สัญญาเลขที่ rdg 5430002 · 2014-06-26 ·...

64
กรมอุตุนิยมวิทยา ๔๓๕๓ ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ METEOROLOGICAL DEPARTMENT 4353 SUKHUMVIT ROAD, BANGKOK 10260, THAILAND เอกสารวิชาการ ปรากฏการณ์ MJO กับฝนบริเวณประเทศไทย กรรวี สิทธิชีวภาค Influence of the MaddenJulian Oscillation on Thailand rainfall Kornrawee Sitthichivapak เอกสารวิชาการ เลขที551.577-01-2557 Technical Document No. 551.577-01-2014

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

กรมอุตุนิยมวิทยา ๔๓๕๓ ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐

METEOROLOGICAL DEPARTMENT 4353 SUKHUMVIT ROAD, BANGKOK 10260, THAILAND

เอกสารวิชาการ ปรากฏการณ์ MJO กับฝนบริเวณประเทศไทย กรรวี สิทธิชีวภาค

Influence of the Madden–Julian Oscillation on

Thailand rainfall

Kornrawee Sitthichivapak

เอกสารวิชาการ เลขท่ี 551.577-01-2557 Technical Document No. 551.577-01-2014

Page 2: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ค ำน ำ

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร

ดังนั้นภาคการเกษตรจึงมีความส าคัญ เป็นแหล่งผลิตอาหารเพื่อ เลี้ยงประชากรทั้ งภายในประเทศและในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลกับด้านเกษตรมากที่สุดคือฝน ฝนจึงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อทางด้านเกษตรกรรมเป็นอย่างมากทั้งในด้านบวกและลบ ซึ่งพืชทุกชนิดที่จะด ารงชีวิตอยู่ได้ ก็ต้องอาศัยน้ าเป็นปัจจัยหลักในการด ารงชีวิต โดยที่ฝนตกจะเป็นการรดน้ าที่มีประสิทธิภาพสูงสุดทางธรรมชาติ ฝนตกในปริมาณที่มากเกินไปท าให้เกิดน้ าท่วมและส่งผลท าให้พืชบางชนิดล้มตายจากการเน่าเปื่อย นอกจากนี้หากฝนไม่ตกตามฤดูกาลและเกิดภัยแล้งจากธรรมชาติยังสามารถท าลายพืชผลทางการเกษตรอีกด้วย

เป็นที่ทราบกันดีว่าปัจจุบันสภาพภูมิอากาศมีความแปรปรวน ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะส่งผลกระทบกับสภาพภูมิอากาศโลก โดยเฉพาะภูมิภาคที่อยู่ใกล้บริเวณศูนย์สูตร เช่น ประเทศไทย การศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะฝนที่ตกบริเวณประเทศไทยทั้งในฤดูกาลและนอกฤดูกาล เป็นสิ่งจ าเป็นยิ่งทีจ่ะต้องศึกษา การล่วงรู้สภาพอากาศ โดยเฉพาะการเกิดฝน จะเป็นประโยชน์ต่อการเพาะปลูกในช่วงฤดูกาลและนอกฤดูกาล และการล่วงรู้สภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นจากสภาพอากาศที่แปรปรวน จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนในการจัดท ากิจกรรมต่างๆได้อีกด้วย

ก-1

Page 3: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อหาความเชื่อมโยงปรากฏการณ์ MJO (Madden-

Julian Oscillation) กับฝนบริเวณประเทศไทย เนื่องจากปรากฏการณ์ดังกล่าวมีผู้พบว่า ก่อให้เกิดความแปรปรวนของปริมาณฝนภายในฤดูกาลในทุกภูมิภาคบริเวณศูนย์สูตรรอบโลก การศึกษานี้ใช้ข้อมูลปริมาณฝนจากสถานีตรวจอากาศ ของกรมอุตุนิยมวิทยา พ .ศ. 2552 ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน วิเคราะห์ร่วมกับตัวแปรอื่นดังนี้ Outgoing Longwave Radiation (OLR), ความเร็วลมที่ระดับ 850 และ 200 hPa, Divergence ที่ระดับ 200 hPa, ดัชนีบ่งชี้การเกิดปรากฏการณ์ MJO

ผลการศึกษาพบว่า การเกิดปรากฏการณ์ MJO ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของตัวแปรต่างๆ ที่กล่าวมา เม่ือวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของกลุ่มฝน ช่วงเกิดปรากฏการณ์ MJO และฝนที่เกิดบริเวณประเทศไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 มีความสอดคล้องกันอย่างมีนัยส าคัญ

ก-2

Page 4: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สารบัญ

หน้า

ค าน า ก-1

บทคัดย่อ ก-2

สารบัญ ก-3

สารบัญรูป ก-4

สารบัญตาราง ก-5

บทที่ 1 บทน า 1-3

1.1 ความส าคัญของเรื่อง 1 1.2 วัตถุประสงค์ 3

1.3 พื้นที่การศึกษา 3

1.4 วิธีด าเนินการวิจัย 3

1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 3

บทที่ 2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4-12

2.1 การทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4

2.2 ความรู้พื้นฐานปรากฏการณ์ MJO 5 บทที่ 3 วิธีการวิจัย 13-39 3.1 ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย 13

3.2 การวิเคราะหข์้อมูล 14

บทที่ 4 ผลการวิจัย 40-43

บทที่ 5 บทวิจารณ์ 44-45

บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 46-47

เอกสารอ้างอิง 48

ภาคผนวก 49-57

ก-3

Page 5: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สารบัญรูป

หน้า

รูปที่ 1 ภาพตัดขวางทางตั้งในเขตเส้นศูนย์สูตรของ MJO 6

รูปที่ 2 แสดงโครงสร้าง 3 มิติในทางตั้งของ MJO 7

รูปที่ 3 ภาพตัดขวาง velocity potential ที่ 200 mb เปรียบเทียบปี Lanina 8 neutral year และ Elnino รูปที่ 4 แสดงบริเวณที่ MJO ส่งผลกระทบต่อสภาพอากาศในห้วงเวลา 3 สัปดาห์ 9

รูปที่ 5 แสดงการหมุนเวียนของความชื้น (moisture) ที่สัมพันธ์กับการเกิดฝนหนัก

(heavy rain) บริเวณชายฝั่งตะวันตกของอเมริกาเหนือ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ MJO 11

รูปที่ 6 Outgoing Longwave Radiation : OLR 22

วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ ถึง 25 เมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009)

รูปท่ี 7 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 1 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009) 22

รูปที่ 8 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 7 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009) 23

รูปที่ 9 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 15 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009) 23

รูปที่ 10 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 22 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009) 24

รูปที่ 11 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 28 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009) 24

รูปที่ 12 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 5 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009) 25

รูปที ่13 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 11 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009) 25

รูปที่ 14 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 19 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009) 26

รูปที่ 15 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 26 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009) 26

รูปที่ 16 ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 850 hPa เฉลี่ยพื้นที่บริเวณ 5°N และ 5°S 27

รูปที่ 17 ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 200 hPa เฉลี่ยพื้นที่บริเวณ 5°N และ 5°S 28

รูปที่ 18 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 29

วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ ถึง 6 มีนาคม 2552

รูปที่ 19 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 29

วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ ถึง 6 มีนาคม 2552

รูปที่ 20 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 30

วันท่ี 4 - 13 มีนาคม 2552

หน้า

ก-4

Page 6: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

รูปที่ 21 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 31

วันท่ี 4 - 13 มีนาคม 2552

รูปที่ 22 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 32

วันท่ี 12 - 21 มีนาคม 2552

รูปที่ 23 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 32

วันท่ี 12 - 21 มีนาคม 2552

รูปที่ 24 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 33

วันท่ี 26 มีนาคม – 4 เมษายน 2552

รูปที่ 25 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 34

วันท่ี 26 มีนาคม – 4 เมษายน 2552

รูปที่ 26 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 35

วันท่ี 1-10 เมษายน 2552

รูปที่ 27 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 35

วันท่ี 1-10 เมษายน 2552

รูปที่ 28 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 36

วันท่ี 9-18 เมษายน 2552

รูปที่ 29 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 37

วันท่ี 9-18 เมษายน 2552

รูปที่ 30 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa 38

วันท่ี 16-25 เมษายน 2552

รูปที่ 31 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa 38

วันท่ี 16-25 เมษายน 2552

รูปที่ 32 แผนภาพ Phase diagrams Wheeler and Hendon 39

Page 7: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ 1 ฝนรายวันสถานีตรวจอากาศอุตุนิยมวิทยาประเทศไทยเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 15

ตารางที่ 2 ฝนรายวันสถานีตรวจอากาศอุตุนิยมวิทยาประเทศไทยเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 18

ก-5

Page 8: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

1

บทที่ 1. บทน ำ

1.1 ควำมส ำคัญของเร่ือง

ในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมา ดูเหมือนว่า ประเทศไทยหรือในภูมิภาคต่างๆทั่วโลกประสบกับภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุทกภัย ดินโคลนถล่ม ภัยแล้ง ซึ่งต่างหมุนเวียนเกิดขึ้นเป็นระยะๆ และถี่มากขึ้นในแต่ละฤดูกาล และเม่ือเกิดขึ้นแต่ละครั้งสร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินอยู่ไม่น้อย ค าถามที่ได้ยินอยู่เสมอคือ ภูมิอากาศโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปแล้วหรืออย่างไรและในอนาคต ภัยธรรมชาติต่างๆจะมีความรุนแรงขึ้นอีกหรือไม่ มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มากมายบ่งบอกถึงอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น เกิดภาวะโลกร้อน และความแปรปรวนของภูมิอากาศโดยคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือ IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) ซึ่งประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชา ที่ท าหน้าที่ประเมิน รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการจัดท ารายงานประเมินฉบับที่ 5 ( IPCC-AR5) คาดว่าจะแล้วเสร็จในปีนี ้พ.ศ. 2557

อุทกภัยและภัยแล้ง เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นเป็นประจ าทุกปี จากสภาพอากาศที่แปรปรวน ไม่ใช่เรื่องไกลตัว ในทางตรงข้ามเป็นเรื่องส าคัญ เป็นเรื่องของผลกระทบทางธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตทรัพย์สิน รวมทั้งการเพาะปลูกพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งส าหรับประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ความแปรปรวนของสภาพอากาศส่งผลต่อผลผลิตทางการเกษตรและความม่ันคงทางด้านอาหารด้วยเหมือนกัน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ยังเป็นพื้นฐานส าคัญต่อการวางแผนเพื่อปรับตัวและรับมือกับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย

บทสรุปของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 3 (IPCC Third Assessment Report, 2001) ได้สรุปผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเนื่องจากความรุนแรงของภูมิอากาศอย่างหนึ่งคือ มรสุมในภูมิภาคเอเชียจะแปรปรวนขึ้นในอนาคตและสิ่งหนึ่งที่มีผลท าให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปคือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆได้แก่ ปรากฏการณ์เอนโซ่ (ENSO: El Nino – Southern Oscillation), IOD (Indian Ocean Dipole), MJO (Madden Julian Oscillation)

ปรากฎการณ์ด้านภูมิอากาศ เป็นปฏิสัมพันธ์ที่เชื่อมโยงกันระหว่างชั้นบรรยากาศ พื้นดินและผิวหน้ามหาสมุทร ซึ่งมักน าไปสู่สภาวะความรุนแรงของลมฟ้าอากาศและภัยธรรมชาติ ดังนั้น ความแปรปรวนของภูมิอากาศจึงถือเป็นประเด็นที่มีความส าคัญยิ่งในบริบทของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เนื่องจากความผันแปรในระยะสั้นเป็นเหตุการณ์ที่สามารถเห็นผลกระทบเชิงสาธารณะต่อทุกภาคส่วนได้อย่างชัดเจน ปรากฏการณ์ด้านภูมิอากาศที่เกิดขึ้นใน

Page 9: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

2 แต่ละภูมิภาคไม่ได้เป็นเหตุการณ์ที่อิสระต่อกัน แต่เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งของระบบภูมิอากาศโลกที่บูรณาการกับความแปรปรวนของภูมิอากาศในส่วนอื่นๆ ผ่านกระบวนการเชื่อมโยงระยะไกล (Teleconnection) ทั้งนี้ ปรากฏการณ์เอนโซ่ (ENSO) ปรากฏการณ์อินเดียนโอเซียลไดโพล (Indian OceanDipole, IOD) และปรากฏการณ์ MJO (Madden Julian Oscillation, MJO) เป็นปรากฏการณ์ด้านภูมิอากาศที่มีอิทธิพลสูงต่อสภาพภูมิอากาศและสภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งผลการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า 1. ปรากฏการณ์เอนโซ่ มีอิทธิพลท าให้อุณหภูมิอากาศในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ลดลง) ในปีที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ (ลานีญา) และพบว่าปริมาณน้ าฝนสะสมรายปีมีแนวโน้มลดลง (เพิ่มขึ้น) ในปีท่ีเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ (ลานีญา) 2. ปรากฏการณ์อินเดียนโอเซียลไดโพล (IOD) มีอิทธิพลท าให้ปริมาณน้ าฝนสะสมรายปีของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น กล่าวคือ ปริมาณน้ าฝนสะสมในช่วงฤดูฝนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ปริมาณน้ าฝนสะสมในช่วงฤดูแล้งถัดมากลับมีแนวโน้มลดลง 3. ปรากฏการณ์ MJO ก่อให้เกิดความแปรปรวนของปริมาณฝนภายในฤดูกาล โดยวันเริ่มฤดูมรสุมเกิดขึ้นหลังจากที่ positive MJO เคลื่อนผ่าน ขณะที่ฝนทิ้งช่วงมักเกิดในช่วงที่ negative MJO เคลื่อนผ่าน นอกจากนี้ MJOยังก่อให้เกิดสภาวะความรุนแรงของฝนในช่วง positive MJO เมื่อเทียบกับช่วง negative MJO 4. มรสุมฤดูร้อนในบริเวณฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ มีความแปรปรวนเพิ่มขึ้นแต่ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์เอ็นโซ่ยังคงเดิม ในทางกลับกันมรสุมฤดูร้อนอินเดียมีความแปรปรวนลดลงและความเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์เอ็นโซ่อ่อนก าลังลงอย่างมาก 5. มรสุมฤดูร้อนอินเดียมีก าลังแรงขึ้น (อ่อนลง) ในช่วงการก่อตัวของปรากฏการณ์เอลนีโญ (ลานีญา) ในขณะที่ มรสุมฤดูร้อนในบริเวณฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือมีก าลังแรงขึ้น (อ่อนลง) ในช่วงการสลายตัวของปรากฏการณ์ลานีญา (เอลนีโญ)

งานวิจัยฉบับนี้จะศึกษาความเชื่อมโยงปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) กับฝนบริเวณ ประเทศไทย เนื่องจากปรากฏการณ์ดังกล่าวมีผู้พบว่า ก่อให้เกิดความแปรปรวนของปริมาณฝนภายในฤดูกาลในทุกภูมิภาคบริเวณศูนย์สูตรรอบโลก และมักเกิดในช่วงที่เป็น ENSO neutral year ผลที่ได้จากการศึกษาจะมีประโยชน์ต่อการพยากรณ์อากาศระยะสั้น ระยะปานกลาง ตลอดจนการพยากรณ์อากาศระยะนาน ( 1 เดือน) การล่วงรู้สภาพอากาศ โดยเฉพาะการเกิดฝน จะเป็นประโยชน์ต่อการเพาะปลูกในช่วงนอกฤดูกาล และการล่วงรู้สภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นจากสภาพอากาศที่แปรปรวน จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนในการจัดท ากิจกรรมต่างๆได้อีกด้วย

Page 10: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

3 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษาระบบของการเกิดปรากฏการณ์ MJO 1.2.2 เพื่อศึกษาความเชื่องโยงของปรากฏการณ์ MJO กับฝนบริเวณประเทศไทย 1.3 พื้นที่กำรศึกษำ บริเวณประเทศไทยและพื้นที่ใกล้เคียง 1.4 วิธีด ำเนินกำรวิจัย

1. วิคราะห์ข้อมูล Outgoing Longwave Radiation : OLR เดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

2. วิเคราะห์ความเร็วศักย์ ( velocity potential) เป็นการวิเคราะห์การหมุนวนออกของลมในระดับบนของบรรยากาศ เดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

3. วิเคราะห์ความผิดปกติของลมชั้นบนที่ระดับ 200 hPa และระดับล่าง 850 hPa เดือนมีนาคมถึงเมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

4. วิเคราะห์ข้อมูลฝนประเทศไทย พ.ศ. 2552 5. วิเคราะห์ดัชนี MJO

1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1 ทราบกลไกของการเกิดปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) และความเชื่อมโยงปรากฏการณ์ธรรมชาติอื่นๆที่ส่งผลกระทบกับลักษณะอากาศของประเทศไทย 2 เพื่อเป็นแนวทางการพยากรณ์อากาศระยะสั้น ระยะปานกลาง

Page 11: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

4

บทที่ 2 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 กำรทบทวนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ประเทศไทยกับการศึกษาปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) ยังมี

น้อย ส่วนใหญ่จะศึกษาผลกระทบจากปรากฏการณ์ ENSO ที่มีต่อฝนและอุณหภูมิ รวมทั้งต่อ

ระบบมรสุม

Madden and Julian (1971) เป็นผู้ค้นพบปรากฏการณ์ MJO เป็นคนแรก โดยมี

ลักษณะส าคัญคือการก่อตัวอย่างเป็นระบบของกลุ่มเมฆฝนเป็นบริเวณกว้างหลายพันตาราง

กิโลเมตร เรียกว่า positive MJO สลับกับช่วงที่มีฝนแล้ง เรียกว่า negative MJO เหนือแถบเขต

ร้อนของมหาสมุทรอินเดีย และกลุ่มดังกล่าวมีการเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกจนสลายตัวบริเวณ

มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 30 ถึง 60 วัน

Wheeler and Hendon (2004) ซึ่งใช้ข้อมูล outgoing long wave radiation ที่วัดได้

ด้วยดาวเทียมเป็นตัวแทนบริเวณที่เกิดเมฆฝนแสดงให้เห็นว่า พื้นที่ประเทศไทยอยู่ในบริเวณที่

ได้รับอิทธิพลของปรากฏการณ์ MJO ทั้งในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และฤดูมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีการเปลี่ยนแปลงของบริเวณที่ได้รับผลกระทบตามฤดูมรสุม

Zhang (2005) ปรากฏการณ์ MJO ก่อให้เกิดความแปรปรวนของปริมาณฝนตลอดจน

การไหลเวียนของกระแสลมในบริเวณที่เคลื่อนผ่าน และเป็นปรากฏการณ์ที่ส าคัญที่สุดที่

ก่อให้เกิดความแปรปรวนของปริมาณฝนภายในฤดูกาล

Straub et al (2006) บริเวณทะเลจีนใต้ ซึ่งมีการส ารวจในปี ค.ศ. 1998 พบว่าวันเริ่ม

ฤดูมรสุมเกิดขึ้นหลังจากที่ positive MJO เคลื่อนผ่าน ในทางตรงกันข้ามการทิ้งช่วงของฝนใน

ฤดูมรสุม (monsoon break) มักเกิดในช่วงที่ความกดอากาศสูงปกคลุม และเป็น negative MJO

นอกจากนี ้MJO ยังก่อให้เกิดสภาวะรุนแรงของปริมาณฝน

Wheeler et al. (2008) พบแนวโน้มการเกิดฝนตกหนักในเขตออสเตรเลียตอนเหนือ

เพิ่มขึ้นสามเท่าในช่วง positive MJO เมื่อเทียบกับช่วง negative MJO

Page 12: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

5

ดร.ปัทมำ สิงหรักษ์ (2554) ได้ศึกษาความแปรปรวนของปริมาณฝนภายในฤดูกาล

ของประเทศไทยที่เกิดเนื่องจากปรากฏการณ์ Madden-Julian Oscillation (MJO)

2.2 ควำมรู้พื้นฐำนปรำกฏกำรณ์ MJO ปรากฏการณ์ MJO เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่ได้มีการศึกษากันว่ามีผลต่อ

ความผันแปรต่อลักษณะอากาศในทุกภูมิภาคใกล้บริเวณศูนย์สูตรรอบโลก เป็นปรากฏการณ์คล้าย“คลื่น” (Wave) บริเวณเขตร้อน ที่เกิดขึ้นในรอบ 30 - 60 วัน ความแปรผันของลักษณะอากาศนี้ส่งผลให้ตัวแปรส าคัญ ๆ ในบรรยากาศและมหาสมุทรผันแปรไปด้วย คือ ทิศทางและความเร็วลมทั้งระดับบนและระดับล่าง เมฆ ปริมาณฝน อุณหภูมิน้ าทะเล และการระเหยบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร

ผู้ที่ค้นพบความผันแปรนี้คือ Roland Madden และ Paul Julian เมื่อปี ค.ศ.1971-1972 (พ.ศ.2514-2515) พวกเขาค้นพบความผันแปรในรอบ 40-50 วันโดยบังเอิญ เมื่อท าการวิเคราะห์ความผิดปกติของลมในแนวระนาบบริเวณเขตร้อนของมหาสมุทรแปซิฟิก จากข้อมูลความกดอากาศในช่วง 10 ปี ที ่ Canton (2.8 องศาใต้ ในมหาสมุทรแปซิฟิก) และลมช้ันบนที่สิงคโปร์ หลังจากนั้นในช่วงต้นปี ค.ศ 1980 (พ.ศ.2523) เริ่มมีคนสนใจความผันแปรน้ี ซึ่งต่อมารู้จักกันแพร่หลายในนาม Madden and Julian Oscillation (MJO) พร้อมกับค าถามของนักวิทยาศาสตร์บางคนถึงความมีนัยส าคัญของ MJO ในระดับโลก แต่นับจากเหตุการณ์เอลนิโญในปี ค.ศ.1982-1983 (พ.ศ. 2525-2526) ความผันแปรท่ีเกิดขึ้นในช่วงสั้น ๆ บริเวณเขตร้อน ทั้งความผันแปรที่มีระยะเวลาภายในช่วงปี (intra-annual : less than a year) และความผันแปรมากกว่า 1 ปี ( inter-annual : more than a year) ได้รับการสนใจมากขึ้น และจ านวนสิ่งตีพิมพ์ที่เกี่ยวกับ MJO ก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

ความผิดปกติของฝนมักปรากฏขึ้นในมหาสมุทรอินเดียเป็นล าดับแรก แล้วขยายตัวไปทางด้านตะวันออกไปยังพื้นน้ าทะเลที่อุ่นมากบริเวณเขตร้อนของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกและตอนกลาง รูปแบบของฝนเขตร้อนเริ่มปรากฏไม่แน่ชัดเมื่อเคลื่อนตัวไปถึงบริเวณพื้นผิวน้ าทะเลที่เย็นกว่าของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก แต่จะปรากฏอีกครั้งบริเวณเขตร้อนของมหาสมุทรแอตแลนติกและหาสมุทรอินเดีย รูปแบบของการหมุนเวียนที่แตกต่างกันชัดเจนระหว่างบรรยากาศระดับล่างและระดับบน ในบริเวณที่ความผันแปรนี้เคลื่อนไป ลกัษณะต่าง ๆ เหล่านี้ขยายไปรอบโลก และไม่จ ากัดอยู่เฉพาะซีกโลกด้านตะวันออกเท่านั้น

กล่าวคือ ความผันแปรน้ีเริ่มต้นจากปริมาณฝนในเขตร้อน (Tropic) มีการขยายตัวไปทางตะวันออกและมีปริมาณเพิ่มขึ้น โดยในระยะแรกจะปรากฏในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก และบ่อยครั้งที่จะเห็นปริมาณฝนในมหาสมุทรอินเดียเป็นอันดับแรก จากนั้นจะขยายตัวทางตะวันออกไปสู่บริเวณอุ่นกว่าในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกและตะวันออก ในเขตร้อนแถบบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกที่มีความเย็นกว่าจะมีรูปแบบของปริมาณฝนไม่แน่นอน แต่จะปรากฏขึ้นอีกครั้งในบริเวณมหาสมุทรแอตแลนติกและแอฟริกา และจาก

Page 13: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

6 การที่ปริมาณฝนในเขตร้อนผันแปรไป รูปแบบของความแตกต่างของการหมุนเวียนของบรรยากาศในระดับบนและระดับล่างจะผิดปกติไปในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน (Subtropic) ลักษณะเช่นนี้จะเกิดขึ้นรอบโลกและจะไม่จ ากัดเฉพาะในซีกโลกตะวันออก ดังนั้น จึงปรากฏบริเวณที่มีการเคลื่อนท่ีขึ้น-ลงตามระยะของความผันแปร

รูปที ่1 ภาพตัดขวางทางตั้งในเขตเส้นศูนย์สูตรของ MJO (ปรับปรุงจาก Madden and Julian, 1971;1972)

จากรปูท่ี 1 แสดงการเปลี่ยนแปลงของเมฆ ปริมาณฝน ทิศทางและความเร็วลม อุณหภูมิน้ าทะเล เมื่อมีการขยายตัวของ MJO ไปทางตะวันออกรอบเขตร้อนของโลกจากการเชื่อมโยงองค์ประกอบของเหตุการณ์ MJO หลายๆเหตุการณ์ ท าให้เราได้โครงสร้าง 3 มิติในอุดมคติของ MJO (รูปที่ 2) เมื่ออากาศมีการยกตัวในทางตั้งรุนแรงขึ้นในมหาสมุทรอินเดียและอินโดนีเซียในบรรยากาศระดับสูงขึ้นไป กระแสลมตะวันออก(ตะวันตก)จะพัดเวียนออก และปรากฏเป็นระบบของการหมุนเวียนออก(anticyclone) ตามแนวด้านหลังของบริเวณที่มีการยกตัว ในทางกลับกันระบบหมุนเวียนเข้า (cyclone) จะปรากฏในแนวด้านหลังของบริเวณที่การยกตัวถูกบีบอัดทั้งในทั้งซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ ส่วนในระดับล่างกระแสลมตะวันออก(ตะวันตก)จะปรากฏด้านหน้า(ด้านหลัง)ของบริเวณที่มีการยกตัว โดยท่ัวไปการเคลื่อนตัวท านองนี้ในระดับบนจะรุนแรงกว่าในระดับล่าง เมื่อมีการเคลื่อนตัวลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิกกลางพร้อมกับขยายตัวไปทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ความผิดปกติของการหมุนเวียนในระดับล่างและระดับบนจะลดก าลังลง แต่จะกลายเป็นส่วนประกอบของมวลอากาศกลุ่มใหม่เกิดขึ้นรอบ ๆ เขตร้อนของโลก

Page 14: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

7

รูปที่ 2 แสดงโครงสร้าง 3 มิติในทางตั้งของ MJO (Rui and Wang,1990) วงกลมสีน้ าเงิน (แดง) แสดงระบบหมุนเวียนออก (หมุนเวียนเข้า) ลูกศรสีด าแสดงทิศลมและการเคลื่อนท่ีขึ้นด้านบน/จมตัวลง

กำรเฝ้ำระวัง

เนื่องจากธรรมชาติมีการหมุนเวียนเปลี่ยนไปอย่างช้าๆ การพยากรณ์ MJO ที่ถูกต้องจะสัมพันธ์กับการเฝ้าระวัง ตลอดจนความรุนแรงและต าแหน่งของ MJO แบบจ าลองทางไดนามิกส์โดยท่ัวไปไม่สามารถพยากรณ์ MJO ได้ดี ส่วนหน่ึงเนื่องจากความยากในการหาความสัมพันธ์เชิงคณิตศาสตร์ของกระบวนการยกตัวในเขตร้อน นักอุตุนิยมวิทยาจะใช้เทคนิควิธีและข้อมูลต่าง ๆ ในการติดตาม ศึกษาและพยากรณ์การก่อตัวและการพัฒนาของ MJO สิ่งที่มีความส าคัญเป็นอันดับแรกคือ ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมอยู่กับที่ และดาวเทียมโคจรรอบขั้วโลกของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA ) ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมชี้ให้เห็นบริเวณที่มีการยกตัวรุนแรงในเขตร้อน และบริเวณที่มีการยกตัวแตกต่างไปจากค่าเฉลี่ยระยะยาว และจากการท่ีมีการขยายตัวไปในแถบเขตร้อนของโลก จึงใช้ความแตกต่างจากค่าปกตินี้เป็นเครื่องมือพื้นฐานท่ีใช้เฝ้าระวังและพยากรณ์ MJO

ข้อมูลแหล่งที่สองที่ใช้ติดตามเฝ้าระวัง MJO คือ เครือข่าย Radiosond ที่มีข้อมูล ลม อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศที่บรรยากาศหลายระดับ ข้อมูลเหล่านี้ถูกตรวจวันละ 2 ครัง้ และน าเข้าแบบจ าลองการพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข ในรูปแบบที่เอื้อต่อการวิเคราะห์ภูมิอากาศและการพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข จากรูปแบบของการยกตัวและปริมาณฝนท่ีได้จากการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ท าให้นักอุตุนิยมวิทยาสามารถติดตามและรู้พัฒนาการของ MJO อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนยังเป็นการตรวจสอบผลกระทบของ MJO ต่อปรากฏการณ์ต่างๆได้ดี เช่น กระแสลมกรดในฤดูหนาว และสภาพแวดล้อมภายในของระบบใหญ่ที่พายุหมุนเขตร้อนจะพัฒนาได้ในเขตร้อน นอกจากนี้ยังมีเทคนิควิเคราะห์ต่าง ๆ หลายวิธีที่ท าให้เราติดตาม

Page 15: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

8 MJO ซึ่งแสดงผลตามเวลา-ลองจิจูดเพื่อให้เราทราบวิวัฒนาการ ขนาด และลักษณะที่สัมพันธ์กับ MJO โดยจะแสดง

1) Outgoing Longwave Radiation : OLR ซึ่งจากภาพถ่ายดาวเทียมจะวิเคราะห์ปริมาณฝนและการยกตัวของอากาศในเขตร้อนได้

2) ความเร็วศักย์ (velocity potential) เป็นการวิเคราะห์การหมุนวนออกของลมในระดับบนของบรรยากาศ

3) ค่าผิดปกติของลมชั้นบนและระดับล่าง 4) ค่าผิดปกติตามความสูงของความกดที่ระดับ 500 hPa ซึ่งสะท้อนถึงลักษณะ

บรรยากาศในเขตละติจูดกลาง ควำมผันแปรระหว่ำงปีของ MJO

ในกระบวนการของ MJO สามารถเกิดความผันแปรปีต่อปีท่ีรุนแรงขึ้นได้ หรือมีช่วงความผันแปรที่รุนแรงตามด้วยช่วงเวลาที่อ่อนก าลังลงหรือหายไป มีหลักฐานท่ีบ่งบอกว่าความผันแปรระหว่างปีของ MJO สว่นหน่ึงเชื่อมโยงถึงวงจรของ ENSO, MJO ที่รุนแรงส่วนใหญ่จะพบได้ในช่วงปีที่มีปรากฏการณ์ลานีญาก าลังอ่อน หรือสภาวะความเป็นกลาง (Neutral year) ขณะที่ MJO ก าลังอ่อนจะพบในปีที่มีปรากฏการณ์ เอลนีโญรุนแรง ในรูปที่ 3 เป็นการเปรียบเทียบ velocity potential ที่ 200 mb หรือการหมุนวนออกของลมในบรรยากาศระดับบนในช่วงเดือนกันยายนถึงมิถุนายน ระหว่างปีท่ีมีปรากฏการณ์ลานีญา ปีที่เกิดสภาวะความเป็นกลาง (neutral year) และปีที่มีปรากฏการณ์ เอลนีโญ ตามล าดับ

รูปที่ 3 ภาพตัดขวาง velocity potential ที่ 200 mb เปรียบเทียบปี Lanina neutral year และ Elnino

Page 16: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

9 ผลกระทบที่เกิดจำก MJO

ที่เห็นได้ชัดคือ MJO ท าให้บรรยากาศผิดปกติไปและส่งผลกระทบในวงกว้าง ตัวอย่างผลกระทบจาก MJO สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 4

บริเวณที่ 1 คือ บริเวณที่เกดิสภาวะชุ่มชื้นหรือแห้งแล้งในเขตร้อน บริเวณที่ 2 คือ บริเวณที่เกดิฝนตกหนัก หรือ เรียกว่า “Pineapple Express” บริเวณที่ 3 คือ บริเวณที่ได้รับอิทธิพลของลมมรสุม บริเวณที่ 4 คือ บริเวณที่มีการก่อตัวของพายุไซโคลน บริเวณที่ 5 คือ บริเวณมหาสมุทรที่เกิดวงจรของ ENSO

บริเวณที่ 1 คือ บริเวณที่เกดิสภาวะชุ่มชื้นหรือแห้งแล้งในเขตร้อน บริเวณที่ 2 คือ บริเวณที่ได้รับอิทธิพลของลมมรสุม บริเวณที่ 3 คือ บริเวณที่มีการก่อตัวของพายุไซโคลน

รูปที่ 4 แสดงบริเวณที่ MJO ส่งผลกระทบต่อสภาพอากาศในห้วงเวลา 3 สัปดาห์

Page 17: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

10 • ในบริเวณที่มีการหมุนเวียนออกในระดับบนจะเกิดฝนได้ดีขึ้น ซึ่งปรากฏบนแผ่นดินทางตอนเหนือของบราซิล แอฟริกาตะวันออกเฉียงใต้และอินโดนีเซียในช่วงฤดูหนาว ในอเมริกากลาง/เม็กซิโกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงฤดูร้อน

• MJO ท าให้ระบบของมรสุมรอบโลกอ่อนก าลังลง กล่าวคือมรสุมในย่านออสเตรเลีย (ฤดูหนาว : ตุลาคม-มีนาคม) มรสุมในย่านเอเชีย (ฤดูร้อน : มิถุนายน-กันยายน) มรสุมย่านอเมริกาใต้(ฤดูหนาว : ตุลาคม-มีนาคม) และมรสุมย่านอเมริกาเหนือ (ฤดูร้อน : พฤษภาคม-ตุลาคม) จะได้รับอิทธิพลจาก MJO ระยะท่ีมีฝนเพิ่มขึ้นจากระบบ MJO ส่งผลกระทบต่อช่วงเวลาเริ่มต้นของมรสุมและความรุนแรงของมรสุม ยิ่งไปกว่านั้นระยะเริ่มสลายตัวของ MJO ยังบอกถึงการเร่ิมต้นการสิ้นสุดของมรสุมด้วย

• MJO ท าให้ South Atlantic Convergence Zone (SACZ : ชายฝั่งประเทศบราซิล) และ South Pacific Convergence Zone (SPCZ : ตะวันออกของออสเตรเลีย) แรงขึ้นหรืออ่อนก าลังลงได้

• มีหลักฐานช้ีว่า MJO มีอิทธิพลต่อวงจรของ ENSO, MJO ไม่ใช่สาเหตุการเกิดเอลนีโญ แต่มีผลกระทบต่อความเร็วในการพัฒนาตัว และบางครั้งมีผลต่อความรุนแรงทั้งหมดของเอลนีโญ

• MJO สามารถเปลี่ยนแปลงความรุนแรงของพายุไซโคลนในมหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก อ่าวเม็กซิโกและในมหาสมุทรแอตแลนติก ตัวอย่างเช่น แม้ว่าพายุไซโคลนจะเกิดในฤดูอบอุ่นของซีกโลกเหนือ (โดยท่ัวไปคือ พฤษภาคม-พฤศจิกายน)ทั้งในย่านมหาสมุทรแปซิฟิกและย่านมหาสมุทรแอตแลนติก แต่ในแต่ละปีจะมีพายุที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น(ลดลง)ได้ MJO เป็นตัวที่ท าให้ก าลังของพายุเปลี่ยนแปลงไป (โดยเฉพาะพายุท่ีมีก าลังแรง) โดยการท าให้สภาพแวดล้อมในระบบใหญ่เกิดความเหมาะสม (ไม่เหมาะสม) ต่อการพัฒนาของพายุ เช่น ความผิดปกติที่เกิดขึ้นของลมตะวันตกที่ระดับผิวพื้นด้านหลังของบริเวณที่มีการยกตัวรุนแรงในระบบ MJO อาจท าให้เกิดระบบหมุนเวียนเข้า (หมุนเวียนออก) ทางด้านเหนือ (ใต้) ของเส้นศูนย์สูตรตามล าดับ ในเวลาเดียวกัน ในระดับบน ระบบหมุนเวียนออก(หมุนเวียนเข้า)จะพัฒนาไปตามแนวด้านหลังของบริเวณที่มีการยกตัว ส่งผลใหล้มเฉือนในทางตั้งลดก าลังลง และเพิ่มแรงหมุนเวียนออกในระดับบน ซึ่งท้ังสองปรากฏการณ์ดังกล่าวท าให้พายุไซโคลนมีการพัฒนาและมีความรุนแรงข้ึน โดยพายุจะมีแนวโน้มรุนแรงข้ึนเม่ือ MJO ช่วยให้มีฝนเพิ่มขึ้น เมื่อ MJO มีการขยายตัวไปทางตะวันออก บริเวณที่จะเกิดพายุไซโคลนรุนแรงจะเคลื่อนจากมหาสมุทรอินเดียไปสู่มหาสมุทรแปซิฟิก และสู่มหาสมุทรแอตแลนติกในท่ีสุด

อย่างไรก็ตาม ยังมีค าเตือนว่า MJO เป็นเพียงหน่ึงในหลาย ๆ ปัจจัยที่ท าให้พายุไซโคลนพัฒนาขึ้นได้ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ เช่น อุณหภูมิน้ าทะเลจะต้องสูงเพียงพอและลมเฉือน

Page 18: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

11 ในทางตั้งจะต้องมีก าลังอ่อนพอที่จะก่อให้เกิดความปั่นป่วนในเขตร้อนและคงอยู่เพื่อพัฒนาเป็นพายุต่อไป

การเพิ่มขึ้นของปริมาณฝนในเขตร้อนบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกและมหาสมุทรแปซิฟิกกลางน าไปสู่การมีฝนหนักในอเมริกาเหนือด้านตะวันตก ภาพจ าลองตัวอย่างแสดงการเชื่อมโยงปริมาณฝนในเขตร้อนกับ MJO ท าให้มีฝนหนักในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตก ซึ่งเป็นลักษณะของการหมุนเวียนไปอย่างต่อเนื่อง (คือการเคลื่อนตัวไปทางตะวันออก) ในเขตร้อน และการหมุนเวียนย้อนกลับ (คือการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตก) ในเขตละติจูดสูงของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ

รูปที่ 5 แสดงการหมุนเวียนของความชื้น (moisture) ที่สัมพันธ์กับการเกิดฝนหนัก (heavy rain)

บริเวณชายฝั่งตะวันตกของอเมริกาเหนือ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ MJO

รูปแบบของฝนท่ีสัมพันธ์กับ MJO โดยท่ัวไป คือการเกิดฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก (จากการเคลื่อนตัวไปทางตะวันออก) ซึ่งเป็นลักษณะของการหมุนเวียนบริเวณเขตร้อน จากนั้นเกิดลักษณะของการหมุนเวียนย้อนกลับ (หรือ retrograding) มีการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตก ไปสู่บริเวณตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ท าให้เกิดฝนตกหนักบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกในช่วงฤดูหนาว

Page 19: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

12 ของแปซิฟิกเหนือและด้านตะวันตกของอเมริกาเหนือ ปรากฏการณ์นี้ถูกเรียกว่า Pineapple Express (หรือ Pineapple Connection) ซึ่งมีล าดับของเหตุการณ์ดังนี้

1.เกิดฝนตกหนักในช่วง 7-10 วัน ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนตัวของ MJO ไปทางตะวันออกจากมหาสมุทรอินเดียด้านตะวันออกไปยังเขตร้อนของมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ความชื้นแผ่ขยายไปทางตะวันออก เฉียงเหนือจากด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกไปยังบริเวณใกล้กับหมู่เกาะฮาวาย แล้วถูกบล๊อกโดยแอนตี้ไซโคลนก าลังแรงที่ปกคลุมอยู่ในอ่าวอลาสก้าร่วมกับกระแสลมกรด (polar jet stream) ที่มีก าลังแรงที่อยู่ทางเหนือ

2. เกิดฝนตกหนักในช่วง 3-5 วันและเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกไปสู่เส้นแบ่งวัน (date line) แลว้อ่อนก าลังลง ความชื้นขยายตัวไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ โดยปกติมักจะเคลื่อนตัวไปยังเกาะฮาวาย บริเวณความกดอากาศสูงก าลังแรงที่บล็อกอยู่เร่ิมอ่อนก าลังลงและเคลื่อนไปทางทิศตะวันตก แนวกระแสลมกรดบริเวณแปซิฟิกตอนเหนือเกิดการแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ท าให้มีลักษณะเหมือนปีกนกส่วนหน่ึงอยู่ทางใต้ ซึ่งจะมีก าลังแรงข้ึน ลมตะวันตกขยายไปในบรรยากาศชั้นโทรโพฟอสระดับบน ส่วนปีกที่อยู่ทางเหนือจะอ่อนก าลังลง รูปแบบการไหลเวียนในเขตร้อนและนอกเขตร้อนนี้เข้าสู่ระยะท่ีเรียกว่า “phase” หย่อมความกดอากาศต่ า พัฒนาขึ้นในบริเวณละติจูดกลาง และเกิดร่องความกดอากาศต่ า (trough) ที่พาดมาจากหย่อมความกดอากาศต่ าในเขตร้อน ที่ท าให้ความชื้นจากเขตร้อนแผ่ขยายกว้างขึ้น ลักษณะของบรรยากาศที่เกิด High , Low , ridge หรือ trough ในบริเวณใกล้ ๆ กันแบบนี้ถูกเรียกว่า “blocking activity”

3. การเกิดฝนหนัก เนื่องจากรูปแบบของฝนเขตร้อนท่ีตกอย่างต่อเนื่องและเคลื่อนตัวไปทางตะวัน ออกและอ่อนก าลังลงแล้ว ท าให้ความชื้นจากเขตร้อนแผ่ขยายจากบริเวณกึ่งเขตร้อน (subtropical) ของมหาสมุทรแปซิฟิกตอนกลาง เข้ามาในร่องความกดอากาศต่ าที่พาดอยู่บริเวณ mid-latitude ซึ่งก าลังปกคลุมอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ กระแสลมกรด (jet stream) ที่บรรยากาศระดับบนขยายข้ามตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกเข้าสู่ทวีปอเมริกาเหนือบริเวณพื้นที่ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอเมริกา หย่อมความกดอากาศต่ าก าลังแรงท่ีปกคลุมอยู่ใกล้ชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกท าให้เกิดฝนตกหนักเป็นเวลาหลายวันซ่ึงอาจส่งผลให้เกิดน้ าท่วมในบริเวณดังกล่าวได้

Page 20: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

13

บทที่ 3 วิธีกำรวิจัย

3.1 ข้อมูลที่ใช้ในกำรวิจัย

1 ปริมาณฝน ความผิดปกติของฝนในช่วงฤดูร้อนเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนของประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์ MJO และปรากฏการณ์ที่แปรผันภายในฤดูกาลอื่นๆ ได้แก่ convectively-coupled Kelvin waves, convectively-coupled Rossby waves เป็นต้น ลักษณะร่วมกันของปรากฏการณ์เหล่านี้คือ ก่อให้เกิดการรวมตัวอย่างเป็นระบบของกลุ่มเมฆฝนเป็นบริเวณกว้าง และภายในกลุ่มเมฆฝนเหล่านี้ก็ยังมีการจัดเรียงตัวและการเคลื่อนที่เป็นระบบท่ีซับซ้อน ในขณะท่ีปริมาณฝนจากสถานีตรวจอากาศ มักเป็นผลเนื่องมาจากเมฆฝนที่มีขนาดเล็ก (1 - 10 กิโลเมตร) ประกอบกับปัจจัยเฉพาะพื้นที่ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ เป็นต้น การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้ข้อมูลปริมาณฝนจากสถานีตรวจอากาศ ของกรมอุตุนิยมวิทยาโดยยกตัวอย่างปี พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน

2 Outgoing Longwave Radiation (OLR) เป็นค่าที่แสดงการก่อตัวของกลุ่มเมฆฝนเป็นบริเวณกว้างได้ดีและใช้ในการศึกษาปรากฏการณ์ MJO อย่างแพร่หลาย ทั้งนี้เพราะ OLR เป็นค่ารังสีอินฟราเรดที่ตรวจวัดได้จากภายนอกชั้นบรรยากาศของโลก ค่า OLR ต่ าแสดงถึงรังสีที่แผ่ออกไปมาจากบริเวณยอดเมฆที่ก่อตัวสูงขึ้นไปในชั้นบรรยกาศ ค่า OLR สูงแสดงถึงรังสีที่แผ่ออกไปมาจากบริเวณใกล้วผิวพื้น สามารถประมาณค่าได้ว่าบริเวณนั้นไม่มีเมฆปกคลุม การศึกษานี้ใช้ข้อมูล OLR เดือนมีนาคมถึงเมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

3 ตัวแปรทางอุตุนิยมวิทยาอื่นๆ ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ.

2009) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA ) ตัวแปรที่ใช้ประกอบด้วย ก. ความเร็วลมที่ระดับ 850 hPa ข. ความเร็วลมที่ระดับ 200 hPa ง. Divergence ที่ระดับ 200 hPa

Page 21: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

14

4 ดัชนีบ่งชี้การเกิดปรากฏการณ์ MJO ใช้ดัชนี All-season real-time multivariate MJO index (RMM index) ของ Wheeler

and Hendon (2004) เป็นดัชนีที่ใช้ในการศึกษาปรากฏการณ์ MJO อย่างแพร่หลายที่เข้าถึงได้จากเว็บไซต์ http://cawcr.gov.au/staff/mwheeler/maproom/RMM/ RMM index ได้มาจากการวิเคราะห์ด้วยวิธี Empirical Orthogonal Function (EOF) ของค่า OLR และค่าความเร็วลมในแนวตะวันออก-ตะวันตกที่ระดับ 850 hPa และระดับ 200 hPa ค่า principal component (PC) ตัวที่หน่ึงและสองที่ได้จากการวิเคราะห์ก็คือค่าดัชนี RMM1 และ RMM2 ซึ่งจะแปรผันตามพัฒนาการของปรากฏการณ์ MJO ใน phase space แทนด้วยเฟส (phase) หนึ่งถึงแปด ค่าของ RMM1 และ RMM2 เป็นตัวบอกต าแหน่งของจุดศูนย์กลางของกลุ่มเมฆฝนใน phase space ตั้งแต่เริ่มก่อตัวในมหาสมุทรอินเดียในเฟสที่ 1 แล้วเคลื่อนที่ไปทางตะวันออก จนกระทั่งอ่อนตัวลงบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกบริเวณเส้นแบ่งเขตวันสากลในเฟสที่ 8 ค่าเวกเตอร์ 121 22 RMMRMM แสดงว่าเป็นช่วงที่ เกิดปรากฏการณ์ MJO ค่าเวกเตอร์ 121 22 RMMRMM แสดงว่าเป็นช่วงที่ไม่เกิดปรากฏการณ์ MJO The Real-time Multivariate MJO (RMM) Index เป็นดัชนีที่ได้จากการวิเคราะห์ตัวแปรพหุคูณที่เป็นปัจจุบัน ใช้ข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA ) 3.2 กำรวิเครำะห์ข้อมูล เนื่องจากปรากฏการณ์ MJO จัดเป็นความแปรปรวนภายในฤดูกาล มีความถี่อยู่ในช่วงเวลาประมาณ 30 - 60 วัน จึงได้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรต่างๆ ดังนี ้

1. ฝนรายวันท่ีได้จากการตรวจวัดของสถานีตรวจอากาศทั่วประเทศของกรมอุตุนิยมวิทยาเดือนมีนาคมและเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 (ตารางที่ 1 และ2)

Page 22: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

STATION 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 Mae Hong Son - - - - - - - - - - - - - - - - 23.5 0.4 - - - - - 9.4 - 10.5 - - - - - Mae Sariang - - - - - - - - - - - - - - - - 18.3 2.8 - - - - 20.2 7.1 - - - - - - - Chiang Rai - - - - - - - - - - - - - - - - 0.3 - - - - - 0.7 0.1 - 1.8 3.0 2.5 - - 23.5 Phayao - - - - - - - - - - - - - - - - 9.2 1.0 - - - - 0.4 - - - 1.7 - - - - Chiang Mai - - - - - - - - - - - - - - - - 12.7 0.7 - 1.5 - - 1.8 T - - - - - - - Doi Angkhang - - - - - - - - - - - - - - 0.4 - 6.5 - - - - - - 0.6 - 3.9 3.7 - - - - Nan - - - - - - - - - - - - - - - - - T T 9.7 - - 9.3 - 10.1 - - - - - 1.0 Tha Wang Pha (2) - - - - - - - - - - - - - - - - - T - - - - 3.5 - 0.6 - - 3.2 - - 0.6 Thung Chang (2) - - - - - - - - - - - - - - - - 16.1 - - - - - 3.0 - 1.2 - - - - - 5.2 Lamphun - - - - - - - - - - - - - - - - 9.8 - - - - - - 2.0 T T - - - - - Lampang - - - - - - - - - - - - - - - - 17.2 3.2 - - - - 2.2 0.5 - - - - - - 3.8 Thoen - - - - - - - - - - - - - - - - 32.0 13.3 - 1.7 0.2 0.8 1.8 - 7.0 29.6 - - - - - Phrae - - 0.1 - - - - - - - - - - - - - - T - 2.9 - - 4.2 T 4.4 T 0.5 - - 0.3 0.2 Uttaradit - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 0.6 - - - - 2.9 1.5 - - - - - N Sukhothai - - - - - - - - - - - - - 6.6 - - - 0.2 - 4.9 - - - - 4.2 0.2 - - - - - Bhumibol Dam - - - - - - - - - - - - - T - - 0.7 T - 8.6 T - 2.4 - 11.0 5.0 - 0.2 - - 9.2 Tak - - - - - - - - - - - - - 1.0 - - T 1.6 - 1.1 - 0.6 0.6 - - T - - - - 3.0 Mae Sot - - - - - - - - - - - - - - - - 5.0 0.1 - 19.5 - - 2.2 - - - - - - - - Umphang (2) - 12.6 3.6 - - - - - - - - - - - - 12.5 31.4 17.5 6.8 20.7 7.8 - 3.1 - 11.7 2.0 1.7 - - 0.5 0.7 Phitsanulok - - - - - - - - - - - - 17.5 2.2 - - - - - 0.9 - - - - - 1.2 0.1 - - - T Lom Sak (2) - - - 0.6 - - - - - - - - - T - - - 2.4 - 15.6 - - - 0.3 8.1 62.8 15.0 - - - 20.3 Phetchabun - - - - - - - - - - - - 51.8 2.7 - - - 5.2 0.5 54.1 - - - 0.2 3.0 4.5 1.1 - - - 43.2 Wichian Buri (2) - - - - - - - - - - - - 2.5 - - - - - - 16.3 - - - 14.4 5.0 26.8 2.5 0.2 - - - Khamphaeng Phet - - - - - - - - - - - - - - - - - 28.1 0.1 12.8 - - 1.3 1.7 T 2.4 2.8 - - - 24.3 Phicit (1) - - - - - - - - - - - - - 2.0 - - - - - 3.3 - - - - 0.4 3.6 0.8 - - - T --Mean-- 0.0 0.5 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 2.7 0.5 0.0 0.5 6.8 2.8 0.3 6.6 0.3 0.1 2.4 1.3 2.9 6.5 1.3 0.3 0.0 0.1 5.1 Nong Khai - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1.2 - - 2.2 1.6 20.7 - 1.7 - - 23.8 0.8 Loei - - - - - - - - - - - - 3.2 - - - - 1.2 T 20.9 - - - 3.0 67.8 5.8 4.8 - - 1.4 8.2 Loei (1) - - - - - - - - - - - - 11.2 - - - - 1.6 0.2 22.8 - T - 13.4 57.5 5.9 - - - 1.9 6.0 Udon Thani - - - - - - - - - - - - - - - - - T T 25.8 - - 0.3 1.6 13.5 3.8 - - - T - Nakhon Phanom - - - - - 3.5 - - - - - 3.5 1.9 T - - - - 5.5 - - - - 30.3 40.4 2.1 - - T - - Nakhon Phonom (1) - - - - - 1.3 - 14.1 0.2 - - - 4.6 - - - - - - - - - - 17.2 1.5 2.0 - - - - - Sakon Nakhon - - - - - - - 28.7 - - 4.2 - 26.4 - - - - - - 17.4 - - - 7.2 1.1 4.1 - - - - - Nong Bua Lumphu - - - - - - - - - - - 7.6 0.9 - - - - T - 23.6 - - - 0.5 0.9 - - - - 41.0 0.5 Mukdahan - - - - - - - - - - - - 39.4 - - - - - - 0.6 - 0.8 T 11.7 2.8 T - - - - T Khon Kaen - - - - - - - - - - - - 33.3 1.4 - - - 0.1 T 7.1 - 0.2 - 7.5 - 2.5 - - - 0.3 - Tha Pra (1) - - - - - - - - - - - - 33.7 1.2 - - - 0.4 T 10.0 - - - 40.0 - 3.0 - - - 9.7 - Kosum Phisai (2) - - - - - - - - - - - - 24.0 0.2 - - - T - 5.8 - - - 29.4 0.2 - - - - 0.7 0.5 Kamalasai (2) - - - - - - - - T - - - 21.8 0.1 - - - T - 13.9 - - - 4.2 5.4 4.5 - - - 0.6 1.7

NE Roi Et - - - - - - - - - - 0.2 - 1.9 - - - - T - 6.5 - - 0.1 21.5 1.8 6.3 - - - - 12.8 Chaiyaphum - - - - - - - - - - - - 29.1 0.2 - - - 6.9 1.6 6.2 - - - - - 20.0 - - - 2.0 29.4 Ubon Ratchathani - - - - - - - - - - - - T - - - - 0.5 - - - T - 65.3 - - T - - - T Ubon Ratchathani (1) 0.8 - - - - - - - - - - - - - - - T 0.7 - - 4.9 - - 77.2 - - T - - - 0.4 Si Saket (1) - - - - - - - - - - - - 0.5 T - - - - - - - - - 22.7 - 10.1 - - - 12.8 1.2 Tha Tum (2) - - - - - - - 10.0 - - - - 6.4 - - - - - - 2.3 - - 6.7 14.9 - 3.7 - - - - 28.2 Surin - - - - - - - - 0.4 - - - 19.4 T - - - - - - - 0.4 - 51.0 - 39.5 - - - - 63.2 Surin (1) - - - - - - - - - - - - 13.2 0.4 - - - - - 1.2 - - - 53.3 - 40.3 - - - 0.1 35.9 Nakhon Ratchasima - - - - T - - - - - T 0.2 1.1 - - - T 58.5 0.6 8.0 - 8.5 1.8 - - 1.0 27.5 - - - 16.4 Pakchong (1) 1.0 T - - - - 4.0 T 4.6 2.2 2.6 - 30.7 T - - - 17.8 2.0 14.4 0.8 3.2 - - 33.6 T 0.5 - - 17.5 19.6 Chok Chai (2) - - - - - - - - - T T - T - - - - 6.5 1.4 T - - - - - 2.0 - - - - 51.2 Buri Ram - - - - - - - - T - - - 33.2 0.4 - - - 12.4 - - - - - 36.1 - 25.8 - - - - 24.1 Nang Rong (2) - - - - - - - - - - - - 24.7 T - - - 4.2 4.3 47.0 - - T 0.4 - 17.6 0.4 - - 4.2 0.7 --Mean-- 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.1 2.3 0.3 0.1 0.8 0.4 13.6 0.2 0.0 0.0 0.0 4.0 0.6 9.0 0.2 0.5 0.4 18.3 9.0 7.7 1.2 0.0 0.0 4.1 11.5

Page 23: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Nakhon Sawan - - 8.8 - - - - - - - - - - - - - - - - 15.9 - - - - - 2.0 1.8 - - - 4.7 Takfa (1) - - 40.8 - - - - - - - - - - - - - - 1.2 35.4 4.6 - - - - 1.4 - - - - - 44.3 Chai Nat (1) - - - - - - - - - - - - - - - - - 0.6 - 3.1 - - - - 5.0 - - - - - T Ayuthaya (1) - 3.3 - - - - - - - - - - - - - - - 5.6 - 0.7 - - - - 27.1 0.7 - - - - T Bua Chum (2) - - - - - - - - - - - - 26.8 2.7 - - - 2.4 T 0.4 - - - - 20.7 2.4 - - - - 2.4 Lop Buri - - - - - - - - - - - - - - - - - 6.8 - 1.6 0.8 - - - 6.4 T - - - - 56.8 Suphan Buri - - - - - - - - - - - - - - - - - 4.1 - - - - - - 0.5 0.4 - - - - - Uthong (1) - - - T - - - - - - - - - - - - - 7.5 - 0.7 0.3 - - - 0.5 0.2 - - - - 1.2 Thong Pha Phum - 1.6 7.0 - - - - - - - - - - - - - - 3.2 6.6 28.9 - 1.0 - - 0.2 3.4 7.5 - - - 84.0 Kanchanaburi - - - 0.3 - - - - - - - - - 1.2 - - - 34.5 - 0.3 - - - 12.4 23.5 10.4 22.8 - - - - C Ratcha Buri (1) - - - - - - - - - - - - - 4.8 - - - 0.3 - - - - - - 0.7 T - - - - 93.9 Kampheang Saen (1) - - - - - - - - - - - - - T - - - 3.4 - - - - - - - T - - - - 12.5 Pathum Thani (1) - - 1.0 - - - 0.2 - - 1.5 - - 0.1 - - - - 82.2 - 0.6 4.3 - 11.0 - - 38.9 - - - - 0.9 Samut Prakan 0.4 - - - - - - - - - - - - T - - 1.2 57.3 - - - T - 1.2 0.6 T T - - - - Suvarnabhumi - - - - - - - - - - - - - - - - 7.1 3.4 - - - - - - 0.7 - - - - - 0.1 Bangkok Airport 1.0 - - - - - - - - - - - 17.1 - - - T 17.1 - 8.6 10.2 - - - T - - - - 13.7 36.3 Sirikit Center 1.2 4.7 - - - - - - - - - - - - - - T 3.5 - 2.0 6.6 - - - - - - - - - 12.2 Bangkok Port T 10.5 - - - - - - - - - - - - - - 0.1 3.9 - - 10.6 - - - - - - - - - 24.2 Bang Na (1) - 7.2 - - - - - - - - - - - - - - 7.4 16.5 T - - - - - T T - - - - 15.5 --Mean-- 0.1 1.4 2.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 2.2 0.4 0.0 0.0 0.8 12.7 2.1 3.4 1.6 0.1 0.6 0.7 4.4 1.1 1.6 0.0 0.0 0.7 19.5 Prachin Buri - T - - - - - - - 3.7 - - - - - - T - 1.4 0.6 - - - - 0.6 9.6 - 1.5 - 18.5 T Kabin Buri (2) - - - - - - - - - 8.1 - 0.2 - - - - - 24.1 T 0.7 1.7 - 0.1 - - 19.1 T 0.3 - - 2.1 Sa Kaeo (2) 2.0 - - - - - - - - 13.0 2.4 T - - - - - 3.9 9.2 8.7 - - - - - - 0.5 - - 4.4 T Aranyaprathet 3.6 1.0 - 8.0 - - - 0.8 - 1.2 - - 0.6 2.1 - - - 13.5 - T - 50.9 - - - T - - - 1.4 9.5 Chachoengsao (1) 0.4 - - 18.2 - - - 2.0 - 9.8 57.1 - - - - - 1.6 T 37.9 2.8 - 2.6 - - - - 32.4 - - 1.6 - Chon Buri - - - - - - - - 9.7 - - - - - - - - 2.3 - 83.9 2.6 0.1 - - - 2.1 - - - 0.7 15.2 Laem Chabang - 0.9 - - - - - - - - - - - - - - 0.3 1.0 - 13.2 17.6 - - - - - - - - - - Pattaya 8.4 8.2 0.6 - - - - - - - - - - 2.1 - - - 66.8 - - - - - - - - - - - - 13.2 Sattahip T - - - - - - - 0.1 - - - - 0.1 - - - 20.8 - - - 0.2 - - - - - - - - 0.1 Rayong 38.9 - - 10.2 - - - - - 9.2 - - - T - - 0.8 0.9 - T - - - - - T 0.6 - - T - Huai Prong (1) 14.5 - 34.7 - - - - T - 3.6 2.9 - - 0.6 - - - 24.0 - - - - - - - - - - - - - Chanthaburi 6.3 - 27.2 - - - 3.1 3.2 - 1.9 - - 37.7 - - - 14.5 0.3 - 11.4 0.6 10.1 - - 1.9 - 79.5 - 9.2 0.5 35.8 E Pluei (1) - 0.2 6.1 - - - 17.8 3.3 11.4 - - - - - - - 40.6 T - 9.7 - 0.1 - - 4.8 2.6 - - - 15.4 - Khlong Yai 1.4 0.9 1.6 10.0 16.2 3.0 4.6 - 1.8 3.5 2.9 28.7 1.8 - - - 48.7 0.6 40.4 7.8 2.1 - - 2.0 - - - - - 13.9 24.1 --Mean-- 5.0 0.7 4.7 3.1 1.1 0.2 1.7 0.6 1.5 3.6 4.4 1.9 2.7 0.3 0.0 0.0 7.1 10.6 5.9 9.7 1.9 4.3 0.0 0.1 0.5 2.2 7.5 0.1 0.6 3.8 6.7

Phetchaburi T - - - - - - - - - - - - 62.5 - - - - - - - - - - - - - - - - - Hua Hin - - - - - - - - - - - - - 21.6 - - - - - - - - - - - - - - - - - Prachuap Khiri Khan - 0.7 3.0 - - - - - - - - - - 0.8 - - - 0.3 - 25.0 - - - - - - - - - - 0.3 Chumphon 1.4 9.2 - - - - - - - - - - - 15.3 0.7 - - 4.2 0.2 0.9 1.0 - 18.8 2.5 0.2 T - - - - 2.2 Sawee (1) 3.4 26.8 - - - - - - - 0.2 - - - 20.0 29.4 - - 29.7 1.0 1.8 10.4 - 29.8 5.0 10.8 0.2 - - - - 1.5 Surat Thani - 1.9 - 0.4 - - - - - - - - - - T T - 2.1 - 3.7 42.0 27.9 26.3 1.9 - 1.0 - - - - - Ko Samui - 1.7 - - - - 0.2 - - - - - - 16.2 26.6 31.4 1.2 7.1 4.8 9.2 3.6 - T - - - - - - - 13.5 Prasang (2) - T - 29.3 2.6 - - - 5.0 - - - - - - 2.8 5.1 8.8 66.4 43.1 1.5 34.5 4.2 5.7 - 6.7 - - 1.0 - - Chawang (2) - T - - 2.4 T - - - - - - 2.8 1.0 - 3.4 - 4.7 19.2 9.4 - 5.2 54.4 14.4 - 16.8 1.3 - 34.7 1.1 2.0

Nakhon Si Thammarat

1.4 3.3 4.5 7.1 - - - - - - - - - 11.6 10.3 6.0 - T - 2.4 9.7 - 32.4 3.4 - - - - - - 11.9

Nakhon Si Tham'rat(1)

0.1 0.2 11.3 22.3 - - - - - - - - - 0.1 2.5 10.2 - 0.1 8.1 0.7 62.9 9.2 20.8 9.9 - T - - - - 1.7

SE Pattalung (1) 19.5 4.2 6.9 3.0 - - - - 0.1 - - - - 1.8 10.8 5.5 - 20.0 - 0.6 0.2 - 63.0 2.2 - - - - - - 1.5 Songkhla 4.3 37.6 5.9 12.4 1.1 - - - - - - - - - 3.8 17.9 - T 4.8 21.6 0.9 T 1.0 T - T - 4.9 0.2 - 3.8 Hat Yai 4.1 71.9 9.6 T 0.4 - - - - - - - - 1.2 - - 0.4 1.6 5.5 29.0 T - 12.8 19.1 - T 2.0 13.7 11.1 - 0.2 Korhong (1) 2.9 40.0 1.2 0.4 T - - - - - - - - 4.2 - 0.3 - 4.8 - 30.4 0.2 - 8.8 29.4 - - 5.2 10.8 1.2 - 0.2 Pattani 4.5 19.3 1.0 - - - - - - - - - - 0.4 4.3 3.6 - 58.7 4.5 - - 0.2 - - - - 4.5 - 5.6 - - Narathiwat 19.3 132.0 26.1 0.6 - - - 0.9 - - - - - 0.2 44.2 2.3 - 35.8 1.0 1.2 1.2 1.2 - - - - 0.4 - - - 7.1 --Mean-- 4.0 19.0 4.3 3.8 1.7 0.2 0.0 0.0 0.4 0.0 0.0 0.0 0.1 8.5 6.7 4.4 0.3 9.5 6.4 9.2 6.4 3.8 13.7 5.7 0.6 1.3 1.7 1.4 3.5 0.1 2.2

Page 24: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Ranong - 0.1 - 0.3 0.9 18.0 2.2 16.2 - - - 0.2 0.4 6.7 5.7 - 9.3 0.1 16.2 9.8 37.0 6.9 - - 0.9 10.4 - - - - -

Takua Pa 27.4 6.5 - 21.8 1.9 1.5 26.4 8.4 8.8 1.1 - - T 9.5 14.1 11.7 2.2 - 2.9 30.0 5.5 - - 5.4 - 6.7 - - - 1.8 -

Phuket 7.8 22.5 27.4 6.6 - - 2.1 13.2 10.0 - - - - 3.3 0.2 1.0 0.8 - 5.5 2.4 3.4 - - 65.6 0.2 1.4 - - 9.7 3.1 26.5

Phuket Airport 46.9 8.8 2.3 47.0 - 30.1 0.3 21.5 8.9 - - - - 18.1 1.7 0.2 - - 12.8 43.2 33.7 - - 30.2 - - 26.7 4.9 - 12.2 15.0 SW Krabi 2.1 0.6 - 3.8 1.1 9.9 1.2 1.8 9.1 - - - - - 14.8 0.2 13.4 27.3 59.0 25.8 62.2 - - 8.3 - - 0.6 - 16.5 0.5 0.1

Ko Lanta - 1.0 0.6 0.4 - - 6.0 29.4 7.6 - - - - - 6.2 1.3 2.0 6.8 11.7 2.3 13.7 - 0.4 5.8 - 51.9 - - 6.7 - -

Trang 0.8 15.8 T T 26.4 4.1 - 4.7 - - - - 0.7 0.4 0.3 - - 1.8 50.2 66.5 5.3 - 2.0 2.6 - 0.3 0.3 1.4 38.0 - - Satun 0.4 28.8 3.3 23.5 24.1 17.5 7.7 25.6 10.4 - - - - - - - 57.1 45.4 0.6 6.5 5.0 - 2.6 3.4 22.0 2.5 0.1 2.0 1.6 - -

--Mean-- 10.7 10.5 4.2 12.9 6.8 10.1 5.7 15.1 6.9 0.1 0.0 0.0 0.1 4.8 5.4 1.8 10.6 10.2 19.9 23.3 20.7 0.9 0.6 15.2 2.9 9.2 3.5 1.0 9.1 2.2 5.2

ตารางที่ 1 แสดงฝนรายวันสถานีตรวจอากาศประเทศไทยเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552

Page 25: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

STATION 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

Mae Hong Son - - - - - - - - - - - - - 2.6 4.7 - T 1.2 - - - - - - - 13.6 - 8.3 - - Mae Sariang - - - - - - - - 6.2 - - - T - 0.8 1.6 5.2 2.8 0.2 T 0.2 - - - - 15.2 - - - - Chiang Rai 6.5 - - - - 31.3 - - 0.2 0.1 0.6 T 1.4 1.7 T - - 1.0 T - 7.9 - - - - T 1.2 0.2 - - Chiang Rai (1) 31.0 - T - - 29.7 - T - - - - T 1.2 - - - 0.9 - 0.4 - - - 9.7 - 0.4 1.7 0.3 - - Phayao 12.1 0.2 - - - - - 0.2 0.2 1.5 - - - 26.3 - - - - - 0.2 - - - - 0.6 7.2 - T 0.6 - Chiang Mai - - - - - - - 3.2 - - 23.5 5.1 - 0.3 T 0.2 0.7 - - - - - - - 22.2 13.6 T 2.5 26.6 - Doi Angkhang 17.2 - - - - 0.7 - - - - 0.2 - - 1.2 0.3 0.2 0.7 0.3 - 1.5 - - 0.2 - - 1.1 8.0 14.8 - - Nan 0.9 T - - - - - - 0.2 - 22.0 - 3.2 7.0 - - 0.6 - - - - - - - 0.5 - 6.7 - - - Tha Wang Pha (2) 2.8 - - - - 3.1 - - 2.9 22.4 0.4 - T 12.6 0.1 T 5.4 1.5 - - - - - - 1.3 1.6 1.3 0.6 - - Thung Chang (2) 16.2 - - - - 24.6 0.9 - 7.8 19.2 1.8 0.4 - 5.4 - - - - - 1.5 - T - - 11.2 59.7 - - - - Lamphun - - 1.6 - - - - 0.5 - - T - - 0.9 0.4 - - - - - - - - - 10.8 5.9 - 12.1 - - Lampang - 0.2 0.2 - - - - - - 14.9 - 0.5 - 22.1 - - - 6.7 - - - - - - 8.5 1.2 - 0.9 - - Thoen - - - - - - - - - 7.0 - 0.1 0.3 80.1 - - - 0.5 - - - - - - 8.5 3.7 - 39.0 74.0 9.2 Phrae T - 2.0 8.0 - - - - T 8.5 - - - 13.6 T 2.0 - 2.4 - - 3.3 - - - 19.4 0.8 - - 68.6 - Uttaradit - - - 0.1 - - - - - 60.7 - T 2.9 0.8 - - - - - - 1.5 - - - 7.5 1.6 2.7 - 17.8 - Sukhothai - - - - - - - - - - 0.2 T 0.2 10.8 - - - - - - - - - - 19.1 3.2 5.2 0.5 1.0 - Bhumibol Dam - - - - - - - - - 6.2 15.2 - - 14.7 - - - 1.7 - - - - - - 6.6 1.5 T 11.6 41.4 - Tak - - - - - - - - - 9.2 1.1 2.0 - 18.1 - - - 3.5 - - - - - - 21.0 4.2 1.8 - 12.1 - Mae Sot - - - - - - - 5.1 4.3 0.2 0.5 - - 1.2 0.2 1.3 0.3 34.7 22.3 4.2 - - - - 1.2 0.9 0.8 0.8 - - Umphang (2) - 13.3 3.7 - - - 0.5 - - 6.2 11.7 0.2 - 0.9 - - 0.2 4.1 - 0.9 - - - - - 1.3 3.1 0.9 - - Phitsanulok - - - - - - - - - - T T - 0.5 - - - - - - - - - - 12.6 0.4 7.3 0.1 2.9 - Lom Sak (2) - - - - - - - - 0.6 - 29.0 0.4 6.5 15.7 20.9 - - - - - - - - - 5.9 19.4 3.9 0.8 2.1 - Phetchabun - - - - - - 12.0 - - - 62.7 - 2.9 0.4 1.1 - - - - - - - - - 1.8 2.7 13.4 1.2 - - Wichian Buri (2) - - - - 2.4 13.6 - - - - 53.2 - 3.5 0.6 - - - - - - - - - - 12.9 - 8.2 - 56.7 - Khamphaeng Phet - - - - - - - - - - - 0.2 - 8.0 0.9 - - - - - - - - - 40.8 6.3 0.1 9.7 0.3 - Phicit (1) - - - - - - - - - - 20.5 - 0.2 - - 4.2 - - - - - - - - 62.3 T 0.4 2.0 - - --Mean-- 3.3 0.5 0.3 0.3 0.1 3.8 0.5 0.3 0.8 5.8 8.2 0.3 0.9 10.5 1.1 0.4 0.5 2.3 0.8 0.3 0.5 0.0 0.0 0.4 10.2 6.1 2.6 3.9 11.3 0.3 Nong Khai - - - 18.5 0.2 - - - - - 3.9 - - 9.6 2.1 0.5 - - - - 4.4 - - - 39.1 - - - - - Loei - - - 25.5 - 1.5 0.2 - - - 5.9 - 58.8 0.2 4.1 - - - - - - 1.0 - - 12.0 0.9 17.4 3.0 26.6 31.2 Udon Thani - - - 12.3 - - - - - - 7.5 - 0.4 1.3 13.7 - - - - - T - - - 23.6 - 9.8 0.4 - - Nakhon Phanom - - - - - - - - - - 0.1 - 4.0 5.6 0.8 12.5 T - - 1.5 - 0.6 - - - - - T 10.6 - Sakon Nakhon - - - - - - - - - - 3.4 T 0.6 5.4 14.0 16.1 - - - - 2.2 - - - - - - 3.2 64.4 - Nong Bua Lumphu - - - 3.4 - - - - - - 31.6 - 0.8 7.6 0.6 - - - - - - 5.2 - - 8.0 T - 4.8 2.7 0.4 Mukdahan - - - - - - - - - - 0.5 T 20.2 8.1 - 1.0 - - - 35.1 0.2 - - - T - - T 24.6 - Khon Kaen - - - - - - - - - - 2.7 - 1.6 42.1 - - 0.6 - - - - - - - 81.9 - - - - - Tha Pra (1) - - - - - - - - - - 1.2 - T 28.2 - - 49.7 - - - 11.7 - - - 61.2 - - - - - Kosum Phisai (2) - - - - - - - - - - 0.1 - - 0.2 - - - 4.0 - - - - - - 45.5 - - - 0.2 - Kamalasai (2) - - - - - - - - - 14.9 5.7 - - 23.3 9.2 - T - - - T - - - 29.2 - - 2.0 7.5 - Roi Et - - - - - - - - - 4.3 0.3 - - 18.3 - - - - - - T - - - 4.7 - - 3.3 0.2 18.2 Chaiyaphum - - - - - - - - - 0.4 21.0 0.2 - - - - - - - - - T - - 59.0 - - 4.0 2.0 T Ubon Ratchathani 9.8 - - - - - - - T 10.4 17.6 T T 116.7 12.7 - - - - 13.5 - 0.9 - - 0.9 T 10.8 - 27.4 2.1 Si Saket (1) - - - - 1.0 - - - 0.2 - 12.2 18.2 44.0 54.1 20.2 1.3 - - - T - - - - 2.5 39.5 - - 23.5 0.2 Tha Tum (2) - - - - - - - - - 4.0 0.7 - 5.8 3.5 - - - - - - - - - - 50.1 12.0 11.2 1.4 17.2 1.4 Surin - - - - 7.1 - - - 1.5 1.3 - 2.1 0.9 37.8 - - - - - - - - - - 56.9 8.1 - 3.0 8.8 - Nakhon Ratchasima - - - - 4.2 - - - - 1.6 11.2 T - - - - - - - - - - - - 56.5 1.2 0.3 22.9 15.4 13.6 Pakchong (1) - - - 22.0 - - - - - 36.5 54.9 - - - - - - 1.6 - - - - - - 9.9 T 34.2 2.3 3.3 - Chok Chai (2) - - - - - 1.4 - 1.3 T T 2.4 0.6 - - - - - - - - - - - - 98.4 0.7 - 70.1 3.7 5.0 Buri Ram - - - - - - - - - 0.8 26.4 - - 24.3 - - - T - - 0.1 - - - 26.2 2.9 - 16.5 - - Nang Rong (2) - - - - 0.4 - 1.0 - - - 3.6 5.5 T 0.3 - - - - - - - - - - 7.8 16.0 - - 0.3 30.8 --Mean-- 0.4 0.0 0.0 4.3 0.5 0.2 0.0 0.0 0.1 4.4 9.4 1.0 6.1 16.8 5.4 1.4 1.8 0.2 0.0 2.3 0.7 0.4 0.0 0.0 27.6 3.5 3.3 6.7 10.0 4.4

Page 26: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Nakhon Sawan - - - - - - 1.6 - - 0.5 17.7 0.7 - 22.0 - - - - T - - - - - 0.7 - 5.7 9.1 0.2 -

Chai Nat (1) - - - - - - 2.5 - - - 18.6 - - - - - - 2.9 - - - - - - 3.3 - 0.7 - - 31.5 Ayuthaya (1) - - - - - - 0.7 18.6 - - 48.4 2.0 0.6 - - - 3.3 - - - - - - - 25.2 13.3 7.2 - 11.3 - Bua Chum (2) - - - - 4.4 - - - - 0.3 16.5 - - - - - - 0.1 - - - - - - 7.9 - 16.3 T 16.9 - Lop Buri - - - - - - 2.4 34.7 4.6 2.9 11.7 - - - - - - 7.6 - - - - - - 47.5 - - - - 0.6 Suphan Buri - - - - - 1.8 - - - - 6.5 - - - - - 1.9 0.2 - 0.1 - - - - - - 0.4 0.1 - 1.5 Uthong (1) - - - - - - - - - - 0.7 - - - - - - - 0.3 T - - - - T 0.2 9.3 68.0 - 23.0 Thong Pha Phum - - - - - 0.6 80.4 - - 3.3 - 0.3 8.7 - - 5.2 18.2 2.4 1.2 2.7 0.9 - - - - 31.6 - - 4.9 - Kanchanaburi - - - - - - - - 0.9 - 4.4 - - T - - - - T - - - - - - 5.4 44.7 6.8 - - Ratcha Buri (1) - - - - - 0.4 9.1 - - - - 0.2 - - - - - - - - - - - - - - 11.5 11.9 1.5 - Kampheang Saen (1) - - - - - 1.7 - - 0.7 - - - - - - - - - - - - - - - - 0.2 30.1 6.6 - - Pathum Thani (1) - - - - - 18.5 - 0.1 0.4 0.9 14.8 11.6 1.0 - - - - - - - - - - - 76.4 - 5.6 - - 0.1 Samut Prakan - - 0.6 - - 27.0 2.5 T 4.0 - - - - - - - - - - - - - - - - 0.9 7.7 3.2 - 53.1 Suvarnabhumi - 5.5 18.0 - T 0.9 1.5 - 17.0 2.5 0.2 - - - - - - 3.1 - - - - - - - 19.4 24.8 - 6.7 9.0 Bangkok Airport - - 2.2 2.2 4.6 42.9 0.1 23.3 53.1 T 5.2 19.4 9.8 - 15.1 - - - - - - - - - 2.2 9.8 9.2 T - - Sirikit Center - 14.9 3.4 2.6 8.8 7.0 29.2 0.3 5.3 - 8.2 - - - - - - 15.4 - - - - - - - 47.7 216.8 - - - Bangkok Port - 9.7 0.3 - 4.3 3.2 25.4 - 2.6 - 2.0 - - - - - - - - - - - - - T 54.4 140.3 - - - Bang Na (1) - 41.9 14.5 - - 7.2 12.8 - 15.8 0.5 T - 2.1 - - - T 0.5 - - - - - - - 58.0 45.2 - 0.2 T --Mean-- 0.0 3.6 2.0 0.1 1.1 6.0 9.0 3.9 6.2 1.4 7.9 1.7 1.1 1.1 0.8 0.3 1.2 1.6 0.1 0.1 0.5 0.0 0.0 0.0 8.2 12.1 30.4 5.8 6.6 6.0

Prachin Buri - - 0.6 49.3 - 23.9 18.1 0.7 1.3 3.8 14.7 - - - - 0.6 - - - - - - - - 0.1 13.5 - 0.4 - 0.3

Kabin Buri (2) - T T 7.8 6.7 0.2 0.4 - - 47.5 85.2 - - - - - - - - - - - - - 83.0 1.4 - 60.2 4.9 2.7 Sa Kaeo (2) - - 1.5 1.6 T 0.6 - - 2.0 3.9 6.0 - - - - - - - - - - - - - 19.2 11.2 1.8 8.5 0.8 - Aranyaprathet - - 22.8 - 1.7 14.2 - - 12.9 67.8 4.4 0.3 - - - - - - - - - - - - 19.4 23.1 - 14.9 50.3 - Chachoengsao (1) - - 15.0 10.3 T - - - 24.8 4.2 13.9 28.2 - - 1.2 - - 7.6 - - - - - - - 5.3 7.6 - 8.5 3.1 Chon Buri - - - - - 7.2 12.4 - 13.1 4.0 2.1 - - - - - - - - - - - - - T 1.7 0.4 - 32.4 7.0 Laem Chabang - - - 26.0 - 47.0 5.0 - 13.0 2.0 - - - 7.2 - - - - - - - - - - - 1.9 - 1.2 35.7 0.4 Pattaya - 8.6 - 20.4 - 11.1 25.8 7.2 12.2 - - - - 2.6 - - - - - - - - - - - 25.2 0.2 20.9 6.4 16.4 Sattahip - - 3.2 17.9 0.2 0.4 7.8 0.8 17.6 25.6 2.4 - - - - - - - - - - - - - 98.2 120.0 0.5 - T 3.3 Rayong - T T 20.5 1.0 T 3.4 - 19.4 2.5 T - - - - - - - - - - - - - 0.2 7.5 0.3 - 34.5 35.2 Huai Prong (1) - 0.2 - 8.1 - 4.5 49.6 - 11.8 0.4 - - - - - - - - - - - - - - - 4.0 2.8 2.9 - - Chanthaburi - - 0.7 19.5 1.7 - 11.2 - 0.4 16.6 4.8 1.3 T 28.6 - T 9.1 8.8 - - - - - - 11.2 56.3 - T 9.1 6.9 Pluei (1) - - 2.6 - - - 27.4 - 34.0 4.2 - 19.7 - 8.0 - 1.5 14.7 37.1 - - - 12.3 - - 4.9 18.1 - - - - Khlong Yai 0.5 8.1 0.2 17.9 - 5.6 9.7 0.7 58.8 0.6 - - - 81.4 - - 2.0 5.2 0.6 16.0 2.9 2.8 11.2 8.5 11.6 74.4 - - 22.6 25.8 --Mean-- 0.0 1.1 3.1 13.8 0.8 8.4 13.2 0.6 13.4 13.3 8.9 3.3 0.0 8.5 0.1 0.1 1.7 3.9 0.0 1.1 0.2 1.0 0.7 0.6 10.0 24.7 0.9 10.8 15.4 6.9 Phetchaburi - - 25.2 2.4 - - - - 34.5 - - - - - - - - - - - 6.7 - - - T T T - 11.8 0.2 Nong Plub (1) - - - - T - 24.2 - 51.2 - - - 0.3 - - - - - - - - - - - 6.6 9.8 21.6 7.7 - - Hua Hin - - - - - - - - 27.8 0.1 - - - - - - - - - - - 0.4 - - - 0.6 - - - - Prachuap Khiri Khan - 3.8 - 0.7 - - 14.6 18.0 26.6 1.4 13.5 - - - - 32.4 - - T - - - - - - 1.8 - - - - Chumphon 15.5 24.7 15.4 19.3 - - 5.6 57.4 32.8 11.9 - - 1.6 - - - - 3.0 - - - T - - - - - - - - Sawee (1) 31.2 22.0 17.1 5.6 - - 16.0 27.3 56.2 1.8 - - - - - 0.1 - 0.7 - - 0.8 - - - - - - 16.4 - - Surat Thani - 0.4 23.7 - - - 0.7 0.2 26.4 0.8 14.2 - - - 4.0 1.7 - 24.3 3.1 - - - - - - 33.1 - - 4.0 9.7 Ko Samui 3.7 16.0 42.7 28.6 - 1.5 17.4 3.1 54.7 12.7 0.4 - - - T 4.1 - 2.7 5.2 - - - - - - 6.2 - 8.0 - - Prasang (2) 2.9 T 5.0 - 3.5 - 16.6 1.4 44.6 4.0 - - - 1.0 - 10.6 - 9.3 11.8 - 0.1 7.9 - - - - - 2.3 - - Chawang (2) 2.2 0.1 3.1 - 16.1 - 4.8 2.0 28.3 3.3 1.0 - - - 1.7 16.9 - - 1.5 - 9.6 2.5 0.9 - - - T - - - Nakhon Si Thammarat 49.0 46.2 54.6 6.6 - 10.2 10.7 18.3 111.9 5.4 3.6 - - - - - - 2.7 - - - - - - - - T - - - Nakhon Si Tham'rat(1) 11.1 33.5 29.6 13.5 - 25.0 20.9 14.3 116.6 5.2 0.7 - - - - 69.9 - 15.6 18.8 - - 14.4 0.8 7.4 29.1 T 0.7 - - - Pattalung (1) 1.5 81.6 39.3 2.1 - 20.2 23.6 33.0 59.2 11.0 - - 4.5 - - 7.2 - 40.7 0.4 T - - 4.2 - - - - 0.1 - - Songkhla 11.2 5.6 T 0.2 T 11.2 38.4 10.4 32.1 T - - - - T 22.7 - 2.0 5.8 - T - - 0.9 25.4 - - - - -

Hat Yai T 16.1 10.0 T 0.4 - 31.3 0.6 18.7 T - - - 1.9 2.1 1.8 0.1 0.4 0.6 - T - 0.4 - T - 15.0 2.7 - -

Korhong (1) 3.3 1.8 21.7 4.9 0.7 - 3.6 6.0 68.4 48.1 0.2 - - 2.7 58.9 9.8 - - 8.8 - - - - - - - 11.4 0.8 - - Pattani 12.1 0.5 1.1 - 2.0 - - 2.2 17.7 0.3 5.6 - - - 48.5 2.6 - - - - - - 3.7 1.0 1.0 - 7.7 - - - Narathiwat 5.2 6.9 10.0 0.3 3.7 0.1 1.0 2.9 2.1 - - 0.1 - 9.2 0.6 37.3 - - 0.8 - - - - - 2.0 - - - 17.2 - --Mean-- 7.6 13.3 16.3 4.0 1.4 3.5 11.8 9.8 40.5 5.6 3.5 0.2 0.3 0.7 5.8 11.1 0.5 5.4 3.5 0.0 1.6 1.2 0.5 0.5 3.1 2.5 3.5 2.2 1.6 1.0

Page 27: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Ranong T 4.5 2.9 3.0 - 31.7 6.3 3.0 21.7 4.0 5.0 - 5.5 1.2 1.3 - - 1.7 12.3 68.5 15.1 39.6 3.5 27.2 - 47.4 - - - -

Takua Pa - 1.0 18.0 10.2 16.0 1.3 15.0 29.4 56.2 44.5 2.2 - 31.4 4.5 2.7 2.0 - - 1.7 - - 5.1 59.9 67.2 13.9 - - - - T

Phuket 5.9 29.0 - 14.4 15.6 - 22.9 29.5 8.3 49.5 - 0.4 34.6 - 9.6 18.5 - 6.4 6.8 22.3 8.5 19.2 7.3 4.0 1.9 4.2 - - - 1.0

Phuket Airport - 0.9 10.0 - 19.1 - 40.8 8.4 35.1 57.1 0.7 - 0.1 0.9 5.4 0.6 - - - - T 3.2 8.7 60.4 2.8 - - - - T

Krabi 9.5 22.2 - 0.3 26.1 - 7.5 0.3 1.9 22.5 - - 0.2 - 21.4 10.4 - - - - - - - - - - - - - -

Ko Lanta - 1.6 - 2.8 3.1 7.6 64.2 - 12.2 2.0 4.3 - - 2.0 0.4 - 0.7 - 12.2 - - 3.2 - 0.8 - - - - - -

Trang 0.1 6.2 2.0 2.9 - 3.1 6.7 15.6 25.0 20.6 1.7 - - 38.7 1.9 0.6 - - 4.6 - 1.1 5.1 1.2 5.1 6.7 - - - - -

Satun - 4.3 2.4 7.2 2.2 36.5 17.3 - 3.8 54.1 21.4 8.9 - T 1.7 - - - - 0.9 11.2 8.9 3.5 21.8 0.2 - - 18.1 3.6 -

--Mean-- 1.9 8.7 4.4 5.1 10.3 10.0 22.6 10.8 20.5 31.8 4.4 1.2 9.0 5.9 5.6 4.0 0.1 1.0 4.7 11.5 4.5 10.1 10.5 23.3 3.2 6.5 0.0 2.3 0.5 0.1

ตารางที่ 2 แสดงฝนรายวันสถานีตรวจอากาศประเทศไทยเดือนเมษายน พ.ศ. 2552

Page 28: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

21

2. วเิคราะห์ข้อมูล Outgoing Longwave Radiation : OLR เดือนมีนาคมถึงเมษายน ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

ในระหว่างปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือนมีนาคม มีการพาความร้อน โดยการไหลขึ้นของกระแสอากาศในแนวตั้งเกิดขึ้นบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย อินโดนีเซียทะเลจีนใต้ และประเทศฟิลิปปินส์

ในช่วงต้นถึงกลางเดือนมีนาคม มีการพาความร้อน เกิดขึ้นใกล้บริเวณปาปัวนิวกีนี และบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงประเทศไทย ขณะเดียวกันภาวะความแห้งแล้งเกิดทางด้านตะวันออกของอัฟริกาและทางตะวันตกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย ช่วงกลางเดือนถึงปลายเดือนมีนาคม ยังคงมีการพาความร้อนได้ดีด้านตะวันออกของปาปัวนิวกีนีประเทศออสเตรเลีย และประเทศไทย ช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนเมษายนบริเวณของการพาความร้อนที่เกิดขึ้นขยับมาด้านตะวันออกและภาวะความแห้งแล้งคลอบคลุมพื้นที่ประเทศออสเตรเลียและขยายพื้นท่ีทมาด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก

Page 29: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

22

ช่วงต้นเดือนถึงกลางเดือนเมษายนการพาความร้อนเกิดขึ้นปรากฏบริเวณมหาสมุทรอินเดีย อ่าวเบงกอลประเทศไทย ด้านตะวันตกของอินโดนีเซีย และขยายพื้นที่มาด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ช่วงครึ่งหลังของเดือนเมษายน การพาความร้อนที่ปรากกฏบริเวณที่ผ่านมาขยับมาด้านตะวันออกมากขึ้น

รูปที่ 6 Outgoing Longwave Radiation : OLR วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ ถึง 25 เมษายน พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) 3. วิเคราะห์ความเร็วศักย์ ( velocity potential) เป็นการวิเคราะห์การหมุนวนออกของ

ลมในระดับบนของบรรยากาศ เดือนมีนาคมถึงเมษายน ค.ศ. 2009 ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

รูปที่ 7 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 1 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009)

Velocity potential ที่ผิดปกติทั้งทางบวกและทางลบปรากฏแต่ละบริเวณ ส าหรับบริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียงปรากฏเป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะท่ีบริเวณอเมริกาเหนือและอเมริการใต้เป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

Page 30: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

23

รูปที่ 8 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 7 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียงปรากฏเป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะท่ีบริเวณอเมริกาเหนือและแปซิฟิกด้านตะวันออกเป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

รูปที่ 9 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 15 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียงปรากฏเป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะท่ีบริเวณอเมริกาเหนือและแปซิฟิกด้านตะวันออกเป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

Page 31: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

24

รูปที่ 10 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 22 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะตอนกลางของมหาสมุทรแอตแลนด์ติกเป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

รูปที่ 11 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 28 มีนาคม 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ประเทศไทยและบริเวณแปซิฟิกตะวันตก เป็น Positive anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน ในขณะที่ อเมริกาใต้ มหาสมุทรแอตแลนด์ติก เป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดออก (Divergence) ในระดับบน

Page 32: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

25

รูปที่ 12 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 5 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและบริเวณมหาสมุทรอินเดีย แอฟริกา เป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะท่ีมหาสมุทรแปซิฟิกเป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

รูปที่ 13 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 11 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและบริเวณมหาสมุทรอินเดีย แอฟริกาอเมริกาใต้ เป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะท่ีมหาสมุทรแปซิฟิกเป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

Page 33: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

26

รูปที่ 14 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 19 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและบริเวณมหาแปซิฟิก เป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ในขณะที่มหาสมุทรแอตแลนด์ติก แอฟริกาเป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน

รูปที่ 15 ความเร็วศักย์ ( velocity potential) วันท่ี 26 เมษายน 2552 (ค.ศ. 2009)

บริเวณประเทศไทยและมหาสมุทรอินเดีย เป็น Positive anomaliesนั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดเข้า (Convergence) ในระดับบน ในขณะท่ีบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเป็น Negative anomalies นั้นหมายถึงเกิดกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน

Page 34: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

27

4. วิเคราะห์ความผิดปกติของลมชั้นบนที่ระดับ 200 hPa และระดับล่าง 850 hPa เดือนมีนาคมถึงเมษายน ค.ศ. 2009 ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

Longitude

สีแดงและสีส้มแสดงลมตะวันตกที่ผิดปกติ สีน้ าเงินแสดงลมตะวันออกที่ผิดปกติ

รูปที่ 16 ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 850 hPa เฉลี่ยพื้นที่บริเวณ 5°N และ 5°S ตั้งแตว่ันท่ี 1 ธันวาคม 2551 ถึงวันท่ี 15 พฤษภาคม 2552

วิเคราะห์ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 850 hPa เฉลี่ยพื้นที่บริเวณ 5°N และ 5°S ตั้งแต่วันท่ี 1 ธันวาคม 2551 ถึงวันท่ี 15 พฤษภาคม 2552 รูปแบบของลมตะวันตกและตะวันออกที่ผิดปกติปรากฏบริเวณมหาสมุทรอินเดียและตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิกตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ถึงกลางเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) และตั้งแต่ครึ่งหลังของเดือนมีนาคม มีการสลับกันของลมที่ผิดปกติ ตะวันตก ตะวันออก และเปลี่ยนมาเป็นลมตะวันตกอีกครั้ง ขยับมาด้านตะวันออกจากมหาสมุทรอินเดียไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณศูนย์สูตร ซึ่งสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ MJO

Page 35: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

28

สีแดงและสีส้มแสดงลมตะวันตกที่ผิดปกติ สีน้ าเงินแสดงลมตะวันออกที่ผิดปกติ รูปที่ 17 ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 200 hPa เฉลี่ยพื้นที่บริเวณ 5°N และ 5°S ตั้งแต่วันท่ี 1 ธนัวาคม 2551 ถึงวันท่ี 15 พฤษภาคม 2552

วิเคราะห์ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 200 hPa เฉลี่ยพื้นที่บริเวณ 5°N และ 5°S ช่วงเวลาเดียวกัน วันท่ี 1 ธันวาคม 2551 ถึงวันท่ี 15 พฤษภาคม 2552 พบว่าลมตะวันตกมีก าลังแรงกว่าปกติปรากฏชัดเจนในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนบริเวณใกล้เส้นแบ่งวันและยังคงปรากฏตลอดช่วงเดือนธันวาคม ความผิดปกติเหล่านี้มีความสอดคล้องกับเงื่อนไขของปรากฏการณ์ลานีญา ลมตะวันออกและตะวันตกที่มีก าลังแรงผิดปกติขยับมาด้านตะวันออกตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนพฤษภาคมซึ่งสัมพันธ์กับการเกิดปรากฏการณ์ MJO

Page 36: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

29

5. วิเคราะห์ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa และ 200 hPa

รูปที่ 18 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ ถึง 6 มีนาคม 2552

C

C

C

C

รูปที่ 19 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa

วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ ถึง 6 มีนาคม 2552

Page 37: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

30 ที่ระดับ 850 hPa ในช่วงระหว่างปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นมีนาคม 2552 ลมตะวันตกก าลังแรงกว่าปกติพัดปกคลุมด้านตะวันออกของมหาสมุทรอินเดียและด้านตะวันตกของอินโดนีเซีย และลมตะวันออกก าลังแรงกว่าปกติพัดปกคลุมด้านตะวันตกและตอนกลางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรแต่ในระยะต้นเดือนมีนาคมมีก าลังอ่อนกว่าในระยะปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ระดับ 200 hPa ในช่วงระหว่างปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นมีนาคม 2552 ลมตะวันตกก าลังแรงกว่าปกติพัดปกคลุมบริเวณตอนกลางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรและสามารถวิเคราะห์เห็นกระแสลมพัดเข้าหาศูนย์กลางในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และในทิศทางตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้

รูปที่ 20 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa

วันท่ี 4 - 13 มีนาคม 2552

Page 38: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

31

C

C

C

C

รูปที่ 21 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa วันท่ี 4 - 13 มีนาคม 2552 ที่ระดับ 850 hPa ในระยะครึ่งแรกของเดือนมีนาคม ลมตะวันออกมีก าลังแรงกว่าปกติพัดปกคลุมด้านตะวันตกและตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรแต่มีก าลังอ่อนลงกว่าช่วงแรก ส่วนทางทะเลอันดามันเป็นลมตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ ที่ระดับ 200 hPa ในช่วงครึ่งแรกของมีนาคม 2552 ลมตะวันตกก าลังแรงกว่าปกติยังคงพัดปกคลุมบริเวณตอนกลางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรและสามารถวิเคราะห์เห็นกระแสลมพัดเข้าหาศูนย์กลางในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และในทิศทางตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้

Page 39: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

32

รูปที่ 22 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa

วันท่ี 12 - 21 มีนาคม 2552

รูปที่ 23 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa

วันท่ี 12 - 21 มีนาคม 2552

Page 40: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

33 ที่ระดับ 850 hPa ในช่วงกลางเดือนมีนาคมพบว่าลมตะวันออกก าลังแรงยังคงพัดปกคลุมมหาสมุทรแปซิฟิกและขยับมาทางตะวันออกมากขึ้น ที่ระดับ 200 hPa ในช่วงกลางเดือนมีนาคม ลมตะวันตกก าลังแรงกว่าปกติยังคงพัดปกคลุมบริเวณตอนกลางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรและขยับมาทางด้านอเมริกาใต้มากขึ้น

รูปที่ 24 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa วันท่ี 26 มีนาคม – 4 เมษายน 2552

Page 41: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

34

รูปที่ 25 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa วันท่ี 26 มีนาคม – 4 เมษายน 2552 ที่ระดับ 850 hPa ในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนเมษายนพบว่าลมตะวันออกก าลังแรงพัดปกคลุมบริเวณ Maritime Continent และด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตร และลมตะวันตกก าลังแรงพัดปกคลุมบริเวณชายฝั่งอเมริกาใต้และมหาสมุทรแอตแลนด์ติก ที่ระดับ 200 hPa ในช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนเมษายนลมตะวันออกก าลังแรงพัดปกคลุมบริเวณชายฝั่งอเมริกาใต้และลมตะวันตกพัดปกคลุมมหาสมุทรอินเดีย

Page 42: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

35

รูปที่ 26 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa

วันท่ี 1-10 เมษายน 2552

รูปที่ 27 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa วันท่ี 1-10 เมษายน 2552

Page 43: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

36 ที่ระดับ 850 hPa ในช่วงต้นเดือนเมษายน ลมตะวันออกก าลังแรงพัดปกคลุมบริเวณ Maritime Continent และด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตร ส่วนด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งอเมริกาใต้และมหาสมุทรแอตแลนด์ติกเป็นลมตะวันตก ที่ระดับ 200 hPa . ในช่วงต้นเดือนเมษายน ลมตะวันออก พัดปกคลุมชายฝั่งอเมริกาใต้และมหาสมุทรแอตแลนด์ติก และลมตะวันตกพัดปกคลุมบริเวณ Maritime Continent

รูปที่ 28 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa

วันท่ี 9-18 เมษายน 2552

Page 44: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

37

รูปที่ 29 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa วันท่ี 9-18 เมษายน 2552 ที่ระดับ 850 hPa ช่วงครึ่งแรกของเดือนเมษายน ลมตะวันตกพัดปกคลุมบริเวณมหาสมุทรอินเดียส่วนด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรเป็นลมตะวันออกโดยมีก าลังแรงกว่าปกติ ที่ระดับ 200 hPa ในช่วงครึ่งแรกของเดือนเมษายน บริเวณมหาสมุทรอินเดียเป็นลมตะวันออกส่วนด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นลมตะวันตก ส่วนบริเวณชายฝั่งอเมริกาใต้ในระยะแรกเป็นลมตะวันออกและเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกในระยะต่อมา

Page 45: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

38

รูปที่ 30 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 850 hPa

วันท่ี 16-25 เมษายน 2552

รูปที่ 31 ความเร็วและทิศทางลมที่ผิดปกติ ที่ระดับ 200 hPa

วันท่ี 16-25 เมษายน 2552

Page 46: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

39 ที่ระดับ 850 hPa ในช่วงครึ่งหลังของเดือนเมษายน บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ประเทศไทย ทะเลจีนใต้เป็นลมตะวันตก ส่วนบริเวณตอนกลางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรเป็นลมตะวันออก ที่ระดับ 200 hPa บริเวณทะเลจีนใต้ ประเทศไทยและมหาสมุทรอินเดีย เป็นลมลมตะวันออก และตอนกลางมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรเป็นลมตะวันตก

6. วิเคราะห์ดัชนี MJO ที่ได้จาก National Centers for Environmental Prediction (NCEP), National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA )

[ RMM1, RMM2] Phase Space for 04 Mar 2009 to 26 Apr 2009

รูปที่ 32 แผนภาพ Phase diagrams Wheeler and Hendon แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรพหุคูณที่เป็นปัจจุบันในช่วงวันท่ี 4 มีนาคม ไปสิ้นสุดวันท่ี 26 เมษายน 2009 แกน RMM1 และRMM2 แทนวันท่ีที่ได้จากการหา component ที่แสดงถึงข้อมลูที่เราก าลังพิจารณา principal component จะประกอบด้วย eigenvector (แสดงถึงทิศทาง) และ eigenvalue (แสดงถึงขนาด) จ านวน component ที่ได้ จะเท่ากับ จ านวนมิติของ eigenvector ที่สอดคล้องกับ eigenvalue สูง จะมีความส าคัญมากกว่า ซึ่งจะถูกเลือกเป็น principal component ก่อน ซึ่ง principal component จะถูกน าไปใช้ลดมิติของข้อมูล พื้นที่สามเหลี่ยมระบุถึงสถานท่ีแต่ละเฟสของ MJO วันท่ีจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาไปทางตะวันออก จะเริ่มจากวันท่ี 4 มีนาคม ไปสิ้นสุดวันท่ี 26 เมษายน 2009 วันท่ีที่อยู่นอกวงกลมบริเวณศูนย์กลาง บ่งบอก MJO มีก าลังแรง

Page 47: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

40

บทที่ 4 ผลการวิจัย

จากการวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของกลุ่มฝนและรูปแบบด้านภูมิอากาศที่ผิดปกติในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 พบว่า มีความสอดคล้องกันอย่างมีนัย โดยปกติในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายนบริเวณประเทศไทยอยู่ในช่วงฤดูร้อน ซึ่งจะมีอากาศร้อนและแห้งโดยทั่วไป ส าหรับปี พ.ศ. 2552 ปรากฏว่าปริมาณฝนเดือนมีนาคม สูงกว่าค่าปกติในทุกภาค โดยภาคเหนือมีปริมาณฝนมากกว่าค่าปกติ 20.7 มิลลิเมตร ( 84%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มากกว่าค่าปกติ 43.8 มิลลิเมตร (116%) ภาคกลาง มากกว่าค่าปกติ 38.3 มิลลิเมตร (125%) ภาคตะวันออก มากกว่าค่าปกติ 40.7 มิลลิเมตร (75%) ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มากกว่าค่าปกติ 56.9 มิลลิเมตร (113%) และภาคใต้ฝั่งตะวันตก มากกว่าค่าปกติ 154.9 มิลลิเมตร (220%) จากการสรุปสภาวะอากาศในแต่ละช่วงปรากฏดังนี้

วันที่ 1-10 มีนาคม ส าหรับฝนในช่วงนี้ประเทศไทยตอนบนมีฝนฟ้าคะนองบางพื้นที่ถึงเป็นแห่งๆ โดยมีฝนหนักบางพื้นที่บริเวณภาคกลางและภาคตะวันออกในระยะครึ่งแรกของช่วง ส่วนภาคใต้มีฝนกระจายเกือบตลอดช่วงโดยมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของช่วง ปริมาณฝนมากที่สุด 132.0 มิลลิเมตร ที่อ าเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันท่ี 2 มีนาคม

วันที่ 11-20 มีนาคม มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ลมกระโชกแรงและลูกเห็บตกในบางพื้นที่ กับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ส่วนมากในระยะปลายช่วง ปริมาณฝนมากที่สุด 97.5 มิลลิเมตร ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อ าเภอภูหลวง จังหวัดเลย เม่ือวันที่ 13 มีนาคม และมีรายงานพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงที่ จังหวัดชัยภูมิ นครพนม ยโสธร สุรินทร์ อุบลราชธานี กาญจนบุรี ลพบุรี กรุงเทพมหานคร สระแก้ว จันทบุรีและตราดในระยะกลางช่วง กับมีลูกเห็บตกที่จังหวัดสุรินทร์ สกลนคร กาญจนบุรี สระแก้ว และเชียงราย

วันที่ 21-31 มีนาคม บริเวณประเทศไทยตอนบนมีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไป กับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ในระยะกลางและปลายช่วง ส่วนวันอื่นๆมีฝนบางพื้นที่ ปริมาณฝนมากที่สุด 120.0มิลลิเมตร ที่อ าเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ เม่ือวันที่ 24 มีนาคม และมีรายงานพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงหลายพื้นที่ในระยะครึ่งหลังของช่วง โดยมีรายงานลูกเห็บตกบริเวณจังหวัดพิษณุโลก และพระนครศรีอยุธยา เม่ือวันที่ 26 มีนาคม จังหวัดพะเยาและกรุงเทพมหานคร เม่ือวันที่ 31 ส าหรับภาคใต้มีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไปเกือบตลอดช่วง กับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ปริมาณฝนมากที่สุด 107.8 มิลลิเมตร ที่อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันท่ี 22 มีนาคม และมีรายงานพายุฝนฟ้าคะนองที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ สตูลเม่ือวันท่ี24 และ 26 มีนาคม ตามล าดับ

ส าหรับช่วงเดือนเมษายน 2552 ปริมาณฝนเดือนนี้สูงกว่าค่าปกติในทุกภาคของประเทศเช่นกัน โดย ภาคเหนือมากกว่าค่าปกติ 2.3 มิลลิเมตร (3%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากกว่าค่าปกติ 21.3 มิลลิเมตร (25%) ภาคกลางมากกว่าค่าปกติ 53.7 มิลลิเมตร (72%) ภาคตะวันออก มากกว่าค่าปกติ 107.6 มิลลิเมตร (112%) ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มากกว่าค่าปกติ

Page 48: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

41 68.4 มิลลิเมตร (94%) และภาคใต้ฝั่งตะวันตกมากกว่าค่าปกติ 89.8 มิลลิเมตร (56%) โดยพิจารณาแต่ละช่วงดังนี้

วันที่ 1-10 เมษายน ในช่วงนี้ประเทศไทยตอนบนมีฝนและฝนฟ้าคะนองบางพื้นที่ถึงเป็นแห่งๆ เกือบตลอดช่วงกับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ เว้นแต่ภาคกลางตอนล่างและภาคตะวันออกมีฝนและฝนฟ้าคะนองกระจายถึงเกือบทั่วไปกับมีฝนหนักบางพื้นที่ ปริมาณฝนมากที่สุด 120.0 มิลลิเมตร ที่อ าเภอเสนางคนิคม จังหวัดอ านาจเจริญ เมื่อวันที่ 10 และมีรายงานพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงบริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์และกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดเชียงใหม่และเชียงรายมีรายงานลูกเห็บตก ส่วนภาคใต้มีฝนกระจายถึงเกือบทั่วไปกับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ ปริมาณฝนมากที่สุด 141.9 ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เม่ือวันท่ี 9 เมษายน

วันที่ 11-20 เมษายน ส าหรับฝนในช่วงนี้ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีฝนและฝนฟ้าคะนองกระจายถึงเกือบทั่วไปกับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของช่วง จากนั้นมีฝนและฝนฟ้าคะนองบางพื้นท่ี ส่วนกลางและภาคตะวันออกมีฝนและฝนฟ้าคะนองเกือบทั่วไปกับมีฝนหนักบางพื้นที่ในวันแรกของช่วง จากนั้นมีฝนและฝนหนักบางพื้นท่ี ปริมาณฝนมากที่สุด 116.7 มิลิเมตร ที่อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันท่ี 14 ส่วนภาคใต้มีฝนและฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ถึงกระจายกับมีฝนหนักบางพื้นที่ ปริมาณฝนมากที่สุด 80.0 มิลลิเมตร ที่อ าเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เมื่อวันท่ี 19 เมษายน

วันที่ 21-30 เมษายน ประเทศไทยตอนบนมีฝนและฝนฟ้าคะนองกระจายถึงเกือบทั่วไปกับมีฝนหนักถึงหนักมากบางพื้นที่ในระยะครึ่งหลังของช่วง ปริมาณฝนมากที่สุด 216.8 มิลลิเมตร ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร เม่ือวันท่ี 27 เมษายน และมีรายงานพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงบริเวณจังหวัดแพร่ พิษณุโลก พะเยา กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ กาญจนบุรี กรุงเทพมหานคร ชลบุรี จันทบุรีและระยอง ในช่วงวันท่ี 25-26 เมษายน และมีรายงานน้ าท่วมฉับพลันบริเวณจังหวัดล าปาง เมื่อวันที่ 26 เมษายน ส่วนในคร่ึงแรกของช่วงมีฝนและฝนฟ้าคะนองบางพื้นท่ี ส าหรับภาคใต้มีฝนและฝนฟ้าคะนองเป็นแห่งๆ ถึงกระจายกับมีฝนหนักบางพื้นที่ ปริมาณฝนมากที่สุด 67.2 มิลลิเมตร ที่อ าเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา เม่ือวันที่ 24 เมษายน

จากการสรุปสภาวะอากาศในช่วงฤดูร้อนของประเทศไทยในแต่ละปี โดยปกติในบางช่วงจะมีฝนฟ้านองด้วยสาเหตุจากแนวพัดสอบของลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้ และคลื่นกระแสลมตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์รูปแบบของภูมิอากาศและตัวแปรด้านอุตุนิยมวิทยาที่น ามาวิเคราะห์ประกอบ ซึ่งได้แก่

OLR (outgoing Long wave Radiation) OLR มีความสัมพันธ์กับเมฆและฝน โดย OLR จะมีค่าสูงในกรณีที่ท้องฟ้าไม่มีเมฆ

เนื่องจากโลกสามารถแผ่รังสีคลื่นยาวออกไปนอกบรรยากาศได้โดยตรง แต่ถ้ามีเมฆค่า OLR จะลดลง เนื่องจากเมฆซึ่งมีอุณหภูมิต่ ากว่าพื้นผิวโลกจะแผ่รังสีออกไปได้น้อยกว่า โดยเฉพาะเมฆก่อตัวในแนวตั้งที่มียอดเมฆสูงมาก ค่า OLR จะต่ าที่สุด เนื่องจากมีการยกตัวของอากาศขึ้นไป

Page 49: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

42 ในระดับสูงอย่างรุนแรง ท าให้เกิดเป็นเมฆหนา ยอดเมฆสูงมาก เมฆชนิดนี้จะดูดกลืนรังสีส่วนใหญ่ที่โลกแผ่ออกมา การที่มียอดเมฆสูงอุณหภูมิที่ยอดเมฆจึงต่ าท าให้แผ่รังสีกลับออกไปนอกบรรยากาศได้น้อย จากวิเคราะห์ ค่า OLR ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน 2552 ปรากฏว่าบริเวณประเทศไทยมีค่า OLR ต่ ากว่าค่าปกติ เป็นช่วงๆ ซึ่งสอดคล้องกับฝนที่ตกในประเทศไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 จากการตรวจวัดฝนของสถานีต่างๆทั่วประเทศของกรมอุตุนิยมวิทยา

velocity potential เป็นการวิเคราะห์การหมุนวนออกของลมในระดับบนของบรรยากาศ เนื่องจากสภาพ

อากาศเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดเป็นผลมาจากปฏิกิริยาระหว่างกระแสลมระดับล่างกับระดับบน เม่ือกระแสลมพัดสอบ (Convergence) ระดับล่างพัดเสริมรวมเข้ากับกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ก่อให้เกิดการเคลื่อนตัวขึ้นในทางตั้ง ระบบการหมุนเวียนเช่นนี้ในเขตร้อนเกือบทั้งหมด ก่อให้เกิดกลุ่มเมฆที่ก่อตัวในทางตั้ง (Towering cumulus) และมีฝนตกหนักเสมอ จากการวิเคราะห์ ค่า velocity potential ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน 2552 ที่มากกว่าปกติและต่ ากว่าค่าปกติ ปรากฏว่าในแต่ละช่วงส่วนใหญ่ จะวิเคราะห์ velocity potential ต่ ากว่าค่าปกติ (negative anomalies) และกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน บริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง ซึ่งสอดคล้องกับฝนที่ตกในประเทศไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2552 จากการตรวจวัดฝนของสถานีต่างๆทั่วประเทศของกรมอุตุนิยมวิทยา

ลมชั้นบนที่ระดับ 200 hPa และระดับล่าง 850 hPa วิเคราะห์ภาพตัดขวางของลมที่ระดับ 850 hPa พื้นที่เฉลี่ยใกล้บริเวณศูนย์สูตร (5°N –

5°S ) ตั้งแต่ต้นปีมาจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 ปรากฏว่าลมตะวันตกที่พัดปกคลุมบริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียงได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน และเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกอีกครั้งในเดือนพฤษภาคม ในท านองเดียวกัน ที่ระดับ 200 hPa ลมตะวันออกที่พัดปกคลุมบริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียงตั้งแต่ต้นปีเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน และเปลี่ยนกลับมาเป็นลมตะวันออกในเดือนพฤษภาคม

ลักษณะของการเปลี่ยนทิศลมทั้งในระดับล่าง 850 hPa และระดับบน 200 hPa ได้มีการวิเคราะห์ว่าสัมพันธ์กับการเกิดปรากฏการณ์ MJO

แผนภาพ (Phase diagrams) Wheeler and Hendon จากการวิเคราะห์แผนภาพ (Phase diagrams) Wheeler and Hendon ปรากฏว่า

ปรากฏการณ์ MJO เริ่มปรากฏให้เห็นตั้งแต่ต้นเดือนมีนาคมประมาณวันที่ 4 แต่เป็น MJO ก าลังอ่อนคลุมพื้นที่บริเวณ Maritine continent และมีก าลังแรงขึ้นในช่วงปลายเดือนมีนาคมต่อเนื่องถึงเดือนเมษายน และเคลื่อนผ่านประเทศไทยในช่วงกลางเดือนเมษายน ประมาณเฟส 3, 4 และ 5 (Indian Ocean และ Maritine continent )

Page 50: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

43

จากการวิเคราะห์ร่วมหลายๆปัจจัย ของการเกิดปรากฏการณ์ MJO กับข้อมูลฝนที่ได้จากการตรวจวัดของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่าช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อนของประเทศไทยและเป็นปีที่มีปริมาณฝนมากกว่าค่าปกติมากเป็นปีที่เกิดปรากฏการณ์ MJO และเกิดขึ้นบริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง

Page 51: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

44

บทที่ 5 บทวิจารณ์

การวิจัยนี้เป็นการศึกษา ปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) กับฝน

บริเวณประเทศไทย และพบว่าปรากฏการณ์ MJO ไม่ใช่สาเหตุของการเกิดฝน แต่เนื่องจากการเกิดปรากฏการณ์ MJO เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากความผิดปกติของตัวแปรหลายๆตัวด้านอุตุนิยมวิทยามาประกอบกัน เช่น Outgoing long wave radiation , velocity Potential , ทิศทางและความเร็วลมที่ผิดปกติในระดับต่างๆ โดยปกติเพียงมีสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งก็ส่งผลให้ลักษณะอากาศผิดปกติแล้ว ยิ่งมีหลายสาเหตุมาประกอบกันก็จะยิ่งเกิดสภาพอากาศที่ผิดปกติมากขึ้น คือมีฝนตกมากกว่าที่ควรจะเป็น เป็นต้น

ในปี พ.ศ. 2552 ช่วงที่ท าการศึกษาอุณหภูมิน้ าทะเลในมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตร อยู่ในภาวะปกติ และเป็นช่วง ENSO-neutral ซึ่งสอดคล้องกับผู้ที่เคยศึกษามาก่อนว่า ปรากฏการณ์ MJO มักเกิดในช่วงที่เป็น ENSO-neutral และในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน โดยปกติเป็นช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย ลักษณะอากาศโดยทั่วไปจะมีอากาศร้อนอบอ้าว บางช่วงจะมีฝนตก ช่วยคลายร้อนเป็นช่วงๆ แต่ พ.ศ. 2552 จากการตรวจวัดปริมาณฝนจากสถานีต่างๆของกรมอุตุนิยมวิทยาพบว่าเดือนมีนาคมและเมษายนมีปริมาณและการกระจายของฝนดีมาก จากการสรุปสภาวะอากาศในช่วงดังกล่าวปรากฏว่าบริเวณประเทศไทยได้รับผลกระทบจากแนวพัดสอบของลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้ และบางช่วงมีคลื่นกระแสลมตะวันตกเคลื่อนจากประเทศพม่าผ่านประเทศไทยตอนบน ท าให้มีฝนตกมากในช่วงดังกล่าว ส่งผลให้ทุกภาคของประเทศมีปริมาณฝนมากกว่าปกติ

อย่างไรก็ตามในการวิเคราะห์แผนภาพ Phase diagrams Wheeler and Hendon พบว่า ช่วงที่ MJO มีก าลังแรงและเคลื่อนใกล้และผ่านประเทศไทยมากที่สุด ประมาณวันที่ 13-18 เดือนเมษายน จากปัจจัยท่ีสนับสนุน ทั้ง OLR (outgoing Long wave Radiation) ซึ่งในช่วงนั้น ค่า OLR บริเวณประเทศไทยต่ ามาก ส่งผลให้มีการยกตัวของอากาศขึ้นไปในระดับสูงอย่างรุนแรง ค่า velocity potential ต่ ากว่าค่าปกติ (negative anomalies) และกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ลมระดับล่างเป็นลมตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ก าลังแรงส่วนระดับสูงขึ้นไปเป็นลมตะวันออกจากปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน สนับสนุนให้เกิดสภาวะอากาศที่รุนแรง ฝนตกมากขึ้น ตามรายงานฝนของสถานีตรวจอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาสอดคล้องกับสาเหตุที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า ในช่วงวันท่ี 15-17 เมษายน 2552 มีการก่อตัวของพายุไซโคลน “บิจลี” ( Bijli ) ในอ่าวเบงกอลตอนบน ข้อมูลดังกล่าวได้สนับสนุนผู้ที่ได้มีการศึกษาไว้ว่า MJO เป็นตัวที่ท าให้ก าลังของพายุเปลี่ยนแปลงไป (โดยเฉพาะพายุที่มีก าลังแรง) โดยการท าให้สภาพแวดล้อมในระบบใหญ่เกิดความเหมาะสมต่อการพัฒนาของพายุ เช่น ความผิดปกติที่เกิดขึ้นของลมตะวันตกที่ระดับผิวพื้นด้านหลังของบริเวณที่มีการยกตัวรุนแรงใน

Page 52: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

45 ระบบ MJO ท าให้เกิดระบบหมุนเวียนเข้าทางด้านเหนือของเส้นศูนย์สูตรตามล าดับ ในเวลาเดียวกันในระดับบนระบบหมุนเวียนออกจะพัฒนาไปตามแนวด้านหลังของบริเวณที่มีการยกตัว ส่งผลให้ลมเฉือนในทางตั้งลดก าลังลง และเพิ่มแรงหมุนเวียนออกในระดับบน จากปรากฏการณ์ดังกล่าวท าให้พายุไซโคลนมีการพัฒนาและมีความรุนแรงข้ึน

งานวิเคราะห์นี้ได้ศึกษาเพียงปีเดียวเท่านั้นอาจจะยังไม่ได้ข้อสรุปที่แท้จริง จึงได้มีการย้อนดูข้อมูลในปีอื่นๆเพิ่มเติม ในช่วงที่ MJO เคลื่อนผา่น เช่น พ.ศ. 2545 (ค.ศ 2002) เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) เดือนเมษายนและพฤษภาคม มาประกอบการพิจารณาด้วยกันพบว่า ในช่วงเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2545 พิจารณาจากแผนภาพ Phase diagrams Wheeler and Hendon และแผนที่แสดงปริมาณฝนรายสัปดาห์ของประเทศไทยเดือนพฤษภาคม พบว่าช่วงสัปดาห์ที่ 2 และ 3 ประเทศไทยมีฝนมากสอดคล้องกับช่วงที่ MJO เคลื่อนผ่าน เช่นเดียวกันในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม พ.ศ. 2548 สอดคล้องกับช่วงที่ MJO เคลื่อนผ่าน (แสดงภาพในภาคผนวก)

โดยปกติเมื่อวิเคราะห์แผนภาพ Phase diagrams Wheeler and Hendon หาก MJO มีก าลังแรงที่เฟสใดเฟสนั้นจะมีฝนมาก และเฟสตรงข้ามจะมีฝนน้อยจนบางครั้งเกิดความแห้งแล้ง แต่เมื่อพิจารณาการเคลื่อนตัวของ MJO ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน ตาม Phase diagrams Wheeler and Hendon พบว่า MJO เริ่มมีก าลังแรงในช่วงปลายเดือนมีนาคมและต้นเดือนเมษายน การเคลื่อนตัวของ MJO อยู่ท่ีเฟส 8 และเฟส 1 ในช่วงดังกล่าวบริเวณประเทศไทยน่าจะมีฝนน้อยหรือเกือบไม่มีฝนแต่ในช่วงดังกล่าวปรากฏว่าประมาณ 50 % ของพื้นท่ีมีฝนตก ซึ่งไม่สอดคล้องกับนิยามที่กล่าวมาทั้งหมด นั่นหมายความว่า ปรากฏการณ์ MJO เป็นเพียงส่วนหนึ่งท่ีสามารถวิเคราะห์ได้ว่าส่งผลกระทบกับประเทศไทย อาจจะด้วยสาเหตุหนึ่งที่ว่าประเทศไทยตั้งอยู่บริเวณที่ล้อมรอบด้วยทะเลบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร โดยฝั่งตะวันตกได้รับผลกระทบที่มาจากมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอันดามัน ส่วนฝั่งตะวันออกได้รับผลกระทบท่ีมาจากทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ดังนั้นตัวแปรต่างๆที่จะส่งผลกระทบต่อลักษณะอากาศของประเทศไทยจึงมีหลายตัวแปร โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะภูมิประเทศ และผลที่เกิดจาก local circulation หรือความแปรปรวนท่ีเกิดขึ้นเฉพาะท่ีซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญ

Page 53: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

46

บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

ข้อสรุป

ผลการศึกษาในเชิงวิเคราะห์ครั้งนี้พบว่า MJO (Madden-Julian Oscillation) เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างหนึ่งที่เกิดจากปัจจัยต่างๆด้านอุตุนิยมวิทยา และเนื่องจากอากาศเป็นของไหล มีการถ่ายเท ดังนั้นตัวแปรหลายตัวจะมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีความเชื่อมโยงกันอยู่ จากการวิเคราะห์พบว่า การเกิดปรากฏการณ์ MJO มีผลมาจากความผิดปกติของตัวแปรต่างๆด้านอุตุนิยมวิทยา เช่น OLR (outgoing Long wave Radiation) , velocity potential และความเร็วและทิศทางลมในระดับต่างๆ ปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) จะมีการเคลื่อนตัวจากตะวันตกไปตะวันออกรอบบริเวณศูนย์สูตร ระยะเวลาที่เกิดจนสลายตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 30 ถึง 60 วัน หรือประมาณ 1-2 เดือน

ในการศึกษาครั้งนี้ได้ยกตัวอย่างปี พ.ศ. 2552 ช่วงที่ ปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) เคลื่อนผ่านบริเวณประเทศไทย ค่า OLR (outgoing Long wave Radiation) มีค่าต่่ามาก ส่งผลให้มีการยกตัวของอากาศขึ้นไปในระดับสูงอย่างรุนแรง ค่า velocity potential มีค่าต่่ากว่าค่าปกติ (negative anomalies) และกระแสลมพัดแยก (Divergence) ในระดับบน ลมระดับล่างเป็นลมตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ก่าลังแรงส่วนระดับสูงขึ้นไปเป็นลมตะวันออก จากปัจจัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน สนับสนุนให้เกิดสภาวะอากาศที่รุนแรง และมีฝนตกมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดของกรมอุตุนิยมวิทยา นอกจากนี้ได้มีการวิเคราะห์เพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2545 และพ.ศ. 2548 เดือนมีนาคม เมษายนและพฤษภาคมซึ่งเป็นช่วงที่มีปรากฏการณ์ MJO เคลื่อนผ่าน ปรากฏว่าบริเวณประเทศไทยมีฝนมาก นอกจากนี้ยังพบว่า MJO มีผลให้ก่าลังของพายุเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะพายุที่มีก่าลังแรง ซึ่งเห็นได้จากการก่อตัวของพายุไซโคลน “บิจลี” ( Bijli ) ในอ่าวเบงกอลตอนบน ในช่วงวันที่ 15-17 เมษายน 2552 ซึ่งเป็นช่วงที่ MJO ปรากฏบริเวณดังกล่าว และจากการวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงปี พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2548 และพ.ศ. 2552 ในช่วงที่ MJO เคลื่อนผ่านนั้นปรากฏว่าอุณหภูมิผิวน้่าทะเลบริเวณตอนกลางในมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรอยู่ในภาวะความเป็นกลาง ( Neutral year )

ดังนั้น ปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) จึงเป็นอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่น่าสนใจนอกเหนือจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ IOD และ ENSO ที่ผลกระทบต่อลักษณะอากาศบริเวณเขตศูนย์สูตร

Page 54: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

47

ข้อเสนอแนะ จากการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ MJO (Madden-Julian Oscillation) กับฝนบริเวณ

ประเทศไทย ท าให้ทราบว่า ปรากฏารณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบกับลักษณะอากาศบริเวณประเทศไทยด้วย แต่เนื่องจากการการเคลื่อนตัวของปรากฏการณ์นี้ จากระยะเวลาที่เกิดจนสลายตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 30 ถึง 60 วัน หรือประมาณ 1-2 เดือน ซึ่งจะมีประโยชน์ใช้เป็นข้อมูลส าหรับช่วยในการพยากรณ์อากาศระยะสั้นถึงปานกลาง (1-10 วัน ) แต่จะไม่ค่อยได้ผลในการพยากรณ์ระยะนาน (มากกว่า 1 เดือน)

อย่างไรก็ตามปัจจัยที่สนับสนุนการเกิดปรากฏการณ์ MJO นั้นมีหลายตัวแปรความผิดปกติของแต่ละตัวแปรก็สามารถส่งผลกระทบต่อลักษณะอากาศด้วยกันทั้งสิ้น แต่เนื่องจากตัวแปรทั้งหลายที่กล่าวมาเป็นปัจจัยร่วมในการเกิดปรากฏการณ์ MJO และผลการศึกษาท าให้ทราบว่าช่วงที่ปรากฏการณ์ MJO เคลื่อนผ่านมีผลกระทบต่อการเกิดฝนบริเวณประเทศไทย ดังนั้นเราสามารถใช้ผลการพยากรณ์การเคลื่อนตัวของปรากฏการณ์ MJO มาช่วในการพยากรณ์อากาศระยะสั้นและระยะปานกลางของกรมอุตุนิยมวิทยาได้อีกแนวทางหนึ่ง การพยากรณ์การเกิดปรากฏการณ์ MJO มีหลายหน่วยงานด้วยกัน เช่น climate Prediction Center/NOAA/NCEP , Australia Government/ Bureau of Meteorology ซึ่งศูนย์ภูมิอากาศเหล่านี้ได้ท าการวิเคราะห์ดัชนี MJO หรือ MJO phase diagram เราสามารถน าผลการพยากรณ์ดังกล่าวมาเป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจในการพยากรณ์อากาศได้อีกด้วย อย่างไร ก็ตามการพยากรณ์ MJO ที่ถูกต้องจะสัมพันธ์กับการเฝ้าระวัง ซึ่งจะต้องมีการติตามสภาพอากาศอย่างต่อเนื่องเพื่อจะเป็นประโยชน์ต่อการพยากรณ์อากาศระยะสั้นและระยะปานกลางได้เป็นอย่างดี

Page 55: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

48

เอกสารอ้างอิง

Jon Gottschalck, Vernon Kousky, Wayne Higgins, and Michelle L’Heureux , Madden Julian Oscillation (MJO) Jon Gottschalck, NOAA Climate Prediction Center with Andrea Ray, WWA Feature Article From Intermountain West Climate Summary, May 2008, Meet the MJO LINA ZHANG, BIZHENG WANG AND QINGCUN ZENG, Impact of the Madden–Julian Oscillation on Summer Rainfall in Southeast China http://www.bom.gov.au/climate/mjo/ http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/precip/CWlink/MJO

Page 56: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

49

ภาคผนวก

แผนภาพ Phase diagrams Wheeler and Hendon ค.ศ. 2002 และ2005

Page 57: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

50

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 6-12 พฤษภาคม พ.ศ. 2545

Page 58: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

51

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 13-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2545

Page 59: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

52

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 18-24 เมษายน พ.ศ. 2548

Page 60: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

53

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 25-30 เมษายน พ.ศ. 2548

Page 61: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

54

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 2-8 พฤษภาคม พ.ศ. 2548

Page 62: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

55

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 9-15 พฤษภาคม พ.ศ. 2548

Page 63: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

56

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 16-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2548

Page 64: สัญญาเลขที่ RDG 5430002 · 2014-06-26 · สภาวะความรุนแรงสุดขีดของลมฟ้าอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

57

แผนที่แสดงฝนรายสัปดาห์ วันท่ี 22-29 พฤษภาคม พ.ศ. 2548