รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ......

23
- 1 - รายงานการประเมินตนเอง ประจาปีการศึกษา 2555 (1 กรกฎาคม 255530 มิถุนายน 2556) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556

Upload: others

Post on 24-Dec-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 1 -

รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปีการศึกษา 2555

(1 กรกฎาคม 2555–30 มิถุนายน 2556)

สาขาวิชาศึกษาศาสตร ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556

Page 2: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 2 -

ค าน า

รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ จัดทําขึ้นตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เพ่ือรวบรวมและรายงานผลการดําเนินงานด้าน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2555 (1 กรกฎาคม 2555 - 30 มิถุนายน 2556) ของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใช้ในการ รองรับการประเมินเพ่ือรับรองมาตรฐานคุณภาพภายในระดับสาขาวิชา รวมทั้งใช้เป็นกลไกในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและการบริหาร จัดการองค์กรตามภารกิจของสาขาวิชา ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการประเมินตนเองยึดกรอบตามองค์ประกอบคุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดําเนินงาน องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนา นิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ นอกจากนี้ ยังได้เพ่ิมรายงานความก้าวหน้าจากผลการประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในที่ผ่านมาจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ตลอดจนการวิเคราะห์จุดอ่อน และวิธีแก้ไข จุดแข็ง และวิธีเสริมให้ดีมากข้ึน เพ่ือพัฒนาสาขาวิชาต่อไป

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากคณะกรรมการประกันคุณภาพสาขาวิชา คณาจารย์ และหน่วยเลขานุการกิจของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ในการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เพ่ือรายงานผลการประเมินตนเองและหลักฐานอ้างอิง ซึ่งทําให้ได้รายงานการประเมินตนเองที่มีความครบถ้วน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ จีนะวัฒน์) ประธานกรรมการประจําสาขาวิชาศึกษาศาสตร์

มิถุนายน 2556

Page 3: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 3 -

ส่วนน า บทสรุปส าหรับผู้บริหาร การประเมินตนเองของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช เปน็การประเมินผลการดาํเนินงาน ปีการศึกษา 2555 เพื่อให้สะท้อนคุณภาพการ

ดําเนินงานจริง ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินตนเองครั้งนี้ ประกอบด้วย ข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอน ใช้รอบเวลาตามปีการศึกษา 2555 (1 กรกฎาคม 2555 - 30 มิถุนายน 2556) และข้อมูลด้านการบริหารจัดการ ใช้รอบเวลาตามปงีบประมาณ พ.ศ. 2555 ( 1ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2555) โดยอิงเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในปกีารศึกษา 2555 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ได้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สกอ. (23 ตัวบ่งชี้) ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดบัคะแนน – รวมทั้งตัวบ่งชี้คุณภาพเพิม่เติมของ สมศ. (16 ตัวบ่งชี้) รวมทั้งสิ้น 39 ตัวบง่ชี้ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดบัคะแนน 4.83

ผลการประเมินเป็นรายองคป์ระกอบ เป็นดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 4.75 องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 4.75 องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 องค์ประกอบที่ 97 องค์ประกอบตามอัตลักษณ์ ................(ดูคะแนนจากตาราง ส. 1+)

Page 4: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 4 -

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงาน

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหน่วยงาน 1) ชื่อหน่วยงาน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ 2) ที่ตั้งหน่วยงาน ตั้งอยู่ที่ชั้น 6 อาคารวิชาการ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โทรศัพท์ 0-2504-7777 ต่อ 8501-4 โทรสาร 0-2503-3566-7 3) ประวัติความเป็นมา

สาขาวชิาศึกษาศาสตร์ จัดตั้งขึน้เมื่อวันที ่7 กุมภาพันธ์ 2522 โดยคณะอนุกรรมการการศึกษา และจัดทําโครงการมหาวิทยาลัยเปิดซึ่งมี ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน เป็นประธาน ไดพ้ิจารณาเห็นว่า ศึกษาศาสตร์เป็นสาขาวชิาหนึง่ที่สมควรได้รับการจัดตั้งขึ้นในระยะแรก โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะเพิ่มวฒุิการศกึษาของครูประจําการ โดยไมผ่ลิตครูใหม่ เนื่องจากคณะอนุกรรมการสํารวจพบว่า โรงเรียนประถมศึกษาในขณะนั้นมีครูประจําการจํานวนถึง 4 แสนกว่าคน ซึ่งยังมีวุฒติ่ํากว่ามาตรฐานจําเป็นต้องรีบพัฒนาให้ครูเหล่านี้มีวุฒิในระดับปริญญาตรีเปน็อย่างน้อย

ในระยะแรก สาขาวชิาศึกษาศาสตร์เปิดสอน 3 แขนงวิชาคือ แขนงวิชาบริหารการศึกษา แขนงวิชาประถมศึกษา เปิดสอนวชิาเอกปฐมวัยศึกษา และประถมศึกษา แขนงวชิามัธยมศกึษา เปิดสอนวชิาเอกภาษาไทย สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเปิดสอนทั้งระดับปริญญาตรี 4 ปี และปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี นอกจากนี้ สาขาวิชายังต้องคาํนึงถึงผูไ้ม่มีวุฒิทางการศึกษา แต่ต้องมาประกอบอาชีพครู และต้องการจะเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ตนเอง จึงได้กําหนดให้มีหลักสูตรประกาศนยีบัตรวิชาชีพครู 1 ปี ต่อมาได้เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี อีก 4 แขนงวิชา คือ แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา แขนงวชิาการศึกษานอกระบบ แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวทิยา แขนงวิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา

สาขาวชิาศึกษาศาสตรไ์ด้เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดยระดบัปริญญาโทเปิดสอนในปีการศึกษา 2536 จํานวน 3 แขนงวชิา คือ แขนงวิชาบริหารการศึกษา แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน และแขนงวชิาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ในปีการศึกษา 2544 เปิดสอนระดับบณัฑิตศึกษาเพิ่มอีก 3 แขนงวิชา คือ แขนงวิชา- การแนะแนวและการปรึกษาเชงิจิตวิทยา แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ และแขนงวชิาการวดัและประเมินผลการศึกษา และในปีการศึกษา 2549 ได้เปิดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วชิาเอกบริหารการศึกษา วิชาเอกการประเมินการศึกษา ในปีการศึกษา 2550 เปดิสอนเพิ่มเติม ในวิชาเอกหลักสตูรและการสอน วชิาเอกจิตวิทยาการแนะแนวและการปรึกษา วชิาเอกการศึกษาทางไกล และวิชาเอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ตามลําดับ

Page 5: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 5 -

1.2 ปณิธาน วิสัยทัศน์ และวัตถุประสงค์หน่วยงาน

ปณิธาน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต โดยเปิดโอกาสอย่างเสมอภาคให้บุคลากรประจําการทางการศึกษา

และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้เพ่ิมพูนความรู้ วิทยฐานะ ประสบการณ์และขยายโอกาสทางการศึกษา เพ่ือสนองความต้องการของบุคลากร และสังคมให้เป็นบุคคลเรียนรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้วยการจัดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งใช้สื่อประสมที่ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง

วิสัยทัศน์ องค์กรชั้นนําที่มุ่งพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านการศึกษาให้มีคุณภาพด้วยระบบการศึกษาทางไกลโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม และทันสมัย

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือให้การศึกษาแก่บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ทางการศึกษาหรือมีวุฒิทางการศึกษา เพ่ิมพูนวิทยฐานะ และความรู้ความสามารถทางวิชาการ

อันจะนําไปสู่การพัฒนาวิชาชีพของตน 2. เพ่ือผลิตบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้คู่คุณธรรมสอดคล้องกับความต้องการของสังคม และท้องถิ่นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข 3. เพ่ือให้บริการทางวิชาการด้วยการส่งเสริม และเผยแพร่ความรู้ทางการศึกษาแก่สังคมและชุมชน 4. เพ่ือส่งเสริมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชนและสังคม 5. เพ่ือประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในวิชาชีพศึกษาศาสตร์ 6. เพ่ือสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยการส่งเสริมการวิจัยที่มีประโยชน์ต่อวิชาชีพ ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

Page 6: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 6 -

1.3 โครงสร้างการบริหารงาน

1.4 รายชื่อผู้บริหาร

คณะกรรมการประจําสาขาวชิา

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา ประจาํสาขาวิชา

ประธานกรรมการประจาํสาขาวิชา คณะกรรมการที่ปรึกษาสาขาวิชา

คณะกรรมการประกันคุณภาพ สาขาวิชา

แขนงวิชา

ประถมศึกษา

คณะท างาน

มัธยมศึกษา

บริหารการศึกษา

การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

หลักสูตรและการสอนและประสบการณ์วิชาชีพ

บริการวิชาการและสาธิตเสริมสมอง

วารสารสาขาวิชาศึกษาศาสตร์สัมพันธ์

แผนงานและโครงการ

การศึกษานอกระบบ

เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

การจัดการความรู้

พัฒนางานวิจัย

การวัดและประเมินผลการศึกษาประถมศึกษา

ฐานข้อมูลและประชาสัมพันธ์

Page 7: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 7 -

ในปีการศึกษา 2555 ผู้บริหารสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ประกอบด้วย

ต าแหน่งบริหาร ชื่อ – สกุล

ประธานกรรมการประจําสาขาวิชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรณพ จีนะวฒัน ์รองประธานกรรมการประจาํสาขาวิชาฯ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิธิพฒัน์ เมฆขจร รองประธานกรรมการประจาํสาขาวิชาฯ ฝ่ายบริหาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวีวัฒน ์ วัฒนกุลเจริญ เลขานุการคณะกรรมการประจําสาขาวิชา อาจารย์ ดร.ดวงเดือน พินสุวรรณ์

1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน

ในปีการศึกษา 2555 สาขาวชิาศึกษาศาสตร์ มีหลักสูตรการศึกษาที่เปิดสอนทั้งสิน้จํานวน 11 หลักสูตร จําแนกตามระดับการศึกษา ดังนี ้

ระดับการศึกษา จ านวนหลักสูตร

1. ประกาศนียบัตร (ต่ํากว่าปริญญาตรี) - 2. ปริญญาตรี 1 3. ประกาศนียบัตรบัณฑิต 2 4. ปริญญาโท 6 5. ปริญญาเอก 2

รวมทั้งสิ้น 11 ที่มา : ฝ่ายพัฒนาหลักสูตร สํานักวิชาการ

Page 8: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 8 -

1.6 จ านวนนักศึกษา ในปีการศึกษา 2555 มีนักศึกษาเข้าใหม่ 4,590 คน นักศึกษาลงทะเบียนทั้งหมดจาํนวน 12,314 คน และผู้สําเร็จการศึกษา

จํานวน 987 คน จําแนกตามระดับการศึกษา ดังนี ้ หน่วย : คน

ระดับการศึกษา นักศึกษาเข้าใหม ่ นักศึกษาทั้งหมด ผู้ส าเร็จการศึกษา

1. ประกาศนียบัตร (ต่ํากว่าปริญญาตรี) 522 844 192 2. ปริญญาตรี 4,009 11,303 778 3. ประกาศนียบัตรบัณฑิต - - - 4. ปริญญาโท 19 154 17 5. ปริญญาเอก 10 13 -

รวมทั้งสิ้น 4,590 12,314 987 ที่มา : กองแผนงาน

Page 9: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 9 -

1.7 จ านวนอาจารย์และบุคลากร

ในปีการศึกษา 2555 มีบุคลากรปฏิบัติการจําแนกได้ ดังนี้ 1) บุคลากรจําแนกตามประเภทบุคลากร

หน่วย : คน

ประเภทบุคลากร สายวิชาการ สายสนับสนนุ รวม

ข้าราชการ 27 3 30 พนักงานมหาวิทยาลัย 19 1 20 พนักงานชั่วคราว ตําแหน่งอาจารย์ประจําพิเศษ 5 - 5 ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 - 1 ลูกจ้างประจํา - - -

- ลูกจ้างประจํางบประมาณแผน่ดิน - - - - ลูกจ้างประจํางบประมาณเงนิรายได้ - 1 1 - ลูกจ้างประจําลักษณะพิเศษ - - -

ลูกจ้างชั่วคราว - - - - ลูกจ้างชัว่คราวรายเดือน (เงนิรายได้) - 8 8 - ลูกจ้างชัว่คราวชาวตา่งประเทศ (รายปี - งบประมาณแผน่ดิน) - - -

รวม 52 13 65 ที่มา : กองการเจ้าหน้าที่

Page 10: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 10 -

1.8 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (เงินนอกงบประมาณ) ดังนี้ หน่วย : บาท

งบรายจ่าย งบประมาณเงินรายได ้(เงินนอกงบประมาณ)

งบบุคลากร 2,956,200 งบดําเนนิงาน 1,324,800 งบลงทุน - งบเงินอุดหนุน 3,889,000 งบรายจา่ยอื่น 55,800

รวมทั้งสิ้น 8,225,800 ที่มา : กองแผนงาน

Page 11: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 11 -

1.10 ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้ประเมินปีที่ผ่านมา

ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน โครงการ / กิจกรรมเพื่อการพัฒนา ก าหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ รายการเอกสารอ้างอิง 1) ควรส่งเสริมให้ผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทเผยแพร่หรือตีพิมพ์ผลงานวิจัย โดยอาจมีการกําหนด มาตรการส่งเสริมที่เป็นรูปธรรม เช่น การระบุแหลง่เผยแพร่ และตีพิมพ ์การให้คําแนะนาแก่ผู้สําเร็จการศึกษาในการจัดทาํบทความเพื่อการเผยแพร่หรือตีพิมพ์รวมทั้งเทคนิคการนําเสนอที่จาํเปน็ เป็นต้น

ชื่อโครงการ / กิจกรรม การเผยแพร่รายชื่อวารสารและแหล่งตีพิมพ์ผลงานวิจัยผ่านเว็บไซต ์

ผู้รับผิดชอบ คณะทํางานฐานข้อมูลและประชาสัมพนัธ์ สาขาวชิาศึกษาศาสตร ์

ภายในปีงบประมาณ 2555 รายชื่อวารสารจากเว็บไซต์สาขาวชิาศึกษาศาสตร ์

2) ควรมีมาตรการส่งเสริมหรือผลักดัน ให้คณาจารย์ตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับชาติ/นานาชาต ิรวมทั้งมีการเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อให้หน่วยงานภายนอกไดน้ําไปใช้ประโยชน ์

ชื่อโครงการ / กิจกรรม การพัฒนามาตรฐานวารสารศึกษาศาสตร์ให้เข้า สู่ฐานข้อมูล TCI เพื่อให้คณาจารย์ตีพิมพ์บทความในระดับชาติ และการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณาจารย์ผ่านเวบ็ไซต์ของสาขาวชิาศึกษาศาสตร์

ผู้รับผิดชอบ คณะทํางานวารสาร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ร่วมกับ คณะทํางานฐานข้อมูลและประชาสัมพันธ์

ภายในปีงบประมาณ 2555 - บันทึกข้อความที่ระบุให้วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ.อยู่ในฐานข้อมูล TCI - รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่อยู่ในฐานข้อมูลของ TCI - เว็บไซต์สาขาวชิาศึกษาศาสตร ์

Page 12: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 12 -

ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน โครงการ / กิจกรรมเพื่อการพัฒนา ก าหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ รายการเอกสารอ้างอิง 3) ควรมีมาตรการส่งเสริมให้คณาจารย์จัดทําโครงการบริการวิชาการแก่สังคม และนําผลที่ได้ไปบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัยอยา่งจริงจัง

ชื่อโครงการ / กิจกรรม สาขาวชิามีการสนบัสนนุให้คณาจารย์ดาํเนินโครงการบริการวิชาการอย่างตอ่เนื่อง และเน้นให้คณาจารย์นาํผลจากการบริการวิชาการมาบูรณาการกับการเรียนการสอน และการวิจัย ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการประกันคุรภาพสาขาวิชา

ภายในปีงบประมาณ 2555 - รายชื่อโครงการบริการวชิาการ - รายชื่อโครงการบริการวชิาการ ที่นํามาใช้ในการเรียนการสอน และรายการวิจัย

4) ควรให้ความสําคัญกับการจัดการความรู้ของคณาจารย์ในสาขาวชิาทัง้ดา้นการผลิตบัณฑิตและการวิจัย

ชื่อโครงการ / กิจกรรม การจัดการความรู้ เรื่อง “การวิจัยชุดวิชา” โดยการจัดประชุมแลกเปลีย่นเรียนรู้เรื่องการวิจัย ชุดวิชา เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาใช้ในการพัฒนาการวิจัย และนาํผลมาจัดการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพมากข้ึน ผู้รับผิดชอบ คณะทํางานการจัดการความรู้

ภายในปีงบประมาณ 2555 (กําหนดให้ทุกปีงบประมาณ มีการจัดการความรู้อย่างน้อย 2 เรื่อง)

- แผนการจัดการความรู ้- สรุปความรู้เรื่อง การวิจัยชุดวชิา

Page 13: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 13 -

ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน โครงการ / กิจกรรมเพื่อการพัฒนา ก าหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ รายการเอกสารอ้างอิง 5) ควรให้ความสําคัญกับการรายงานผลการดําเนินงานและหลักฐานทีส่อดคล้องกัน และสัมพนัธ์กับเกณฑ์และตัวบ่งชี้อย่างเหมาะสมและครบถ้วน

ชื่อโครงการ / กิจกรรม สาขาวชิาได้มีการตรวจสอบการรายงานผลการดําเนินงานอยา่งถ้วนถี่ โดยดําเนินการในลักษณะ ของคณะกรรมการที่เป็นตัวแทนของแต่ละแขนงวชิา โดย มีการใช้คู่มือการประกันคณุภาพเพื่อใช้ประกอบการ หาหลักฐานตามทีก่ําหนด มีการแลกเปลี่ยนและอภิปรายถึงความถูกต้องของ หลักฐานทีน่ํามาแสดงทุกตัวบ่งชี้ ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการประกันคุณภาพ สาขาวิชาศึกษาศาสตร ์

- รายงานการประชุมคณะทาํงานประกันคุณภาพ

หมายเหต ุ - ให้นําผลการประเมินตัวบ่งช้ีในรอบปีการศึกษาท่ีผ่านมาที่ได้คะแนน เท่ากับ 1 มารายงาน หรืออาจนําข้อเสนอแนะที่มีนัยสําคัญมากําหนดโครงการ / กิจกรรม เพื่อใช้พัฒนาหน่วยงานตามความเหมาะสม

- ในกรณีที่สามารถดาํเนินการพัฒนา / ปรับปรุงได้ตาม “โครงการ / กิจกรรมเพื่อการพัฒนา” ที่กําหนดไว้ โปรดระบุรายการเอกสารอ้างอิงด้วย

Page 14: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 14 -

ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเอง

การประเมินตนเองของสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช เปน็การประเมินผลการดาํเนินงานปีการศึกษา 2555 เพื่อให้สะท้อนคุณภาพการ

ดําเนินงานจริง ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินตนเองครั้งนี้ประกอบด้วยข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอน ใช้รอบเวลาตามปีการศึกษา 2555 (1 กรกฎาคม 2555 - 30 มิถุนายน 2556) และข้อมูลด้านการบริหารจัดการ ใช้รอบเวลาตามปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 (1 ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2555) โดยอิงเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นหลัก

แต่เนื่องจาก ตัวบ่งชี้บางตัวไมส่อดคล้องกับบริบทการจัดการเรียนในระบบทางไกลของมหาวทิยาลัย จงึได้ขอยกเว้นการประเมินหรือบางกรณีอาจขอประเมินเฉพาะระดบัสถาบนั และใชผ้ลประเมินของสถาบนัเป็นผลประเมินระดับสาขาวิชา อยา่งไรก็ตาม เพื่อให้สะท้อนคุณภาพการดําเนินงานจริงของมหาวิทยาลัย ในการประเมนิคร้ังนี้ จึงได้เพิ่มเติม ตัวบ่งชี้คุณภาพผนวกต่อท้ายบางองค์ประกอบด้วย

ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์คุณภาพ ประจําปีการศึกษา 2555 มีดังนี้

Page 15: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 15 -

องค์ประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

องค์ประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (สมศ.2) คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 (สกอ.) ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 4.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 (สกอ.) ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 (สกอ. 2.6) ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 (สกอ.) ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 4.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ระดับความสําเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

Page 16: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 16 -

องค์ประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการให้คําปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 (สกอ.) ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

องค์ประกอบท่ี 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (สกอ.4.2) ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

องค์ประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 (สกอ.) กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 5.9 (สมศ.9) ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

Page 17: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 17 -

องค์ประกอบท่ี 6 การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม (สกอ. 6.1) ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 6.10 (สมศ.10) การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

องค์ประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 (สกอ.) ภาวะผู้นําของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน

ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 (สกอ.) ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 7.4: ระบบบริหารความเสี่ยง (สกอ. 7.4) ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 4.00

องค์ประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 (สกอ.) ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

องค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ผลการประเมินตนเองอยู่ที่ระดับคะแนน 5.00

Page 18: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 18 -

ข้อสรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด าเนินการ

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. มีคณะทํางานแผนและโครงการที่ประกอบด้วยตัวแทนจาก

ทุกแขนงวิชา ทําหน้าที่วางแนวทางการบริหารงานแผน คอยกํากับ ติดตามการดําเนินงานโดยตรง

2. คณาจารย์ให้ความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจในการดําเนินงานตามแนวทางการบริหารงานแผนของสาขาวิชาฯ เป็นอย่างดี

1.1. พัฒนาแนวทางการกํากับ ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานตามแผนให้กระชับ และต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของคณาจารย์

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. มีแนวทางการเสริมแรง และมาตรการเร่งรัด สําหรับ

ผู้รับผิดชอบ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพ่ือให้เกิดผลการปฏิบัติงานตามแผนที่มีประสิทธิภาพ

1.1. ใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร ในการเสริมแรง และเร่งรัดการดําเนินงานตามแผน

นวัตกรรม (ถ้ามี) แนวปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี) ...........................................-.................................................... .................................................................................................

..........................................-....................................................

...............................................................................................

Page 19: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 19 -

องค์ประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. มีการประเมินหลักสูตรในรูปแบบของการวิจัย 2. มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิการศึกษาสูง และมีความเชี่ยวชาญ

ในศาสตร์เฉพาะของตน

1. ควรมีระบบฐานข้อมูลเก็บรวบรวมข้อมูลรายงานการวิจัยชุดวิชา เพ่ือเผยแพร่

2. ควรมีการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้หน่วยงานภายนอกได้ทราบถึง ความเชี่ยวชาญ และความชํานาญของอาจารย์ในสาขาวิชา

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. ส่งเสริมให้มีการทําวิจัยชุดวิชาที่เปิดสอนทุกชุดวิชา

แล้วนําผลการวิจัยมาปรับการจัดการเรียนการสอนได้ครบทุกชุดวิชา ทั้งในระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา

2. ส่งเสริมให้อาจารย์ขอตําแหน่งทางวิชาการให้สูงขึ้น 3. ส่งเสริมให้อาจารย์นําผลการวิจัย/การจัดการเรียนรู้

มาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

1.1 กําหนดเป็นนโยบายของสาขาวิชา 1.2 สนันสนุนสิ่งอํานวยความสะดวก 1.3 จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 1.4 ให้สาขาวิชากําหนดคณะทํางานติดตามการนําผลการวิจัยชุดวิชา

ไปใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอนแต่ละชุดวิชา 2. ให้สาขาวิชาส่งเสริม สนับสนุน และอํานวยความสะดวกให้แก่

อาจารย์ ในการขอตําแหน่งทางวิชาการให้สูงขึ้น 3. กําหนดเป็นนโยบายของสาขาวิชา และมอบหมายให้คณะทํางาน

ที่เก่ียวข้องดําเนินการ และติดตามผล นวัตกรรม (ถ้ามี) แนวปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี)

..........................................-.................................................. ....................................................-........................................................

Page 20: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 20 -

องค์ประกอบท่ี 4 การวิจัย

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. มีระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยที่ดี 2. มีระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยที่ดี 3. ได้รับงบประมาณวิจัยจากหน่วยงานภายในและภายนอก จํานวนมาก และหลากหลายแหล่ง

1.1. ส่งเสริมให้มีระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยที่ดีอย่างต่อเนื่อง

2.1. ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้จากงานวิจัยอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง

3.1. สนับสนุนจัดหาแหล่งทุนวิจัยและประชาสัมพันธ์ให้คณาจารย์ทราบอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. นํางานวิจัยไปใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 2. เผยแพร่งานวิจัยในระดับชาติ และนานาชาติให้มากขึ้น

1.1. สนับสนุนให้หน่วยงานนาํผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น 2.1. กระตุ้นให้คณาจารย์นําผลงานวิจัยไปเผยแพร่ในระดับชาติ

และนานาชาติให้มากข้ึน

นวัตกรรม (ถ้ามี) แนวปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี) ...........................................-..................................................... ............................................-....................................................

Page 21: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 21 -

องค์ประกอบท่ี 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

1. สาขาวิชาได้จดัทําโครงการบริการวิชาการแกส่ังคม เป็นประจํา

อย่างต่อเนื่องทุกปี โดยโครงการทีจ่ัดบริการส่วนมากไดม้าจากการสอบถามความ

ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยมดีําเนินการจากคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญ

ในแต่ละศาสตร์ และคณาจารย์จะนําความรู้ทีไ่ด้จากการให้บริการวิชาการไป

บูรณาการกับการเรียนการสอน เช่น การเขียนประมวลสาระ เอกสารการสอน

และแนวกิจกรรม หรือตลอดจนการนําไปบรูณาการกับการวิจัย อยา่งต่อเนื่อง

1.1 ควรมีการจัดทํา website สําหรับการประชาสัมพันธ์เพื่อให้กลุ่ม

เป้าหมายทีส่นใจได้ทราบและมาขอรับบริการโครงการบริการวิชาการ

1.2 ควรมีระบบฐานข้อมลูในการจัดเก็บความรู้ที่ได้รับจากการโครงการบริการ

วิชาการแก่สังคม เพื่อใช้ในการเกบ็รวบรวมข้อมลูความรู้ และเพื่อให้สะดวก ต่อการสบืค้น

ข้อมูลการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมสําหรับผู้ที่สนใจท่ัวไปใช้เปน็ประโยชน์

1.3 ควรมีระบบในการพัฒนาอาจารย์ที่บรรจุใหม่ให้มสี่วนร่วมในการให้บริการ

วิชาการโดยเริ่มจากการเป็นคณะทํางานในโครงการเพื่อให้อาจารยท์ี่บรรจุใหมไ่ด้มโีอกาส

ในการเพิ่มพูนประสบการณ์การทาํงานมากขึ้น

1.4 ควรมีการกระตุ้นให้คณาจารย์ได้นําโครงการบริการวิชาการนําไปบูรณาการ

กับการวิจัยเพิ่มมากขึ้น

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา

1. สาขาวิชาควรขยายกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการโครงการบริการวิชาการ

แก่สังคมให้กว้างขึ้น

2. สาขาวิชาควรนําโครงการบริการวิชาการไปบรูณาการในการทําวจิัยเพิ่ม

มากขึ้นเพื่อจะได้นําองค์ความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการเรียนการสอนและการวจิัยต่อไป

1. ควรจัดให้มีการให้บริการกบักลุม่เป้าหมายอื่น ๆ เพิ่มมากข้ึน เช่น ผู้สูงอายุ

ผู้ว่างงาน พระภิกษุ ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ด้วยสื่อสิ่งพิมพ์และสือ่อิเล็กทรอนิกส์ที่

หลากหลาย

นวัตกรรม (ถ้ามี) แนวปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี)

...........................................-..................................................... ............................................-....................................................

Page 22: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 22 -

องค์ประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. ประธานและคณะกรรมการประจําสาขาวิชาสามารถปฏิบัติ

หน้าที่ ได้ครบถ้วนตามที่กฎหมายกําหนด 2. ประธานและคณะกรรมการประจําสาขาวิชาเปิดโอกาสและ

สนับสนุนให้บุคลากรในสาขาวิชามีส่วนร่วมในการบริหารและให้อํานาจในการตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม

3. คณะทํางานการจัดการความรู้ของสาขาวิชามีความเป็นทีมงานสูง และสามารถดําเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ได้ครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กําหนด

1.1 ควรมีการประชาสัมพันธ์ผลการปฏิบัติงานของประธานและคณะกรรมการประจําสาขาวิชาให้ประชาคมทั้งภายในและภายนอกรับทราบ อย่างต่อเนื่อง

3.1 ควรบูรณาการการทํางานระหว่างคณะทํางานจัดการความรู้และ

คณะทํางานประกันคุณภาพที่รับผิดชอบตัวบ่งชี้ “การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรียนรู้” เข้าด้วยกัน เพ่ือให้งานทั้งสองส่วนบูรณาการเป็นงานเดียวกัน

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. ควรนําผลการประเมินด้านการบริหารความเสี่ยงในรอบปี

ที่ผ่านมา มาใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยง 1.1 ในทุกรอบปีที่มีการวางแผนและการดําเนินงานการบริหารความเสี่ยง

ควรนําผลการประเมินในรอบปีก่อนมาใช้ประโยชน์ นวัตกรรม (ถ้ามี) แนวปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี)

- -

Page 23: รายงานการประเมินตนเอง ประจ าปี ... 55.pdfรายงานการประเม นตนเองฉบ บน จ ดท

- 23 -

องค์ประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. มีคณะกรรมการประกันคุณภาพท่ีเข้มแข็ง 2. มีการจัดระเบียบวาระการประชุมเรื่อง การประกันคุณภาพสาขาวิชา

ในการประชุมคณาจารย์ทุกเดือน 3. คณาจารย์มีส่วนร่วมในการกําหนดยุทธศาสตร์การดําเนินงานของ

สาขาวิชา

1.1 ส่งเสริมให้คณาจารย์ตระหนักถึงความสําคัญและมีส่วนร่วมในกระบวนการประกันคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวาระพิจารณาในประเด็นที่สําคัญ

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการพัฒนา 1. ระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลและหลักฐานเพื่อการประกันคุณภาพ

ยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอ 2. การจัดทําโครงการ/กิจกรรมตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ

ประเมินยังไม่ครบถ้วน

1. ควรพัฒนาระบบและกลไกการเก็บรวบรวมข้อมูลและหลักฐานขององค์ประกอบต่างๆ เพ่ือการประกันคุณภาพ

2. ต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน เพ่ือจัด ทําเป็นแผนโครงการ/กิจกรรมของสาขาวิชาให้มากที่สุด

นวัตกรรม (ถ้ามี) แนวปฏิบัติที่ดี (ถ้ามี) 1. .............................................-................................................ 1. การใช้ที่ประชุมคณาจารย์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ และติดตามการประกัน

คุณภาพทุกเดือน