คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5)...

55
คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ สาหรับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คู่มือนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทาตัวเล่มวิทยานิพนธ์ ให้กับนักศึกษาปริญญาโท ใหลักสูตร - วิทยาศาตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ - วิทยาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ Thesis ( ป.โท แผน ก ) คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ สาหรับบัณฑิตศึกษา (วิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง) คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

Upload: others

Post on 17-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ ส าหรับบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยสีารสนเทศ มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

คู่มือนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดท าตัวเล่มวิทยานิพนธ์ ให้กับนักศึกษาปริญญาโท ใหลักสูตร

- วิทยาศาตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ

- วิทยาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ

Thesis

( ป.โท แผน ก )

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ ์ ส าหรับบัณฑติศึกษา (วิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง) คณะวิทยาการและเทคโนโลยสีารสนเทศ มหาวิทยาลยัเทคโนโลยมีหานคร

Page 2: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | I

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ค าน า

คู่มือนี้จัดท าขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดท าตัวเล่มวิทยานิพนธ์ ให้กับนักศึกษาปริญญาโท

ของทางคณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เพ่ือที่ผู้จัดท าจะ

ได้ทราบถึงวิธีการเขียนเนื้อหาส่วนประกอบและหัวข้อต่างๆในการจัดท า ซึ่งเป็นแนวทางมาตรฐาน

ของรูปแบบเอกสารที่ท าให้เกิดคุณภาพและเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ท าการศึกษาหรือการน าไปพัฒนาต่อ

ยอดทางความรู้และทางความคิด ทั้งนี้ภายในคู่มือยังบอกถึงเทคนิควิธีการจัดการกับเอกสารที่ใช้

ส าหรับจัดท าวิทยานิพนธ์ พร้อมตัวอย่างรูปแบบ

Page 3: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | II

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

สารบัญ หน้า

ค าน า ......................................................................................................................................................... I

สารบัญ .................................................................................................................................................... II

1. เกี่ยวกับผู้จัดท าวิทยานิพนธ์ที่ควรทราบ ....................................................................................... 1

1.1 ความส าคัญของการท าวิทยานิพนธ์ ........................................................................................ 1

1.2 จรรยาบรรณของการท าวิทยานิพนธ์ .................................................................................... 1

2.3 ประโยชนย์ของผู้ที่มาศึกษา .................................................................................................... 1

3.4 คุณลักษณะของวทิยานิพนธ์ที่ดี ............................................................................................. 1

2. ข้อก าหนดในการท าวิทยานิพนธ์ .................................................................................................... 2

2.1 หลักเกณฑ์ การลงทะเบียน .................................................................................................... 2

2.2 หลักเกณฑ์ การจัดหาทีป่รึกษา ............................................................................................... 2

2.3 หลักเกณฑ์ การน าเสนอหัวข้อ ............................................................................................... 2

2.4 ขั้นตอนการด าเนินงานในการท าวิทยานิพนธ์ ...................................................................... 2

3. ส่วนประกอบเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ ............................................................................................ 5

3.1 ส่วนน า ......................................................................................................................................... 5

3.1.1 ปกนอก ............................................................................................................................... 5

3.1.2 ปกใน ................................................................................................................................. 7

3.1.3 ใบรับรองผลสอบวิทยานิพนธ์ ......................................................................................... 9

3.1.3 บทคัดย่อ .......................................................................................................................... 10

3.1.4 กิตติกรรมประกาศ ......................................................................................................... 13

3.1.5 สารบัญ ............................................................................................................................. 14

3.1.6 สารบัญรูป ........................................................................................................................ 15

3.1.7 สารบัญตาราง ................................................................................................................ 16

3.2 ส่วนเนื้อหา .............................................................................................................................. 17

3.2.1 บทที่ 1 บทน า .................................................................................................................. 17

3.2.2 บทที่ 2 พื้นฐานและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ง ...................................................................... 18

3.2.3 บทที่ 3 ระบบที่น าเสนอ / เทคนิคที่น าเสนอ ............................................................. 18

3.2.4 บทที่ 4 การทดลองและผลการทดลอง / ผลการด าเนินงาน ................................... 18

Page 4: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | III

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

สารบัญ (ต่อ) หน้า

3.2.5 บทที ่5 สรุปผลการวจิัย ............................................................................................... 19

3.3 ส่วนท้าย ................................................................................................................................... 19

3.3.1 เอกสารอ้างอิง................................................................................................................ 19

3.3.2 ภาคผนวก ....................................................................................................................... 19

3.3.2 ผลงานวิจัย ..................................................................................................................... 20

4. ขอ้ก าหนดการจัดพิมพ์รายงาน .................................................................................................... 21

4.1 กระดาษที่ใช้พิมพ์ต้นฉบับ ...................................................................................................... 21

4.2 ส าเนาต้นฉบับ ......................................................................................................................... 21

4.3 การพิมพ์รายงาน ...................................................................................................................... 21

4.4 การเขียนเลขหน้า..................................................................................................................... 22

4.5 การเขียนหัวข้อและการขึ้นหัวข้อย่อย .................................................................................. 22

4.6 การแบ่งรายละเอียดขอ้มูลออกเป็นข้อ ................................................................................ 24

4.7 การเขียนศัพท์เทคนิคเป็นภาษาไทย .................................................................................... 24

4.8 การใส่รูป (Figure) .................................................................................................................... 25

4.9 การใส่ตาราง (Table) ............................................................................................................... 28

4.10 การใส่สมการ (Equation) ...................................................................................................... 30

4.11 การใส่ ตัวเลข ตัวแปรและฟังก์ชัน ..................................................................................... 31

4.12 วิธีการอ้างอิง .......................................................................................................................... 32

4.13 วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิง ................................................................................................... 33

5. ข้อก าหนดในการจัดท าข้อมูลใน CD/DVD ..................................................................................... 38

5.1 สื่อบันทึกที่น ามาใช้ .................................................................................................................. 38

5.2 โครงสร้างของสือ่ .................................................................................................................... 38

5.3 การบรรจุภัณฑ์ของสื่อ ............................................................................................................ 39

6. ค าแนะน าในการเขียนรายงาน ..................................................................................................... 40

7. เทคนิคในการจัดหน้าเอกสาร ....................................................................................................... 41

7.1 การตั้งค่าเอกสาร Microsoft Word 2010 ................................................................................. 41

7.2 การแบ่งส่วนของเอกสาร ........................................................................................................ 44

Page 5: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | IV

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

สารบัญ (ต่อ) หน้า

7.3 การท าท าเลขหน้า ................................................................................................................... 46

7.4 การท าสารบัญ ......................................................................................................................... 49

Page 6: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 1

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

1. เกี่ยวกับผู้จัดท าวิทยานิพนธ์ที่ควรทราบ 1.1 ความส าคัญของการท าวิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์คืองานที่ผู้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทแผน ก ของหลักสูตรวิทยาศาสตร

มหาบัณฑิต ที่ต้องด าเนินการจัดท าเพ่ือวัดความรู้ความสามารถจากสิ่งที่ได้ศึกษามาตลอดหลักสูตร ว่า

มีความรู้ความสามารถจบไปอย่างมีคุณภาพได้หรือไม่ อีกทั้งเป็นการสร้างผลงานให้ กับตนเองเพ่ือ

แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง จึงมีความส าคัญเป็นอย่างมาก หากนักศึกษา

สามารถท าให้ออกมามีคุณภาพหรือได้รับการประเมินจากคณะกรรมการ ให้อยู่ในระดับคะแนนที่ดีได้

นั้น จะแสดงให้เห็นว่านักศึกษามีคุณภาพสามารถน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชยน์

สมกับการเป็นมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ

1.2 จรรยาบรรณของการท าวิทยานิพนธ์ การท าวิทยานิพนธ์คือการน าความรู้จากที่เรียนมาสร้างเป็นผลงานของตนเอง ซึ่งผลงานนั้น

ควรต้องท าให้เกิดประโยชน์กับบุคคลหรือองค์กร หน่วยงาน ประเทศชาติ ไม่ควรท าวิทยานิพนธ์ให้มี

เนื้อหาหรือการทดสอบที่จะก่อให้เกิดเกิดความเสียหาย ความขัดขัดแย้งของบุคคลกลุ่มบุคคลในสังคม

หรือเป็นการยั่วยุให้เกิดความแตกแยก ดั้งนั้นผู้จัดท าควรตระหนักถึงผลกระทบที่ผลงานถูกน าไปใช้

งาน และการจัดท าไม่ควรเป็นการคัดลอกผลงานของผู้อ่ืนมาเป็นของตนเอง เพราะจะแสดงให้เห็นว่า

ผู้จัดท าไม่มีความรู้ที่แท้จริง และจะท าให้ผู้จัดท าขาดความน่าเชื่อถือ

2.3 ประโยชนย์ของผู้ท่ีมาศึกษา วิทยานิพนธ์คือสิ่งที่น าเอาความรู้ต่างๆมาสร้างให้เกิดประโยชน์ในการแก้ปัญหา หรือการ

พัฒนาสรรค์สร้างสิ่งใหม่ๆ ซึ่งผู้ที่ก าลังประสบปัญหาเดียวกันจะสามารถน าความรู้ที่ได้จากการศึกษา

ไปแก้ปัญหาดังกล่าวได้และสามารถน าไปพัฒนาต่อให้ดียิ่งขึ้น ผู้จัดท าจึงควรจัดท าเนื้อหาให้มี

ประโยชน์แก่ผู้ที่มาศึกษาต่อ เช่นเดียวกับการที่เราหาหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพ่ือมาประกอบความรู้

ในการจัดท าวิทยานิพนธ์

3.4 คุณลักษณะของวิทยานิพนธ์ที่ด ีวิทยานิพนธ์ที่ดีต้องประกอบไปด้วยเนื้อหาที่เหมาะสมมีประโยชน์อ่านและท าความเข้าใจได้

ง่าย มีตัวอย่างที่ดี มีผลการทดลองที่ได้จากการทดลองหลายครั้ง มีการวิเคราะห์ รวมถึงการจัดท า

เนื้อหาให้เป็นไปตามข้อก าหนดและมีมาตรฐานเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือ

Page 7: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 2

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

2. ข้อก าหนดในการท าวิทยานิพนธ์ 2.1 หลักเกณฑ์ การลงทะเบียน ในการท าวิทยานิพนธ์นักศึกษาต้องลงทะเบียนในวิชา วิทยานิพนธ์ โดยผู้ที่จะลงทะเบียนต้อง

มีคุณสมบัติเป็นนักศึกษาที่ก าลังศึกษาอยู่ในคณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับปริญญา

โท ชั้นปีที่ 2 และผ่านการสอบในรายวิชาของชั้นปีที่ 1 มีความรู้เพียงพอที่จะท าวิทยานิพนธ์ได้ หรือ

ตามเห็นสมควรของผู้อ านวยการบัญฑิต โดยวิชา วิทยานิพนธ์ มีด้วยกัน 2 ตัว วิทยานิพนธ์ 1 และ

การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 2 ในการลงทะเบียน วิทยานิพนธ์ 2 ต้องผ่านการสอบ วิทยานิพนธ์ 1

ก่อน ในการท าตัวเล่มวิทยานิพนธ์ ต้องมีผลงานวิจัยที่ได้มีการตีพิม์ในงานประชุมวิชาการ และผ่าน

การสอบ วิทยานิพนธ์ 2

2.2 หลักเกณฑ์ การจัดหาที่ปรึกษา ผู้จัดท าต้องหาอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือขอรับค าแนะน าและพิจารณาผลงานของตนเอง ทั้งนี้

รายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาผู้จัดท าสามารถดูได้จากรายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาตามประกาศ ในกรณีที่

ผู้จัดท ามีความต้องการศึกษาข้อมูลร่วมกับอาจารย์ท่านอ่ืนให้ด าเนินการของเป็นที่อาจารย์ที่ปรึกษา

ร่วมได้

2.3 หลักเกณฑ์ การน าเสนอหัวข้อ การน าเสนอหัวข้อให้ผู้จัดท าต้องน าเสนอกับอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือดูขอบเขต ปริมาณงานและ

คุณภาพของงาน โดยอาจารย์ที่ปรึกษาจะเป็นผู้พิจารณาเห็นควรให้ด าเนินงาน เมื่อผ่านการเห็นชอบ

ให้ด าเนินการกรอกแบบฟอร์มแจ้งหัวข้อวิทยานิพนธ์แล้วส่งให้เจ้าหน้าที่ธุรการเก็บเป็นหลักฐาน

2.4 ขั้นตอนการด าเนินงานในการท าวิทยานิพนธ์ การด าเนินงานของวิทยานิพนธ์มีด้วยกัน 2 ช่วง คือ วิทยานิพนธ์ 1 หรือ Thesis 1 และ

วิทยานิพนธ์ 2 หรือ Thesis 2 โดยมีขั้นตอนดังรูปที่ 1

Page 8: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 3

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

2 1

1) �

2) � ( F-GIT-001 )

3)

4) � � � ( F-GIT-002 )

5)

6) comment

1) � Comment

3) Paper ��

4)

6)

7) comment

2) � ( F-GIT-001 )

8)

9) ( F-GIT-004 )

5) � � � ( F-GIT-002 )

รูปที่ 1 ขั้นตอนการด าเนินงาน

Page 9: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 4

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิทยานิพนธ์ 1

1) ให้ท าการหาอาจารย์ทีป่รึกษาและหัวข้อในการท าวิทยานิพนธ์

2) แจ้งหัวข้อที่เจ้าหน้าที่ธุระการเพื่อเก็บหลักฐานว่านักศึกษาจะด าเนินงาน

3) ด าเนินงานวิทยานิพนธ์ โดยผู้จัดท าต้องหมั่นเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือดู

ความก้าวหน้าของงาน

4) ก่อนการสอบวัดความรู้ให้แจ้งความจ านงขอขึ้นสอบ โดยยื่นแบบฟอร์มการขอขึ้น

สอบ พร้อมเอกสารวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง* และไฟล์งานที่เป็นเนื้อหาของตัวเล่มวิทยานิพนธ์

5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

6) รอผลการสอบและใบให้ความคิดเห็น(comment)จากคณะกรรมการเพ่ือ

ปรับปรุงงาน

วิทยานิพนธ์ 2

1) ให้เข้าพบเพื่อรับทราบค าแนะน าต่างๆ การแก้ไขงานที่คณะกรรมการพิจารณาให้

แก้ไข และด าเนินการต่อในส่วนที่เหลือ

2) แจ้งหัวข้อที่เจ้าหน้าที่ธุระการเพื่อเก็บหลักฐานว่านักศึกษาจะด าเนินงาน

3) น าเสนอผลงานในการประชุมวิชาการจนได้รับการตอบรับ

4) ด าเนินงานวิทยานิพนธ์ให้เสร็จสมบูรณ์

5) ก่อนการสอบวัดความรู้ให้แจ้งความจ านงขอขึ้นสอบ โดยยื่นแบบฟอร์มการขอขึ้น

สอบ พร้อมเอกสารวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง* และไฟล์งานที่เป็นเนื้อหาของตัวเล่มวิทยานิพนธ์

6) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

7) รอผลการสอบและใบให้ความคิดเห็น(comment)จากคณะกรรมการเพ่ือ

ปรับปรุงงาน

8) ให้ที่ปรึกษารับรองผลงาน

9) ส่งตัวเล่มและแผ่น CD/DVD ที่มีเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ให้กับเจ้าหน้าที่ธุรการ

หากนักศึกษาไม่ด าเนินการส่งให้เรียบร้อยจะได้รับเกรด I และจะไม่สามารถยื่นเรื่องขอจบ

การศึกษาได้

หมายเหตุ * รูปเล่มวิทยานิพนธ์ฉบับร่าง เป็นเอกสารที่มีเนื้อหาที่ได้จัดท าครบทุก

บทโดยยังไม่ต้องเข้าเล่มท าปกนอกท่ีเป็นตัวอักษรเดินทอง

Page 10: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 5

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3. ส่วนประกอบเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ ในการจัดท าวิทยานิพนธ์ก าหนดให้มีด้วยกัน 3 ส่วนคือ ส่วนน า ส่วนของเนื้อหา และ

ส่วนท้าย โดยส่วนของเนื้อหาควรมีอย่างน้อย 50 หน้า ซึ่งต้องจัดเรียงตามหัวข้อดังนี้

3.1 ส่วนน า 3.1.1 ปกนอก

ลักษณะของปกนอกมีเนื้อหาด้วยกัน 3 ส่วน ได้แก่

ส่วนที่ 1 บอกถึงชื่อวิทยานิพนธ์ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ โดยชื่อที่ตั้งควร

เป็นชื่อที่บอกถึงวิธีการ หรือ ระบบที่ได้ด าเนินการ ในกรณีที่เป็น กรณีศึกษา ต้องมี

การบอกถึงที่มาว่าได้ศึกษาจากที่ใด ส่วนใด

ส่วนที่ 2 ชื่อผู้จัดท าเป็นภาษาไทย ประกอบไปด้วยชื่อ และนามสกุล ไม่

ต้องใช่ค าน าหน้าชื่อ

ส่วนที่ 3 บอกถึงค าจ ากัดความของวิทยานิพนธ์ว่า

“วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ................

คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ปีการศึกษา ........”

ลักษณะของปกนอก ส าหรับ Thesis 1 ให้ใช้กระดาษขาวธรรมดาตัวอักษร

สีด า ส าหรับ Thesis 2 จะต้องเป็นปกแข็งสีด า ตัวอักษรที่อยู่บนปกต้องเป็น

ตัวอักษรเดินทอง ทั้ง Thesis 1 และ Thesis 2 ตัวอักษรให้ใช้ตัวพิมพ์แบบ TH

Sarabun New ด้วยตัวพิมพ์ปกติขนาด 20 pts. โดยให้ข้อความทุกบรรทัดอยู่

กึ่งกลางบรรทัด ด้านบนให้เขียนชื่อวิทยานิพนธ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (โดยอยู่

คนละบรรทัดแต่รวมกันไม่เกิน 5 บรรทัด) โดยให้ข้อความในบรรทัดแรกอยู่ห่างจาก

ขอบบน 2 นิ้ว ชื่อนักศึกษาอยู่กึ่งกลางระหว่างบรรทัดสุดท้ายของชื่อวิทยานิพนธ์

และบรรทัดแรกของความด้านล่าง และข้อความส่วนที่ 3 ในบรรทัดสุดท้ายอยู่ห่าง

จากขอบล่าง 2 นิ้ว ดังรูปที่ 2

Page 11: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 6

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกนอก

Page 12: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 7

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ลักษณะของสันปกท าเฉพาะตัวเล่มวิทยานิพนธ์ใน Thesis 2 ให้เขียนเรียง

ไปตามความยาวของสันปกในแนวนอน โดยประกอบด้วย ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์

ภาษาไทยหากชื่อมีความยาวให้เขียนเป็น 2 บรรทัด และตามด้วยปีการศึกษาที่

จัดท าเล่ม โดยเป็นตัวอักษรเดินทอง ขนาดตัวอักษรให้ใช้ตัวพิมพ์แบบ TH Sarabun

New ด้วยตัวพิมพ์เข้มขนาด 16 pts. ห่างจากขอบซ้ายและขาวด้านละ 1 นิ้ว โดย

ชื่อวิทยานิพนธ์ให้ชิดซ้าย และ ปีการศึกษาท่ีจัดท าเล่ม ให้ชิดขวา ตามตัวอย่างดังรูป

ที่ 2

รูปที่ 2 ตัวอย่างสันปก

3.1.2 ปกใน ลักษณะของปกในพิมพ์ใส่กระดาษปกติ ตัวอักษรสีด า โดยมีข้อความเหมือน

ปกนอก แต่ในการจัดพิมพ์ ให้ใช้ระยะห่างจากของกระดาษแบบเดียวกับการพิมพ์

รายงานคือ ด้านบน ด้านล่าง และด้านขวา มีระยะห่าง 1 นิ้ว และด้านซ้าน 1.5 นิ้ว

เพ่ือให้ต าแหน่งของข้อความในหน้าปกในและนอกตรงกันให้เว้น 2 บรรทัดก่อนและ

หลัง ดังรูปที่ 3

Page 13: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 8

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 3 ตัวอย่างปกใน

Page 14: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 9

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.1.3 ใบรับรองผลสอบวิทยานิพนธ์ ในตัวเล่มด าให้แนบใบรับรองผลการสอบ โดยมีรูปแบบดังรูปที่ 4

รูปที่ 4 ตัวอย่างปกใน

Page 15: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 10

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.1.3 บทคัดย่อ ให้ท าทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษแยกหน้ากัน โดยมีส่วนประกอบคือ

ส่วนที่ 1 เป็นส่วนบอกถึงข้อมูลในการจัดท าวิทยานิพนธ์บอกถึงชื่อหัวข้อ

ผู้จัดท า หลักสูตร ปีการศึกษาท่ีจัดท า อาจารย์ที่ปรึกษา

การพิมพ์ในส่วนของหัวข้อ ให้ใช้ตัวพิมพ์เข้มขนาด 16 pts. ชิดขอบซ้าย

และข้อมูลเป็นตัวพิมพ์ธรรมดาขนาด 16 pts. โดยส่วนของข้อมูล ให้อยู่ในแนว

เดียวกัน ดังรูป ที่ 4

ส่วนที่ 2 เป็นส่วนที่บรรยายถึงภาพรวมของวิทยานิพนธ์ที่ได้จัดท าทั้งหมด

รวมถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เมื่อผู้ที่สนใจอ่านจะทราบได้ว่าวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีความ

ต้องการที่จะท าอะไร แก้ปัญหาอะไร ผลที่ได้จะเป็นอย่างไร และเป็นประโยชน์

อย่างไรกับผู้ที่สนใจ

การพิมพ์ในส่วนของบทคัดย่อให้เว้น 2 บรรทัดจากส่วนที่ 1 แล้วให้พิมพ์ค า

ว่า “บทคัดย่อ” กลางบรรทัดด้วยตัวพิมพ์เข้มขนาด 18 pts. เว้น 1 บรรทัด แล้วจึง

เริ่มพิมพ์เนื้อหาด้วยตัวพิมพ์ธรรมดาขนาด 16 pts. โดยบรรทัดแรกให้ย่อหน้าเข้ามา

0.5 นิ้ว ดังรูปที่ 4

Page 16: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 11

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 4 ตัวอย่างหน้าบทคัดย่อ

Page 17: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 12

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 4 ตัวอย่างหน้าบทคัดย่อ

Page 18: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 13

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.1.4 กิตติกรรมประกาศ เป็นส่วนที่ผู้ท าวิทยานิพนธ์จะเขียนเพ่ือเป็นการให้เกียรติหรือขอบคุณแก่ผู้

ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อท าวิทยานิพนธ์

การพิมพ์ในส่วนของกิตติกรรมประกาศ ให้พิมพ์ค าว่า "กิตติกรรมประกาศ"

กลางบรรทัดด้วยตัวพิมพ์เข้มขนาด 18 pts. เว้น 1 บรรทัด แล้วจึงเริ่มพิมพ์เนื้อหา

ด้วยตัวพิมพ์ธรรมดาขนาด 16 pts. โดยบรรทัดแรกให้ย่อหน้าเข้ามา 0.5 นิ้ว เมื่อจบ

เนื้อหาให้เว้น 1 บรรทัดแล้วพิมพ์ชื่อนักศึกษาไว้ชิดขอบด้านขวา ดังรูปที่ 5

รูปที่ 5 ตัวอย่างหน้ากิตติกรรมประกาศ

Page 19: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 14

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.1.5 สารบัญ เป็นส่วนที่ใช้บอกต าแหน่งของหัวข้อในวิทยานิพนธ์โดยเรียงล าดับตาม

หน้าที่ปรากฏ ตรงกลางบรรทัดของหน้าแรกของสารบัญให้พิมพ์ค าว่า “สารบัญ”

ด้วยตัวพิมพ์เข้มขนาด 18 pts. บรรทัดถัดมาให้พิมพ์ค าว่า “หน้า” ด้วยตัวพิมพ์

ธรรมดาขนาด 16 pts. ไว้ชิดทางขวา เว้นหนึ่งบรรทัดแล้วพิมพ์ข้อความของสารบัญ

โดยพิมพ์หัวข้อและชื่อเรื่องชิดทางซ้ายของบรรทัดและหมายเลขหน้าชิดทางขวาของ

บรรทัด ถ้ามีหัวข้อย่อยให้พิมพ์ในย่อหน้าถัดเข้ามา 0.5 นิ้ว ระหว่างชื่อหัวข้อใน

วิทยานิพนธ์และเลขหน้าให้มีเส้นประ ถ้าจ าเป็นต้องขึ้นหน้าใหม่ให้ขึ้นต้นเหมือนเดิม

แต่ค าว่า “สารบัญ” ให้เปลี่ยนเป็น “สารบัญ (ต่อ)” ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 ตัวอย่างหน้าสารบัญ

Page 20: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 15

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.1.6 สารบัญรูป เป็นรายการที่ระบุชื่อและต าแหน่งของรูปทั้งหมด โดยเรียงตามล าดับ

ก่อนหลัง ตามที่ปรากฏในวิทยานิพนธ์ ถ้าในวิทยานิพนธ์ไม่มีรูปก็ไม่ต้องมีสารบัญรูป

โดยในการพิมพ์ให้พิมพ์ตรงกลางบรรทัดในหน้าแรกของสารบัญรูปให้พิมพ์ค าว่า

“สารบัญรูป” ด้วยตัวพิมพ์เข้มขนาด 18 pts. บรรทัดถัดมาให้พิมพ์ค าว่า “หน้า”

ด้วยตัวพิมพ์ธรรมดา ขนาด 16 pts. ไว้ชิดทางขวา เว้น 1 บรรทัดจึงเริ่มพิมพ์

ข้อความของสารบัญรูป ให้พิมพ์ค าว่า “รูปที่” ตามด้วยหมายเลขรูปและชื่อรูปชิด

ทางด้านซ้ายของบรรทัดและหมายเลขหน้าชิดทางด้านขวาสุด ถ้าสารบัญรูปไม่

สามารถเขียนให้หมดได้ภายใน 1 หน้ากระดาษจ าเป็นต้องขึ้นหน้าใหม่ ให้ขึ้นต้น

แบบเดิม แต่ค าว่า “สารบัญรูป” ให้เปลี่ยนเป็น “สารบัญรูป (ต่อ)” เช่นเดียวกับ

สารบัญปกติ รูปต่างๆ ในภาคผนวก ต้องน ามาแสดงในสารบัญรูปด้วย โดยใช้

ตัวอักษรของภาคผนวกน าหน้าหมายเลขรูปเช่น รูปที่ ก.1 หรือ รูปที่ ก.2 เป็นต้น

ดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 ตัวอย่างหน้าสารบัญรูป

Page 21: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 16

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.1.7 สารบัญตาราง เป็นรายการที่ระบุชื่อและต าแหน่งหน้าของตารางทั้งหมด โดยเรียงล าดับ

ก่อนหลังตามที่ปรากฏในสารานิพนธ์ ถ้าในวิทยานิพนธ์ไม่มีตารางก็ไม่ต้องเขียน

สารบัญตาราง โดยตรงกลางบรรทัดแรกของหน้าแรกของสารบัญตารางให้พิมพ์ค า

ว่า “สารบัญตาราง” ด้วยตัวพิมพ์แบบเข้มขนาด 18 pts. บรรทดัถัดมาให้พิมพ์ค าว่า

“หน้า” ด้วยตัวพิมพ์ธรรมดาขนาด 16 pts. ไว้ชิดทางขวา เว้น 1 บรรทัดแล้วพิมพ์

ข้อความของสารบัญตาราง ให้พิมพ์ค าว่า “ตารางที่” ตามด้วยหมายเลขตารางและ

ชื่อตารางชิดทางด้านซ้ายของบรรทัดและหมายเลขหน้าชิดทางด้านขวาสุด ถ้า

สารบัญตารางไม่สามารถเขียนให้หมดภายใน 1 หน้ากระดาษจ าเป็นต้องขึ้นหน้าใหม่

ให้ขึ้นต้นแบบเดิมแต่ค าว่า “สารบัญตาราง” ให้เปลี่ยนเป็น “สารบัญตาราง (ต่อ)”

ตารางต่างๆ ในภาคผนวก ต้องน ามาแสดงในสารบัญตาราง โดยใช้ตัวอักษรของ

ภาคผนวกน าหน้าหมายเลขตาราง เช่น ตารางที่ ก.1 หรือ ตารางที่ ก.2 เป็นต้น

เช่นเดียวกับสารบัญรูป ดังรูปที่ 8

รูปที่ 8 ตัวอย่างหน้าสารบัญตาราง

Page 22: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 17

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.2 ส่วนเนื้อหา 3.2.1 บทที่ 1 บทน า

เป็นบทที่น าเสนอ เพ่ือให้ผู้อ่านได้ทราบว่า วิทยานิพนธ์นี้ เกิดขึ้นมาได้

อย่างไร เป้าหมายเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์ และขอบเขคการด าเนิน เมื่อผู้อ่านอ่าน

แล้วสามารถมอบภาพรวมของวิทยานิพนธ์นี้ได้เบื่องต้น ซึ่งควรจะมีเนื้อหาในการ

น าเสนอดังต่อไปนี้

1) ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

กล่าวถึงสาเหตุ หรือ ที่มาของการศึกษา ค้นคว้า วิจัย

2) แนวทางการวิจัย

อธิบายแนวทางท่ีจะแก้ปัญหาที่มาจากสาเหตุในหัวข้อปัญหาและแรงจูงใจ

3) วัตถุประสงค์งานวิจัย

การก าหนดวัตถุประสงค์ ควรจะพิจารณาจากประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นหรือ

ได้รับภายหลังเสร็จสิ้นการศึกษา หรือการจัดท าระบบ และต้องสามารถที่วัดเป็นค่า

เชิงปริมาณได้ เพ่ือที่ว่าเมื่อท าการศึกษาค้นคว้า หรือ จัดท าระบบส าเร็จแล้วต้องท า

การเปรียบเทียบว่าบรรลุจุดประสงค์หรือไม่

4) ภาพรวมของเทคนิคที่น าเสนอ /ภาพรวมของงานวิจัย

แสดงโครงสร้างของระบบหรือเทคนิคที่น าเสนอ ว่าจะมีองค์ประกอบ

อะไรบ้าง โดยอาจแสดงอยู่ในรูปบล็อกไดอะแกรม หรือ ภาพการท างานโดยรวม

5) ขอบเขตของการวิจัย

ระบุขอบเขตงานวิจัยว่าครอบคลุมเรื่องอะไรบ้างและมีสมมติฐานอย่างไร

ระบุอย่างชัดเจน

Page 23: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 18

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

6) โครงสร้างของวิทยานิพนธ์ (* เฉพาะ Thesisi2)

อธิบายภาพรวมของเนื้อหาบทต่างๆ ตั้งแต่บทที่ 2 จนถึงบท สรุปผลการ

ด าเนินงาน

3.2.2 บทที่ 2 พื้นฐานและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เนื้อหาบทนี้ เป็นการอธิบาย พ้ืนฐานหรือ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ที่ผู้อ่านต้องรู้

หรือเข้าใจก่อนที่จะอ่านเนื้อหาในบทต่อไป ดังนั้นผู้เขียนต้องพิจารณาให้ดีก่อนว่า

ทฤษฎี หรือเนื้อหาอะไรที่ควรน ามาอธิบาย ไม่ต้องใส่ประวัติ หรือสิ่งที่ เป็นทฤษฎีที่

เป็นพ้ืนฐานที่ควรรู้อยู่แล้ว เช่น หลักการเขียนภาษา PHP หรือ ความเป็นมาของ

TCP/IP หรือ มาจรฐาน IEEE802.11 เป็นต้น โดยเนื้อหาที่น ามาอธิบาย ห้าม

คัดลอก โดยตรงมาจากหนังสือ หรือบทความ หรือที่อ่ืนๆ (ถ้ากรรมการสอบพบว่า

คัดลอกผู้สอบจะได้เกรด F ทันที) ผู้เขียนต้องท าการเรียบเรียงด้วยความเข้าใจของ

ผู้เขียนเอง และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาที่ผู้เขียนไปท าการศึกษา โดยใช้วิธีการ

อ้างอิงตามเกณฑ์ข้อก าหนดการอ้างอิง และควรมีหัวข้อย่อยเป็นบทสรุป

3.2.3 บทที่ 3 ระบบท่ีน าเสนอ / เทคนิคที่น าเสนอ เริ่มต้นอธิบายภาพรวมขององค์ประกอบต่างๆที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ใน

การศึกษาค้นคว้าแสดงเป็นรูป พร้อมค าอธิบาย จากนั้นจึงอธิบาย ในรายละเอียด

ของการศึกษาแต่ละด้าน ควรมีหัวข้อย่อยเป็นบทสรุป

3.2.4 บทที่ 4 การทดลองและผลการทดลอง / ผลการด าเนินงาน เนื้อหาบทนี้จะใช้เป็นหลักฐานยืนยันว่าสิ่งที่ได้จัดท าขึ้นบรรลุวัตถุประสงค์

หรือไม่ โดยอาจแสดงเป็น รูปภาพ กราฟ หรือ ตาราง โดยเนื้อหาต้องมีค าอธิบาย

สภาพแวดล้อมของการทดลอง ผลการทดลองก็จะเป็นผลลัพธ์ของการศึกษาในด้าน

ต่างที่ระบุไว้ในขอบเขต และผลการทดลองอีกส่วนหนึ่งต้องแสดงให้เห็นว่าบรรลุ

จุดประสงค์ที่ได้ก าหนดไว้ในบทน า ควรมีหัวข้อย่อยเป็นบทสรุป

Page 24: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 19

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.2.5 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย เนื้อหาบทนี้เป็นการสรุปการด าเนินงานทั้งหมดที่ผ่านมา โดยแสดงว่าการ

ด าเนินการส าเร็จตามวัตถุประสงค์ หรือไม่ อย่างไร รวมถึงแสดงให้เห็นถึงปัญหา

และอุปสรรคของการด าเนินการ พร้อมเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาที่ได้เกิดขึ้น

นอกจากนี้อาจน าเสนอข้อเสนอแนะในการพัฒนางานวิจัยต่อไปในอนาคต

3.3 ส่วนท้าย 3.3.1 เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิง (References) หมายถึง รายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร

หนังสือ สิ่ งพิมพ์อ่ืนๆ โสตทัศนวัสดุ เป็นต้น ที่ ได้ผู้ เขียนได้น าข้อมูลมาเพ่ือ

ประกอบการเขียนวิทยานิพนธ์

บทของเอกสารอ้างอิง ก าหนดให้ใช้ค าว่า “เอกสารอ้างอิง” โดยให้พิมพ์ค า

ว่า “เอกสารอ้างอิง” ด้วยตัวพิมพ์เข้มขนาด 18 pts. ไว้กลางบรรทัด เว้น 1 บรรทัด

แล้วจึงเขียนข้อมูลของเอกสารอ้างอิง โดยใช้วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิงของ

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ใช้รูปแบบตามการ

จัดพิมพ์รายงาน หัวข้อที่ 4.11

3.3.2 ภาคผนวก ภาคผนวก (Appendix) คือ ส่วนประกอบที่เพ่ิมเข้ามาช่วยให้เกิดความ

สมบูรณ์ของวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจจะไม่ได้อธิบายในส่วนเนื้อหา เช่น แบบสอบถาม

แบบสัมภาษณ์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การติดตั้งระบบ เป็นต้น

หน้าแรกของภาคผนวกให้พิมพ์ค าว่า “ภาคผนวก” อยู่ตรงกลาง

หน้ากระดาษ และบรรทัดถัดมาพิมพ์ชื่อของภาคผนวกโดยใช้ตัวพิมพ์เข้มขนาด 18

pts. ถ้าหากภาคผนวกมีหลายภาค ให้ใช้เป็น ภาคผนวก ก , ภาคผนวก ข,

ภาคผนวก ค ตามล าดับ หมายเลขหน้าของภาคผนวกย่อยให้เขียนอักษรของ

ภาคผนวกนั้นตามด้วยเครื่องหมาย “-” และล าดับของหน้านั้นในภาคผนวกย่อย

เช่น ก-1 เป็นต้น

Page 25: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 20

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3.3.2 ผลงานวิจัย ให้แนบตัวผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ โดยมีใบปะหน้าที่บอกรายละเอียด

โดยรวม ตามรูปที่ 0 และให้แนบตัวผลงานที่มีเลขหน้าและรูปแบบตามการตีพิมพ์

ต่อท้าย

รูปที่ 8 ตัวอย่างหน้าสารบัญตาราง

Page 26: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 21

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4. ข้อก าหนดการจัดพิมพ์รายงาน 4.1 กระดาษท่ีใช้พิมพ์ต้นฉบับ

ก าหนดมาตรฐานกระดาษที่ใช้พิมพ์วิทยานิพนธ์เป็นกระดาษสีขาว ไม่มีบรรทัด

ขนาดมาตรฐาน A4 (297 x 210 mm.) และมีความหนาไม่ต่ ากว่า 80 แกรม

4.2 ส าเนาต้นฉบับ การท าส าเนาวิทยานิพนธ์ก าหนดให้ใช้วิธีถ่ายส าเนา (Photocopy) โดยต้องเป็นการ

ถ่ายส าเนาที่มีคุณภาพดี ไม่ลบเลือนง่าย มีความชัดเจนและคงทนของตัวอักษร การถ่าย

ส าเนาให้ใช้เพียงหน้าเดียวของกระดาษที่ใช้ถ่ายส าเนา กระดาษที่ ใช้ในการถ่ายส าเนาต้องมี

มาตรฐานเดียวกับกระดาษพิมพ์ กรณีรูปภาพที่มีสีและจ าเป็นต่อการท าความเข้าใจ การถ่าย

ส าเนาควรเป็นรูปภาพสีเช่นกัน

4.3 การพิมพ์รายงาน การพิมพ์เอกสารในแต่ละหน้าให้ใช้รูปแบบเดียวกันทั้งหมด ยกเว้น หน้าที่มี

ข้อก าหนดพิเศษ เช่น หน้าปก หน้าค าน า หน้ากิติกรรมประกาศ หน้าสารบัญ เป็นต้น โดยมี

ข้อก าหนดดังนี้

1) ให้พิมพ์เพียงหน้าเดียวของกระดาษท่ีก าหนดมาตรฐานไว้ ห้ามใช้กระดาษ Reuse

2) การพิมพ์รายงานภาษาไทย ให้ใช้ตัวอักษร TH Sarabun New เป็นตัวพิมพ์

ตลอดทั้งเล่มโดยในกรณีชื่อบทให้ใช้ตัวอักษรเข้มขนาด 18 pts. จัดวางกึ่งกลาง โดยบรรทัด

แรกเป็นเลขที่ของบท บันทัดต่อมาให้เป็นชื่อบท เว้น 1 บรรทัด แล้วจึงขึ้นหัวข้อย่อยล าดับที่

1 เมื่อขึ้นบทใหม่ให้ขึ้นหน้าเอกสารใหม่

ส าหรับตัวเนื้อความทั้วไปให้ใช้ตัวอักษรธรรมดาขนาด 16 pts. และส าหรับหัวข้อ

ย่อยล าดับที ่1 ให้ใช้ตัวตัวอักษรเข้ม ขนาด 16 pts. จัดวางข้อความส่วนของเนื้อหาให้จัดวาง

แบบ Thai Distributed

3) ให้ใช้เครื่องพิมพ์ที่มีคุณภาพงานพิมพ์ที่คงทนกับงานเอกสาร เช่นเครื่องพิมพ์แบบ

เลเซอร ์(Laser Printer) โดยตัวอักษรต้องเป็นสีด า และแบบเดียวกันตลอดท้ังเล่ม

Page 27: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 22

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4) ขอบกระดาษ ก าหนดให้เว้นว่างขอบกระดาษไว้ทั้งสี่ด้าน ดังนี้ ขอบบน ขอบล่าง

และขอบขวาด้านละ 1 นิ้ว ขอบซ้าย 1.5 นิ้ว และก าหนดระยะหัวกระดาษและท้ายกระดาษ

0.3 นิ้ว

5) การเว้นระยะระหว่างบรรทัด ก าหนดให้ใช้แบบ single line spacing ก่อนและ

หลังเป็น 0 pt

4.4 การเขียนเลขหน้า 1) ในส่วนน าของรายงานให้เริ่มล าดับหน้าตั้งแต่หน้าบทคัดย่อเป็นต้นไป โดยพิมพ์

ตัวเลขโรมัน (I, II, III, IV, …) ไว้มุมล่างด้านขวาของหน้าด้วยตัวอักษร TH Sarabun New

ขนาด 16 pts. และพิมพ์ในส่วนของส่วนท้ายกระดาษ (Footer)

2) ในส่วนเนื้อหาตั้งแต่บทน าเป็นต้นไป ให้ล าดับหน้าโดยใช้เลขอารบิค พิมพ์ไว้มุม

ล่างด้านขวามือด้วยตัวอักษร TH Sarabun New ขนาด 16 pts. โดยพิมพ์ในส่วนของ

ส่วนท้ายกระดาษ (Footer)

3) ในส่วนของภาคผนวก พิมพ์ไว้มุมล่างด้านขวามือด้วยตัวอักษร TH Sarabun

New ขนาด 16 pts. และพิมพ์ในส่วนของส่วนท้ายกระดาษ (Footer)

4.5 การเขียนหัวข้อและการขึ้นหัวข้อย่อย ในแต่ละบทอาจแบ่งเป็นหลายหัวข้อ ก่อนการพิมพ์หัวข้อย่อยในล าดับที่หนึ่งให้เว้น

หนึ่งบรรทัด พิมพ์หมายเลขหัวข้อชิดขอบซ้าย ขึ้นต้นด้วยหมายเลขบทตามด้วยเครื่องหมาย

มหัพภาค “.” และหมายเลขล าดับของหัวข้อตามล าดับ หมายเลขหัวข้อและชื่อหัวข้อย่อย

ล าดับที่หนึ่งให้ใช้ตัวเข้มขนาด 16 pts. บรรทัดแรกของข้อความในหัวข้อย่อยล าดับที่หนึ่งให้

ขึ้นบรรทัดใหม่และเริ่มพิมพ์ถัดเข้าไปจากขอบซ้าย 0.5 นิ้ว ส่วนบรรทัดต่อๆ ไปให้พิมพ์ชิด

ซ้ายสุด หัวข้อย่อยระดับถัดไปให้เริ่มพิมพ์ถัดเข้าไป 0.5 นิ้ว บรรทัดแรกของข้อความในหัวข้อ

ย่อยนั้นให้ขึ้นบรรทัดใหม่จากหัวข้อแล้วพิมพ์ในต าแหน่งตรงกับหัวข้อ และบรรทัดต่อๆ ไปให้

Page 28: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 23

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

พิมพ์ชิดซ้ายสุดเสมอ ทั้งนี้หัวข้อย่อยไม่ควรมีเกิน 3 ระดับ ถ้ายังมีหัวข้อย่อยไปอีกให้ใช้

สัญลักษณ์ตามความเหมาะสม ตัวอย่าตัวดังรูปที่ 10

รูปที่ 10 ตัวอย่างการย่อหน้าและเขียนหัวข้อ

Page 29: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 24

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.6 การแบ่งรายละเอียดข้อมูลออกเป็นข้อ ในการอธิบายเนื้อหาเมื่อต้องการแยกออกมาให้เป็นข้อ สามารถท าได้ดังนี้

1) แบ่งแบบมีล าดับ

2) แบ่งแบบไม่มีล าดับ

4.7 การเขียนศัพท์เทคนิคเป็นภาษาไทย ในการเขียนวิทยานิพนธ์จ าเป็นต้องมีศัพท์เทคนิคหรือชื่อเรียกเป็นภาษาอ่ืนจะต้อง

เขียนค าเหล่านั้นเป็นภาษาไทยให้ถูกต้องตามที่บัญญัติโดยราชบัณฑิตยสถานหรือวิศวกรรม

สถาน หรือสถาบันที่ได้รับการยอมรับเท่านั้น ในกรณีที่ไม่มีการบัญญัติไว้สามารถเลือกใช้

ค าศัพท์ที่มีความหมายเหมาะสมหรือใช้ทับศัพท์ได้ การเขียนศัพท์เทคนิคจะต้องเขียน

ภาษาอังกฤษหรือภาษาดั้งเดิมไว้ในวงเล็บหลังศัพท์เทคนิคภาษาไทยที่ปรากฏครั้งแรกเท่านั้น

เช่น โพรโทคอลเอสเอ็นเอ็มพี (SNMP) ในการใช้งานครั้งต่อไปไม่จ าเป็นต้องใส่วงเล็บ

ภาษาอังกฤษ

Page 30: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 25

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.8 การใส่รูป (Figure) กราฟ แผนภูมิ และรูปประกอบให้ถือว่าเป็นรูป (Figure) และต้องมีขนาดเหมาะสม

ไม่ใหญ่หรือเล็กเกินไป ถ้ารูปมีขนาดเกินกว่าที่จะลงบนกระดาษ A4 สามารถท าเป็นแผ่นพับ

ได้ ถ้าเป็นแผนที่ต้องบอกมาตราส่วนและแสดงทิศเหนือด้วย ต าแหน่งของรูปให้อยู่ห่างจาก

บรรทัดสุดท้ายของเนื้อความหนึ่งบรรทัดและจัดไว้ตรงกลางหน้ากระดาษ ใต้รูปเว้น 1

บรรทัดแล้วพิมพ์ค าว่า “รูปที่” ตามด้วยหมายเลขรูปเป็นตัวเข้มและตามด้วยชื่อรูปเป็นตัว

ปกติขนาด 16 pts. หมายเลขรูปจะต้องขึ้นต้นด้วยหมายเลขบทที่รูปนั้นปรากฏอยู่ตามด้วย

เครื่องหมายมหัพภาค (.) และล าดับที่ของรูปนั้น เช่นรูปที่ 2.1 หมายถึง รูปที่ 1 ในบทที่ 2

ชื่อรูปเป็นค าอธิบายรูปนั้นอย่างสั้นๆ ถัดจากชื่อรูปให้เว้นหนึ่งบรรทัดแล้วจึงเริ่มพิมพ์ข้อความ

ถัดไป ถ้ามีรูปย่อยให้อธิบายรูปย่อยแต่ละรูปโดยใช้อักษร ก), ข), ค), … ตามล าดับ

รูปประกอบ ควรเป็นรูปที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ หากเป็นรูปภาพที่ไม่ได้อยู่ใน

ระบบคอมพิวเตอร์ ให้ท าการถ่ายภาพเข้าสู่ระบบก่อน

การแทรกรูปให้แทรกรูปไว้ด้านล่างของข้อความย่อหน้าที่กล่าวถึงรูปนั้น ถ้าขนาด

ของรูปไม่สามารถแทรกลงในหน้าได้ ให้ใส่ไว้ในหน้าถัดไป โดยเรียงตามล าดับที่ถูกกล่าวถึง

ดังรูปที่ 11

ข้อควรระวัง รูปทุกรูปที่น ามาใส่ในรายงานต้องมีการอ้างถึง ห้ามใส่รูป โดยไม่มีการ

อ้างถึงจากเนื้อความ เช่น “...ได้ผลลัพธ์ตามตัวอย่างรูปที่ 1.1” , “จากรูปที่ 1.2 จะสามารถ

เขียนโปรแกรมได้...”

Page 31: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 26

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 11 ตัวอย่างใส่รูป

Page 32: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 27

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 11 ตัวอย่างใส่รูป (ต่อ)

Page 33: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 28

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.9 การใส่ตาราง (Table) ให้เริ่มพิมพ์เว้นจากบรรทัดล่างสุดของข้อความ 1 บรรทัด โดยเริ่มพิมพ์ค าว่า

“ตารางที่” และหมายเลขตารางเป็นตัวเข้ม แล้วตามด้วยชื่อตารางเป็นตัวอักษรปกติ จัดไว้

กึ่งกลางบรรทัด หมายเลขตารางให้ขึ้นต้นด้วยหมายเลขบทตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.)

และล าดับที่ของตารางในบทนั้นเช่นตารางที่ 2.1 หมายถึง ตารางที่ 1 ในบทที่ 2 ชื่อตาราง

เป็นข้อความสั้นๆ 1 ประโยคที่อธิบายสิ่งที่อยู่ในตาราง จากนั้นไม่ต้องเว้นบรรทัดให้เริ่มพิมพ์

ตารางและต าแหน่งของตารางให้จัดไว้ตรงกลางหน้ากระดาษ

ในกรณีที่มีการอ้างอิงถึงข้อความในตารางหรือค าอธิบายเพ่ิมเติม ให้เขียนหมายเลข

ก ากับไว้ในส่วนที่ต้องการอ้างอิงเป็นตัวยกก าลัง แล้วเขียนอธิบายเป็นหมายเหตุไว้ที่ใต้ตาราง

โดยใช้ตัวพิมพ์ขนาด 12 pts.

ถ้าหน่วยที่ใช้ในตารางไม่ใช่ระบบ SI ให้ท าการเปลี่ยนหน่วยเป็นระบบ SI โดยเขียน

ไว้ที่หมายเหตุใต้ตาราง เมื่อสิ้นสุดตารางให้เว้นหนึ่งบรรทัดก่อนแล้วพิมพ์ข้อความต่อไป กรณี

ที่ตารางยาวกว่าหนึ่งหน้ากระดาษให้พิมพ์ชื่อตารางเหมือนเดิมและเพ่ิมค าว่า “(ต่อ)” ต่อท้าย

ชื่อตารางนั้น

ส่วนของหัวตารางให้ใช้ตัวอักษรเข้มขนาด 16 pts ดังรูปที่ 12

ข้อควรระวัง ตารางทุกตารางที่น ามาใส่ในรายงานต้องมีการอ้างถึง ห้ามใส่ตาราง

โดยไม่มีการอ้างถึงจากเนื้อความเช่นเดียวกับรูปภาพ

Page 34: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 29

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปที่ 12 ตัวอย่างใส่ตาราง

Page 35: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 30

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.10 การใส่สมการ (Equation) ให้เริ่มพิมพ์สมการเว้นจากบรรทัดล่างสุดของข้อความหนึ่งบรรทัด และจัดไว้ตรง

กลางบรรทัด การเขียนสมการให้ใช้ตัวพิมพ์แบบ Times New Roman ขนาด 12 pts. และ

เป็นตัวเอียง (Italic) หมายเลขสมการให้พิมพ์ขึ้นต้นด้วยหมายเลขบท ตามด้วยเครื่องหมาย

มหัพภาคและล าดับที่ของสมการในบทนั้นโดยใช้ตัวพิมพ์ขนาด 16 pts. โดยให้พิมพ์อยู่ใน

วงเล็บและชิดขอบขวาของบรรทัด ตัวแปรที่ใช้ในสมการจะต้องมีรูปแบบเดียวกับที่ปรากฎใน

เนื้อหาของรายงาน และมีค าอธิบายตัวแปรที่ใช้ โดยเขียนอธิบายไว้ข้างล่างของสมการ เมื่อ

สิ้นสุดให้เว้น 1 บรรทัดก่อนแล้วพิมพ์ข้อความต่อไป ตัวอย่างเช่น

(3.1)

เมื่อ G คือ ความถ่วงจ าเพาะของดิน

WS คือ น้ าหนักเนื้อดิน (kg.)

WW คือ น้ าหนักน้ าท่ีมีปริมาตรเท่าเนื้อดินที่อุณหภูมิ 4 C (kg.)

ในส่วนของเนื้อหาที่มีการอ้างถึงสัญลักษณ์ที่อยู่ในสมการจะต้องใช้สัญลักษณ์

เช่นเดียวกับที่ใช้ในสมการ ส าหรับหน่วยที่ใช้ต้องเป็นหน่วยเดียวกับสมการ เช่น จะใช้ตัวย่อ

หรือค าเต็ม ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ต้องเป็นแบบเดียวกันทั้งเล่ม

Page 36: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 31

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.11 การใส่ ตัวเลข ตัวแปรและฟังก์ชัน การพิมพ์ตัวเลขและตัวแปรทั้งในส่วนเนื้อหาและสมการให้เป็นไปตามนี้ตัวเลขให้ใช้

ตัวตรงธรรมดา

1) หน่วยให้ใช้ตัวตรงธรรมดา อาทิ mV pA GHz

2) ค่าคงที่ทางคณิตศาสตร์ (เช่น e เป็นต้น) ให้ใช้ตัวเอียง

3) ตัวแปรสเกลาร์ที่เป็นตัวอัลฟาเบ็ต (a – z และ A – Z) และตัวอักษรกรีกเล็ก

(เช่น และ) ให้ใช้ตัวอักษรเอียง

4) ตัวแปรสเกลาร์ที่เป็นตัวอักษรกรีกใหญ่ (เช่น และ ) ให้ใช้ตัวตรงธรรมดา

5) ตัวแปรเมตริกซ์และเวกเตอร์ให้ใช้ตัวตรงหนา

6) ฟังก์ชันคณิตศาสตร์เช่น log หรือ tan ให้ใช้ตัวอักษรตรงธรรมดา ตัวอย่างเช่น

( )

√ (X.2)

[

] [

] (X.3)

( ) ∑ ( ) (X.4)

Page 37: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 32

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.12 วิธีการอ้างอิง ในส่วนเนื้อความการอ้างอิงถึงผู้เขียนเอกสารอ้างอิงให้ท าดังนี้

1. ในกรณีเอกสารอ้างอิงภาษาไทย

ให้อ้างถึงผู้เขียนด้วยชื่อเต็มแล้วตามด้วยนามสกุล ไม่ต้องใส่ค าน าหน้าอ่ืน ๆ ใส่

หมายเลขใน [ ] เพ่ือบอกล าดับในบทเอกสารอ้างอิง ตัวอย่างเช่น

อธิคม ฤกษบุตร [1] ได้แสดงให้เห็นว่า……

2. ในกรณีเอกสารอ้างอิงภาษาอังกฤษ

ให้อ้างถึงผู้เขียนด้วยนามสกุลเท่านั้น ตัวอย่างเช่น

Belevitch [2] ได้ตีพิมพ์ประวัติย่อของทฤษฎีวงจรใน Proceeding of the IRE ในปี 1962

3. ในกรณีที่เอกสารอ้างอิงมีผู้เขียนสองคน

ให้ระบุนามผู้แต่งท้ังสองคนโดยใช้ค าว่า“และ” หรือ “and” เชื่อมนามผู้แต่ง

4. ในกรณีที่เอกสารอ้างอิงมีผู้เขียนมากกว่าสองคน

ให้ระบุนามผู้เขียนคนแรกและตามด้วย “et al.” หรือ “และคณะ”

Page 38: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 33

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

4.13 วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิง รายละเอียดของเอกสารอ้างอิงให้เป็นไปตามมาตรฐานของ IEEE ดังนี้

1. กรณีที่เป็นบทความจากวารสาร

รูปแบบ ชื่อผู้เขียนบทความ, ”ชื่อเรื่อง,” ชื่อวารสาร, vol. ที่, เล่มที่, หน้าที่, เดือน

ปีที่พิมพ์. ตัวอย่างเช่น

[1] Darlington, ”Some thoughts on the history of circuit theory,” IEEE Trans Circuits

Syst., vol. CAS-24, no. 12, pp. 665-666, Dec. 1977.

[2]H. T. Friis, “Noise figures in radio receivers,” Proceedings of the IRE, vol. 32, pp.

419-422, 1944.

2. กรณีที่เป็นบทความจากหนังสือ

รูปแบบ ชื่อผู้เขียนบทความ, ”ชื่อเรื่อง,” หน้าที่, ในชื่อหนังสือ, ชื่อบรรณาธิการ,

Editor หรือ Editors, ชื่อเมืองที่พิมพ์:ชื่อส านักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. ตัวอย่างเช่น

[3] P. K. Ko, ”Approaches to Scaling,” pp. 1-35, in Advanced MOS Device Physics, N.

G. Einspruch and G. Gildenblat, Editors, Sandigeo: Academic Press, 1998.

3. กรณีที่เป็นหนังสือ

รูปแบบ ชื่อผู้เขียนหนังสือ, ชื่อหนังสือ. ชื่อเมืองที่พิมพ์:ชื่อส านักพิมพ์, ปีที่พิมพ์.

ตัวอย่างเช่น

[4] A. V. Oppenheim and R. W. Schafer, Digital Signal Processing. Englewook Cliffs.

N.J.: Prentice-Hall, 1975.

[5] S. Tanenbaum, Computer Networks. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall, 1996.

Page 39: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 34

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปแบบ ชื่อบรรณาธิการ, Editor หรือ Editors, ชื่อหนังสือ. ชื่อเมืองที่พิมพ์:ชื่อ

ส านักพิมพ์, ปีที่พิมพ์. ตัวอย่างเช่น

[6] V. Novak, M. Ramik, M. Cerny, and J. Nekola, Editors, Fuzzy Approach to Reasoning

and Decision-Making. Boston, MA: Kluwer, 1992.

4. กรณีที่เป็นบทความในการประชุมวิชาการ (ที่มีการตีพิมพ)์

รูปแบบ ชื่อผู้เขียนบทความ,”ชื่อเรื่อง”, ชื่อProceeding , ปีที่พิมพ์, หน้าที่.

ตัวอย่างเช่น

[7] D. B. Payne and J. R. Stern, “Wavelength-switched passively coupled single-mode

optical network,” in Proc. IOOC-ECOC, 1985, pp. 585-591.

5. กรณีที่เป็นผลงานที่น าเสนอในการประชุมวิชาการ (ที่ไม่มีการตีพิมพ์)

มีรูปแบบประกอบไปด้วย ชื่อผู้เขียนบทความ,”ชื่อเรื่อง”, ชื่อการประชุมวิชาการ ,

สถานที,่ ปีที่จัด. ตัวอย่างเช่น

[8] D. Ebehard and E. Voges, ”Digital single sideband detection for interferometrics

sensors,” presented at the 2nd Int. Conf. Optical Fiber Sensors, Stuttgart, Germany,

1984.

6. กรณีที่เป็นสิทธิบัตรหรือมาตรฐาน

รูปแบบ ชื่อเจ้าของสิทธิบัตร,”ชื่อสิทธิบัตร”, หมายเลขสิทธิบัตร, เดือน วัน,ปีที่จด

สิทธิบัตร ตัวอย่างเช่น

[9] G. Brandli and M. Dick, ”Alternating current fed power supply,” U.S. Patent 4 084

217, Nov. 4, 1978.

Page 40: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 35

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

7. กรณีที่เป็นเอกสารจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (electronic sources)

7.1 กรณีที่เป็นหนังสือ

รูปแบบ ชื่อผู้เขียน (ปี, เดือน วัน). ชื่อหนังสือ. (ครั้งที่พิมพ์) [ประเภทของสื่อ].

Available: site/path/file ตัวอย่างเช่น

[10] J. Jones. (1991, May 10). Networks. (2nd ed.) [Online]. Available: http://www.atm.com

7.2 กรณีที่เป็นบทความจากวารสาร

รูปแบบ ชื่อผู้เขียน (ปี, เดือน). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร [ประเภทของสื่อ].

volume(issue), หน้าที่. Available: site/path/file ตัวอย่างเช่น

[11] R. J. Vidmar (1992, Aug.). On the use of atmospheric plasmas as electromagnetic

reflectors. IEEE Trans. Plasma Sce. [Online]. 21(3), pp. 876-880. Available:

http://www.halcyon.com/pub/journals/21ps03-vidmar

7.3 กรณีที่เป็นบทความท่ัวไป

รูปแบบ ชื่อผู้เขียน. ชื่อบทความ. [ประเภทของสื่อ]. Available: site/path/file

ตัวอย่างเช่น

[12] K. Gundry. An introduction to noise reduction.[Online]. Available

http://www.dolby.com/ken/part1.html

7.4 กรณีที่เป็นรายงาน หรือหนังสือคู่มือ

รูปแบบ ชื่อผู้เขียน (ปี,เดือน). ชื่อรายงาน. ชื่อหน่วยงานที่จัดท า. [ประเภทของสื่อ].

Available: site/path/file ตัวอย่างเช่น

[13] S. L. Talleen. (1996, Apr.). The Intranet Archietecture: Managing information in the

new paradigm. Amdahl Corp., CA. [Online]. Available:

http://www.amdahl.com/doc/products/bsg/intra/infra/html.

Page 41: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 36

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

รูปแบบ ชื่อคู่มือ. ชื่อรายงาน. ชื่อหน่วยงานที่จัดท า. [ประเภทของสื่อ]. Available:

site/path/file ตัวอย่างเช่น

[14] BSIM3 Version 3 Manual. Final Version. BSIM Research Group, Dept. Elec. Eng.

Comt. Sci., Univ. Calif., Berkeley. [Online] Available:

http://www/device.EECS.Berkeley.EDU/~bsim3

7.5 กรณีที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างเช่น รูปแบบ ชื่อจัดท า. ชื่อโปรแกรม. [ประเภทของสื่อ]. Available:

site/path/file

[15] K. Kundert and A. Sangiovanni-Vincentelli. Sparse 1.3, A Sparse Linear Equation

Solver. [Online] Available: www.netlib.org/sparse

ทั้งนี้วิธีการเขียนชื่อผู้เขียนในรายละเอียดเอกสารอ้างอิงให้เป็นไปตามนี้

ในกรณีบทความภาษาไทย การเขียนชื่อผู้เขียนที่เป็นภาษาไทยให้เขียนชื่อเต็ม

ตามด้วยนามสกุลเท่านั้น ไม่ต้องใส่ค าน าหน้าอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น

สิทธิชัย โภไคยอุดม

ในกรณีบทความภาษาอังกฤษ การเขียนชื่อผู้เขียนให้ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรแรกของ

ชื่อหน้าตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) เว้นวรรคและตามด้วยนามสกุล ตัวอย่างเช่น

B. Razavi

ในกรณีที่ผู้ เขียนมีชื่อกลางให้ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรแรกของชื่อหน้าตามด้วย

เครื่องหมายมหัพภาค เว้นวรรคตามด้วยอักษรแรกของชื่อกลางและเครื่องหมายมหัพภาค

และตามด้วยนามสกุล ตัวอย่างเช่น

F. B. Hilderbrand

Page 42: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 37

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

ในกรณีที่มีผู้เขียนสองคน ให้ใช้ค าว่า ”and” หรือ ”และ” ระหว่างชื่อผู้เขียนทั้ง

สองตัวอย่างเช่น

สุเจตน์ จันทรังษ ์และ สิทธิชัย โภไคยอุดม

J. G. Proakis and D. G. Manolakis

ในกรณีที่มีผู้เขียนมากกว่าสองคน ให้ใช้เครื่องหมายจุลภาคตามด้วยเว้นวรรค

ระหว่างชื่อผู้เขียนคนแรกไปจนถึงคนก่อนสุดท้าย และใช้ค าว่า ”and” หรือ ”และ”

ระหว่างชื่อผู้เขียนคนก่อนสุดท้ายและคนสุดท้าย ตัวอย่างเช่น

C. Berrou, A. Glavieux, and P. Thitimajshima

Page 43: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 38

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

5. ข้อก าหนดในการจัดท าข้อมูลใน CD/DVD 5.1 สื่อบันทึกที่น ามาใช้

ในการส่งผลงานนอกจากจัดส่งในรูปเล่มแล้วต้องด าเนินการจัดส่งในรูปแบบสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์ ด้วย โดยท าการบันทึกลงแผ่น CD-ROM หรือ DVD-ROM เท่านั้นห้ามใช้แผ่น

ที่สามารถเขียนใหม่หรือเขียนต่อได้ เช่น RW ตัวแผ่น CD/DVD เป็นแผ่นที่เขียนอ่านด้าน

เดียว โดยตั้งชื่อแผ่นเป็นรหัสนักศึกษา และตัวแผ่นด้านที่ไม่ใช้ส าหรับเขียน/อ่านข้อมูลต้อง

เป็นสีเรียบสุภาพ ไม่มีลวดลาย หรือตัวการ์ตูน ผู้จัดท าต้องระบขุ้อมูลบนหน้าแผ่นซึ่งประกอบ

ไปด้วยชื่อโครงงาน รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา สาขา อาจารย์ที่ปรึกษา ปีที่จัดท า ทั้งนี้

สามารถใช้ปากกาส าหรับเขียนแผ่นหรือใช้การพิมพ์ลงกระดาษส าหรับติดแผ่น

5.2 โครงสร้างของสื่อ เพ่ือความสะดวกในการค้นหาไฟล์ให้บรรจุเนื้อหาดั้งนี้

รหัสนักศึกษา ตั้งชื่อแผ่นเป็นรหัสนักศึกษา

Document Folder ส าหรับเอกสารที่เป็นรูปเล่ม

ชื่อโครงงาน.doc หรือ .docx ไฟล์เอกสารที่เป็น word โดยรวมเป็นไฟล์เดียว

ชื่อโครงงาน.pdf ไฟล์เอกสารที่เป็น pdf โดยรวมเป็นไฟล์เดียว

Source Code Folder ส าหรับเก็บไฟล์ชุดค าสั่งที่ใช้พัฒนา (ถ้ามี)

Referent Folder ส าหรับเก็บไฟล์ที่ใช้อ้างอิง (ถ้ามี)

Install Folder ส าหรับเก็บโปแกรมที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)

Manual Folder ส าหรับเก็บคู่มือการใช้โปรแกรมท่ีพัฒนา (ถ้ามี)

Page 44: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 39

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

5.3 การบรรจุภัณฑ์ของสื่อ หลังจากท าการเขียนข้อมูลลงแผ่นและตรวจสอบว่าสามารถเปิดอ่านในเครื่องอ่ืนได้

แล้ว ให้ใส่ซองกระดาษหรือซองพลาสติกติดไว้กับตัวเล่มที่ปกหลังด้านใน ดังรูปที่ 13 ห้ามใส่

กล่องพลาสติก เนื่องจากจะท าให้ปิดปกไม่ได้และยังท าให้กล่องเสียหายเมื่อมีการว่างซ้อนกัน

รูปที่ 13 การบรรจุสื่อบันทึกข้อมลูในเลม่

Page 45: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 40

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

6. ค าแนะน าในการเขียนรายงาน 1. ในแต่ละบท ให้ใช้การวงเล็บภาษาอังกฤษเพียงครั้งแรกท่ีกล่าวถึง การกล่าวถึงในครั้ง

ต่อไปไม่ต้องวงเล็บภาษาอังกฤษ

2. การใช้ค าศัพท์ภาษาอังกฤษ ไม่ควรจะมีมาก ค าที่สามารถแปลได้ควรแปล หรือใช้

ภาษาไทยสะกดไปเลยและค่อยวงเล็บภาษาอังกฤษ เช่น ด็อกก้ิง (Docking)

3. การอ้างอิงในบทที่ 2 ควรจะใช้รูปแบบที่ก าหนดของการเขียนรายงาน ตามเอกสารแนบ

4. การวงเล็บภาษาอังกฤษ ในกรณีค าหรือความหมายที่ไม่ได้เป็นค าเฉพาะ หรือ เป็นที่เข้าใจ

ได้อยู่แล้ว ไม่ต้องใส่วงเล็บภาษาอังกฤษ เช่น ค าว่า ข้อมูล (Data) ความถูกต้องแม่นย า (Accuracy)

เป็นต้น

5. เมื่อมีการใส่รูป หรือ ตาราง ควรจะต้องมีการอ้าอิงถึงรูปหรือ ตาราง จากเนื้อความของ

รายงานด้วย

6. การจัดกลุ่มหัวข้อ ควรให้มีความสัมพันธ์ระหว่าง หัวข้อหลัก และหัวข้อย่อย โดยอาจจะ

เป็นรูปแบบการใส่หมายเลขหัวข้อย่อย ไม่ควรอธิบายลอยๆ โดยไม่มีการระบุหัวข้อ

7. การเขียนควรมีความคงเส้นคงวา เช่นรูปแบบ การแปลค าภาษาอังกฤษ ที่มีวงเล็บต่อท้าย

ถ้าท า ควรท าให้ตลอดการเขียนรายงาน ไม่ใช่ ท าบ้างไม่ท าบ้าง หรือ การจัดหัวข้อหลัก และหัวข้อ

ย่อย ควรเป็นรูปแบบเดียวกันตลอดรายงาน

8. รูปภาพ ควรชัดเจน และเห็นรายละเอียด

9. ค าอธิบายรูป ให้ใช้ค าว่า รูปที่ และอยู่ใต้รูป

10. ค าอธิบายตาราง ให้ใช้ค าว่า ตารางที่ และอยู่ด้านบนของตาราง

11. หมายเลขรูปและ ตาราง จะต้องขึ้นต้นด้วย หมายเลขบท .หมายเลขรูป เช่น รูปที่ 2 ใน

บทที่ 2 เขียนเป็น รูปที่ 2.2

Page 46: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 41

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

7. เทคนิคในการจัดหน้าเอกสาร 7.1 การตั้งค่าเอกสาร Microsoft Word 2010

ในการตั้งค่าเอกสาร Microsoft Word 2010 เริ่มต้นก่อนการท าเอกสารเพ่ือให้

เป็นไปตามข้อก าหนดของการท าสารนิพนธ์ (เมนูโปรแกรมให้ใช้เป็นภาษาอังกฤษ)

1) เข้าสู่การตั้งค่าเอกสารโดยเลือก File -> Option

2) ก าหนดหน่วยวัดเป็นแบบนิ้วให้เลือกแถบ Advanced ส่วนของ Display แล้ว

ก าหนดค่าเป็น Inches ดังรูปที่ 14

รูปที่ 14 ก าหนดหน่วยของเอกสารเป็นนิ้ว

Page 47: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 42

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3) จัดการหน้าของเอกสาร โดยเลือกเมนู Page Layout -> Margins -> Custom

Margins แล้วจะปรากฏ Page Setup ขึ้นมา ดังรูปที ่15

รูปที่ 15 การเข้าไปก าหนดขนาดของหน้าเอกสาร

4) ที่แถบ Margins คือการก าหนดระยะห่างจากขอบกระดาษ โดยในตัวเอกสารจะ

ก าหนดให้ ระยะขอบด้านบน ด้านล่าง ด้านขวา มีระยะห่างจากขอบ 1 นิ้ว และด้านซ้ายมี

ระยะห่างจากขอบ 1.5 นิ้ว ดังรูปที่ 16

รูปที่ 16 การก าหนดระยะห่างจากขอบกระดาษ

Page 48: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 43

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

5) ที่แถบ Page คือการก าหนดขนาดของกระดาษ โดยเลือกเป็นขนาดมาตรฐาน A4

ดังรูปที่ 17

รูปที่ 17 การก าหนดขนาดกระดาษ

6) แถบ Layout ใช้ก าหนดพ้ืนที่ส่วนหัว (Header) และท้ายเอกสาร (Footer) โดย

ก าหนดให้เป็น 0.3 นิ้ว ดังรูปที่ 18

รูปที่ 18 การก าหนดระยะของหวักระดาษและท้ายกระดาษ

Page 49: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 44

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

7.2 การแบ่งส่วนของเอกสาร ในการท าสารนิพนธ์ให้ท าการแบ่งเอกสารออกเป็น 3 ส่วนคือ ปกนอก , ส่วนน า ,

ส่วนเนื้อหา โดยกาก าหนดค่าต่างๆดังนี้

1) เลือกเครื่องมือ ¶ เพ่ือให้แสดงส่วนประกอบต่างๆ ดังรูปที่ 19

รูปที่ 19 การเปิดเครื่องมือช่วยดูส่วนประกอบ

2) ท าการแบ่งส่วนของเอกสาร โดยเลือก Page Laout -> Breaks -> Next Page

ดังรูปที่ 20

รูปที่ 20 แบ่งหน้าเอกสาร

Page 50: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 45

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3) ให้ท าการแบ่งออก 2 ครั้ง จะได้ 3 ส่วนเรียกแต่ละส่วนว่า Session ดังรูปที่ 21

โดยใน Session ที่ 1 จะใช้เป็นปกนอก Session ที่ 2 ใช้เป็นส่วนน าของเอกสารประกอบไป

ด้วย บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ สารบัญต่างๆ Session ที่ 3 ใช้เป็น ส่วนของเนื้อหา ตั้งแต่

บทที่ 1 ถึง ภาคผนวก

ทั้งนี้ในส่วนของ Session ที่ 1 ตามข้อก าหนดไว้ให้เป็นส่วนของปกนอกสามารถตั้ง

ค่าหน้าเอกสาร ให้มีระยะห่างจากขอบที่แต่ต่างกันได้ โดยก าหนดให้ Page Setup ถูกใช้

เฉพาะ Session นั้น

รูปที่ 21 หน้าเอกสารที่ถูกแบ่ง

Page 51: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 46

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

7.3 การท าท าเลขหน้า 1) เลือกเมนู Insert -> Page Number -> Bottom of Page –> เลือกรูปแบบที่

อยู่ทางด้านขวา ดังรูปที่ 22

รูปที่ 22 การใส่เลขหน้า

2) ในส่วนของ Session ที่ 2 ดับเบิลคลิกที่ตัวเลขหน้า เพ่ือเข้าสู่การจัดการท้าย

กระดาษ แล้วคลิกขวาที่เลขหน้า แล้วเลือก Format Page Numbers ดังรูปที่ 23

รูปที่ 23 การก าหนดเลขหน้า

Page 52: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 47

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

3) ก าหนดรูปแบบเป็นเลขโรมันตัวใหญ่ ให้เริ่มที่ 1 ดังรูปที่ 24

รูปที่ 24 ก าหนดรูปแบบตัวเลขแบบเลขโรมัน

4) ท าแบบเดียวกันกับในข้อที่ 2 และ 3 ในส่วนของ Session ที่ 3 แต่ให้เปลี่ยนเป็น

ตัวเลข อารบิก โดยเริ่มที่ 1 ดังรูปที่ 25

รูปที่ 25 ก าหนดรูปแบบตัวเลขแบบเลขอารบิก

Page 53: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 48

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

5) ในส่วนของ Session ที่ 1 เป็นหน้าปกให้ท าการเลือกเมนู Insert -> Cover

Page -> Conservative ดังรูปที่ 26 แล้วลบเนื้อหาในส่วนของปกทิ้งแล้วสร้างใหม่ตาม

ข้อก าหนดของปก

รูปที่ 26 รูปแบบของปก

Page 54: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 49

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

7.4 การท าสารบัญ 1) ก าหนดหัวข้อที่จะมามาใช้เป็นตัวอ้างอิงในสารบัญ

1.1) ชื่อบท

1.1.1) ให้ไฮไลท์ข้อความแล้วเลือก Heading 1 ดังรูปที่ 27

รูปที่ 27 การก าหนดให้เป็นหัวข้อ

1.1.2) ปรับแก้ไขรูปแบบให้ตรงตามข้อก าหนด

1.1.3) คัดลอกรูปแบบใส่ในบทอ่ืนๆ โดยไฮไลท์ข้อความ เลือกเครื่องมือ ดัง

รูปที่ 28 แล้วไปไฮไลท์ข้อความที่ต้องการจะวางรูปแบบที่เหมือนกัน

รูปที่ 28 เครื่องมือส าหรับการคัดลอกรูปแบบ

Page 55: คู่มือการเขียนรายงาน ... · 2016-07-02 · 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา

คู่มือการเขียนรายงานวิทยานิพนธ์ | 50

บัณฑิตศึกษา คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

1.2) ชื่อหัวข้อล าดับที่ 1

1.2.1) ให้ไฮไลท์ข้อความแล้วเลือก Heading 2

1.2.2) ปรับแก้ไขรูปแบบให้ตรงตามข้อก าหนด

1.2.3) คัดลอกรูปแบบใส่ในหัวข้อล าดับที่ 1 อื่นๆ แบบเดียวกับข้อง 1.1.3)

1.3) ชื่อหัวข้อล าดับที่ 2

1.3.1) ชื่อหัวข้อล าดับที่ 2 ให้ไฮไลท์ข้อความแล้วเลือก Heading 3

1.3.2) ปรับแก้ไขรูปแบบให้ตรงตามข้อก าหนด

1.3.3) คัดลอกรูปแบบใส่ในหัวข้อล าดับที่ 2 อ่ืนๆ แบบเดียวกับข้อง 1.3

2) เลือกต าแหน่งที่จะว่างแล้วเลือกเครื่องมือในการสร้างโดยเลือกเมนู References

-> Table of Content ดังรูปที่ 29

รูปที่ 29 เครื่องมือส าหรับท าสารบัญ

3) ท าการปรับแก้ไขรูปแบบให้ตรงตามข้อก าหนด โดยในส่วนของบทแต่ละบท

ให้พิพม์ ชื่อบทต่อท้าย