ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต...

88
ภัยสารเคมีกับชุมชน

Upload: others

Post on 17-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ภัยสารเคมีกับชุมชน

Page 2: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

บุคลากรไมมีความรูจะทําอยางไร?????

Page 3: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ทําอยางไรจึงจะพนภัยจากสารเคมีอันตราย?

• เปนคําถามที่อยูในใจประชาชนคนไทยทุกคน เนื่องจากในปจจุบัน

ไดเกิดอุบัติเหตุทางดานสารเคมีรุนแรงขึ้นหลายคร้ัง ผลกระทบที่

เกิดขึ้นแตละคร้ังมิได จํากัดอยูเฉพาะในโรงงานเทานั้น แตยังได

สรางความเดือดรอนตอประชาชนทั่วไปดวย อาทิ การร่ัวไหลของ

สารเคมีขณะขนสง การระเบิด และการเกิดเหตุเพลิงไหมของ

สารเคมีในโกดัง เปนตน

Page 4: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การไดรับอันตรายของประชาชน

• มีสาเหตุสําคญัเนื่องจากความรูเทาไมถึงการณ โดยการเขาไป

สัมผัสหรือ อยูใกลบริเวณที่เกิดอุบตัิเหตุทางดานสารเคมี โดยไม

ทราบวามีสารเคมีแพรกระจายอยูหรือเม่ืออยูในพ้ืนที่ เกิดเหตุไมรู

วาควรปฏิบัตตินเองอยางไรจึงจะเปนการแกไขหรือปองกันอันตราย

ใหแกตนเองไดอยางเหมาะสม

Page 5: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สิ่งที่ชุมชนประชาชนควรรูและปฏิบัติ

• สารเคมีอันตราย...คืออะไร

• ทราบวาเปนสารอันตรายไดอยางไร

• สามารถเขาสูรางกายไดอยางไร

• มีผลตอรางกายอยางไร

• เกิดอาการอยางไรเมื่อไดรับสารอันตราย

• ปองกันตนเองจากสารเคมีอันตราย...ไดอยางไร

• เมื่อพบเห็นอุบัติภัยสารเคมี...ตองทําอยางไร

• จะชวยเหลือผูปวย...ไดอยางไร

Page 6: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 7: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 8: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

• แมวาฝายรัฐบาลและผูเช่ียวชาญกรมควบคุมมลพิษจะยืนยัน

พรอมเพรียงกันวา สารพิษ "โทลูอีน" ที่ระเบิดในโรงงานของ บ.บี

เอสที อิลาสโตเมอรส ภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เม่ือวัน

5 พฤษภาคมที่ผานมาวา เปนสารไมกอมะเร็งและไมทําอันตราย

ตอสิ่งแวดลอมนั้น แตตัวเลขผูเสียชีวิตในที่เกิดเหตุทันที 12 คน

และบาดเจ็บกวา 140 คนนั้น ยังคงสรางความเคลือบแคลงสงสัย

ใหเครือขายเอ็นจีโอวาเกิดจากพิษราย "โทลูอีน" หรือไม !?!

Page 9: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สถิติอุบัติภัย "มาบตาพุด"

• ขอมูลจากเว็บไซตกรมควบคุมมลพิษ( www.pcd.go.th) ระบุถึงสถิติอุบัติภัยจากสารเคมีและวตัถุอันตรายในพ้ืนที่ จ.

ระยองตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2542-ปจจุบัน มีจํานวนทั้งหมด 25

คร้ัง เปนการลักลอบทิ้งกากสารเคมี 6 คร้ัง อุบัติภัยจากการขนสง

สารเคมี 9 คร้ัง อุบัติภัยที่เกิดขึ้นในโรงงาน 7 คร้ัง อุบัติภัยในโกดัง

สารเคมี 0 คร้ัง และอุบัติภัยที่เกิดจากสถานที่อ่ืนๆ 3 คร้ัง มี

จํานวนผูเสียชีวิต 3 ราย บาดเจ็บ 187 ราย และมีทรัพยสิน

เสียหายประมาณ 100 ลานบาท

Page 10: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สารเคมีอันตราย...คืออะไร • สารเคมอีันตราย วัตถุอันตราย สารอันตราย หมายถึง ธาตุ หรือสาร ประกอบ ท่ีมี

คุณสมบตัเิปนพิษหรือเปนอันตรายตอมนุษย สตัว พืช และทําใหทรัพยสินและ

สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม สามารถจําแนกได 9 ประเภท ดังน้ี

• ประเภทท่ี 1 วัตถุระเบิด

ประเภทท่ี 2 กาซ

ประเภทท่ี 3 ของเหลวไวไฟ

ประเภทท่ี 4 ของแข็งไวไฟ

ประเภทท่ี 5 วัตถุออกซิไดสและออรแกนิกเปอรออกไซค

ประเภทท่ี 6 วัตถุมีพิษและวัตถุตดิเชือ้

ประเภทท่ี 7 วัตถุกัมมันตรังสี

ประเภทท่ี 8 วัตถุกัดกรอน

ประเภทท่ี 9 วัตถุอื่นๆ ท่ีเปนอันตราย

Page 11: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การบงช้ีวัสดุอันตรายจากลักษณะถังบรรจุสารเคมี

Page 12: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ถาม ทราบวาเปนสารอันตรายไดอยางไร?

ตอบ การระบุชนิดของสารเคมีที่เปนไปได

- ฉลาก(Label) หรือ Placards

- เอกสารการขนสง(Transportation sheet)

- MSDS

- ศูนยพิษวิทยา , กรมควบคุมมลพิษ หรือ HAZMAT team

Page 13: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 14: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 15: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 16: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 17: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 18: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids)

• รูปทรง : ดานทายเปนรูปทรงวงรี ดานขางเปนทรงกระบอก

• หัว-ทายเรยีบหรือโคงมนเล็กนอย มีชองทางเดินและ

• ชองเติมสารดานบนถัง

• ใชบรรจุ : น้ํามันเชื้อเพลิง สารทําละลายไวไฟบางชนิด

Page 19: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

กาซเหลวอัดความดัน (Liquefied Gases)

• รูปทรง : ดานทายเปนรูปทรงคร่ึงวงกลมหรือกลม

• ดานขางเปนรูปทรงกระบอก หัว-ทายโคงมน

• ใชบรรจุ : กาซไวไฟ LPG และกาซพิษบางชนิด เชน

• คลอรีน แอมโมเนีย

Page 20: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

กาซอัดความดัน (Compressed Gases)

• รูปทรง : เปนถังรูปทรงกระบอกเรียบยาวจํานวนมาก

• ยึดติดถาวรอยูบนรถ

• ใชบรรจุ : กาซอัดความดันที่ไมใชของเหลว เชน ฮีเลียม

• ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และ ออกซิเจน

Page 21: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

กาซเหลวอุณหภูมิต่ํามาก (Cryogenic Gases)

• รูปทรง : เปนถังบรรจุทรงกระบอกขนาดใหญ หัว-ทายโคงมน

• บริเวณสวนทายของถัง มีตูควบคุมระบบและทอระบาย

• ความดัน

• ใชบรรจุ : กาซเฉื่อย ไนโตรเจนเหลว ออกซิเจนเหลว อารกอน

Page 22: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สารกัดกรอน (Corrosive Substances)

• รูปทรง : ดานทายเปนรูปทรงกลม ดานขางเปนรูปทรงกระบอก

• หัว-ทายโคงมนเล็กนอย ตัวถังทําดวยสแตนเลส

• มีวงแหวนรัดรอบ

• ใชบรรจุ : กรด-ดางแก เชน กรดเกลือ กรดกํามะถัน

• โซเดียมไฮดรอดไซด

Page 23: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ของเหลวความดันต่ํา (Low Pressure chemical)

• รูปทรง : ดานทายเปนรูปทรงกลม ดานขางเปนรูปทรงกระบอก

• หัว-ทายโคงมนเล็กนอย ตัวถังทําดวยเหล็ก

• ใชบรรจุ : ของเหลวไวไฟ กรดอะคริลิก ถานหินเหลว

• สารพิษ

• คูมือ

• การดําเนินการเบื้องตน

• เมื่อพบเหตุฉุกเฉินสารเคม ี

• และวัตถุอันตราย

Page 24: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ของแข็ง (Dry bulk Cargo)

• รูปทรง : ดานทายเปนรูปทรงเกือกมา มีชองทางเดินบนหลังคา

• ภายในถังมีการแบงชองบรรจุสารชัดเจน

• ใชบรรจุ : ซีเมนต ของแข็งกัดกรอน แคลเซียมคารไบด เม็ด

พลาสติก

• สารออกซิไดเซอร

Page 25: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ของเสีย (Waste)

• รูปทรง : ดานทายเปนรูปทรงกลมและมีฝาเปดดานทายขนาด

ใหญ

• ดานขางเปนรูปทรงกระบอก หัว-ทายโคงมนเล็กนอย

• ใชบรรจุ : ของเสียจากการร่ัวไหลของสารเคมีหรือน้ํามัน อาจใช

ขนสง

• นํ้ามันดิบหรือนํ้าจากกระบวนการแยกนํ้ามนั

• จากแทนขุดเจาะ

Page 26: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สารภายในคือ....

(คาดเดาหรือเดาสุม)

Page 27: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สามารถเขาสูรางกายไดอยางไร?

• 1. การหายใจ

• 2. ดูดซึมผานผิวหนัง (หรือตา)

• 3. การกินเขาไป

• 4. การฉีดเขาไป

Page 28: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

มีผลตอรางกายอยางไร?

• ระบบรางกายที่ไดรับผลกระทบ

• โดยธรรมชาติของรางกายมนุษย เม่ือไดรับสารพิษเขาสูรางกาย

จะมีขบวนการทําลายพิษใหนอยลงและพยายามขับสารนั้นออก

ทางเหง่ือ น้ํานม ปสสาวะ อุจจาระ น้ําลาย ลมหายใจ แตหาก

ไดรับสารพิษมากเกินไปจะเกิดการสะสมและเกิดผลเสียหายตอ

ระบบตาง ๆ ของรางกายทั้งในลักษณะเฉียบพลันหรือเร้ือรัง

Page 29: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

• 1. ผลตอระบบทางเดินหาย ระบบทางเดินหายใจซึ่งเปนทางผานของกาซไอ

ระเหย ฝุนละอองของสารพิษ ทําใหเกิดความระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ

ในสวนตน ทําลายเน้ือเย่ือปอด ทําลายความยืดหยุนปอด เกิดการแพสาร หรือเกิด

มะเร็งหากสัมผัสสารอยางตอเน่ืองซ้ํา ๆ เปนเวลานาน เชน มะเร็งปอด มะเร็งโพรง

จมูก เปนตน

• 2. ผลตอผิวหนัง เกิดการระคายเคอืงข้ันตน เกิดการแพแสง ทําลายผิวหนังอยาง

ถาวร เกิดมะเร็งผิวหนัง

• 3. ผลตอตา เกิดอาการระคายเคือง แสบตา เย่ือยุตาอักเสบ ตาพรามัว นํ้าตาไหล

และอาจตาบอดไดถารับสารในปริมาณมาก เชน เมธานอล

• 4. ผลตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหขาดออกซิเจนในเลอืด มีผลกระทบ

โดยตรงตอระบบประสาท เชน ตาพรามัว กระสับกระสาย กลามเน้ือสั่น ชัก ขาด

ความจํากลามเน้ือทํางานไมประสานกัน และการรับความรูสึกไมปรกต ิ

Page 30: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

• 5. ผลตออวัยวะภายใน

• ตับ : แบบเฉียบพลัน (เซลลตาย) แบบเรื้อรัง (ตับแข็ง มะเร็ง) สารที่เปนพิษตอตับ เชน คารบอนเตตระคลอไรด คลอโรฟอรม

• ไต :สารที่เปนพิษตอไต เชน โลหะหนัก คารบอนไดซัลไฟด

• เลือด : กระทบตอระบบการการสรางเม็ดเลือด (ไขกระดูก) องคประกอบของเลือด (เกล็ดเลือด เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว) หรือความสามารถในการขนสงออกซิเจนของเซลลเม็ดเลือด สารที่เปนพิษตอเลือด เชน เบนซิน กัมมันตรังสี

• มาม : สารที่เปนพิษตอมาม เชน คลอโรฟน ไนโตรเบนซิน ระบบสืบพันธ ุ: เปนหมัน อสุจิผิดปกติ มีอสุจนิอย ระบบฮอรโมนทํางานผดิปกติ สารที่เปนพิษตอระบบสืบพันธ เชน โลหะหนักไดออกซิน

Page 31: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

เกิดอาการอยางไร?..เม่ือไดรับสารอันตราย

• แบบเฉียบพลัน : เปนกาารสัมผัสท่ีเกิดข้ึนครั้งเดียวในระยะเวลาท่ีคอนขางส้ัน เชน หน่ึงนาทีถึงสองสามวัน อาการท่ีเกิดข้ึน ไดแก เกิดผลผ่ืนคันระคายเคือง ผิวหนังไหม อักเสบ ขาดอากาศ หนามืด วิงเวียน

• แบบเร้ือรัง : เปนการสัมผัสสารท่ีระดับคอนขางตํ่าในระยะเวลานานต้ังแตเปนเดือนถึงเปนป อาการท่ีเกิดข้ึน ไดแก การเกิดความพิการในทารก (Teratogenic) การเกิดความผิดปกติทางสายพันธในตัวออน หรือการผาเหลา (Uutagenic) การผิดปกติทางพันธุกรรม เชน การเปล่ียนแปลงของ DNA การเกิดมะเร็ง (Carcinogenic)

Page 32: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 33: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 34: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ปองกันตนเองจากสารเคมีอันตราย..ไดอยางไร

• ไมสัมผัสภาชนะบรรจุท่ีชํารุดหรือสารท่ีรั่วไหล

• อยาเขาใกลแนวกั้นเขตอันตราย

• สังเกตจากแถบเหลือง-ดํา หรือแถบขาว-แดง

• อยูเหนือลม หรือท่ีสูง หรือออกจากบริเวณท่ีเกิดเหตุทันที หากเห็นวาไม

ปลอดภัย

Page 35: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 36: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ประสบอุบัติภัยสารเคมี..ตองทําอยางไร?

• .พยายามจําแนกวาสารเคมีดังกลาวเปนสารเคมีชนิดไหน โดยพิจารณา

จากฉลากหรือแผนปายท่ีติดอยูขางฝาภาชนะ เพ่ือจะสามารถ

ระมัดระวังตัวเองจากสารเคมีอันตรายไดอยางเหมาะสม

• อยาพยายามกระทําในส่ิงท่ีไมรูจริง เพราะอาจกอใหเกิดผลเสียหาย

อยางรุนแรงโดยมิไดคาดคิด เชน การลางภาชนะบรรจุหรือบริเวณท่ีมี

กรดหกรดอาจทําใหเกิดปฏิกริิยารุนแรงได

Page 37: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 38: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

• 3. โทรศัพทขอความชวยเหลือจากหนวยงานทีร่ับผิดชอบ เกิดเหตุในกรุงเทพมหานคร โทร. 199 หรือศูนยกรุงเทพมหานคร โทร. 1555 หรือกรมควบคุมมลพิษ โทร. 1650 เกิดเหตุในตางจังหวัด โทร. 1999 หรือกรมควบคุมมลพิษ โทร. 1650 เกิดเหตุบนทางหลวง โทร. 1193 เกิดเหตุบนทางดวน โทร. 1543 เกิดเหตุบนทองถนน แจงศูนยปลอดภัยคมนาคม โทร. 0 2280 8000 เกิดเหตุเก่ียวกับวัตถุกัมมันตรังสี แจงสํานักงานปรมาณูเพ่ือสันติในเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230-4 ตอ 552, 553, 139 นอกเวลาราชการ โทร. 0 2579 5230 -4 หรือ 0 2562 0123 แจงศูนยรับแจงเหตุและประสานงานดานการบรรเทาสาธารณภัย โทร. 0 2241 7450-9 ศูนยอํานวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โทร. 1784 ศูนยนเรนทร โทร. 1669

Page 39: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

• 4. ขอมูลท่ีทานควรแจง เมื่อพบเห็นเหตุการณ สถานท่ีเกิดเหตุ

• ลักษณะเหตุการณท่ีเกิดข้ึน

• ชนิด/ประเภทของสารเคมี(ถาทราบ)

• จํานวน/ปริมาณของสารเคมีท่ีหกหรือรั่วไหล (ถาทราบ)

• มีแหลงนํ้าหรือชุมชนอยูใกลเคียงบริเวณท่ีเกิดเหตุหรือไม

Page 40: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

จะชวยเหลือผูปวย..ไดอยางไร

• เคล่ือนยายผูปวยไปอยูในท่ีอากาศบริสุทธิ์

• ถอดเส้ือท่ีเปอนสารเคมีออก และแยกใสถุงหรือภาชนะตางหาก

• หากสัมผัสสารใหลางดวยนํ้ามากๆ อยางนอย 15 นาที

• ไปพบแพทย

Page 41: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 42: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

แผนยุทธศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอมของประเทศไทย (แผน 5

ป พ.ศ. 2550 – 2554) โดยแบงเปน 6 ดาน ไดแก

• 1) Air Quality (2) Water Supply, Hygiene and Sanitation (3) Solid and Hazardous Waste (4) Toxic Chemicals and Hazardous Substances (5) Climate Change, Ozone Depletion and Ecosystem Changes (6) Contingency Planning, Preparedness and Response in Environmental Health Emergencies

Page 43: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ตัวอยางที่เลาสูกันฟง

• กรณีคลิต้ี

• กรณีแมตาว

• กรณีสระบรุ ี

• กรณบางแสน

• กรณีระยอง

• กลิ่นฉุนจากสถานการณน้ํามันร่ัวของบริษัท BP

Page 44: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

วันนี้สิ่งท่ีคาดหวังจากชุมชน?

Page 45: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

บทเรียนจากอุบัติภัยสารเคมี

(Lessons Learned From Chemical Mass Casualty Incidents)

• เหตุการณท่ีเกิดอาจไมมีผูปวยมารกัษาเลยก็ไดแตกอเกิดปญหาดานอ่ืนๆเชน

ทรัพยสินและส่ิงแวดลอม

• เหตุการณท่ีเกิดอาจมีผูเสียชีวิตในทีเกิดเหตุมากกวาท่ีมารพ.

• เหตุการณท่ีเกิดอาจมีแตเพียงผูไดรับผลกระทบจํานวนมากท่ีมิไดเปนผลตอ

สุขภาพโดยตรง

• เหตุการณืท่ีเกิดมกัตองใชสถานพยาบาลมากกวาหน่ึงแหงในการดูแลผูปวย

• แผนของรพ.ในการตอบโตมักถกูเขียนไวและใชฝกซอมในเวลาส้ันๆ ซึ่ง

สถานการณจรงิมกัใชเวลามากกวาซึ่งแผนมักไมไดรบัการทดสอบระดับดังกลาว

Page 46: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

บทเรียนจากอุบัติภัยสารเคมี

(Lessons Learned From Chemical Mass Casualty Incidents)

• ผูประสบภัยที่ชวยเหลือตนเองไดมักมาถึงโรงพยาบาลกอน

• ผูปวยมักมาถึงโดยขาดการประสานงาน

• โรงพยาบาลที่อยูใกลที่สุดมักทวมทน

• เวชบริการสําหรับผูไมไดกระทบโดยตรง มักเปนปญหาเสริม

• การชวยผูประสบภัยโดยผูที่ขาดทักษะมักกอการบาดเจ็บ

เพ่ิมขึ้นการสงตอดวยระบบเวชบริการฉุกเฉินเพียง 10%-15%

Page 47: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

12/26/2014 47

Page 48: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สาเหตุสวนใหญของการเสียชีวิต

• Trauma (65%)

• Thermal burns (16%)

• Respiratory irritation with airway obstruction &/or respiratory failure (10%)

• Chemical burns (6%)

• Other causes (3%)

Hazardous Substances Emergency Events Surveillance (HSEES)

Page 49: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

PPE

Page 50: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Level A Protection

ใหการปองกันในระดับสูงสุด ท้ัง

ดานการหายใจ การสัมผัส กับ

ผิวหนัง ดวงตา และ สวนตางๆ

ของรางกาย ปองกันสารเคมีท้ัง

ในรูป ของแข็ง ของเหลว และ

กาซ

Page 51: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Level B Protection

ใชปองกันระบบทางเดินหายใจในระดับสูงสุดแตระดับการปองกันจะรองลงมา

สําหรับผิวหนัง และ ดวงตา โดยมากจะใช

ปองกันของเหลวหรือวัตถุกระเด็น

Page 52: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Level C Protection

ใชเมื่อรูวาสารเคมีเปนอันตรายตอทางเดินหายใจ

มีการวัดความเขมขนของสารเคมี และมีขอบงชี้

ในการใช air-purifying respirators โดยอันตราย

จากการสัมผัสทางผิวหนังคอนขางนอย และ

ตลอดการปฏิบัติงานภายใตชุดดังกลาว จะตองมี

การตรวจสภาพอากาศเปนระยะ

Page 53: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Level D Protection

คือชุดใสทํางานทั่วไป ไม

ควรใสในที่ ซ่ึงมีส่ิงคุกคาม

ต อ ผิ ว ห นั ง ห รือ ท า ง เ ดิน

หายใจ

Page 54: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Selecting the Correct Glove

Page 55: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 56: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

12/26/2014 copyright 2006 free template from

www.brainybetty.com 56

Page 57: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 58: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Evatox™ NBC hoods for civilians Baby Safe Pro Infant Protective Wrap

Page 59: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การชําระการปนเปอน

(Decontamination)

• ผูประสบภัยทุกรายควรไดรับ decontamination • สามารถมั่นใจไดวาไมมีความเสี่ยงตอการเกิด secondary contamination

Page 60: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

จุดประสงคหลักของการกําจัดสิ่งปนเปอน (Decontamination)

1. ลดการบาดเจ็บ ,ลดการดูดซึมของวัตถุ

อันตรายที่จะเขาสูรางกาย

2. ลดการแพรกระจายสูชุมชนและสิ่งแวดลอม

3. ลดการปนเปอนของเจาหนาที ่(responder)

Page 61: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

ลักษณะของสารเคมีที่เกิดการปนเปอนทุติยภูมิ

• สารท่ีติดไดงายไปตามเส้ือผา ผิวหนัง เสนผม

– ฝุน

– สารกัมมันตรังสี

– สารท่ีเปนนํ้ามัน หรือตัวทําละลาย

– สารชีวภาพ

• สารท่ีมีการเกิดพิษไดมาก เชน organophosphate

• สารเคมีท่ีกินหรืออาเจียนแลวทําใหเกิด gas ท่ีเปนพิษ เชน phosphides

Page 62: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การปนเปอนสารเคมี

• การปนเปอนสารเคมี ปฐมภูมิ (primary contamination): การ

สัมผัสตอสารเคมีโดยตอสารนั้นของผูถูกปนเปอน

• การปนเปอนสารเคมี ทุติยภูมิ (secondary contamination): การ

ปนเปอนของบคุคลหรือสิ่งของจากผูถกูปนเปอน

Page 63: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การเลือกบริเวณทําการลดการปนเปอนสารเคมี Decontamination Site Selection

• Outside! นอกอาคารหรือนอกหองฉุกเฉิน • Up wind เหนือทิศทางลม • Water supply/collection มีแหลงน้ําและท่ีกักเก็บ

Page 64: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

• ลางดวยน้ําสะอาดที่ไหลอยางตอเนื่องอยางนอย 5 นาที

• ถาสารปนเปอนมีลักษณะเหนียวหรือเปนน้ํามันใชสบูและ

แปรงออนชวย

• ถาสารปนเปอนมีลักษณะเปนดางใชสบูและแปรงออน

ชวยและลางดวยน้าํสะอาดที่ไหลอยางตอเนื่องอยางนอย

15 นาที

Decontamination

Page 65: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การประเมินสภาพผูประสบภัย Victim Triage for Decontamination

High Priority : • ผูประสบภัยท่ีอยูใกลจุดเกิดการรั่วไหลท่ีสุด

• ผูประสบภัยท่ีมีหลักฐานการปนเปอนเชนท่ีบริเวณเส้ือผาและผิวหนัง

• ผูประสบภัยท่ีมีอาการรุนแรง

Medium Priority : • ผูประสบภัยท่ีอยูไมใกลจุดเกิดการรั่วไหล

• ผูประสบภัยท่ีมีอาการไมรุนแรง

• ผูประสบภัยท่ีมีหลักฐานการปนเปอนท่ีบริเวณเส้ือผาและผิวหนังเพียงเล็กนอย

Low Priority : • ผูประสบภัยท่ีอยูไกลจุดเกิดการรั่วไหล

• ผูประสบภัยท่ีไมมีหลักฐานการปนเปอนท่ีบริเวณเส้ือผาและผิวหนัง

• ผูประสบภัยท่ีไมมีอาการ

Page 66: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Urgency for Medical Care

Low risk for secondary contamination Critically ill Focus on Treatment

High risk for secondary contamination Critically ill Simultaneous decontamination and treatment

Low risk for secondary contamination Mild or no illness Decontamination not needed

High risk for secondary contamination Mild or no illness Decontamination before treatment

Triage Urgency for decontamination

Page 67: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Decontamination Station (2 lines )

Page 68: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Decontamination Station 3 lines

Page 69: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Suggested Cut-Out Procedures (Non-ambulatory Patient’s Clothing)

Page 70: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 71: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

การจําแนกผูปวย

• ผูท่ีบาดเจ็บนอยและไมมีการปนเปอนแลว ไปโรงพยาบาลไกลๆ

• ผูท่ีบาดเจ็บมากไปโรงพยาบาลใกลท่ีเกิดเหตุมากกวา

• ผูถูกปนเปอนทุกคนตองไดรับการชําระปนเปอนกอนการเคล่ือนยาย

Page 72: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

สารในอุดมคติที่ใชการขจัด หรือทําลายสภาพพิษ

Ideal Decontaminants

• ขจัด หรือทําลายสภาพพิษไดทุกสาร (Neutralize all Agents)

• ปลอดภัย (Safe)

• ใชไดสะดวก (Easy to use)

• สามารถหาได (Available)

• ออกฤทธิ์เร็ว (Rapid acting)

• ไมเปนพิษ (No toxic end products)

• สามารถจายได (Affordable)

• ไมระคายเคือง (No irritability)

Page 73: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Ambulatory & Litter Wet Decontamination

• ใชมือควัก-ปาดออก, ตัดเส้ือผาออก (Clothing removal)

• ลางตา/แผล เปนลําดับแรก

• ลางจากบนลงลาง หัวจรดเทา

• ผูปวยท่ีมีประวัติการรับสัมผัสสารเคมีทาง

ตาควรไดรับการปฐมพยาบาลโดยการลาง

ตาดวยnormal saline หรือ น้ํา

สะอาดขางละอยางนอย 10-15นาที ควร

ไดรับการตรวจดวย pH paper จน pH เปนกลาง

Page 74: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Ambulatory & Litter Wet Decontamination

• ลางตัวดวยน้ําสะอาดท่ีไหลอยางตอเนื่องอยางนอย

5 นาที ในกรณผีูปวยไมสามารถชวยเหลือตัวเอง

ไดใชทีม 2-4คนในการลางพิษ

• ถาสารปนเปอนมีลักษณะเหนียวหรือเปนน้ํามันใช

สบูและแปรงออนชวย

• ถาสารปนเปอนมีลักษณะเปนดางใชสบูและแปรง

ออนชวยและลางดวยน้ําสะอาดท่ีไหลอยาง

ตอเนื่องงยางนอย 15 นาที

Page 75: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 76: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 77: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต
Page 78: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Litter Wet Decontamination

• ผูประสบภัยชวยเหลือตนเองไมไดมอีาการ

รุนแรง และ สัญญานชีพไมมั่นคง (Non-

ambulatory patients displaying

serious signs and symptoms)

• ใหทําการลางพิษโดยเร็ว (Rapid

decontamination)

Page 79: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Nopparat capacity

• 12 Non ambuatory victims per hour • 48 Ambulatory victims per hour

• Ability to CPR 6 Pts. at Red Zone • Information services (MSDS) • Chemical (antidote) stockpile in term

of Network ( local, regional ) • Level C and PPE • Health surveillance for Decon team

and Hazmat team

Page 80: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Photo credit: Mike Vance, MD

Can of mace went off in pants pocket & pants not removed in timely manner.

Page 81: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Photo credit: Mike Vance, MD

What can happen if genitals

are forgotten during

decontamination.

Page 82: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Photo credit: Mike Vance, MD

What can happen if skin folds are forgotten during decon.

Page 83: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Photo credit: Mike Vance, MD

Close-up of what can happen if skin folds are forgotten during decon.

Page 84: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Photo credit: Mike Vance, MD

What can happen if feet are forgotten during decon.

Page 85: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

lสารเคมีตัวใดมีความเปนอันตรายตอสุขภาพสูงสุด?

A B C

D E F

Page 86: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Respirator ชนิดใดเหมาะสมกับกรณีอุบัติภัยสารเคมี?

A B C

Page 87: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

กรณีสัมผัสกับสารตัวทําละลายโทลูอีนควรใชถุงมือชนิดใด?

A B C

Page 88: ภัยสารเคมีกับชุมชน• ข อม ลจากเว บไซต กรมควบค มมลพ ษ( ) ระบ ถ งสถ ต อ บ ต

Wind direction