1. สัตวเล้ียงลูกดวยนม (Mammals) 2. นก (Birds) 3. สัตวเล้ือยคลาน (Reptiles) 4. สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก (Amphibians) 5. ปลา (Fish)

9 11 2 2 6

26 33 12 6 15

64 117 38 33 40

11 108 15 7 21

รวม 30 92 292 162 นอกจากนี้จากผลการสํารวจ พบวา สัตวเล้ียงลูกดวยนมที่สํารวจพบมากที่สุดเปนจําพวกคางคาว และในพื้นที่มีสัตวปาสงวน 1 ชนิด คือ กวางผา สัตวเล้ือยคลานที่พบมาก คือ ในวงศงู สวนสัตวสะเทินน้ํา สะเทินบกที่พบมากที่สุด คอื วงศกบ (Ranidae) สวนปลาที่มีอยูจํานวนมาก คือ วงศ Cyprinidae

3.3 ทรัพยากรมนุษย 3.3.1 สภาพเศรษฐกิจ : สภาพเศษฐกิจโดยทั่วไปของประชาชนทั้งในพื้นที่และนอกเขต

พื้นที่ อุทยานฯ มีลักษณะคลายคลึงกันมาก กลาวคือ ประกอบอาชีพหลักโดยการทําการเกษตร (ประมาณรอยละ 60 ) อาชีพรองท่ีสําคัญคือ รับจางและคาขาย การเคลื่อนยายแรงงานอยูในอัตราที่ คอนขางต่ํา (รอยละ 1.3) สวนพื้นที่ถือครองมีขนาดประมาณ 6 ไรตอครัวเรือน ซ่ึงเอกสารสิทธิที่ดิน ในพื้นที่นอกเขตอุทยานฯ รอยละ 72.92 เปนโฉนด สําหรับระดับรายไดของประชาชนโดยเฉลี่ย พบวา ประชาชนในพื้นที่ศึกษา มีฐานะที่พออยูไดเมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐาน

3.3.2 ดานสังคม : สมาชิกในชุมชนเกือบทั้งหมดเปนคนทองถ่ิน ดังนั้นจึงมีความผูกพันกับทองถ่ิน มีวิถีชีวิต ความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณีคลายกัน เกือบทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ สวนใหญมีระดับการศึกษาที่ใกลเคียงกัน (ประถมศึกษา) นอกจากนั้น ยังมีความเปนปกแผนและใหความรวมมือในการประกอบกิจกรรมพัฒนาตางๆ ในชุมชนเปนอยางดี

3.3.3 การพึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติ : ประชาชนทั้งในและนอกเขตพื้นที่อุทยานฯ รอยละ 60-70 ของประชากรทั้งหมด สวนใหญไมไดใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในอุทยานฯ อาทิ พืช แหลงน้ํา และสัตวปา เนื่องจากไมมีความจําเปนที่จะตองใชและการควบคุมดูแลที่เครงครัดของเจาหนาที่อุทยานฯ แตอยางไรก็ตาม การใชพื้นที่อุทยานฯ เปนสถานที่ทองเที่ยวและพักผอนใจนั้น ยังเปนที่นิยมของประชาชนทั่วไป (ประมาณรอยละ 70) มีเพียงสวนนอยที่ลักลอบลาสัตวและเก็บหาของปาในพื้นที่

Page 8: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

8

3.3.4 ประเพณีและวัฒนธรรม : ประเพณีและวัฒนธรรมทองถ่ินหลักที่พบในพื้นที่ศึกษา ไดแก ประเพณีสงกรานต ประเพณีลอยโคมและลอยโขมด (ลอยกระทง) นอกจากนี้ยังมีประเพณีและวัฒนธรรมที่นาสนใจของชาวไทยภูเขาเผาตางๆ เชน กะเหรี่ยง มูเซอ ลีซอ อีกอ และจีนฮอ เนื่องจากชุมชนเหลานี้อาศัยอยูในเขตพื้นที่อุทยานฯ แนวทางที่เหมาะสมในการจัดการ คือ ดึงชุมชนเหลานี้มาเปนแนวรวมในการดูแลรักษาพื้นที่ และกระจายรายไดในลักษณะ Home stay

3.4 การทองเที่ยว อุทยานแหงชาติศรีลานนา เปนที่รูจักกันอยางแพรหลายในหมูนักทองเที่ยวที่ ช่ืนชอบ

การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทรัพยากรการทองเที่ยวที่นาสนใจในพื้นที่อุทยานฯ มีทั้งหมด 10 แหง สวนใหญเปนกลุมแหลงทองเที่ยวแบบธรรมชาติ น้ําตก เสนทางศึกษาธรรมชาติ พื้นที่พัฒนาภูเขา / วิถีชีวิตชุมชน อางเก็บน้ําและถ้ํา

3.4.1 แหลงทองเที่ยวท่ีนาสนใจที่อยูในพื้นท่ีอุทยานฯ มีดงันี ้1) เสนทางศึกษาธรรมชาติและจุดพักแรมหวยกุม 2) เสนทางศึกษาธรรมชาติมอนหินไหล 3) น้ําตกมอนหินไหล 4) เสนทางศึกษาธรรมชาติแมวะ 5) อางเก็บน้ําเขื่อนแมงัดสมบูรณชล 6) ที่ทําการอุทยานแหงชาติศรีลานนา 7) ถํ้าผาแดง 8) ดอยจอมหด 9) น้ําตกปาพลู 10) น้ําตกนางแล

Page 9: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

9

ภาพถายแหลงทองเที่ยวในอุทยานแหงชาตศิรีลานนา

Page 10: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

10

ภาพถายแหลงทองเที่ยวในอุทยานแหงชาตศิรีลานนา

Page 11: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

11

แผนที่ : แสดงแหลงทองเทีย่วในอุทยานแหงชาติศรีลานนา

Page 12: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

12

3.4.2 สิ่งอํานวยความสะดวก ส่ิงอํานวยความสะดวกในอุทยานแหงชาติศรีลานนา สามารถจําแนกตาม

วัตถุประสงคการใชประโยชนไดเปน 4 ประเภทดังนี้

1) เพื่อประโยชนในการปองกัน / รักษาแหลงทองเที่ยว จากผลกระทบที่เกิดจากการประกอบกิจกรรมการทองเที่ยว และการใชประโยชนอ่ืนในพื้นที่ เชน ปอมยาม / จุดตรวจ ถังขยะ ลานจอดรถ หองน้ํา / สุขา เสนทางที่ทําการอุทยานฯ

2) เพื่อปองกันอันตรายที่ เกิดขึ้นกับนักทองเที่ยว / ผูมาเยือน เชน สะพาน ราวบันได / ร้ัว ฯลฯ

3) เพื่อการเรียนรูและศึกษาธรรมชาติ เชน ปายสื่อความหมาย ปายบอกทิศทางตางๆ นิทรรศการ ศูนยบริการนักทองเที่ยว ฯลฯ

4) เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการประกอบกิจกรรมใหกับนักทองเที่ยว / ผูมาเยือน เชน มานั่ง / เกาอี้ บานพัก / แพ ไฟฟา ระบบน้ําใช เรือ พื้นที่กางเต็นท ฯลฯ

4. การจําแนกเขตการจัดการ (Zoning ) การจําแนกเขตการจัดการหรือการจําแนกพื้นที่ เปนวิธีการในการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ ซ่ึงกําหนดพื้นที่แตละสวนไวเพื่อรองรับวัตถุประสงคและกิจกรรมตางๆ ใหเหมาะสมกับสภาพ ศักยภาพของพื้นที่และทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู จะทําใหสามารถกําหนดแนวทาง แผนงาน และโครงการไดชัดเจนทั้งแผนงานดานการอนุรักษ การพัฒนา การบริการ และการศึกษาวิจัย ฯลฯ นอกจากนั้นการกําหนดพื้นที่ยังเปนกรอบสําหรับการกําหนดกิจกรรมและเปาหมายในการพัฒนาองคกร เพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพสอดคลองและรองรับแนวทางในการอนุรักษ และพัฒนาใหเหมาะสมกับวิสัยทัศน นโยบาย กลยุทธ พันธกิจ และสภาพทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม สภาพเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน เพื่อสรางรากฐานการพัฒนาที่ยั่งยืนสูอนาคต การจําแนกเขตการจัดการพื้นที่อุทยานฯ นับเปนพื้นฐานสําคัญในการจัดการพื้นที่ และเปนประโยชนตอการดําเนินการจัดการอุทยานแหงชาติ ดังนี้

1) สามารถรักษาพื้นที่ซ่ึงมีคุณคาทางธรรมชาติสูงไวไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถฟนฟูพื้นที่ซ่ึงเคยถูกรบกวนหรือถูกทําลายมากอนได

2) สามารถจัดกิจกรรมในพื้นที่ไดอยางกลมกลืนและเหมาะสม 3) ควบคุมกิจกรรมในแตละเขตพื้นที่ใหมีความเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ และเปนไปตามแนว

ทางการพัฒนาตามนโยบายของภาครัฐและมีความสอดคลองกับความตองการของภาคเอกชน และประชาชนที่เกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม

Page 13: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

13

4) จัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด ซ่ึงทําใหการดําเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงคตามลําดับความสําคัญและความจําเปนเรงดวนในการดําเนินการ

5) สรางความชัดเจนและความสะดวกแกทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งราษฎรภายในพื้นที่และบริเวณใกลเคียงซึ่งจะเขาไปดําเนินการใดๆ ภายในพื้นที่อุทยานฯ และภายในเขตการจัดการที่กําหนดขึ้น

เขตการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนาแบงเปน 6 เขตการจัดการ และขนาดพืน้ที่ของแตละเขตมีดังตอไปนี้

พื้นที ่เขตการจัดการ ไร รอยละ 1. เขตสงวนสภาพธรรมชาติ ( Primitive Zone) 2. เขตฟนฟูสภาพธรรมชาติ(Recovery Zone) 3. เขตเพื่อการพักผอนหรือศกึษาหาความรู (Outdoor Recreation Zone) 4. เขตกิจกรรมพิเศษ (Special Use Zone) 5. เขตบริการ(Intensive Use Zone) 6. เขตกันชน(Buffer Zone)

721,062 135,008 12,280 953* 9,600 800 400* 533,190*

82.06 15.36 1.40

1.09 0.09

รวมท้ังหมด 878,750 100.00 หมายเหตุ : * พื้นที่เขตการจัดการที่อยูนอกแนวเขตอุทยานแหงชาติศรีลานนา (2545)

Page 14: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

14

แผนที่ : แสดงเขตการจัดการพื้นท่ีอุทยานแหงชาติศรีลานนา

Page 15: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

15

5. ศักยภาพและประเด็นปญหาหลักของอุทยานแหงชาติศรีลานนา ลักษณะ ศักยภาพและโอกาส ปญหาและภัยคุกคาม แนวทางในการดําเนินงาน

1. ขนาด/พื้นที่อุทยานฯและที่ตั้ง

- เปนพื้นที่ขนาดใหญ (878,750 ไร) มีทรัพยากรหลากหลายมีโอกาสจะจัดการไดรูปแบบ อุทยานฯ ตั้งอยูในทองที่จังหวัดเชียงใหม ซึ่งเปนเมืองทองเที่ยวและมีโอกาสพัฒนาเชื่อมโยงรวมกับแหลงทองเที่ยวอื่นได

- การมีพื้นที่กวางใหญและเปนอุทยานฯ ที่โอบลอมอําเภอพราว ทําใหลําบากในการดูแลตรวจตราพื้นที่และมีปญหาการบุกรุกบริเวณขอบพื้นที่เพื่อขยายพื้นที่ทํากินของราษฎรที่อยูใกลเคียง

- กําหนดพื้นที่เขตการจัดการตาง ๆ ที่ชัดเจนเพื่อประโยชนในการบริหารจัดการในแตละดานและอํานวยความสะดวกในการปองกัน พัฒนา และศึกษาวิจัยในพื้นที่

2. ลักษณะภูมิอากาศ

- มี 3 ฤดูกาล คือ รอน ฝน และหนาวชัดเจน สามารถจัดระยะเวลาดําเนินการในรอบปไดแนนอน เชน การเพิ่มบุคลากรดานบริการในฤดูทองเที่ยว ( ฤดูรอนและปลายฤดูฝนตอฤดูหนาว ) การทําแนวปองกันไฟปา ( ฤดูรอน , หนาว ) เปนตน

- แหลงทองเที่ยวหลายแหงไมสามารถเขาถึงไดและกอใหเกิดอันตรายกับนักทองเที่ยวไดงายในชวงฤดูฝน เชน น้ําหลาก ถนนขาด เปนตน

- มีแผนงานฟนฟูแหลงทองเที่ยวชวงปลายฤดูฝน - ประชาสัมพันธใหนักทองเที่ยวเขาใจถึงอันตรายและรณรงคใหชวงฤดูฝนเปนระยเวลาฟนตัวของพื้นที่ ( งดเขาไปใชประโยชนดานทองเที่ยว )

3. ลักษณะภูมิประเทศ - เปนแนวเทือกเขาสูงกวารอยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด เปนภูเขาที่สลับซับซอนมีความลาดชันสูง ทําใหการลักลอบบุกรุกพื้นที่ทําไดลําบาก

- ลักษณะภูมิประเทศสูงต่ํา เทือกเขาสูงซับซอนยากแกการเขาถึงในการตรวจตรา ปฏิบัติงานของเจาหนาที่

- ปรับรูปแบบการจั ดการ ใหม จั ดว างอัตรากําลังโดยอาศัยความไดเปรียบทางดานพื้นที่และจัดลําดับความเสี่ยงของแตละพื้นที่

4. เสนทางคมนาคม - มีทางเขาถึงพื้นที่อุทยานฯ สะดวก มีโครงขายการคมนาคม สามารถเดินทางระหวางตัวจังหวัดเชียงใหม อําเภอแมแตง อําเภอเชียงดาว อําเภอพราว และอําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงรายไดงาย สงผลดีอยางมากตอการทองเที่ยวในพื้นที่ - สามารถขอกําลงัสนับสนุนหรือความชวยเหลือทางดานบุคลากรจากพื้นที่อนุรักษที่อยูไกลเคียงไดงาย

- สะดวกในการเขาบุกรุกพื้นที่งายตอการลักลอบเขาไปตัดไม หาของปาและลาสัตวเปนตนอีกทั้งยังงายตอการหลบหนีเจาหนาที่ดวย

- สํารวจเสนทางเพื่อเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวและปรับปรุงสภาพถนน - มีการลาดตระเวนเสนทางอยางสม่ําเสมอเพื่อทราบจุด/เสนทางการลักลอบตัดไมและลาสัตว

5. ลักษณะดิน - ดินกวารอยละ 80 ในพื้นที่เปน Slope Complex หนาดินตื้นไมเหมาะปลูกพืชทําใหโอกาสการบุกรุกเพื่อเกษตรกรรมบนพื้นที่สูงมีไมมากนัก

- ดินที่เปน Slope Complex มีหนาดินตื้นจะเกิดปญหาการชะลางพังทลายบริเวณพื้นที่สูงและลาดชัน โอกาสการ ฟนตัวตามธรรมชาติของปาไมที่ถูกทําลายบริเวณนี้คอนขางยากและใชเวลานาน

- วางแผนฟนฟูพื้นที่เพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดินบริเวณที่ไมมีพืชปกคลุมดวยการปลูกเสริมและรักษาสภาพปาไว

Page 16: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

16ลักษณะ ศักยภาพและโอกาส ปญหาและภัยคุกคาม แนวทางในการดําเนินงาน

6. สภาพทางธรณี - มีถ้ํากระจายอยูทั่วไปบริเวณภูเขาหินปูนทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่ เชน ถ้ําผาแดง ซึ่งมีถ้ํายอยอีกหลายแหง เปนถิ่นอาศัยสําคัญของคางคาวและบางแหงมีศักยภาพพอพัฒนาเปนที่ทองเที่ยวได เชน ถ้ํานางฟา ถ้ําเพชร เปนตน

- ระบบนิเวศภายในถ้ําคอนขางเปราะบาง ทําใหถูกทําลายและสูญเสียความงามตามธรรมชาติไดงาย

- สํารวจสัตวปาและสภาพถ้ําที่พบบริเวณภูเขาหินปูนเพื่อประโยชนในการศึกษาวิจัยและการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว

7. ทรัพยากรน้ํา - มีอางเก็บน้ําเขื่อนแมงัดสมบูรณชลขนาดใหญ คลุมพื้นที่ถึง 16 ตารางกิโลเมตร ความจุ 265 ลานลูกบาศกเมตร อยูในพื้นที่เปนแหลงทองเที่ยวทางน้ําที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงและเปนแหลงทรัพยากรสัตวน้ําที่สําคัญ

- การทองเที่ยวทางน้ํา การเพิ่มจํานวนแพอาหาร และเรือรับจาง การวางขายดักปลาหนาเขื่อนกําลังคุกคามคุณภาพน้ําและปริมาณปลา

- รักษาคุณภาพน้ํา โดยขอความรวมมือจากผูประกอบการทองเที่ยวและนักทองเที่ยว - ควรจัดเปนเขตกิจกรรมพิเศษเพื่อใหงายในการจัดการประสานประโยชนใหกับทุกฝาย - จัด work shop เพื่อสรางแนวความคิดในการบริหารจัดการพื้นที่อุทยานฯ รวมกันโดยเชิญผูเกี่ยวของทุกฝายทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชนทองถิ่น - ขอความรวมมือกับชุมชนโดยใชการจัดการแบบมีสวนรวมและใหพื้นที่ดังกลาวเปนเขตกิจกรรมพิเศษ

8. การใชประโยชนที่ดิน - พื้นที่สวนใหญยังเปนพื้นที่ปาถึงรอยละ 95.6 แมบางสวนจะมีสภาพเปนปาเสื่อมโทรมก็ตาม

- พื้นที่โดยรอบและบริเวณกันออกดานในอุทยานฯ เปนพื้นที่ชุมชนขนาดใหญยากแกการจัดการ

- วางแผนการจัดการพื้นที่ โดยยึดตามการจําแนกเขตการจัดการ

9. ทรัพยากรพืช - ทรัพยากรพืชในพื้นที่คอนขางอุดมสมบูรณมีความหลากหลายสูง มีสังคมพืชทั้งหมด 5 ชนิด คือ 1) ปาเต็งรัง (รอยละ 36.60) ไมยืนตน 70 ชนิด 2) ปาดิบแลง (รอยละ 26.79) พบไมยืนตน 165 ชนิด 3) ปาเบญจพรรณ (รอยละ 20.48) พบไมยืนตน 131

ชนิด 4) ปาดิบเขา (รอยละ 8.73) พบไมยืนตน 137 ชนิด 5) ปาสนเขา (รอยละ 4.84) พบไมยืนตน 57 ชนิด

- ความหลากหลายและความสมบูรณของพืชพรรณ เปนสิ่งดึงดูดความสนใจใหมีการบุกรุกเขามาใชประโยชนในพื้นที่ เชน ลักลอบตัดไมใหญ ลาสัตว ทําสวนเมี่ยง และหาของปา เปนตน - มีชุมชนอาศัยอยูในเขตอุทยานแหงชาติศรีลานนา จํานวน 23 หมูบาน 3,499 ครอบครัว

- แบงเขตพื้นที่ใหชัดเจน สําหรับการสงวนรักษาและฟนฟูสภาพธรรมชาติ รวมทั้ งการศึกษาวิจัย - จัดลาดตระเวนพื้นที่อยางสม่ํา เสมอเพื่อปองกันการบุกรุกและรักษาทรัพยากรปาไม - ประชาสัมพันธ ใหความรู และขอความรวมมือจากชุมชนทั้งในและนอกเขตในการอนุรักษ

Page 17: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

17ลักษณะ ศักยภาพและโอกาส ปญหาและภัยคุกคาม แนวทางในการดําเนินงาน

- มีความแตกตางจากพื้นที่อื่นๆ คือ พบไมในปาเต็งรังขึ้นอยูผสมกับปาเบญจพรรณจํานวนมาก เหมาะสําหรับงานศึกษาวิจัยอีกทั้งเปนแหลงตนน้ําลําธารที่ดีสภาพธรรมชาติสวยงามเหมาะที่จะพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว

- จัดตั้งกลุมอาสาสมัครพิทักษปา โดยเนนกลุมคนที่อาศัยอยูเขตอุทยานฯ เปนเปาหมายหลัก เพราะอยูใกลชิดและไดประโยชนจากการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อุทยานฯ

10. ทรัพยากรสัตวปา - จากการที่อุทยานฯ มีพื้นที่ขนาดใหญ ทรัพยากรปาไมหลากหลาย ชี้ใหเห็นถึงความหลากหลายของถิ่นที่อยูอาศัยของสัตวปา ซึ่งเปนประโยชนในการศึกษาวิจัยดานนี้คอนขางมาก

- พบสัตวปาอยางนอย 259 ชนิด ซึ่งจัดวามีความชุกชุมนอย เนื่องมาจากการนําสัตวปามาใชประโยชนการลักลอบลาสัตวยังคงเปนภัยคุกคามที่สําคัญและไฟปาก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ลดประชากรของสัตวปาบางชนิด

- สนับสนุนการศึกษาวิจัยทางดานสัตวปาเพื่อทราบจํานวนชนิด สถานภาพ และถิ่นที่อยูอาศัยซึ่งจะเปนประโยชนตอการวางแผนการจัดการ - อนุรักษถิ่นที่อยูอาศัยของสัตวปา - มีการลาดตระเวนตรวจตราสม่ําเสมอ - จัดใหมีการประชาสัมพันธ เผยแพรความรูดานสัตวปาและใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการอนุรักษสัตวปา

11. สภาพเศรษฐกิจ - ประชาชนประกอบอาชีพหลัก คือ ทําการเกษตร รองลงมา คือ รับจางและคาขาย ประชาชนสวนใหญมีฐานะปานกลาง

- ยังมีบางสวนที่ประกอบอาชีพทําไมและลาสัตวปา ซึ่งเปนภัยคุกคามตอทรัพยากรในอุทยานฯ

- สงเสริมอาชีพนอกภาคเกษตรโดยขอความรวมมือจากสวนราชการและองคกรอื่น ๆ

12. ดานสังคม - ประชาชนสวนใหญใหความรวมมือในการประกอบกิจกรรมพัฒนาตางๆ อยางดีและยินดีที่จะเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หากอุทยานฯ เปดโอกาสให

- ประชาชนกวารอยละ 50 จบเพียงการศึกษาภาคบังคับและยุงกับการหาเลี้ยงชีพ จึงมีความรูในวงจํากัดและขาดความรูความเขาใจในหลักการบริหารงานของอุทยานฯ และวิธีทําเกษตรกรรมเชิงอนุรักษ

- ในการประชาสัมพันธดานวิชาการ ควรใชระดับความยากงายในการเขาใจของประชาชนตามพื้นฐานความรูของประชาชนสวนใหญ คือ ประถมศึกษา

13. การพึ่งพิงทรัพยากร - ประชาชนนอกเขตอุทยานฯ สวนใหญนิยมใชอุทยานฯ เพื่อการทองเที่ยว มีโอกาสการใหความรวมมือและยินดีเปนแนวรวมในการจัดการแหลงทองเที่ยว

- มีประชาชนอยูอาศัยและทํ ากินอยู ในเขตอุทยานฯ ประมาณ 23 หมูบาน จํานวน 3,499 ครอบครัว - ประชาชนในเขตอุทยานฯ บางสวนยังตองการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติจากอุทยาน

- จัดทําขอตกลงกับชุมชนในเขตและบริเวณรอยตอในการใชประโยชนพื้นที่และปองกันการบุกรุกเพิ่มโดยอาศัยมติ ครม . เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เปนหลักในการกําหนดรูปแบบการอยูรวมกันอยางสันติ

Page 18: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

18ลักษณะ ศักยภาพและโอกาส ปญหาและภัยคุกคาม แนวทางในการดําเนินงาน

- พัฒนาความรู ในการ เพิ่ มผลผลิ ตด านการเกษตร

14. ความคิดเห็นในการบริหารจัดการอุทยานฯ

- ประชาชนสวนใหญพอใจในการบริหารจัดการอุทยานฯ และยินดีเขามาสวนรวมในการจัดการ

- บางสวนยังเห็นวาการบริหารจัดการพื้นที่อุทยานฯ ควรเปนหนาที่ของรัฐแตฝายเดียวไมควรเขาไปยุง

- จางคนในทองถิ่นเพื่อทํางานในอุทยานฯ

15. ประเพณีและวัฒนธรรม - ประ เพณี และ วัฒนธรรมท อ งถิ่ นที่ สํ าคัญ คื อ สงกรานตและลอยกระทง ซึ่ งอุทยานฯ มีแหลงทองเที่ยวทางน้ํา สามารถสงเสริมการทองเที่ยวได

- ประเพณีของประชาชนในเขตอุทยานฯ (ชาวไทยภูเขา) มีการบูชาผีเพื่อพืชผลทางการเกษตร ชี้ใหเห็นวายังมีการทําเกษตรทุกปและนิยมทําการเกษตรแบบไรเลื่อนลอย ดังนั้นจึงอาจมีปญหาการเปดพื้นที่ใหมในอุทยานฯ

- จัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวในชวงเทศกาลสงกรานตและลอยกระทง - สําหรับปญหาการเปดพื้นที่ของประชาชนในอุทยานฯ ใหมีการแบงเขตการจัดการและขอความรวมมือไปยังประชาชนในพื้นที่นั้นๆ

16. ทรัพยากรการทองเที่ยว - ทรัพยากรการทองเที่ยวหลากหลายและสวนใหญมีศักยภาพในการพัฒนาคอนขางสูงเหมาะที่จะเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศที่ดีได เชน บริเวณอางเก็บน้ําเขื่อนแมงัดฯ ยังสามารถพัฒนาการทองเที่ยวแบบเขมขนโดยเนนกิจกรรมทางน้ําได - แหลงทองเที่ยวในพื้นที่อุทยานฯ หลายแหงมีชื่อเสียงและเปนที่รูจักในหมูนักทองเที่ยวทั่วไป

- แหลงทองเที่ยวในพื้นที่อุทยานฯ มีลักษณะคอนขางกระจายตัวอยูเกือบทั่วพื้นที่และบางแหงการเขาถึงคอนขางลําบากทําใหขาดความตอเนื่องในการเขาไปใชประโยชนและเปนปญหาในการสรางโครงขายการทองเที่ยว

- การวางแผนในการจัดการพื้นที่อยางเปนระบบโดยพิจารณากลยุทธในการจัดการจากการจําแนกเขตการจัดการและศักยภาพของพื้นที่

17. สิ่งอํานวยความสะดวก - พื้นที่สวนใหญเหมาะที่จะพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวประเภทกึ่งธรรมชาติ ซึ่งตองการสิ่งอํานวยความสะดวกเฉพาะที่จําเปน เชน ถังขยะ ปายบอกทิศทาง ปายสื่อความหมาย ดังนั้น จึงประหยัดงบประมาณในการจัดทําและสามารถผลิตไดเองดวยวัสดุอุปกรณที่มีในทองถิ่น - เจาหนาที่มีความตั้งใจจริงในการใชบริการ/ถายทอดความรูใหนักทองเที่ยว

- สิ่งอํานวยความสะดวกในพื้นที่อุทยานฯ ในปจจุบันยังไมเหมาะสมทั้งในดานปริมาณและคุณภาพสวนหนึ่งเปนผลมาจากงบประมาณที่มีอยูอยางจํากัดและขาดบุคลากรที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานดานนันทนาการและสื่อความหมาย

- จัดฝกอบรมและวางแผนการพัฒนาบุคลากรเพื่อสรางความรูความเขาใจและเพิ่มทักษะในการปฏิบัติงานในทุกๆ ดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งดานนันทนาการและการสื่อความหมาย - เพิ่มสิ่งอํานวยความสะดวกในดานพักแรม ดานการสื่อความหมายธรรมชาติและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่

Page 19: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

19ลักษณะ ศักยภาพและโอกาส ปญหาและภัยคุกคาม แนวทางในการดําเนินงาน

18. นักทองเที่ยว - นักทองเที่ยวนิยมมาเที่ยวคอนขางมาก เฉลี่ย 142,320 คน/ป (จากสถิตินักทองเที่ยวในชวงปงบประมาณ 2535 ถึง 2544) - นักทองเที่ยวสวนใหญมีความพึงพอใจในการเขามาใชประโยชนในพื้นที่และเกินกวารอยละ 50 ตองการที่จะกลับใชบริการอีก

- นักทองเที่ยวสวนใหญยังมีพฤติกรรมไมเหมาะสมขัดแยงกับหลักการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เชน สงเสียงดัง เดินออกนอกเสนทาง ฯลฯ กอใหเกิดความเสียหายกับทรัพยากรในพื้นที่ - นักทองเที่ยวกวารอยละ 70 นิยมเที่ยวแบบไปเชา – เย็นกลับ ทําใหมีเวลาใชประโยชนในพื้นที่นอย

- พัฒนาระบบการใหบริการขอมูลขาวสาร ทั้งทางดานเอกสารและบุคลากรเพื่อสรางความรูความเขาใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับลักษณะการเขาไปใชประโยชนในพื้นที่และสรางจิตสํานึกที่ดีใหกับนักทองเที่ยว - พัฒนากิจกรรมการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับแตละพื้นที่เพื่อใหนักทองเที่ยวไดใชประโยชนเพิ่มขึ้นและกอใหเกิดความตองการพักแรมในอุทยานฯ มากขึ้น

19. ผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยว

- ผูประกอบการสวนใหญเปนคนในพื้นที่และรูจักพื้นที่คอนขางดี มีการรวมตัวกันเปนกลุมทําใหสะดวกในการเจรจาตอรอง เพื่อประสานประโยชนทั้ง 2 ฝาย และดึงเขามาเปนแนวรวมเพื่อประโยชนในการบริหารจัดการในพื้นที่ - สิ่งอํานวยความสะดวกบางรายการสามารถขอการสนับสนุนจากผูประกอบภายในพื้นที่ไดเพราะไดใชประโยชนรวมกันทั้งเปนแหลงสนับสนุนงบประมาณบางสวนของพื้นที่อุทยานฯ ไดดวย

- ผูประกอบการสวนใหญยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการอุทยานฯ และไมมีระบบบําบัดน้ําเสีย

- กํ าหนดให พื้นที่อ าง เก็บน้ํ า เขื่ อนแม งัดสมบูรณชลเปนเขตกิจกรรมพิเศษและเปดโอกาสใหกลุมผูประกอบการเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการมากขึ้น - จัดแผนการฝกอบรมเกี่ยวกับวิธีการบําบัดน้ําเสียและเทคนิคในการดําเนินกิจการในรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับพื้นที่ - จัดฝกอบรมผูประกอบการในพื้นที่เพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิ เวศและแนวทางในการปฏิบั ติ ทั้ งของผูประกอบการและตัวนักทองเที่ยวเพื่อปองกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

Page 20: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

20

6. แผนยุทธศาสตรเพื่อเปนแมบทในการจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนา 6.1 วิสัยทัศน ไดกําหนดวิสัยทัศนเพื่อเปนทิศทางในการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนา ไวดังนี้

“ อุทยานแหงชาติศรีลานนา จะตองคงอยูอยางโดดเดนเปนศรีสงาของชาวประชาเชียงใหมตลอดไป เพื่อดํารงไวซ่ึงทิวทัศนและธรรมชาติสวยงาม ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีคุณคา และเอื้ออํานวยประโยชนตอการดาํรงชีพโดยสุจริตของประชาชน ”

6.2 พันธกิจ พันธกิจที่จะตองกําหนดในแผนแมบทการจัดการพื้นที่ อุทยานแหงชาติศรีลานนา จะตองตอบสนองตอวิสัยทัศนและนโยบายของรัฐในดานทรัพยากรปาไม และสัตวปา สอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ รวมท้ังแสดงเปาหมายของการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติอยางเดนชัดท้ังในระยะสั้น และระยะยาว มีการจัดลําดับความสําคัญของงานที่จะตองจัดการไวอยางเพียบพรอม กําหนดหนวยงานที่ตองรับผิดชอบ หนวยงานที่ตองใหความรวมมือ ชวยเหลือ กําหนดขอตกลงขีดจํากัดอ่ืนๆ ทั้งในดานกฎหมายและระเบียบปฏิบัติราชการของรัฐไวเปนที่แนนอน เพื่อนําไปปฏิบัติใหพื้นที่ไดรับการจัดการอยางเหมาะสม สามารถใหความเชื่อมั่นวาทรัพยากรธรรมชาติของผืนปาในอุทยานแหงชาติ ศรีลานนาจะคงอยูอยางสมบูรณไดตลอดไป และสามารถอํานวยผลประโยชนตามวัตถุประสงคไดอยางเต็มที่และยั่งยืน พันธกิจที่สําคัญ คือ การอนุรักษ การพัฒนา การใหบริการ และการสงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

6.3 ยุทธศาสตร เพื่อใหการจัดทําแผนแมบทการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนาสอดคลองกับวิสัยทัศนและเปนไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร ชาติ นโยบายและยุทธศาสตรหลักของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภารกิจของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช รวมทั้งวัตถุประสงคในการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ อุทยานแหงชาติศรีลานนาไดกําหนดยุทธศาสตร รดังตอไปนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 ฟนฟูธรรมชาติโดยประชาชนมีสวนรวม ยุทธศาสตรที่ 2 ฟนฟูส่ิงแวดลอมและลดปญหามลพิษ ยุทธศาสตรที่ 3 บริหารแบบบูรณาการเชิงรุก ยุทธศาสตรที่ 4 เพิ่มภูมิปญญาของสังคมทุกระดับเพื่อการอนุรักษ

Page 21: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

21

6.4 กลยุทธ กลยุทธเปนกลุมงานที่จะตองดําเนินงานตามพันธกิจโดยดําเนินงานตามลําดับของยุทธศาสตรที่

กําหนดไว นอกจากจะมีเปาหมายที่เฉพาะเจาะจงหรือเพื่อแกไขปญหาเรงดวนที่เกิดขึ้นมิใหเกิดผลเสียหายที่รุนแรงกวางขวางออกไปสําหรับกรณีการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา ปรากฏวามีปญหาหลักดานการบุกรุกพื้นที่ที่จําเปนตองมีการแกไขโดยรีบดวนจึงไดจัดลําดับความสําคัญกลยุทธตางๆ ดังนี้

1. กลยุทธดานการฟนฟูสภาพธรรมชาติ ฟนฟูพื้นที่ปาที่เสื่อมโทรมโดยการปองกันการบุกรุกทําลายปาไมและไฟปา เพื่อใหผืนปาฟนคืนกลับสูสภาพเดิมตามธรรมชาติ โดยการมีสวนรวมของประชาชนและชุมชน 2. กลยุทธดานการมีสวนรวมของประชาชน ประกอบดวย

- ใหทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน โดยเฉพาะองคการบริหารสวนตําบลมีสวนรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมดําเนินการ และติดตามประเมินผล รวมทั้งรวมรับประโยชน

- สงเสริมกิจกรรมเชิงบวกดานการประสานมวลชน เพื่อใหประชาชนและองคกรที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการบํารุง รักษา คุมครอง และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของอุทยานฯ และพื้นที่รายรอบ

3. กลยุทธดานการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการอุทยานแหงชาติ ประกอบดวย - ปรับปรุงบทบาทในการบริหารจัดการใหเปนแบบบูรณาการเชิงรุก คือ มองเหตุการณและ

ปญหาไวลวงหนา และเตรียมการแกไขไวกอนที่ปญหาจะเกิด - บริหารจัดการเชิงพื้นที่โดยเนนการมีสวนรวมของประชาชน และองคกรทองถ่ิน โดยการ

กําหนดพื้นที่และแนวทางการจัดการใหชัดเจน - เสริมสรางและพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรและองคกร โดยนําเทคโนโลยีที่

เหมาะสมมาใชในการเพิ่มสมรรถภาพและขีดความสามารถในการบริหารจัดการ - สรางกลไกและติดตามการดําเนินงานอยางเปนระบบ และประเมินผลการดําเนินงานโดยมี

การกําหนดตัวช้ีวัดที่ชัดเจน 4. กลยุทธดานการจัดการการทองเที่ยวในเขตอุทยานแหงชาติ - ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูเดิม หาแนวทางที่เหมาะสมเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้น

จากการใชประโยชนดานการทองเที่ยว และพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพในการพฒันาเพื่อการกระจายการใชประโยชน รวมทั้งเชื่อมโยงเปนเครือขายการทองเที่ยวของอุทยานฯ กับพื้นที่ใกลเคียง

- สรางความพรอมของทรัพยากรการทองเที่ยว ส่ิงอํานวยความสะดวกและระบบ ส่ือความหมายทางธรรมชาติ เพื่อรองรับการใชประโยชนในการทองเที่ยวอยางยั่งยืนและ ใหสอดคลองกับระบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซ่ึงเปนจุดเดนของอุทยานแหงชาติศรีลานนา

Page 22: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

22

5. กลยุทธดานการปองกันทรัพยากรธรรมชาติ ปองกันรักษาปาธรรมชาติที่เหลืออยูไมใหถูก บุกรุกทําลาย ปองกันการลักลอบตัดไม การลาสัตว รวมทั้งการปองกันไฟปา โดยการลดความขัดแยงเพิ่มความรวมมือกับประชาชนในการสงวน และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติบนพื้นฐานชุมชน 6. กลยุทธดานการสนับสนุนการศึกษาวิจัยในพื้นท่ีอุทยานแหงชาติ วิจัยและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการดํารงไวซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการใหบริการที่ดีแกประชาชน

6.5 แผนการจัดการพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา จากการวิ เคราะหขอมูลพื้นฐานดานทรัพยากรกายภาพ ดานทรัพยากรชีวภาพ ดานทรัพยากรมนุษย ดานทรัพยากรการทองเที่ยว ดานการบริหารจัดการและประเด็นปญหาตางๆ ทีม่อียูในพื้นที่นํามากําหนดแผนการจัดการอุทยานแหงชาติศรีลานนา โดยในการจัดทําแผนไดพิจารณาใหสอดคลองกับยุทธศาสตร ยุทธศาสตรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ภารกิจหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช รวมทั้งวัตถุประสงคในการจัดตั้งอุทยานแหงชาติ สามารถกําหนดแผนการจัดการของพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา จังหวัดเชียงใหม ในระยะเวลา 5 ป ตั้งแตป 2549 – 2553 ได 7 แผน ดังนี้

1. แผนการบํารุงรักษาพื้นที่ 2. แผนการจัดการดานการมีสวนรวม 3. แผนการจัดการองคกรบริหาร 4. แผนการพัฒนาการทองเที่ยวและสื่อความหมาย 5. แผนการจัดการพิเศษ 6. แผนการจัดการทรัพยากรและการปองกัน 7. แผนงานการวิจัย แผนตางๆ ทั้ง 7 แผน จะประกอบดวย 23 โครงการ โดยทั้งหมดไดจัดลําดับความสําคัญของโครงการเปน 2 ระดับ คือ (1) ระยะเรงดวน (2) ระยะปานกลาง

Page 23: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

23

ตารางแผนงาน/โครงการการจัดการพื้นท่ีอุทยานแหงชาติศรีลานนา

แผนงาน/โครงการ ลําดับความสําคัญ

งบประมาณ (บาท)

1. แผนการบํารุงรักษาพื้นที่ 1.โครงการปลูกปาเพื่อฟนฟูสภาพปาในเขตอุทยานแหงชาติศรีลานนา 200 ไร 2.โครงการฟนฟูสภาพปาในเขตฟนฟูสภาพธรรมชาติ 200 ไร 2. แผนการจัดการดานการมีสวนรวม 3.โครงการอาสาสมัครพิทักษอุทยานแหงชาติ 4.โครงการคายเยาวชนอนรุักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในอุทยานแหงชาติ 5.โครงการพัฒนาพันธมิตรชุมชนในการปองกันและอนุรกัษทรัพยากรธรรมชาติ 3. แผนการจัดการองคกรบริหาร 6.โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากร 7.โครงการจดัหาและปรับปรงุวัสดุครภุัณฑและยานพาหนะสําหรับการปฏิบัติงาน 8.โครงการบํารุงรักษาและซอมแซมอาคารสิ่งปลูกสราง 9.โครงการปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคและระบบจัดการขยะมูลฝอย 4. แผนการพัฒนาการทองเที่ยวและสื่อความหมาย 10.โครงการปรับปรุงระบบบําบัดน้ําเสียใหไดมาตรฐานในระยะยาว 11.โครงการนิทรรศการและเวทีบรรยายกลางแจง 12.โครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวบริเวณที่ทําการอุทยานแหงชาติศรีลานนา 13.โครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวบริเวณน้ําตกมอนหินไหล 14.โครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวบริเวณน้ําตกปาพลู 15.โครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวบริเวณถ้ําผาแดง 16.โครงการพัฒนาแหลงทองเที่ยวบริเวณน้ําตกนางแล 5. แผนการจัดการพิเศษ 17.โครงการเพิ่มพื้นที่อุทยานแหงชาติศรีลานนา 6. แผนการจัดการทรัพยากรและการปองกัน 18.โครงการพิสูจนสิทธิ์ท่ีดินตามมติ ครม.เมื่อวันที่ 30 มิถนุายน 2541 19.โครงการหมูบานปาไมแผนใหม 20.โครงการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการปองกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติ (จัดตั้งหนวยพิทักษเพิ่ม 4 หนวย) 7. แผนงานการวิจัย 21.โครงการวิจัยสัตวปาหายากและพันธุพืชเฉพาะถิ่น 22.โครงการศึกษาแนวทางปองกันและควบคุมไฟปา 23.โครงการสํารวจและพัฒนาแหลงทองเที่ยวใหม

(1) (2)

(1) (1) (1)

(1) (1) (1) (1)

(1) (1) (1) (1) (2) (2) (2)

(1)

(1) (1) (1)

(1) (1) (2)

600,000 600,000

82,500

430,000 511,000

170,000

3,820,000 1,000,000

200,000

167,000 100,000

5,460,000 400,000 200,000 350,000 200,000

140,000

4,000,000

300,000 12,000,000

1,000,000 300,000 500,000

งบประมาณรวม 32,530,500

Page 24: การจัํดท างแผนยุาร ทธศาสตร เพ ... · 2006-10-24 · 2 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 อาณาเขต

24