การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. ·...

6
ศูนยเมขลา ศูนยปองกันวิกฤติน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (23 ..50) 1/3 การบริหารจัดการภัยแลง 2550 . การพยากรณพื้นที่ประสบภัยแลง 1. สถิติความเสียหายจากภัยแลง 2535-2549 โดยสวนใหญจังหวัดในประเทศไทยที่ประสบภัยแลง พบวาจะอยูระหวาง 51-60 จังหวัด ซึ่งภาวะภัยแลงที่มากที่สุดคือในป 2548 มีมูลคาความ เสียหาย 7.5 พันลานบาท สําหรับมูลคาความเสียหายในป 2549 เปน เงิน 168 ลานบาท ในพื้นที33 จังหวัด 2. พื้นที่ฝนตกสะสมนอย ในป 2549 รวม 14 จังหวัด ไดแก ปราจีนบุรี หนองคาย ชัยภูมิ สุราษฎรธานี ปตตานี นราธิวาส สงขลา สุพรรณบุรี มุกดาหาร บุรีรัมย เลย อุดรธานี ตรัง และสตูล สวนพื้นที่ที่ฝนทิ้งชวงนับถอยหลังไป 3 เดือน ไดแกจังหวัด ลําพูน และแมฮองสอน จังหวัดที่มีภาวะฝนทิ้งชวง 2 เดือน ไดแก นครราชสีมา และราชบุรี และจังหวัดที่มีภาวะฝนทิ้งชวง 1 เดือน ไดแก สุพรรณบุรี ชัยภูมิ ชลบุรี ขอนแกน มหาสารคาม บุรีรัมย เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ 3. ปริมาณน้ําเก็บกักในอางเก็บน้ํา ขนาดใหญและกลางรวมกันทั้งประเทศปจจุบันมีประมาณ รอยละ 82 ซึ่งอยูในเกณฑดี มากเมื่อเทียบกับตนป 2549 ที่มีเพียงรอยละ 76 ของปริมาณเก็บกัก (สวนในป 2548 มีเพียงรอยละ 71) โดย ขณะนี้อางเก็บน้ําที่มีปริมาณเก็บกักน้ําต่ํากวารอยละ 50 ไดแกเขื่อนทับเสลา (33%) เขื่อนลํานางรอง (31%) 4. ระดับน้ําทา ในทั่วทุกภาคอยูในเกณฑพอใช มีบางจังหวัดที่อาจพบปญหาเรื่องน้ําทาในแมน้ํามีนอย ไดแก เชียงใหม ลําปาง แพร นาน ตาก พิจิตร เพชรบูรณ นครราชสีมา ขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี บุรีรัมย อุทัยธานี อางทอง ชัยนาท สิงหบุรี ราชบุรี เพชรบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี จันทบุรี ชุมพร และ นครศรีธรรมราช (26 จังหวัด) แตในบางลําน้ํามีอางเก็บน้ําซึ่งสามารถปลอยน้ํามาชวยในชวงวิกฤติได 5. กรมทรัพยากรน้ํา รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของและ อปท. ไดดําเนินโครงการประปาทั่วไทยกระจายทั่วประเทศ โดยทีดําเนินการแลวเสร็จ 2,507 โครงการ กําลังดําเนินการเพิ่มอีก 721 โครงการ รวมทั้งสิ้น 3,228 โครงการ ในขณะที่ยัง มีหมูบานที่ไมมีระบบประปาถึง 9,398 หมูบาน 6. จากการประสานงานรวมกับกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พบวาในป 2550 มีพื้นที่เสี่ยง ตอการเกิดภัยแลงและประสบภัยแลงแลว รวม 47 จังหวัด คือ จังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย กําแพงเพชร สุโขทัย ลําปาง ลําพูน เพชรบูรณ พิจิตร นาน แพร ตาก อุทัยธานี อุตรดิตถ สุพรรณบุรี จันทบุรี อางทอง ฉะเชิงเทรา ตราด สระแกว ปราจีนบุรี สระบุรี นครนายก สมุทรปราการ ชลบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ หนองคาย ขอนแกน หนองบัวลําภู บุรีรัมย อํานาจเจริญ มุกดาหาร กาฬสินธุ อุดรธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา ยโสธร สกลนคร นครพนม ชัยภูมิ อุบลราชธานี มหาสารคาม ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช และระนอง (ดูรูปที1)

Upload: others

Post on 15-Oct-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. · ศูนย เมขลา ศูนย ป องกันวิกฤติน้ํา

ศูนยเมขลา ศูนยปองกันวิกฤติน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (23 ก.พ.50) 1/3

การบรหิารจัดการภัยแลง ป 2550

ก. การพยากรณพ้ืนที่ประสบภัยแลง

1. สถิติความเสียหายจากภัยแลง ป 2535-2549 โดยสวนใหญจังหวัดในประเทศไทยที่ประสบภัยแลง พบวาจะอยูระหวาง 51-60 จังหวัด ซ่ึงภาวะภัยแลงที่มากที่สุดคือในป 2548 มีมูลคาความเสียหาย 7.5 พันลานบาท สําหรับมูลคาความเสียหายในป 2549 เปนเงิน 168 ลานบาท ในพื้นที่ 33 จังหวัด

2. พื้นที่ฝนตกสะสมนอยในป 2549 รวม 14 จังหวัด ไดแก ปราจีนบุรี หนองคาย ชัยภูมิ สุราษฎรธานี ปตตานี นราธิวาส สงขลา สุพรรณบุรี มุกดาหาร บุรีรัมย เลย อุดรธานี ตรัง และสตูล สวนพื้นที่ที่ฝนทิ้งชวงนับถอยหลังไป 3 เดือนไดแกจังหวัด ลําพูน และแมฮองสอน จังหวัดที่มีภาวะฝนทิ้งชวง 2 เดือนไดแก นครราชสีมา และราชบุรี และจังหวัดที่มีภาวะฝนทิ้งชวง 1 เดือนไดแก สุพรรณบุรี ชัยภูมิ ชลบุรี ขอนแกน มหาสารคาม บุรีรัมย เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ

3. ปริมาณน้ําเก็บกักในอางเก็บน้ําขนาดใหญและกลางรวมกันทั้งประเทศปจจุบันมีประมาณ รอยละ 82 ซ่ึงอยูในเกณฑดี มากเมื่อเทียบกับตนป 2549 ที่มีเพียงรอยละ 76 ของปริมาณเก็บกัก (สวนในป 2548 มีเพียงรอยละ 71) โดยขณะนี้อางเก็บน้ําที่มีปริมาณเก็บกักน้ําต่ํากวารอยละ 50 ไดแกเขื่อนทับเสลา (33%) เขื่อนลํานางรอง (31%)

4. ระดับน้ําทาในทั่วทุกภาคอยูในเกณฑพอใช มีบางจังหวัดที่อาจพบปญหาเรื่องน้ําทาในแมน้ํามีนอย ไดแก เชียงใหม ลําปาง แพร นาน ตาก พิจิตร เพชรบูรณ นครราชสีมา ขอนแกน ชัยภูมิ กาฬสินธุ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี บุรีรัมย อุทัยธานี อางทอง ชัยนาท สิงหบุรี ราชบุรี เพชรบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี จันทบุรี ชุมพร และนครศรีธรรมราช (26 จังหวัด) แตในบางลําน้ํามีอางเก็บน้ําซ่ึงสามารถปลอยน้ํามาชวยในชวงวิกฤติได

5. กรมทรัพยากรนํ้า รวมกับหนวยงานที่เก่ียวของและ อปท. ไดดําเนินโครงการประปาทั่วไทยกระจายทั่วประเทศ โดยที่ดําเนินการแลวเสร็จ 2,507 โครงการ กําลังดําเนินการเพิ่มอีก 721 โครงการ รวมทั้งสิ้น 3,228 โครงการ ในขณะที่ยังมีหมูบานที่ไมมีระบบประปาถึง 9,398 หมูบาน

6. จากการประสานงานรวมกับกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พบวาในป 2550 มีพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลงและประสบภัยแลงแลว รวม 47 จังหวัด คือ จังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย กําแพงเพชร สุโขทัย ลําปาง ลําพูน เพชรบูรณ พิจิตร นาน แพร ตาก อุทัยธานี อุตรดิตถ สุพรรณบุรี จันทบุรี อางทอง ฉะเชิงเทรา ตราด สระแกว ปราจีนบุรี สระบุรี นครนายก สมุทรปราการ ชลบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ หนองคาย ขอนแกน หนองบัวลําภู บุรีรัมย อํานาจเจริญ มุกดาหาร กาฬสินธุ อุดรธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา ยโสธร สกลนคร นครพนม ชัยภูมิ อุบลราชธานี มหาสารคาม ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช และระนอง (ดูรูปที่ 1)

Page 2: การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. · ศูนย เมขลา ศูนย ป องกันวิกฤติน้ํา

ศูนยเมขลา ศูนยปองกันวิกฤติน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (23 ก.พ.50) 2/3

ข. แนวทางบรรเทาปญหาภัยแลง

บทบาทของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1. การปฏิบัติการเตรียมรับสถานการณกอนเขาสูฤดูแลง

1.1 การซอมแซมและกอสรางระบบประปาหมูบาน (แลวเสร็จ 2,549 แหง และอยูระหวางดําเนินการ 2,313 แหง รวม 4,862 แหง)

1.2 การบูรณะและฟนฟูแหลงน้ํา 105 แหง (แลวเสร็จ 15 แหง กําลังดําเนินการ 90 แหง)

1.3 การกอสรางฝายตนน้ําแลวเสร็จ 18,076 แหง 1.4 การปรับปรุงบอน้ําตื้น 1,714 บอ (แลวเสร็จ 831 แหง

อยูระหวางดําเนินการ 883 บอ) 1.5 จัดเตรียมเครื่องผลิตน้ําประปาเคลื่อนที่ 15 ชุด 1.6 เปาลางบอบาดาล 4,699 บอ 1.7 ซอมเครื่องสูบน้ําบอลึก 2,125 เครื่อง 1.8 เจาะบอบาดาลเพ่ิมเติม 1,400 บอ (แลวเสร็จ 810 บอ

อยูระหวางดําเนินการ 590 บอ) 1.9 เตรียมรถแจกจายน้ําในสภาพใชการได 1,166 คัน (กรม

ทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมชลประทาน การไฟฟาฝายผลิตฯ และกองบัญชาการทหารสูงสุด)

1.10 จัดเตรียมจุดจายน้ําบาดาลเพื่อการอุปโภค 2,000 แหง 1.11 จัดเตรียมจุดจายน้ําบาดาลเพื่อการบริโภค 1,000 แหง 1.12 เตรียมเครื่องสูบน้ําในสภาพใชการได 1,232 เครื่อง

2. การสรางการมีสวนรวมของชุมชน

จัดประชุมคณะอนุกรรมการลุมน้ํา 29 คณะทั้งประเทศ เพื่อ 2.1 ประสานงานดานขอมูลปญหาภัยแลงจากพื้นที่ 2.2 ประชาสัมพันธใหประชาชนรับทราบชองทางการขอรับความชวยเหลือ 2.3 แจงเตือนชุมชนใหประหยัดการใชน้ํา โดยฝกอบรมการผลิตและดูแลบํารุงรักษาระบบประปา 2.4 แนะนําใหชุมชนจัดลําดับความสําคัญของการใชน้ํา 2.5 ลดการกอใหเกิดมลพิษในน้ํา 2.6 กําจัดวัชพืชน้ําที่จะทําใหน้ําระเหยเร็วเกินกวาอัตราปกต ิ

รูปท่ี 1

Page 3: การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. · ศูนย เมขลา ศูนย ป องกันวิกฤติน้ํา

ศูนยเมขลา ศูนยปองกันวิกฤติน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (23 ก.พ.50) 3/3

3. การจัดทําแผนรองรับในระยะตอไป

3.1 จัดหาเครื่องผลิตน้ําประปาเคลื่อนที่ 30 ชุด 3.2 ซอมแซมระบบประปาหมูบาน 3,000 แหง 3.3 ปรับปรุงจุดจายน้ําบาดาลเดิม 2,000 แหง 3.4 กอสรางจุดจายน้ําเพิ่มเติม 400 แหง 3.5 จัดหาชุดปรับคุณภาพน้ําเคลื่อนที่ 10 ชุด 3.6 เตรียมรถยนตบรรทุกน้ําเพื่อการแจกจายเพิ่มเติม 100 คัน 3.7 เปาลางบอบาดาลเพื่อปรับปรุงจุดจายน้ํารวมทั้งบอบาดาลที่คุณภาพน้ําไมเหมาะสม 2,800 บอ 3.8 ซอมเครื่องสูบบอบาดาลที่ชํารุด 2,000 บอ 3.9 เจาะบอบาดาลเพิ่มเติม 400 บอ

4. การบูรณาการหนวยงานเพื่อบรรเทาภัยแลง

4.1 กําหนดการปลูกขาวนาปรังใหเหมาะกับปริมาณน้ําในอางโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ 4.2 การเตรียมการจัดทําฝนหลวงในพื้นที่วิกฤติ โดยสํานักฝนหลวง 4.3 การกอสรางฝายตนน้ํา โดยกรมทรัพยากรน้ํา กรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 4.4 การขุดเจาะบอบาดาลในพื้นที่วิกฤติ โดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาล และองคการบริหารสวนตําบล 4.5 การฟนฟูอนุรักษแหลงน้ําธรรมชาติ ซอมแซม และกอสรางระบบประปาหมูบานใหครบทุกหมูบาน โดย

กรมทรัพยากรน้ํา และองคการบริหารสวนตําบล 4.6 การสนับสนุนน้ําประปาสําหรับแจกจายในพื้นที่วิกฤติ โดยการประปาสวนภูมิภาค และกรมทรัพยากรน้ํา 4.7 การสนับสนุนรถแจกจายน้ํา โดยกรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ

พันธุพืช กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมชลประทาน การไฟฟาฝายผลิตฯ และกองบัญชาการทหารสูงสุด

Page 4: การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. · ศูนย เมขลา ศูนย ป องกันวิกฤติน้ํา

Page 0Page 0

สรุปจังหวัดที่ประสบและเสี่ยงภัยแลง พ.ศ.2550 ณ 23 กพ. 2550จังหวัดท่ีประสบและมีความเสี่ยงสูงตอการเกิดภัยแลง 47 จังหวัดจังหวัดท่ีคาดวาจะเสี่ยงตอภัยแลง 18 จังหวัด

ภาคอีสาน (19)

ภาคเหนือ (17)

ภาคใต (11)

ภาคกลาง (10)

ระนอง

ตรัง

นครศรีธรรมราช

ชุมพร

พังงา

สุราษฎรธานี

สงขลา

ปตตานี

นราธิวาส

สตูล

กระบี่

แมฮองสอนอุทัยธานี

นานลําปางแพรลําพูนตากพิจิตรเพชรบรูณ

มหาสารคาม

อุบลราชธานีชัยภูมิ

เลย

นครราชสีมาหนองคายขอนแกนบุรรีัมยกาฬสินธุศรีสะเกษสกลนครอํานาจเจริญนครพนมหนองบวัลําพูยโสธรอุดรธานีมุกดาหาร

รอยเอ็ดสุรินทร

อุตรดิตถสุโขทัยกําแพงเพชรเชียงใหมเชียงราย

พะเยานครสวรรคพษิณุโลก

สุพรรณบุรีอางทองสระบุรี

ราชบรุี

เพชรบรุี

สมุทรปราการ

ประจวบฯ

ชัยนาทสิงหบรุีกาญจนบุรี

จากทุกหนวยงานที่เก่ียวของ

ตราดสระแกวฉะเชิงเทรา

นครนายก

ระยองชลบรุี

จันทบุรี

ปราจีนบุรี

ภาคตะวันออก (8)

Page 1

มาตรการบรรเทาภยัแลง11. . การปฏิบัติการเตรียมรับสถานการณกอนเขาสูฤดูแลงการปฏิบัติการเตรียมรับสถานการณกอนเขาสูฤดูแลง

ทน., ทบ., อส., ปภ., กฟผ.,ชป., บก.สส

1,1661,1669. แจกจายน้าํ (คัน)

ทบ.4,6125,4128. เจาะบอบาดาล (บอ)

ชป. ,บก.สส1,2321,23210. เครื่องสูบน้ําพรอมใชการ

ทบ.กําลังดําเนินการ

2,1257. ซอมเครื่องสูบน้ํา (เครื่อง)

ทน.,ทบ.15155. ผลิตน้ําประปาเคลื่อนท่ี (ชดุ)

ทบ.กําลังดําเนินการ

4,6996. เปาลางบอบาดาล (บอ)

ทน.8311,7144. บอน้ําตื้น (บอ)

อส., ทน.18,07618,0763. ฝายตนน้าํ (แหง)

ทน.151052. ฟนฟูแหลงน้าํ (แหง)

ทน., ทบ.2,5494,8621.ซอม/สรางระบบประปา (ระบบ)

ผูรับผิดชอบทําเสร็จแลวเปาหมายกิจกรรม

Page 5: การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. · ศูนย เมขลา ศูนย ป องกันวิกฤติน้ํา

Page 2Page 2

สรุปจุดจายน้ําบาดาลเพื่อการอุปโภค 2,000 จุดสรุปจังหวัดท่ีประสบและมีความเสี่ยงสูงตอการเกิดภัยแลง 47 จังหวัด มีจุดจายน้ํา 1,405 จุดจังหวัดท่ีคาดวาจะเสี่ยงตอภัยแลง 18 จังหวัดมีจุดจายน้ํา 437 จุด

ภาคอีสาน (942)

ภาคเหนือ (341)

ภาคใต (132)

ภาคกลาง (427)

ระนอง (6)

ตรัง (9)

นครศรีธรรมราช(14)

ชุมพร (9)

พังงา (14)สุราษฎรธานี (17)

สงขลา (29)

ปตตานี (0)

นราธิวาส (0)

สตูล (21)

กระบี่ (13)

แมฮองสอน (12)

อุทัยธานี (28)

นาน (16)ลําปาง (20)แพร (18)ลําพูน (21)ตาก (17)พิจิตร (26)เพชรบรูณ (19)

มหาสารคาม (55)

อุบลราชธานี (55)

ชัยภูมิ (77)

เลย (51)

นครราชสีมา (90)

หนองคาย (33)ขอนแกน (71)บุรรีัมย (66)กาฬสินธุ (48)ศรีสะเกษ (50)สกลนคร (43)อํานาจเจริญ (27)นครพนม (41)หนองบัวลําพู (41)

ยโสธร (20)อุดรธานี (55)มุกดาหาร (28)

รอยเอ็ด (39)สุรินทร (52)

อุตรดิตถ (21)สุโขทัย (27)

กําแพงเพชร (17)

เชียงใหม (18)เชียงราย (15)

พะเยา (15)นครสวรรค(29)พษิณุโลก (22)

นครนายก (17)

สระบุรี (27)

สุพรรณบุร ี(22)

ตราด (24)สระแกว (38)

ฉะเชิงเทรา (35)

อางทอง (0)จันทบุรี (28)

ปราจีนบุรี (25)

ประจวบฯ (18)ราชบรุี (52)

เพชรบรุี (27)

สมุทรปราการ (8)ชลบรุี (25)

ระยอง (34)

ชัยนาท (15)สิงหบรุี (0)กาญจนบุรี (32)

รวมจุดจายน้ําบาดาลเพื่อการอุปโภค 1,842 จุด

Page 3Page 3

สรุปจุดจายน้ําบาดาลเพื่อการบริโภค 1,000 จุดสรุปจังหวัดท่ีประสบและมีความเสี่ยงสูงตอการเกิดภัยแลง 47 จังหวัด มีจุดจายน้ํา 692 จุดจังหวัดท่ีคาดวาจะเสี่ยงตอภัยแลง 18 จังหวัดมีจุดจายน้ํา 242 จุด

ภาคอีสาน (406)

ภาคเหนือ (253)

ภาคใต (128)

ภาคกลาง (147)

ระนอง (3)

ตรัง (12)

นครศรีธรรมราช(28)

ชุมพร (12)

พังงา (5)สุราษฎรธานี (22)

สงขลา (13)

ปตตานี (11)

นราธิวาส (9)

สตูล (5)

กระบี่ (8)

แมฮองสอน (9)

อุทัยธานี (9)

นาน (18)ลําปาง (12)แพร (10)ลําพูน (6)ตาก (9)พิจิตร (14)เพชรบรูณ (22)

มหาสารคาม (15)

อุบลราชธานี (35)

ชัยภูมิ (20)

เลย (15)

นครราชสีมา (35)

หนองคาย (18)ขอนแกน (39)บุรรีัมย (36)กาฬสินธุ (13)ศรีสะเกษ (32)สกลนคร (20)อํานาจเจริญ (7)นครพนม (13)หนองบัวลําพู (10)

ยโสธร (11)อุดรธานี (23)มุกดาหาร (7)

รอยเอ็ด (31)สุรินทร (26)

อุตรดิตถ (10)สุโขทัย (12)

กําแพงเพชร (16)

เชียงใหม (30)เชียงราย (29)

พะเยา (11)นครสวรรค(20)พษิณุโลก (16)

นครนายก (7)

สระบุรี (11)

สุพรรณบุร ี(13)

ตราด (7)สระแกว (8)

ฉะเชิงเทรา (10)

อางทอง (5)จันทบุรี (7)

ปราจีนบุรี (9)

ประจวบฯ (7)ราชบรุี (11)

เพชรบรุี (7)

สมุทรปราการ (0)ชลบรุี (8)

ระยอง (10)

ชัยนาท (7)สิงหบรุี (4)กาญจนบุรี (16)

รวมจุดจายน้ําบาดาลเพื่อการบริโภค 934 จุด

Page 6: การบริหารจัดการภ ัยแล ง ป 2550 · 2017. 10. 16. · ศูนย เมขลา ศูนย ป องกันวิกฤติน้ํา

Page 4

จุดจายน้ําบาดาลทั่วประเทศ

จุดจายน้ําบาดาลเพื่อการอุปโภค 2,000 จุด จุดจายน้ําบาดาลเพื่อการบริโภค 1,000 จุด

Page 5

จุดจายน้ําบาดาลทั่วประเทศ (ตอ)

กอสรางจุดจายน้ําบาดาลเพิ่มเติม 400 จุด