การปรับระบบ iso 14001:2004 เข้าสู่...

4
11 for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016 Trend for Q uality มาตรฐาน ISO 14001:2015 ฉบับมาตรฐาน สากล (IS) ที่ประกาศใช้ในเดือน กันยายน 2015 ที่ผ ่านมา องค์การที่ประยุกต์ใช้มาตรฐาน ISO 14001:2004 ต้องเตรียมพร้อมในการปรับปรุงระบบเข้าสู่มาตรฐาน 14001:2015 โดยแนวทางในการปรับเข้าสู ่มาตรฐาน ISO 14001:2015 สามารถประยุกต์รายละเอียดของกิจกรรมการประยุกต์ใช้ข้อก�าหนด ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 9001:2015 หรือการประยุกต์ใช้ระบบแบบ องค์รวม (Integrated Management System) เนื่องจากโครงสร้าง ข้อก�าหนดมีการปรับเป็นแนวทางเดียวกัน โดยเปลี่ยนหลักการจาก ระบบบริหารจัดการคุณภาพ เป็น ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถด�าเนินการได้ดังนี1. การประชุมระดมความคิดเห็นโดยผู้บริหาร และทีมงาน ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจารณา ก�าหนด และบันทึก รายละเอียดผลการระดมสมอง ดังนีการก�าหนดหลักการเหตุและผลในการน�าระบบบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมมาปฏิบัติ ประโยชน์ที่ได้รับจากการท�าระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม และปัจจัยสู่ความส�าเร็จ (success factor) โดย อ้างอิงจากบทน�าของมาตรฐาน ISO 14001:2015 การวิเคราะห์ประเด็นปัจจัยทั้งภายในและภายนอก (inter- nal and external issue) ที่มีผลต่อวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ใน การบรรลุผลด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะ รวมถึงเงื่อนไขทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มีต่อองค์การ ได้แก่ ภูมิอากาศ คุณภาพอากาศ คุณภาพน�้า การใช้ทรัพยากร การปนเปื้อน เป็นต้น ตัวอย่างเช่น บริษัทผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โรงกลั่นน�้ามัน โรงงานผลิตปูนซีเมนต์หรือโรงงานผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงที่มี กระบวนการเผาไหม้และมีการปลดปล่อยไอเสียทางปล่อง ประเด็น ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�าคัญ คือ ด้านมลพิษทางอากาศ ซึ่ง สามารถมีผลต่อวัตถุประสงค์ขององค์การหรือมีผลต่อประเด็นปัญหา นายคุณภาพ ISO 14001:2004 ISO 14001:2015 การปรับระบบ เข้าสู่มาตรฐาน

Upload: others

Post on 24-Dec-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การปรับระบบ ISO 14001:2004 เข้าสู่ ...tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/qm213_p11-14.pdfVol.22 No.213 January-February 2016 12 Trend ส งแวดล

11for Quality Vol.22 No.213

January-February 2016

Trendfor Quality

มาตรฐาน ISO 14001:2015 ฉบับมาตรฐาน

สากล (IS) ที่ประกาศใช้ในเดือน

กันยายน 2015 ที่ผ่านมา องค์การที่ประยุกต์ใช้มาตรฐาน ISO

14001:2004 ต้องเตรียมพร้อมในการปรับปรุงระบบเข้าสู่มาตรฐาน

14001:2015 โดยแนวทางในการปรบัเข้าสูม่าตรฐาน ISO 14001:2015

สามารถประยุกต์รายละเอียดของกิจกรรมการประยุกต์ใช้ข้อก�าหนด

ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 9001:2015 หรอืการประยุกต์ใช้ระบบแบบ

องค์รวม (Integrated Management System) เน่ืองจากโครงสร้าง

ข้อก�าหนดมีการปรับเป็นแนวทางเดียวกัน โดยเปลี่ยนหลักการจาก

ระบบบริหารจัดการคุณภาพ เป็น ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

สามารถด�าเนินการได้ดังนี้

1. การประชุมระดมความคิดเห็นโดยผู้บริหาร และทีมงาน

ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจารณา ก�าหนด และบันทึก

รายละเอียดผลการระดมสมอง ดังนี้

➲การก�าหนดหลักการเหตุและผลในการน�าระบบบริหาร

จัดการสิ่งแวดล้อมมาปฏิบัติ ประโยชน์ที่ได้รับจากการท�าระบบการ

จัดการสิ่งแวดล้อม และปัจจัยสู่ความส�าเร็จ (success factor) โดย

อ้างอิงจากบทน�าของมาตรฐาน ISO 14001:2015

➲การวเิคราะห์ประเดน็ปัจจยัทัง้ภายในและภายนอก (inter-

nal and external issue) ที่มีผลต่อวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ใน

การบรรลุผลด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะ

รวมถึงเงื่อนไขทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มีต่อองค์การ ได้แก่ ภูมิอากาศ

คุณภาพอากาศ คุณภาพน�า้ การใช้ทรัพยากร การปนเปื้อน เป็นต้น

ตัวอย่างเช่น บริษัทผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โรงกลั่นน�้ามัน

โรงงานผลิตปูนซีเมนต์หรือโรงงานผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงที่มี

กระบวนการเผาไหม้และมีการปลดปล่อยไอเสียทางปล่อง ประเด็น

ลกัษณะปัญหาสิง่แวดล้อมทีม่นียัส�าคัญ คือ ด้านมลพษิทางอากาศ ซึง่

สามารถมีผลต่อวัตถุประสงค์ขององค์การหรือมีผลต่อประเด็นปัญหา

นายคุณภาพ

ISO 14001:2004ISO 14001:2015

การปรับระบบเข้าสู่มาตรฐาน

Page 2: การปรับระบบ ISO 14001:2004 เข้าสู่ ...tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/qm213_p11-14.pdfVol.22 No.213 January-February 2016 12 Trend ส งแวดล

Vol.22 N

o.2

13 January-February 2016

12

Trend

สิ่งแวดล้อมขององค์การ ประเด็นปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมปัญหา

สิ่งแวดล้อมนี้ คือ ระบบการควบคุมและก�าจัดมลพิษทางอากาศ ซึ่งมี

เทคโนโลยีและระบบการควบคุมต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยส�าคัญและจ�าเป็น

ต้องน�ามาควบคุมตามระบบการควบคุมการปฏิบัติการ (operational

control) การควบคุมสภาวะระบบการเผาไหม้ รวมทั้งการพิจารณา

ปัจจัยด้านคุณภาพของเชื้อเพลิง เช่น สารก�ามะถัน หรือสารโลหะหนัก

ที่มีในเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ เป็นต้น

ขณะที่โรงงานผลิตอาหาร เช่น การแปรรูปเนื้อสัตว์ โรงงาน

ช�าแหละเนื้อสัตว์ ลักษณะปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมีนัยส�าคัญ คือ

ปัญหามลพษิทางน�า้ เนือ่งจากเป็นอตุสาหกรรมทีม่กีารใช้น�า้มาก ดังนัน้

จึงต้องมีระบบการควบคุมระบบการบ�าบัดน�้าเสียที่มีประสิทธิผล และ

เพียงพอต่อปริมาณน�้าเสียที่เกิดขึ้นในระบบ

ส่วนประเดน็ปัจจยัภายนอก ได้แก่ ข้อก�าหนดทางด้านกฎหมาย

ภาครฐั ข้อก�าหนดของลกูค้า เช่น นโยบายการจดัซือ้สเีขยีวแบบ Green

Purchasing ข้อก�าหนดด้าน RoHs หรือ Reach หรือข้อก�าหนดตาม

แนวทาง Code of Conduct กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิง่แวดล้อม

รวมถงึข้อก�าหนด NGO ทีอ่าจมมีมุมมองแนวคดิด้านระบบการจดัการ

สิ่งแวดล้อมที่มากกว่าการจัดการตามกฎหมาย เป็นต้น

ความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้

ส่วนเสีย เช่น โรงงานผลิตไฟฟ้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เก่ียวข้องด้าน

สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ชุมชน องค์การหน่วยงานอิสระ (NGO) และภาค

สังคมที่อาจได้รับผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อมจากการผลิตกระแส

ไฟฟ้า ความกังวลด้านผลกระทบด้านสุขภาพ พื้นที่การเกษตร การ

ประมง การท่องเที่ยว เป็นต้น โดยหากเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตเป็น

เชือ้เพลงิชนดิทีอ่าจก่อให้เกดิมลพษิ เช่น ถ่านหนิ ขยะ กจ็ะมคีวามเส่ียง

จากการร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียมากกว่าเชื้อเพลิงสะอาด ความ

คาดหวังของชุมชนสามารถรวมไปถึงกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ที่ทาง

องค์การจัดหาให้กับชุมชน เพื่อให้อยู่ร่วมกับชุมชนอย่างมีความสุข

การก�าหนดขอบข่ายของระบบบรหิารสิง่แวดล้อมตามข้อก�าหนด

4.3 ISO 9001:2015 เป็นการพจิารณาชีบ่้งประเดน็ด้านสภาพแวดล้อม

ภายในและภายนอกและข้อก�าหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อน�าไป

ออกแบบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและการพิจารณาข้อก�าหนดที่

จ�าเป็นต้องประยุกต์ใช้ต่อไป โดยการก�าหนดขอบข่าย ควรพิจารณา

บรบิทขององค์การเพือ่สร้างคณุค่าและเป็นประโยชน์ต่อผูม้ส่ีวนได้ส่วน

เสยี ซึง่องค์การอาจจะก�าหนดขอบเขต การเลอืกประยกุต์ใช้ข้อก�าหนด

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนขององค์การ

องค์การสามารถพิจารณาเลือกขอบเขตการควบคุมที่สามารถควบคุม

หรอืมีอทิธพิลเหนอืกจิกรรม ผลิตภัณฑ์ และบรกิาร การพจิารณาวัฏจกัร

ชวีติผลติภณัฑ์ โดยพจิารณาปัญหาด้านสิง่แวดล้อมทีม่นียัส�าคญั หรอื

ความสอดคล้องต่อกฎหมาย

2. การด�าเนินการประเมินความเสี่ยงและโอกาส ตาม

ข้อก�าหนด 6.1 โดยอาจใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาด้าน

➲ประเดน็ปัญหาด้านสิง่แวดล้อม ผลกระทบด้านสิง่แวดล้อม

ในด้านลบ (aspect and impact) ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อองค์การ

ในการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ตามข้อก�าหนด โดยการประเมิน

ปัญหาสิง่แวดล้อมให้พจิารณาตลอดกระบวนการวงจรชวีติผลติภณัฑ์

(product life cycle) ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ การพัฒนา การผลิต

การส่งมอบผลิตภัณฑ์

➲ความสอดคล้องกับข้อก�าหนดทางด้านกฎหมาย พันธ-

สญัญาด้านสิง่แวดล้อม เช่น ข้อก�าหนดด้านกฎหมายสิง่แวดล้อมทีอ่าจ

มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ที่องค์การต้องผูกพันในการปฏิบัติตาม

➲ ข้อก�าหนดความต้องการและความคาดหวังของผูม้ส่ีวนได้

ส่วนเสีย ซึ่งมีผลต่อประสิทธิผลที่ได้จากระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม

เช่น การก�าหนดระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม Supply Chain การ

เลอืกใช้วตัถดุบิทีไ่ม่มสีารโลหะหนกัตามมาตรฐาน RoHs และ Reach

ระบบการสรรหาวัตถุดิบที่ไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม เช่น กฎหมาย IUU

(illegal, unreported and unregulated fishing) เป็นต้น

ตัวอย่างของความเสี่ยงและโอกาสด้านการจัดการส่ิง-

แวดล้อม เช่น

➲ปัญหาความเข้าใจข้อก�าหนดหรือภาษาสื่อสารที่เป็น

อุปสรรคต่อคนงานที่อาจมีระดับความรู้ความสามารถน้อย ท�าให้การ

บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมผิดพลาด

➲การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ท�าให้เกิดน�้าท่วม มี

ผลกระทบต่อการสัญญาข้อตกลงขององค์การ

➲การขาดทรพัยากรทีเ่พยีงพอในการรกัษาความมปีระสทิธ-ิ

ผลของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม

➲การมีเทคโนโลยีใหม่ การเงินที่เพียงพอในการลงทุน ซ่ึง

ท�าให้สามารถปรบัปรงุคุณภาพอากาศได้ เช่น ระบบการเผาไหม้ถ่านหนิ

ขยะ ที่ช่วยลดมลพิษอากาศ

➲สภาวะแล้ง ท�าให้เกดิการขาดแคลนน�า้ในการสเปรย์บ�าบัด

คณุภาพอากาศทีป่ล่อยออก โดยการดกัจบัฝุน่ละออง การบ�าบดัระบบ

Wet Scrubbers

➲สถานการณ์ฉกุเฉนิทีไ่ม่ได้วางแผนไว้หรอืเหตกุารณ์ทีไ่ม่ได้

คาดการณ์ไว้ก่อน ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการจัดการเป็นกรณีพิเศษ เช่น

เพลิงไหม้ สารเคมีหกรั่วไหล สภาวะอากาศที่เลวร้ายโดยฉับพลัน

โดยองค์การจะต้องวิเคราะห์ลักษณะของการเกิดอันตราย

ประเภทและความรนุแรง และผลกระทบจากสภาวะฉกุเฉนิเหล่านี ้เพือ่

การจัดการความเสี่ยง โดยการจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานไม่ได้

ก�าหนดวธิกีารทีเ่ป็นทางการ โดยองค์การสามารถออกแบบวธิกีารชีบ่้ง

และประเมินความเสี่ยงได้

Page 3: การปรับระบบ ISO 14001:2004 เข้าสู่ ...tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/qm213_p11-14.pdfVol.22 No.213 January-February 2016 12 Trend ส งแวดล

Vol.22 N

o.2

13 January-February 2016

13

Trend

3. การวางแผนเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม

องค์การต้องมีการก�าหนดการวางแผนงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์

ด้านสิง่แวดล้อมท่ีระดบักลยุทธ์ ระดบัเทคนคิ หรอืระดบัปฏบิตักิาร โดย

การด�าเนินการทั้งหมดให้สนับสนุนต่อกลยุทธ์องค์การ การก�าหนดตัว

ชี้วัดเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในด้านที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสิ่ง-

แวดล้อม มกีารเฝ้าตดิตามและมกีารสือ่สาร และการจดัท�าแผนปฏบิติั

การเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม โดยแนวทางตาม

ข้อก�าหนด 6.2.2

ตวัอย่างของวตัถปุระสงค์คณุภาพ:การควบคมุค่า BOD COD

กระบวนการบ�าบัดน�้าเสียให้เป็นไปตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมก�าหนด

ตลอดกระบวนการผลิต

ใคร กิจกรรมอะไร ทรัพยากรที่ต้องการ ระยะเวลา การประเมินผล

ฝ่ายวิศวกรรม การควบคุมระบบการบ�าบัดน�้าเสีย ● ผู้ควบคุมมลพิษน�้า● อุปกรณ์เครื่องเติมอากาศ● เครื่องมือวิเคราะห์คุณภาพน�้า● สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการ

บ�าบัด

ตลอดระยะเวลาที่มีกระบวนการผลิต

● การเฝ้าติดตามวัดผลคุณภาพน�้า pH BOD COD Online

● การจัดส่งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ภายนอก

ผู้รับผิดชอบ หัวข้อสื่อสาร เมื่อใด สื่อสารกับใคร วิธีการ

ฝ่ายบุคคล ความเข้าใจด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมภายในบริษัทฯ

● ปฐมนิเทศอย่างน้อยเดือนละครั้ง● เสียงตามสายอย่างน้อยสัปดาห์

ละครั้ง

พนักงาน ● การใช้เสียงตามสาย● การจัดอบรมปฐมนิเทศ● การติดบอร์ดประชาสัมพันธ์

4. การจัดท�าแผนการสือ่สารภายในและภายนอก องค์การต้องมกีารก�าหนดแผนการสือ่สาร โดยก�าหนดรายละเอยีดตามข้อก�าหนด 7.4

ตัวอย่าง: แผนการสื่อสารภายนอก

ผู้รับผิดชอบ หัวข้อสื่อสาร เมื่อใด สื่อสารกับใคร วิธีการ

ฝ่ายสิ่งแวดล้อม ● ผลการเฝ้าติดตามตรวจวัด● การรายงานผลปริมาณการส่ง ของเสียบ�าบัด

● การจัดส่งรายงานตามวาระที่กฎหมายกำหนด

● หน่วยงานราชการ● กรมโรงงาน

● การสื่อสารผ่านระบบ Internet ของกรมโรงงาน

● การจัดเตรียมข้อมูลผลการตรวจวัด ณ โรงงานให้พร้อม

ฝ่ายธุรการ ● ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ของบริษัท

● เมื่อมีการนัดหมายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ารับฟัง และเข้าเยี่ยมชมกิจการ

● ชุมชน● สื่อมวลชน● ผู้แทนองค์การ

อิสระ● Supplier● Customer

● การรับฟังการน�าเสนอโครงการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัท

ตัวอย่าง:การจัดท�าแผนการสื่อสารภายใน

5. การก�าหนดการวางแผนและควบคมุการปฏบิตักิารองค์การ

ควรมวีธิกีารในการวางแผนและควบคมุการจดัการด้านสิง่แวดล้อม โดย

ขึน้กบัลกัษณะของกระบวนการ ความเส่ียงและโอกาส ประเดน็ปัญหา

ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�าคัญ และการสอดคล้องกับกฎหมาย เพื่อให้

ได้ผลการควบคุมสิ่งแวดล้อมเป็นไปตามที่มุ ่งหวังและการควบคุม

กระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิผล โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้

➲การออกแบบกระบวนการเพื่อป้องกันความผิดพลาดและ

บรรลผุลตามทีต้่องการ เช่น การออกแบบระบบบ�าบดัน�า้เสยีทีส่ามารถ

รองรับปริมาณน�้าและโหลดคุณภาพน�้าให้ชัดเจน

Page 4: การปรับระบบ ISO 14001:2004 เข้าสู่ ...tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/qm213_p11-14.pdfVol.22 No.213 January-February 2016 12 Trend ส งแวดล

Vol.22 N

o.2

13 January-February 2016

14

Trend

➲การใช้เทคโนโลยีในการควบคุมกระบวนการระบบการ

จัดการสิ่งแวดล้อม เช่น เทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสีย การบ�าบัดมลพิษ

ทางอากาศ หรือการออกแบบระบบการเผาไหม้ที่ป้องกันมลพิษ

➲การใช้บุคลากรท่ีมีความสามารถในการควบคุมระบบการ

จัดการสิ่งแวดล้อม

➲การควบคมุกระบวนการตามวธิกีารทีก่�าหนด ทีถ่กูต้อง และ

ก�าหนดวธีิการเฝ้าตดิตามและตรวจวดักระบวนการ เพือ่ป้องกนัการเกดิ

ของเสีย (waste) ในกระบวนการผลิต

➲การก�าหนดและการอ้างองิเอกสารข้อมลูในการปฏบิติังาน

ตามที่จ�าเป็นในการควบคุมกระบวนการ

6. การทบทวนโดยฝ่ายบรหิาร ส่ิงทีอ่งค์การต้องมกีารทบทวน

ในการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร คือ การทบทวนการเปลี่ยนแปลงด้าน

➲ประเด็นภายในและภายนอกทีม่ส่ีวนเกีย่วข้องกบัระบบการ

จัดการสิ่งแวดล้อม

➲ความต้องการและความคาดหวังขององค์การที่มีส่วนได้

ส่วนเสีย

➲ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�าคัญ

➲ความเสี่ยงและโอกาส

โดยสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ได้แก่ การเปลี่ยน-

แปลงภายในองค์การ เช่น การมีลูกค้ารายใหม่ที่มีข้อก�าหนดในเรื่อง

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น ผู้ขายรายใหม่ที่ต้องประเมิน

ความสามารถในด้านการจัดการส่ิงแวดล้อม หรือกรณีที่ภาครัฐมีการ

เปลี่ยนแปลงกฎหมายใหม่ รวมถึงกรณีที่องค์การมีการปรับเปลี่ยน

กระบวนการผลติใหม่ มผีลติภณัฑ์ใหม่เกดิขึน้ หรอืการขยายก�าลงัการ

ผลิต ซึ่งท�าให้มีการใช้ทรัพยากร เช่น น�้า ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และก่อให้เกิด

ปรมิาณมลพษิ เช่น น�า้เสยี การเผาไหม้และปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

เพิม่ขึน้ ซึง่การเปลีย่นแปลงเหล่านี ้อาจเป็นสาเหตุทีท่�าให้ผลการด�าเนนิ

งานตามวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมไม่บรรลุผลได้

ผลจากการทบทวน ต้องน�าไปสู่การปรับปรุงระบบให้มีประ-

สิทธิผลที่เพิ่มขึ้น เช่น การทบทวนความพร้อมและเพียงพอของ

ทรัพยากร การตัดสินใจของผู้บริหารในการปรับปรุงระบบการจัดการ

สิ่งแวดล้อม