เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... ·...

20
เฉลยแบบฝึกหัด บทที6 ค่าของเงินตามเวลา เฉลยที่ได้ในบทนี ใช้ Excel Function และตารางค่าของเงินตามเวลา ท้ายเล่มของหนังสือการเงินธุรกิจ (โดย รศ.พรรณุ ภา ธุวนิมิตรกุล) ช่วยในการหาคําตอบเป็นส่วนใหญ่ หากใช้ตารางค่าของเงินตามเวลาที่มีอยู ่ทั่วไปในท้ายเล่มของหนังสือ การเงินธุรกิจ อาจให้คําตอบที่ต่างไปจากนี้บ ้างเล็กน้อย 1. หามูลค่าเงินรวมในอนาคต ของเงินลงทุนจํานวนเดียวในวันนี ้ (Single sum cash flows) เงินลงทุนครั้งแรก (บาท) ระยะเวลา (ปี ) อัตราดอกเบี้ยต่อปี (%) ทบต้นปีละครั ้ง มูลค่าเงินรวมในอนาคตเมื่อ ลงทุนครบกําหนด (บาท) 5,000 12 9.00 14,063.32 10,000 8 7.50 17,834.78 8,000 6 11.25 15,166.67 24,000 9 7.00 44,123.02 2. หาอัตราดอกเบี้ยต่อปี เงินลงทุนครั้งแรก (บาท) ระยะเวลา (ปี ) มูลค่าเงินรวมในอนาคตเมื่อ ลงทุนครบกําหนด (บาท) อัตราดอกเบี้ยต่อปี (%) ทบต้นปีละครั ้ง 550 13 1898.60 10 275 8 406.18 5 60 20 279.66 8 180 6 486.00 18 3. หาระยะเวลาในการลงทุน เงินลงทุนครั้งแรก (บาท) อัตราดอกเบี้ยต่อปี (%) ทบต้นปีละครั ้ง มูลค่าเงินรวมในอนาคตเมื่อ ลงทุนครบกําหนด (บาท) ระยะเวลา (ปี ) 550 12 2,142.8 12 40 10 325.61 22 110 20 472.98 8 280 6 753.98 17 4. หามูลค่าปัจจุบัน มูลค่าเงินรวมในอนาคตเมื่อ ลงทุนครบกําหนด (บาท) ระยะเวลา (ปี ) อัตราดอกเบี้ยต่อปี (%) ทบต้นปีละครั ้ง มูลค่าปัจจุบัน (บาท) 2,000 8 6.00 1,254.82 5,000 12 8.25 1,931.24

Upload: others

Post on 08-Jul-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

เฉลยแบบฝึกหดั บทท่ี 6 คา่ของเงินตามเวลา 

เฉลยท่ีได้ในบทนี ้ใช้ Excel Function และตารางคา่ของเงินตามเวลา ท้ายเลม่ของหนงัสือการเงินธุรกิจ (โดย รศ.พรรณุ

ภา ธุวนิมิตรกลุ) ช่วยในการหาคําตอบเป็นสว่นใหญ่ หากใช้ตารางคา่ของเงินตามเวลาท่ีมีอยูท่ัว่ไปในท้ายเลม่ของหนงัสือ

การเงินธุรกิจ อาจให้คําตอบท่ีตา่งไปจากนีบ้้างเลก็น้อย

1. หามลูคา่เงินรวมในอนาคต ของเงินลงทนุจํานวนเดียวในวนันี ้(Single sum cash flows) 

เงินลงทนุครัง้แรก (บาท) 

ระยะเวลา (ปี) อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นปีละครัง้

มลูคา่เงินรวมในอนาคตเม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท) 

5,000  12  9.00  14,063.32 10,000  8  7.50  17,834.78 8,000  6  11.25  15,166.67 24,000  9  7.00  44,123.02 

2. หาอตัราดอกเบีย้ตอ่ปี 

เงินลงทนุครัง้แรก (บาท) 

ระยะเวลา (ปี) มลูคา่เงินรวมในอนาคตเม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท)

อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นปีละครัง้

550  13  1898.60  10 275  8  406.18  5 60  20  279.66  8 180  6  486.00  18 

3. หาระยะเวลาในการลงทนุ 

เงินลงทนุครัง้แรก (บาท) 

อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นปีละครัง้ 

มลูคา่เงินรวมในอนาคตเม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท)

ระยะเวลา (ปี)

550  12  2,142.8  12 40  10  325.61  22 110  20  472.98  8 280  6  753.98  17 

4. หามลูคา่ปัจจบุนั 

มลูคา่เงินรวมในอนาคตเม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท) 

ระยะเวลา (ปี) 

อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นปีละครัง้

มลูคา่ปัจจบุนั (บาท)

2,000  8  6.00  1,254.82 5,000  12  8.25  1,931.24 

Page 2: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

14,000  15  4.50  7,234.09 16,000  9  9.00  7,366.84 

5. หามลูคา่เงินรวมในอนาคตของเงินงวด (Annuities) 

เงินรายงวดปี (บาท)  ระยะเวลา (ปี) 

อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นปีละครัง้

มลูคา่รวมของเงินงวดในอนาคต เม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท) 

500  12  14.00  13,635.37 1,000  8  7.50  10,446.37 100  6  11.25  796.30 700  9  8.00  8,741.29 

6. หามลูคา่ปัจจบุนัรวมของเงินงวด 

เงินรายงวดปี (บาท)  ระยะเวลา (ปี) 

อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นปีละครัง้

มลูคา่ปัจจบุนัรวมของเงินงวด เม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท) 

100  5  4.00  445.18 800  3  6.75  2,109.08 1,000  7  3.25  6,172.00 1,400  4  5.00  4,964.33 

7. หามลูคา่เงินรวมในอนาคตของเงินงวด เม่ือมีการทบต้นดอกเบีย้บอ่ยครัง้ขึน้ในแตล่ะปี 

เงินลงทนุครัง้แรก (บาท) 

อตัราดอกเบีย้ตอ่ปี (%) 

ทบต้นดอกเบีย้ทกุก่ีเดือน 

ระยะเวลา (ปี) 

มลูคา่รวมในอนาคต เม่ือลงทนุครบกําหนด (บาท) 

100  12.00  1  12  419.06 

300  15.00  2  10  1,319.94 

500  8.00  3  9  1,019.94 

700  9.00  4  8  1,422.96 

900  6.00  6  5  1,209.52 

1,000  5.50  12  4  1,238.82 

 

 

 

Page 3: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

 

8. หาอตัราดอกเบีย้ท่ีแท้จริง ท่ีเกิดจากการทบต้นดอกเบีย้มากครัง้ขึน้ในแตล่ะปี จากข้อมลูในข้อ 7 

เงินลงทนุครัง้

แรก (บาท) 

อตัราดอกเบีย้

ตอ่ปี (%) 

ทบต้นดอกเบีย้

ทกุก่ีเดือน 

ระยะเวลา

(ปี) 

อตัราดอกเบีย้ท่ีแท้จริงตอ่ปี

(Effective Annual Rate) % 

100  12.00  1  12  12.68 

300  15.00  2  10  15.97 

500  8.00  3  9  8.24 

700  9.00  4  8  9.27 

900  6.00  6  5  6.09 

1,000  5.50  12  4  5.50 

9. หาอตัราผลตอบแทนท่ีได้รับของเงินงวดปลายงวด (Regular Annuities) ในแตล่ะแผนการลงทนุตอ่ไปนี ้ 

แผน

ทางเลือก 

เงินลงทนุครัง้

แรก (บาท) 

เงินงวดท่ีได้รับทกุปี

ทกุปลายงวด (บาท) 

จํานวนปีท่ีจะ

ได้รับเงิน (ปี) 

อตัราผลตอบแทนท่ีได้รับ

หรือคา่ IRR นัน่เอง (%) 

A  50,000  8,500  12  13.13

B  60,000  7,000  25  10.76 

C  70,000  8,000  20  9.60 

เลือกแผน  A ได้แผนเดียว เน่ืองจากให้ผลตอบแทนในอตัราท่ีสงูกวา่ท่ีลงทนุได้เอง

10. หาอตัราผลตอบแทนท่ีได้รับของเงินงวดต้นงวด (Annuities Due) ในแตล่ะแผนการลงทนุตอ่ไปนี ้

แผน

ทางเลือก 

เงินลงทนุครัง้

แรก (บาท) 

เงินงวดท่ีได้รับทกุปี

ทกุต้นงวด (บาท) 

จํานวนปีท่ีจะ

ได้รับเงิน (ปี) 

อตัราผลตอบแทนท่ีได้รับ

หรือคา่ IRR นัน่เอง (%) 

A  50,000  8,500  12  16.76

B  60,000  7,000  25  12.41 

Page 4: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

C  70,000  8,000  20  11.18 

 

สามารถเลือกแผน  A และแผน B ได้ เน่ืองจากให้ผลตอบแทนในอตัราท่ีสงูกวา่ท่ีลงทนุได้เอง 

11. ยอดขายหนงัสือพ๊อคเก๊ตบุ๊คแต่ละปีในอีก 3 ปีข้างหน้านบัจากปัจจบุนั เป็นดงันี ้  

ปีท่ี  ยอดขายหนงัสือในแตล่ะปี สมมติขายได้เพิ่มปีละ 18%

1  = 20,000(1 + .18)1 = 23,600 เลม่

2  = 20,000(1 + .18)2 = 27,848 เลม่

3 = 20,000(1 + .18)3 = 32,861 เลม่

 

12. เงินท่ีต้องผอ่นชําระ = 0.80 * 900,000 = 720,000 บาท ผอ่นรายเดือนเป็นเวลา 50 เดือน (Amortized Loan) 

720,000 = A (PVIFA 1%, 50) จะได้ A = 720,000 / 39.1961 = 18,369.17 บาท 

เม่ือผอ่นไปแล้ว 3 ปี หรือ 36 งวดเดือน ยงัค้างชําระอีก 14 เดือน ถ้าต้องการชําระให้หมดในสิน้งวดท่ี 36 นัน้

จะต้องชําระเทา่กบัมลูคา่ปัจจบุนัของอีก 14 งวดนัน้ (PVA1%, 14) 

PVA1%, 14 = 18,369.17 (PVIFA 1%, 14) = 18,369.17 (13.0037) = 238,867 บาท

13. หามลูคา่ปัจจบุนัของแตล่ะทางเลือก 

ทางเลือกท่ี มลูคา่ปัจจบุนัของแตล่ะทางเลือก

1  = 13,500 (PVIFA 20%, 5) = 13,500(2.9906) = 40,373 บาท

2  = 34,000 (PVIFA 20%, 5)( (PVIF 20%, 5) = 34,000(2.9906)(.4019) = 40,865 บาท

3  = 20,000(PVIF 20%, 1) + 60,000(PVIF 20%, 6) + 30,000(PVIF 20%, 10) 

= 20,000(.8333) + 60,000(.3349) + 30,000(.1615) 

= 16,666 + 20,094 + 4,845 = 41,605 บาท

ทางเลือกท่ี 3 ให้มลูคา่ปัจจบุนัสงูสดุ ควรเลือกทางเลือกท่ี 3 

Page 5: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

 

 

 

14. หามลูคา่ปัจจบุนัของแตล่ะทางเลือก 

ทางเลือก มลูคา่ปัจจบุนัของแตล่ะทางเลือก

A  = 5,000(PVIFA 10%, 3) – 15,000(PVIF 10%, 4) + 15,000(PVIF 10%, 5) 

= 5,000(2.4869) – 15,000(.6830) + 15,000(.6209)

= 12,434.5 – 10,245 + 9,313.5 = 11,503 บาท

B  = 1,000(PVIF 10%, 1) +3,000(PVIF 10%, 2) + 5,000(PVIF 10%, 3) + 10,000(PVIF 10%, 4) –

10,000(PVIF 10%, 5) 

= 1,000(.9091) + 3,000(.8264) + 5,000(.7513) + 10,000(.6830) – 10,000(.6209) 

= 909.1 + 2,479.2 + 3,756.5 + 6,830 – 6,209 = 7,765.8 บาท

C  = 10,000(PVIFA 10%, 4) - 40,000(PVIF 10%, 5) 

= 10,000(3.1699) – 40,000(.6209) = 31,699 – 24,836 = 6,863 บาท

 

15. สมมติให้เงินสําหรับออมวนันี ้เพ่ือไว้ใช้ในอีก 10 ปีข้างหน้าตามแผนท่ีกําหนด = P บาท ซึง่เม่ือออมไปจบครบ 10

ปี จะได้เงินรวม (เงินต้นบวกดอกเบีย้ทบต้นตลอด 10 ปี) เพียงพอสําหรับการใช้จ่ายตลอด 5 ปีตามแผน 

P (FVIF 7%, 10) = 10,000 + 10,000(PVIFA 7%, 4) + 15,000 (PVIF 7%, 5) 

P(1.9672) = 10,000 + 10,000 (3.3872) + 15,000(.7130) จะได้ P = 27,738 41 บาท 

16. หาอตัราดอกเบีย้การกู้ เงิน 

45,000 = 11,000 (PVIFA k%, 5) จะได้อตัราดอกเบีย้ = 7.08% 

17. แผนการออมเงินให้ได้ตามเป้าหมาย จาก 3 ทางเลือก ให้ตอบคําถามของแตล่ะทางเลือก 

Page 6: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

ทางเลือก  

1  A (FVIFA 8%, 15) = 75,000

จะได้ A = 75,000 / 27.152 = 2,762.23 บาท = เงินออมทกุสิน้ปีเป็นเวลา 15 ปี

2  P(FVIF 8%, 15) = 75,000

จะได้ P = 75,000 / 3.1722 = 23,642.90 บาท = เงินก้อนวนันีสํ้าหรับการลงทนุ 

3  A (FVIFA 8%, 15) + 20,000 (FVIF 8%, 10) = 75,000

A (27.152) + 20,000 (2.1589) = 75,000 

จะได้ A = 31,822 / 27.152 = 1,172 บาท = เงินออมทกุสิน้ปีเป็นเวลา 15 ปีเม่ือมีเงินก้อน

จํานวน 20,000 บาท มาสมทบการลงทนุเม่ือสิน้ปีท่ี 5

 

18. หามลูคา่ปัจจบุนัของเงินงวดท่ีมีอายไุมส่ิน้สดุ (Perpetuities) 

เงินงวดปี งวดละ (บาท)

อตัราดอกเบีย้ต่อปี (%) ทบต้นทกุปี

มลูคา่ปัจจบุนัรวมของเงินงวดท่ีมีอายไุมส่ิน้สดุ (บาท) 

400  8.00  = 400 / .08 = 5,000 บาท

1,500  7.50  = 1,500 / .075 = 20,000 บาท

900  4.50  = 900 / .045 = 20,000 บาท

1,200  15.00  = 1,200 / .15 = 8,000 บาท

 

19. หาระยะเวลาในการลงทนุ เพ่ือให้ได้เงินสะสมตามแผน โดยมีการทบต้นดอกเบีย้ทกุคร่ึงปี สมมติให้ n = จํานวน

งวดคร่ึงปีทัง้หมดท่ีมีการทบต้น 

P (FVIF 5%, n) = 7 P 

FVIF 5%, n = 7 จะได้คา่ n = 40 งวดคร่ึงปี หรือ = 20 ปี 

 

Page 7: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

20. หามลูคา่ปัจจบุนัของแตล่ะทางเลือก 

ทางเลือก  มลูคา่ปัจจบุนัของแตล่ะทางเลือก

1  = 1,000 บาท

2  = 10,000 (PVIF 11% , 12) = 10,000 (0.2858) = 2,858 บาท

3  = 25,000 (PVIF 11% , 25) = 10,000 (0.0736) = 1,840 บาท

ควรเลือกทางเลือกท่ี 2 ท่ีมีมลูค่าปัจจบุนัสงูท่ีสดุ เทา่กบั 2,858 บาท 

21. หาระยะเวลาท่ีจะต้องผอ่นชําระคืนเงินกู้ สมมติให้ n = จํานวนงวดไตรมาสทัง้หมดท่ีมีการผอ่นชําระ จะได้ 

10,500 (PVIFA 3%, n) = 200,000

PVIFA 3%, n = 200,000 / 10,500 = 19.0476  

จะได้คา่ n อยูร่ะหวา่ง 28 – 29 งวด แสดงวา่หากชําระ 28 งวดไตรมาส (7 ปี) การผอ่นชําระคืนเงินกู้ จะยงัไม่

ครบตามท่ีกู้มา แตห่ากชําระ 29 งวด การผอ่นชําระคืนเงินกู้ จะเกินกวา่ท่ีกู้มา จึงได้วา่ในงวดสดุท้าย จะผอ่น

ชําระเพียงบางสว่นท่ียงัค้างอยูเ่ทา่นัน้ ให้หาวา่งวดสดุท้ายจะต้องชําระเทา่ใด สมมติ เทา่กบั = S บาท

10,500 (PVIFA 3%, 28) + S (PVIF 3%, 29) = 200,000

10,500 (18.7641) + S (.4243) = 200,000 จะได้ S = 7,016.15 บาท

สรุป จะต้องผอ่นชําระทัง้หมด 28 งวดไตรมาส หรือ 7 ปี งวดละ 10,500 บาท และมีไตรมาสสดุท้ายท่ียงัต้อง

ชําระเป็นเงิน 7,016.15 บาท 

22. ให้เงินก้อนท่ีจะออมวนันีเ้ทา่กบั P บาท และเม่ือเกษียณอายใุนอีก 5 ปีข้างหน้า เงินก้อนนี ้จะได้ดอกเบีย้ทบต้นปี

ละ 10% ฉะนัน้ 1 มกราคม 2560 ทา่นจะมีเงินรวม = P (FVIF 10%, 5) = 1.6105 P  บาท 

เร่ิม 1 มกราคม 2560 ทา่นต้องการใช้เงินทกุต้นปีปีละ 50,000 บาท ยกเว้น 1 มกราคม 2566, 2567, 2568 ท่ี

แตกตา่งจากปีอ่ืนๆ เงินท่ีจะใช้ในทกุปีหลงัเกษียณ จะมาจากเงินออมในช่วง 5 ปีก่อนเกษียณนัน้ 

วิธีคิด ให้หามลูคา่ปัจจบุนัของเงินทกุจํานวน ในช่วงระยะเวลา 20 ปีของการเกษียณอาย ุกลบัมาอยูท่ี่ วนัท่ี 1

มกราคม 2560 นัน่ก็คือ มลูคา่ปัจจบุนัของเงินท่ีต้องการใช้จะ = เงินออมทัง้หมดท่ีมี ณ วนัเดียวกนั

1.6105 P = 50,000 + 50,000 (PVIFA 10%, 5) + 400,000 (PVIF 10%, 6) + 50,000 (PVIFA 10%, 11)

(PVIF 10%, 8) + 200,000 (PVIF 10%, 20) 

Page 8: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

1.6105 P = 50,000 + 50,000 (3.7908) + 400,000 (.5645) + 50,000 (6.4951) (.4665) + 200,000 (.1486)

1.6105 P = 50,000 + 189,540 + 225,800 + 151,498 + 29,720 

P = 646,558 / 1.6105 = 401,464 บาท 

จะได้วา่ ณ วนัท่ี 1 มกราคม 2555 จะต้องฝากเงินก้อนจํานวน 401,464 บาท เพ่ือจะได้ใช้เงินในช่วงเกษียณตาม

เป้าหมายท่ีวางแผนไว้

Page 9: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

เฉลยแบบฝกหัด บทที่ 7 งบจายลงทุน  

1. ใหหา PB (Payback Period) และ DPB (Discounted Payback Period) ของแตละโครงการ แลวเสนอแนะ

โครงการที่ดีที่สุด ตามเงื่อนไขที่กําหนด 

ปลายปที่

กระแสเงินสดของ  A 

PV ของกระแสเงินสดของ A 

กระแสเงินสดของ B 

PV ของกระแสเงินสดของ B 

กระแสเงินสดของ C 

PV ของกระแสเงินสดของ C 

0  (1,000) (1,000) (10,000)  (10,000)  (5,000) (5,000) 

1  600  545.46  5,000  4,545.50 1,000  909.10 

2  300  247.92  3,000  2,479.20  1,000  826.40 

3  200  150.26  3,000  2,253.90  2,000  1,502.60 

4  100  68.30  3,000  2,049.00  2,000  1,366.00 

5  500  310.45  3,000  1,862.70  2,000  1,241.80 

 

  A  B  C 

PB (ป) 2.5 2.67  3.5 

DPB (ป)  3.83  3.35  4.32 

เมื่อทุกโครงการเปนอิสระตอกัน

ใชเกณฑ  PB ลงทุนไดในโครงการ A และ B เนื่องจากทั้ง 2 มีการคืนทุนสั้นกวา ระยะเวลาคืนทุนที่กําหนด 

แตเมื่อใชเกณฑ DPB จะไมสามารถลงทุนไดเลย เนื่องจากมีการคืนทุนยาวกวา ระยะเวลาคืนทุนที่กําหนด 

2. หาคา NPV, PI และ IRR  

กําหนดให PVCI = Present Value of Cash Inflows และ PVCO = Present Value of Cash Outflows 

  โครงการ A  โครงการ B 

NPV = PVCI ‐ PVCO  = 12,000(PVIFA 12%, 6) - 50,000  = 13,000 (PVIFA 12%, 6) - 70,000 

Page 10: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

= 12,000(4.1114) – 50,000  

= 49,336.80 – 50,000 = - 663.20 

= 13,000 (4.1114) – 70,000 

= 53,448.2 – 70,000 = - 16,551.8

PI    = PVCI / PVCO  = 49,336.80 / 50,000 = 0.987  = 53,448.2 / 70,000 = 0.764  

IRR เปน discount 

rate  ที่ทําใหPVCI = PVCO 

12,000(PVIFA r%, 6) = 50,000 

(PVIFA r%, 6) = 4.1667 

เปดตาราง PVIFA ได r = 11.53 %

13,000 (PVIFA r %, 6) = 70,000 

(PVIFA r %, 6) = 5.3846 

เปดตาราง PVIFA ได r = 3.18 %

พบวา ไมสามารถลงทุนในโครงการใดๆไดเลย ทั้ง 2 โครงการ ตางก็ให NPV เปนคาลบ PI ตํ่ากวา 1.0 และ IRR

ที่ตํ่ากวา อัตราผลตอบแทนที่ตองการจากการลงทุนที่ 12 %  

3. ใหหาคา PB, NPV, PI และ IRR จากขอมูลกระแสเงินสดในตารางที่ให กําหนดใหอัตราผลตอบแทนที่ตองการ

เทากับ 15 % 

ปลายปที่  กระแสเงินสด 

0  (54,200) 

1  20,608 

2  20,608 

3  20,608 

4  20,608 

5  20,608 + 12,800 = 33,408 

 

PB = 2 ป + 12,984 / 20,608 ป = 2.63 ป 

NPV = 20,608 (PVIFA 15%, 5) + 12,800 (PVIF 15%, 5) – 54,200 

= 20,608 (3.3522) + 12,800 (.4972) – 54,200 = 75,446.30 – 54,200 = 21,246.30 บาท 

PI = PVCI / PVCO = 75,446.30 / 54,200 = 1.39 

IRR: เปน discount rate ที่ทําให PVCI = PVCO 

Page 11: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

20,608 (PVIFA r%, 5) + 12,800 (PVIF r%, 5) = 54,200 จะได r = 29.5 % = IRR 

จะไดวาสมควรลงทุนในโครงการนี้ เนื่องจากมี NPV เปนบวก PI มีคามากกวา 1.0 และ IRR มีคามากกวาอัตรา

ผลตอบแทนที่ตองการ ซึ่งทั้ง 3 เกณฑที่กลาวมา จะทําให โครงการนี้สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับผูเปนเจาของ

นอกจากนั้น ยังมีระยะเวลาคืนทุน เพียง 2.63 ป ซึ่งหากมีระยะคืนทุนเปาหมายที่นอยกวาหรือเทากับ 2.63 ป ก็จะ

ไดวาโครงการนี้สมควรลงทุนดวยเกณฑระยะเวลาคืนทุนดวย 

4. PI = PVCI / PVCO จะได PVCI = 500,000 * 1.24 = 620,000 

NPV = 620,000 – 500,000 = 120,000 บาท 

5. ถาโครงการลงทุนมีงวดระยะเวลาคืนทุนเมื่อคํานึงถึงมูลคาของเงินตามเวลา(DPB) เทากับอายุโครงการลงทุน

พอดี แสดงวามูลคาปจจุบันรวม ของกระแสเงินสดรับเขา (PVCI ) ตลอดอายุโครงการ มีคาเทากับ มูลคาปจจุบัน

ของเงินลงทุนพอดี (PVCO) 

NPV = PVCI – PVCO = 0 พอดี 

PI = PVCI / PVCO = 1.0 พอดี 

IRR = อัตราผลตอบแทนที่ตองการ หรือ ตนทุนเฉลี่ยของเงินทุน พอดี

6. หาอัตราผลตอบแทนที่ไดรับจากโครงการลงทุน (IRR) ตอไปนี้ 

เงินสดจาย

เริ่มแรก (บาท)

เงินสดรับครั้งเดียวเมิอ

ส้ินสุดโครงการ (บาท) อายุโครงการ

(ป) อัตราผลตอบแทนที่ไดรับ

จากโครงการ (IRR %) 

‐10,000  17,182  8  7 % 

‐10,000  48,077  10  17 % 

‐10,000  114,943  20  13% 

‐10,000  13,680  3  11 %

17,182 (PVIF r%, 8) = 10,000 จะได r = 7 % 

48,077 (PVIF r%, 10) = 10,000 จะได r = 17 % 

114,943 (PVIF r%, 20) = 10,000 จะได r = 13 % 

13,680 (PVIF r%, 3) = 10,000 จะได r = 11 % 

Page 12: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

เฉลยแบบฝกหัด บทที ่8 โครงสรางเงินทนุ และตนทุนของเงนิทนุ 

1. คํานวณตนทุนหลังภาษีของแตละแหลงเงินทุน 

1.1 ตนทุนของหุนกูกอนภาษี 

1,200 (PVIFA kd%, 10) + 10,000 (PVIF kd%, 10) = 11,250 (1 - .05) จะได kd = 10.84 % 

ตนทุนของหุนกูหลังภาษี = kd (1 – T) = 10.84 (1 - .30) = 7.59 % 

1.2 ตนทุนของหุนสามัญใหมเพิ่มทุน 

D1 = 2.00(1 + .085) = 2.17 บาท

คาใชจายในการจัดจําหนาย ( f ) = 6 %  Pn = P0 (1 - f ) = 42 (1 - .06) = 39.48 บาท 

ke = [D1 / Pn] + g = [2.17 / 39.48] + .085 = .1399 = 14.0% = ke 

1.3 ตนทุนของกําไรสะสม 

ks = [D1 / P0 ] + g = [4.85 / 55.50] + .072 =  .087 + .072 = .159 = 15.9% = ks 

1.4 ตนทุนของหุนบุริมสิทธิ 

Dp  = 10 %(125) = 12.50 บาทตอหุน  

Pn = P0 (1 - f ) = 150 (1 - .08) = 138 บาท 

kp = Dp / Pn = 12.50 / 138 = .0906 = 9.06 % = kp 

 2. ดอกเบี้ยรายงวดครึ่งปเทากับ 700 บาท จํานวน 16 งวด 

2.1 ราคาตลาด (P0) = 700 (PVIFA 5 %, 16) + 10,000 (PVIF 5%, 16) 

= 700 (10.8378) + 10,000 (.4581) = 7,586.46 + 4,581 = 12,167.46 บาท 

2.2 ราคาตลาดสุทธิ (Pn ) = P0 (1 - f ) = 12,167.46 (1 - .115) = 10,768.20 บาท 

2.3 จํานวนหุนกูที่ตองออกจําหนาย เพื่อใหไดเงินทุนที่ตองการ = 6 ลานบาท / 10,768.20 = 558 ฉบับ 

2.4 ตนทุนกอนภาษีของหุนกู เปนคา kd ที่ทําให ราคาตลาดสุทธิที่ผูออกหุนกูไดรับ = มูลคาปจจุบันรวม ของ

ดอกเบี้ยที่จายทั้งหมด 16 งวด + มูลคาไถถอนหุนกูเมื่อครบกําหนดชําระ 

10,768.20 = 700 (PVIFA kd %, 16) + 10,000 (PVIF kd %, 16) จะไดคา kd = 6.23 % ตอครึ่งป 

kd = 6.23 % * 2 = 12.46 % ตอป 

ตนทุนของหุนกูหลังภาษี = kd (1 – T) = 12.46 % (1 - .30) = 8.72 % 

 3. WACC = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

            = 0.35 (10 %)(1 - .25) + 0.15 (12 %) + 0.50 (20 %) 

         = 2.625 % + 1.8 % + 10 % = 14.425 % = ตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 

 

Page 13: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

4. คํานวณตนทุนหลังภาษีของแตละแหลงเงินทุน และ ตนทุนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนัก 

4.1 ราคาตลาดของหุนกูสุทธิ (Pn ) = 11,000 ‐ 200 = 10,800 บาท 

ดอกเบี้ยรายไตรมาสละ 200 บาท เปนเวลา 20 ไตรมาส

10,800 = 200 (PVIFA  kd, 20) + 10,000 (PVIF kd, 20) จะได kd = 1.53 % ตอไตรมาส

จะได kd = 1.53 % * 4 = 6.12 % ตอป

ตนทุนของหุนกูหลังภาษี = kd (1 – T) = 6.12 % (1 - .20) = 4.90 % 

4.2 ราคาตลาดหุนสามัญใหมสุทธิ  = 80 (1 - .10) = 72 บาท 

        ke = [D1 / Pn] + g = [2 / 72] + .08 = .028 +.08 = .1078 = 10.78 % = ke 

4.3 WACC = Wd kd (1 – T) + We ke             = 0.40 (4.90 %) + 0.60 (10.78 %) 

         = 1.96 % + 6.47 % = 8.43 % = ตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 

 5. เงินปนผลที่คาดไว ของหุนสามัญ   D1 = D0 (1 + g) = 1.26 (1 + .06) = 1.34 บาท 

5.1 ตนทุนของกําไรสะสม 

        ks = [D1 / P0 ] + g = [1.34 / 40] + .06 =  .0335 + .06 = .0935 = 9.35% = ks 

5.2 ราคาตลาดหุนสามัญสุทธิ (Pn ) = P0 - 4 = 40 - 4 = 36 บาท 

ke = [D1 / Pn] + g = [1.34 / 36] + .06 = .0372 + .06 = .0972 = 9.72 % = ke 

5.3 ตนทุนของหุนบุริมสิทธิ 

ราคาตลาดหุนบุริมสิทธิสุทธิ (Pn ) = P0 - 3 = 25 - 3 = 22 บาท 

kp = Dp / Pn = 2 / 22 = .0909 = 9.09 % = kp 

5.4 ราคาตลาดของหุนกูสุทธิ (Pn ) = 1,200 ‐ 25 = 1,175 บาท 

ดอกเบี้ยรายป 100 บาท เปนเวลา 5 ป

1,175 = 100 (PVIFA  kd, 5) + 1,000 (PVIF kd, 5) จะได kd = 5.86 % ตอป

ตนทุนของหุนกูหลังภาษี = kd (1 – T) = 5.86 % (1 - .40) = 3.52 % 

5.5 กําไรสุทธิที่มีสําหรับการลงทุนตอ = 4,200,000 – 1.26 (1,000,000) = 2,940,000 บาท

         R/E Break point = 2,940,000 / 0.50 = 5,880,000 บาท = เงินลงทุนสูงสุด โดยไมตองเพิ่มทุน 

โดยมาจาก การกูยืม = 0.40 (5,880,000) = 2,352,000 บาท 

หุนบุริมสิทธิ  = 0.10 (5,880,000) = 588,000 บาท และ 

กําไรสะสม = 0.50 (5,880,000) = 2,940,000 บาท 

5.6 WACC1 = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

= 0.40 (3.52 %) + 0.10 (9.09 %) + 0.50 (9.35 %) = 1.408 + 0.909 + 4.675 = 6.992 % 

Page 14: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

WACC2 = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

= 0.40 (3.52 %) + 0.10 (9.09 %) + 0.50 (9.72 %) = 1.408 + 0.909 + 4.86 = 7.18 %

จะไดวาเงินลงทุนตั้งแต 0 – 5,880,000 บาทจะมีตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก = 6.992 % 

และเงินลงทุนที่ตองจัดหาเพิ่มเติมที่มากกวา 5,880,000 จะมีตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก = 7.18 % 

 6. ตารางแสดงโครงสรางเงินทุนในสัดสวนหรือน้ําหนัก ราคาตามบัญชี และ ในราคาตลาด 

แหลงเงินทุน มูลคาตามบัญชี (บาท)

และสัดสวนของแตละแหลง

มูลคาราคาตลาด (บาท)

และสัดสวนของแตละแหลง

ตนทุนหลังภาษี

(%)

หนี้สินระยะยาว 4,000,000 0.7843 3,840,000 0.5565 6.0

หุนบุริมสิทธิ 40,000 0.0079 60,000 0.0087 13.0

สวนของเจาของ 1,060,000 0.2078 3,000,000 0.4348 17.0

รวมเงินทุน 5,100,000 1.0000 6,900,000 1.0000

6.1  WACC = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

= 0.7843 (6.0 %) + 0.0079 (13.0 %) + 0.2078 (17.0 %) = 4.71 + 0.10 + 3.53 = 8.34 % 

ตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก เมื่อใชมูลคาตามบัญชีในการถวงน้ําหนัก = 8.34 % 

6.2 WACC = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

= 0.5565 (6.0 %) + 0.0087 (13.0 %) + 0.4348 (17.0 %) = 3.34 + 0.11 + 7.39 = 10.84 % 

ตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก เมื่อใชมูลคาตามราคาตลาดในการถวงน้ําหนัก = 10.84 % 

6.3 ความแตกตางตามขอ 6.1 และ 6.2 เกิดจากน้ําหนักที่ใชในการถวงเพื่อหาตนทุนเฉลี่ย ซึ่งโดยทั่วไปแลว การ

ใชราคาตลาดเปนฐานในการคํานวณ จะไดคาที่เปนปจจุบันมากกวา เนื่องจากราคาตลาดสะทอนมูลคาปจจุบัน

ของแหลงเงินทุน มากกวาราคาตามบัญชี ซึ่งสะทอนราคาในอดีตของแหลงเงินทุนเทานั้น 

ดังนั้นการคํานวณคาตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ซึ่งประกอบดวย น้ําหนักของแตละแหลงเงินทุน (Weight) จึงใช

Market Value Weight มากกวา Book Value Weight สวนตนทุนของแตละแหลงเงินทุน (Component 

Cost) จะใช Current Cost มากกวา Historical Cost เพื่อใหไดตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่เปนคาปจจุบัน

ที่สุด สําหรับใชในการกําหนดอัตราผลตอบแทนขั้นต่ําที่ตองการในการตัดสินใจจายลงทุน 

 7. เงินปนผลที่คาดไว ของหุนสามัญ   D1 = D0 (1 + g) = 0.90 (1 + .05) = 0.945 บาท 

ตนทุนของกําไรสะสม           ks = [D1 / P0 ] + g = [0.945 / 8.59] + .05 =  .11 + .05 = .16 = 16.0 % = ks 

ราคาตลาดหุนสามัญสุทธิ (Pn ) = P0 (1 - f ) = = 8.59 (1 - .20) = 6.87 บาท 

ke = [D1 / Pn] + g = [0.945 / 6.87] + .05 = .1376 + .05 = .1876 = 18.76 % = ke 

Page 15: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

ตนทุนของหุนกูหลังภาษี = kd (1 – T) = 14.0 % (1 - .40) = 8.4 % 

กําไรสุทธิที่มีสําหรับการลงทุนตอ = 7,500 (1 – 0.40) = 4,500 บาท

           R/E Break point = 4,500 / 0.60 = 7,500 บาท = เงินลงทุนสูงสุด โดยไมตองเพิ่มทุน 

WACC1 = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

= 0.40 (8.4 %) + 0.60 (16.0 %) = 3.36 + 9.6 = 12.96 % 

WACC2 = Wd kd (1 – T) + Wp kp + Ws ks 

= 0.40 (8.4 %) + 0.60 (18.76 %) = 3.36 + 11.26 = 14.62 %

จะไดวาเงินลงทุนตั้งแต 0 – 7,500 บาทจะมีตนทุนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนัก = 12.96 % 

และเงินลงทุนที่ตองจัดหาเพิ่มเติมที่มากกวา 7,500 บาท จะมีตนทุนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนัก = 14.62 % 

บริษัทสมควรตัดสินใจลงทุนในโครงการ A, C และ D โดยใชเงินลงทุนรวม = 15,000 + 15,000 + 12,000 =

42,000 บาท และมีอัตราผลตอบแทนคิดเปนคา IRR = 17.0%, 16.0 %, และ 15.0% ตามลําดับ ซึ่งทั้ง 3

โครงการ ตางก็มี IRR สูงกวาตนทุนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนัก

งบจายลงทุนที่เหมาะสมที่สุด (Optimal Capital Budgeting) จะเทากับ 42,000 บาท 

 8. ตนทุนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนักที่มีคาต่ําที่สุด เกิดจากการจัดหาเงินทุนตามโครงสรางเปาหมาย และสวนของเจาของ

มาจากกําไรสะสม ซึ่งตนทุนของกําไรสะสมจะมีคาต่ําที่สุด เมื่อเทียบกับการออกหุนสามัญใหมเพิ่มทุน

สมมติใหโครงสรางเงินทุนเปาหมายประกอบดวยหนี้สิน = Wd จะได สวนของเจาของ = 1 - Wd

WACC = Wd kd (1 – T) + (1 - Wd) ks 

9.88 = Wd (8.5 %) (1 - .30) + (1 - Wd) (12.0 %)  

  9.88  = 5.95 Wd + 12.0 – 12.0 Wd 

  6.05 Wd = 2.12 จะได Wd = 0.35 และ Ws = 1 – 0.35 = 0.65 

นั่นก็คือ โครงสรางเงินทุนเปาหมายประกอบดวยหนี้สิน = 35% จะได สวนของเจาของ = 65%

 

Page 16: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

ลกัษณะวิชา กง.201 การเงินธุรกิจ

เฉลยการบา้นหวัขอ้ที 9 การวิเคราะหต์น้ทุน ปริมาณขาย และกาํไร และการวิเคราะหเ์ลฟเวอรเ์รจ

1

Page 17: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

ลกัษณะวิชา กง.201 การเงินธุรกิจ

เฉลยการบา้นหวัขอ้ที 9 การวิเคราะหต์น้ทุน ปริมาณขาย และกาํไร และการวิเคราะหเ์ลฟเวอรเ์รจ

2

Page 18: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

ลกัษณะวิชา กง.201 การเงินธุรกิจ

เฉลยการบา้นหวัขอ้ที 9 การวิเคราะหต์น้ทุน ปริมาณขาย และกาํไร และการวิเคราะหเ์ลฟเวอรเ์รจ

3

Page 19: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

ลกัษณะวิชา กง.201 การเงินธุรกิจ

เฉลยการบา้นหวัขอ้ที 9 การวิเคราะหต์น้ทุน ปริมาณขาย และกาํไร และการวิเคราะหเ์ลฟเวอรเ์รจ

4

Page 20: เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง ... · 2016-05-03 · เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 ค่าของเง

7. หาอัตราผลตอบแทนที่ไดรับจากโครงการลงทุน (IRR) ตอไปนี้ 

เงินสดจาย

เริ่มแรก (บาท) 

เงินสดรับเปนเงินงวด

เทากันทุกส้ินป (บาท) 

อายุโครงการ

(ป) 

อัตราผลตอบแทนที่ไดรับ

จากโครงการ (IRR %) 

‐10,000  2,054  12  17.6 % 

‐10,000  1,193  20  10.23%

2,054 (PVIFA  r%, 12) = 10,000 จะได r = 17.6 % 

1,193 (PVIFA r%, 20) = 10,000 จะได r = 10.23 % 

8. หาอัตราผลตอบแทนที่ไดรับจากโครงการลงทุน (IRR) ตอไปนี้ ตัวเลขในตาราง แสดงเงินสดรับ และ เงินสดจาย

ของแตละโครงการ 

ปลายปที่  โครงการ A   โครงการ B  โครงการ C 

0  ‐10,000  ‐10,000  ‐10,000 

1  2,000  8,000  2,000 

2  5,000  5,000  2,000 

3  8,000  2,000  2,000 

4  0  0  2,000 

5  0  0  2,000 

6  0  0  5,000 

IRR %  18.8 %  30.2 % 11.2 %

 

2,000 (PVIF r%, 1) + 5,000 (PVIF r%, 2) + 8,000 (PVIF r%, 3) = 10,000 จะได r = 18.8 % 

8,000 (PVIF r%, 1) + 5,000 (PVIF r%, 2) + 2,000 (PVIF r%, 3) = 10,000 จะได r = 30.2 % 

2,000 (PVIFA r%, 5) + 5,000 (PVIF r%, 6) = 10,000 จะได r = 11.2 %