แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-src-ksn.pdfศ...

93
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org แบบบันทึกการปฏิบัติงานครู ครู กศน.ตําบล/ครูประจําศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.) ประจําปงบประมาณ ....................... ภาคเรียนที.............. ชื่อ…………………………….. สกุล………………………………… ตําแหนง……………………………………………………………… สังกัด กศน.อําเภอพิบูลยรักษ จังหวัดอุดรธานี ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

Upload: others

Post on 24-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

แบบบันทึกการปฏิบัติงานคร ูครู กศน.ตําบล/ครูประจําศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.)

ประจําปงบประมาณ ....................... ภาคเรียนที ่..............

ชื่อ……………………………..สกุล…………………………………

ตําแหนง………………………………………………………………

สังกัด กศน.อําเภอพิบูลยรักษ จังหวัดอุดรธานี

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

คํานํา

เอกสารฉบับน้ี ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ ไดจัดทําข้ึนเพื่อ

เปนกรอบแนวทางใหครู กศน. ตําบล ศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.) ใชประกอบในการประกอบปฏิบัติหนาที่ โดย

มีเน้ือหาสาระประกอบไปดวย ขอมูลสวนตัวขอมูลการพัฒนาตนเอง ขอมูลชุมชน แผนการดําเนินงาน ปฏิทินการ

ดําเนินงาน ขอมูลนักศึกษาทุกประเภทที่รับผิดชอบและบันทึกรายงานผลการปฏิบัติงานของครู ตลอดจนความรู

ที่เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของครู ระเบียบคําสั่ง แนวทางการดําเนินงาน ระเบียบที่เกี่ยวของกับพนักงานราชการ

เชน วินัย เงินเดือน และเอกสารความรูใหม ๆ ของครู กศน.

นอกจากน้ี เอกสารฉบับน้ีจะชวยใหครูมีทิศทางและเอกสารในการตรวจสอบ กํากับติดตาม และ

ประเมินผลการปฏิบัติงาน ไดทราบความกาวหนาของตนเอง สําหรับผูบริหารจะไดเปนเครื่องมือในการนิเทศ

กํากับติดตาม การปฏิบัติงานของครู เพื่อนํามาปรับปรุง แกไขและพัฒนาการปฏิบัติงานรวมทั้งใชประโยชนใน

การประเมินผลการปฏิบัติงานของครูในรอบครึ่งปแรกและครึ่งปหลัง

หวังวาเอกสารฉบับน้ี จะชวยใหครูและผูบริหาร สามารถทํางานไดอยางสะดวก มีประสิทธิภาพเกิด

ประสิทธิผลมากข้ึนในอันจะสงผลตอนักศึกษา ผูรับบริการตอไป

ขอบคุณผูบริหารศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ ตลอดจน

ผูเกี่ยวของทุกทานที่ทําใหเอกสารฉบับน้ีเสร็จสมบูรณ อยางไรก็ตามพรอมที่จะใหผูบริหารและครูทุกทานมีสวน

รวมในการแสดงความคิดเห็น เพื่อแกไข/ปรับปรุงและพัฒนาใหดีย่ิงข้ึนในครั้งตอไป

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี

Page 3: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สารบัญ

แบบบันทึกการปฏิบัติงานครู กศน.ตําบล/ครู ศรช. ประวัติสวนตัว

ประวัติชุมชน

แผนที่ตําบล

แผนการดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ปฏิทินการปฏิบัติงาน

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. กระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษาตามอัธยาศัย

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

สรุปผลการปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย

ภาคความรูประกอบการปฏิบัติงานในบทบาทหนาที่ครู กศน. ตําบล/ครู ศรช. บทบาทหนาที่/ระเบียบ/คําสั่ง/หลักการแนวทางการปฏิบัติงาน

ระเบียบที่เกี่ยวกับพนักงานราชการและเอกสารความรูใหม เกี่ยวกับ กศน.ตําบล

Page 4: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

แบบบันทึกการปฏิบัติงานคร ูครู กศน.ตําบล/ครูประจําศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.)

Page 5: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ประวัติสวนตัว/ประวัติการทํางาน

ต้ังแตวันท่ี …………………ตามคําสั่ง……………………………………….

ต้ังแตวันท่ี………………….ตามคําสั่ง……………………………………….

1. ชื่อ – สกุล………………………………………………………………………………………

2. วัน เดือน ปเกิด ………………………………………………………………………………

3. ประวัติการศึกษา…………………………………………………………………………….

4. วุฒิการศึกษา

วุฒิการศึกษา สาขาวิชา จากสถาบัน ปท่ีจบ อนุปริญญา ปริญญาตร ี ปริญญาโท ประกาศนียบัตรวิชาชีพคร ู อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ ……………………………

5. ประวัติการทํางาน

วันเดือนป ตําแหนง/หนาท่ี เงินเดือน/คาจาง/

คาตอบแทน เลขท่ีคําสั่ง/ลงวันท่ี

6. ประวัติการประชุม –สัมมนา/อบรม/ศึกษาดูงาน

ท่ี หลักสูตร ระยะเวลา สถานท่ีจัด หนวยงานท่ีจัด หมายเหตุ

Page 6: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

7. ประวัติการเปนวิทยากร/เขียนตํารา/บทความ

ท่ี เรื่อง ประเภท กลุมเปาหมาย

(คน) จํานวน (ซม.)

หนวยงานท่ีจัด ระยะเวลา

8. ประวัติการสรางนวัตกรรม/ผลงานท่ีภาคภูมิใจ/ผลงานดีเดน/โล/รางวัล/เกียรติบัตร/วุฒิบัตร

ท่ี เรื่อง ประเภท หนวยงาน/

องคกรท่ีมอบให ประโยชนท่ีไดรับ

ระยะเวลา จํานวน (ชั่วโมง)

9. ใบประกอบวิชาชีพ ( ) ม ี

( ) ไมมี เหตุผลคือ ……………………………………………………………………………

( ) กําลังอยูในระหวางดําเนินการขอรับ จะไดรับการอนุมัติใหมีเมื่อ…………………

10. ความสามารถพิเศษ

…………………………………………………………………………………………………………………………................................

…….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………................................................................................................................................

Page 7: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ประวัติชุมชน/ตําบล บานแดง

คําชี้แจง : ใหบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับเน้ือหาขอมูลตําบล เชน ประวัติชุมชน /ตําบล ขอมูล

พื้นฐานชุมชน/ตําบล ประวัติหมูบาน ขอมูลพื้นฐานหมูบาน แหลงเรียนรู เปนตน

ประวัติความเปนมาของ กศน.ตําบลบานแดง กศน.ตําบลบานแดง เดิมเปน ศูนยการเรียนชุมชนบานแดง ต้ังอยูอาคาร อสม. ตอมายายมาที่ อาคาร

องคการบริหารสวนตําบลบานแดง(หลังเกา) เมื่อป 2554 ไดรับการยกฐานะใหเปน กศน.ตําบลและไดรับการจัดสรรงบประมาณในการกอสราง อาคาร กศน.ตําบล จึงไดทําการกอสรางข้ึนบริเวณเขตพื้นที่ของ กศน.อําเภอพิบูลยรักษ และไดเปลี่ยนช่ือเปน กศน.ตําบลบานแดง(แหลงเรียนรูชุมชน) ซึ่งต้ังอยูบานเลขที่ 226 หมูที่ 11 บานแดง ตําบลบานแดง อําเภอพิบูลยรักษ จังหวัดอุดรธานี ในการกอสรางแลวเสร็จเมื่อ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 และใชมาจนถึงปจจุบัน

ประวัติตําบลบานแดง

บานแดง เดิมช่ือ บานไท อยูติดกับลําหวยหลวง มีชาวบานอยูประมาณ 30 หลังคาเรือน เหตุที่ไดช่ือ บานไท เพราะมีชาวโคราชปนหมอดินเผา จึงเรียกวา บานไท ตอมามีชาวจังหวัดอุบลราชธานี เดินทางไปหนองคายเพื่อหาแหลงทํากินที่อุดมสมบูรณไดผานมา จึงขอพักอยูที่ น่ี บางคนก็ขอต้ังบานเ รือนอยูดวย จนกระทั่งป พ.ศ.2443 หลวงปูพิบูลย ซึ่งเรียนธรรมะมาจากผูวิเศษที่ภูอาก ประเทศลาว เมื่อสําเร็จวิชาความรูแลวอาจารยไมเทาหนักหมื่น (12 กิโลกรัม) ไดบอกใหไปสรางวัดและประกาศศาสนาที่ภาคอีสาน ประเทศไทย หลวงปูพิบูลยไดธุดงคมาที่วัดราง (วัดพระแทนในปจจุบัน) ใกลกับบานไท ทานไดชักชวนชาวบานไท และบานใกลเคียง บูรณะวัดแลวชวน ชาวบานไท ยายข้ึนมาจากริมหวยหลวง มาต้ังหมูบาน โดยทานไดวางแผนฝงหมูบานใหม และไดต้ังช่ือใหมวา บานแดง มูลเหตุแหงการต้ังช่ือบานแดง ก็เน่ืองจากวา เดิมหมูบานแหงน้ีมีหนองนํ้าแหงหน่ึงมีตํานานเลาวา มีขาศึกศัตรู คูอริ ทําการรบฆาฟนกัน อยูใกล ๆ หนองนํ้าแหงน้ี และมีคนตายจํานวนมาก พวกที่ไมตายก็พากันไปลางเลือดที่ติดอยูตามตัวและอาวุธ จนนํ้าในหนองเปนสีแดง จึงเรียกวา หนองแดง และอีกมูลเหตุหน่ึงในบริเวณแหงน้ีมีตนไมแดงใหญอยูตนหน่ึง และไมนานาชนิดที่อยูในบริเวณวัดลวนออกดอกสีแดงเต็มไปหมด จึงต้ังช่ือหมูบานวา “บานแดง” ตอมา ไดยกฐานะเปนตําบลบานแดง และไดรับการจัดต้ังใหเปน อําเภอพิบูลยรักษ ในปจจุบัน

ตําบลบานแดงเดิมข้ึนกับตําบลสรอยพราว อําเภอหนองหาน โดยมีนายทองแดง ปากเมย เปนกํานันคนแรก ตอมาหมูบานไดมีการขยายใหญข้ึนตามลําดับ จนเมื่อป พ.ศ.2510 กลางป ไดมีการแยกการปกครองออกจากตําบลสรอยพราวมาเปนตําบลบานแดง และไดมีการแยกเปนหมูบานตาง ๆ จนถึงปจจุบัน โดยแบงเขตพื้นที่การปกครองเปน 15 หมูบาน ดังน้ี

- หมูท่ี 1 บานแดง ผูใหญบาน คือ นายอาทิตย โสภาพร - หมูท่ี 2 บานหนองผักแวน

ผูใหญบาน คือ นายอนุภัทร บุญภา - หมูท่ี 3 บานไชยวาน

Page 8: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ผูใหญบาน คือ นายวิทูรย ศรีวิชา - หมูท่ี 4 บานดงยาง

ผูใหญบาน คือ นายนิยม ธุนันทา - หมูท่ี 5 บานโพธ์ิ

ผูใหญบาน คือ นายหนูกี หลักชัย - หมูท่ี 6 บานดอนเขือง

ผูใหญบาน คือ นายอาทร บุญพา - หมูท่ี 7 บานแดง

ผูใหญบาน คือ นายสุธิษา กองสะดี - หมูท่ี 8 บานโนนดู (บานแดง)

ผูใหญบาน คือ นายภานุพงษ หลักชัย - หมูท่ี 9 บานโนนลือชัย

ผูใหญบาน คือ นายอุน เวชไทสงค - หมูท่ี 10 บานแดง

กํานัน/ผูใหญบาน คือ นายราชัน บุญภา - หมูท่ี 11 บานแดง

ผูใหญบาน คือ นายบุดดี วงคออน - หมูท่ี 12 บานไชยวานพัฒนา

ผูใหญบาน คือ นายเวียงชัย ศรีวิชา - หมูท่ี 13 บานแดง

ผูใหญบาน คือ นายประเสริฐ บุญไชย - หมูท่ี 14 บานดงไร

ผูใหญบาน คือ นายเจนีวา อินทรจันทร - หมูท่ี 15 บานพรพิบูลย

ผูใหญบาน คือ นายสมัย ไชยคําจันทร

สภาพภูมิศาสตร ท่ีต้ัง อาณาเขต เสนทางคมนาคม

ตําบลบานแดงต้ังอยูทางดานทิศตะวันออกของตัวจังหวัดอุดรธานี สามารถใชเสนทางคมนาคมเขาตัวเมืองจังหวัดอุดรธานี ไดหลายเสนทาง เชน 1. บานแดง ต. บานแดง ต.สรอยพราว อ.หนองหาน อ.เมือง 2. บานแดง ต. บานแดง ต.สามพราว อ.เมือง 3. บานแดง ต.นาบัว ต.สรางแปน ต.สามพราว อ.เมือง 4. บานแดง ต.นาบัว ต.สุมเสา ต.นาขา อ.เมือง โดยระยะทางที่ใกลตัวเมอืงจังหวัดอุดรธานีมากที่สุด คือ เสนทางหมายเลข 2 ระยะทางประมาณ 35 กม. มีสภาพพื้นที่ราบสูง เปนสวนใหญ และมีที่ลุมเปนบางสวน โดยมีแมนํ้าสายสําคัญไหลผานทางทิศเหนือ คือ ลําหวยหลวง โดย อาณาเขต ของตําบลบานแดง มีดังน้ี

ทิศเหนือ ติดตอ อบต.สุมเสา อ.เพ็ญ

Page 9: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ทิศตะวันออก ติดตอ อบต.นาทราย อ.พิบูลยรักษ

ทิศตะวันตก ติดตอ อบต. นาบัว อ.เพ็ญ

ทิศใต ติดตอ อบต.บานแดง อ.พิบูลยรักษ

ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ แบงออกเปน 1. ที่ราบสูง อยูในบริเวณพื้นที่ของบานแดง,บานดงยาง,บานพรพิบูลย,บานดงไร,บานโนนลือชัย 2. ที่ราบลุมลําหวยหลวงและหวยดาน(ทาม)อยูในพื้นที่ของบานแดง,บานดงยางบางสวน,บานโพธ์ิ, บานไชยวานนอย, บานไชยวานพัฒนา, บานหนองผักแวน, บานดอนเขือง ทรัพยากรดิน ลักษณะดินของพื้นที ่ตําบลบานแดง เปนดินรวนปนทรายในบริเวณราบลุมจะมีความอุดมสมบูรณมากเหมาะสําหรับทํานา และบริเวณที่ราบสูงเหมาะแกการปลูกพืชไร ทรัพยากรนํ้า แหลงนํ้าที่สําคัญของตําบลบานแดง ซึ่งเปรียบเสมือนสายเลือกสําคัญที่หลอเลี้ยงชาวตําบล บานแดง คือ ลําหวยหลวง และสายที่สอง ลําหวยดาน นํ้าอุปโภคบริโภค นํานํ้าจากลําหวยหลวง และแหลงนํ้าสํารอง คือ หวยยาง ซึ่งมีนํ้าตลอดปและเพียงพอตอความตองการของประชาชน จํานวน 8 หมูบาน และตําบลใกลเคียง และอีกสวนหน่ึงไดอาศัยแหลงนํ้าใตดินเปนหลักในการอุปโภคบริโภค นํ้าเพื่อการเกษตร บางสวนของตําบลบานแดง ไดรับการบริการจากโครงการสูบนํ้าดวยไฟฟา ของกรมชลประทานที่ทําการถายโอน ใหองคการบริหารสวนตําบลบานแดง ตามโครงการภารกิจถายโอนใหทองถ่ินดูแลและจัดการ คือพื้นที่บานดงยาง ,บานพรพิบูลย บานโพธ์ิและบางสวน ไดรับบริการจากการสูบนํ้าจากลําหวยหลวงเพื่อการเกษตรดังกลาวและอีกบางสวน ไดอาศัยนํ้าจากลําหวยดาน หวยอีคํ้า หวยยาง อางเก็บนํ้าหวยยาง เปนตน ทรัพยากรปาไม ตําบลบานแดง มีพื้นที่ปาไมเหลือนอยและมีสภาพเปนปาเสื่อมโทรม ปาถูกทําลาย เพื่อทําไร ทํานา การใชประโยชนท่ีดิน ตําบลบานแดงมีการใชพื้นที่และการครอบครอง โดยเกษตรกรเปนสวนใหญและที่ดินสวนใหญ ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม(สปก.) ใชประโยชนที่ดินในการทํานาปนาปรัง ปลูกออยและไมเศรษฐกิจ ระยะสั้น (ยูคาลิปตัส) และไมอื่น ๆ ประชากร

ชื่อหมูบาน จํานวน ครัวเรือน

ประชากร ชาย หญิง รวม

หมูที่ 1 บานแดง 243 379 367 746 หมูที่ 2 บานหนองผักแวน 116 213 222 435 หมูที่ 3 บานไชยวานนอย 199 403 382 1181

Page 10: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ชื่อหมูบาน จํานวน ครัวเรือน

ประชากร ชาย หญิง รวม

หมูที่ 4 บานดงยาง 195 355 347 702 หมูที่ 5 บานโพธ์ิ 125 241 243 484 หมูที่ 6 บานดอนเขือง 109 207 222 1186 หมูที่ 7 บานแดง 219 373 367 740 หมูที่ 8 บานโนนดู 238 330 320 650 หมูที่ 9 บานโนนลือชัย 134 279 256 1390 หมูที่ 10 บานแดง 187 369 356 725 หมูที่ 11 บานแดง 370 412 416 828 หมูที่ 12 บานไชยวานพัฒนา 156 283 291 1553 หมูที่ 13 บานแดง 275 362 326 688 หมูที่ 14 บานดงไร 80 100 85 185 หมูที่ 15 บานพรพิบูลย 121 211 251 873

รวม 2,767 4,517 4,451 8,968

*ขอมูลจากทะเบียนกรมการปกครอง อ.พิบูลยรักษ จ.อุดรธานี เดือน สิงหาคม 2557

ดานโครงสรางพื้นฐาน ถนน ถนนสวนใหญ เปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและมีถนนที่เช่ือมตอระหวางหมูบานเปนถนนลาดยาง การสัญจรไปมาสะดวกมากข้ึน ประปา ภายในจํานวน 8 หมูบานรอบใน ไดรับการบริการประปาจากการประปาสวนภูมิภาคบานดุงและหมูบานรอบนอก ไดอาศัยแหลงนํ้าใตดิน ทําเปนประปาหมูบานและก็ยังไมเพียงพอตอความตองการของประชาชน และขณะน้ีก็อยูระหวางการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อปรับปรุงและกอสรางตอไป ไฟฟา หมูบานทั้ง 15 หมูบาน ในพื้นที่ มีไฟฟาอยางทั่วถึงทุกหมูบาน และกําลังพัฒนาและขยาย เขตไฟฟาเพื่อการเกษตรในอนาคตใหทั่วถึง โทรศัพท อําเภอพิบูลยรักษ ไดรับการบริการจากองคการโทรศัพทมีโทรศัพทบานใช และมีบริการสัญญาณโทรศัพทเคลื่อนที่ คือ ทรูมูฟ ดีแทค เอไอเอส ครอบคลุมทุกพื้นที ่

Page 11: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ดานเศรษฐกิจ ผลผลิตหรือสินคา/บริการที่สําคัญของตําบลบานแดง

(1) ขาวเปลือก (2) ปลาแหง,ปลาสด

(3) ผามัดหมี่ยอมคราม ปจจุบันมีการทําสวนเพิ่มมากข้ึน ไมวาจะเปนการปลูกมันสําปะหลัง ออย และที่สําคัญยางพารา มีการ

ทําเพิ่มมากข้ึนทุกป

การเกษตร ประชาชนสวนใหญทํานา เปนสวนใหญ ประมาณ 70 % อีก 30% เลี้ยงปศุสัตว , ทําไร และทําการเกษตรแบบผสมผสาน การพาณิชยกรรม พื้นที่ตําบลบานแดง เปนชุมชนเกษตรสวนใหญแตพื้นที่ต้ังอยูภายในอําเภอพิบูลยรักษ มีรานคา อุปโภคและบริโภคพรอมทั้งตลาดนัดสัญจรจากตางถ่ินเขามาใหบริการประชาชนอยูประจํา การศึกษา มีสถานศึกษา ดังน้ี

1. ระดับประถมศึกษา 5 แหง

2. ระดับขยายโอกาส 1 แหง 3. ระดับมัธยมศึกษา 1 แหง 4. ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 3 แหง 5. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ 1 แหง 6. หองสมุดประชาชน 1 แหง - หองสมุด กศน.ตําบล 1 แหง

สาธารณสุข มีสถานบริการพยาบาล ดังน้ี

1. โรงพยาบาล ขนาด 30 เตียง 1 แหง 2. สถานีอนามัย 1 แหง 3. ศูนย ศสมช. 15 แหง

วัฒนธรรมประเพณี งานประเพณีของตําบลบานแดง จะมีงานประจําป บุญเดือน 4 ที่ถือวาเปนงานบุญสําคัญของแตละหมูบาน และงานบุญเดือน 6 (บุญบั้งไฟ) งานประเพณีหลักอีกงานหน่ึง คือ งานประเพณีโคมลมลอยฟา ผามัดหมี่ยอมครามซึ่งเปนงานประเพณีที่มีช่ือระดับจังหวัด โดย เปนการวมมือกันระหวาง อบต.ทุกแหงในเขตอําเภอพิบูลยรักษ และ อบจ.อุดรธานี ใหการสนับสนุน ซึ่งจะจัดข้ึนประมาณ ปลายเดือน ธันวาคม ของทุกป สถานที่สําคัญทางศาสนา มีวัด 11 แหง และเปนที่รูจักของคนสวนใหญ ไดแก วัดพระแทน ซึ่งมีพระที่

Page 12: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สําคัญคูบาน คูเมือง คือ หลวงปูพิบูลย หรือ หลวงปูแดง เปนที่เคารพปูชาของคนในพื้นที่ และพื้นที่ข างเคียง มีการยึดถือและปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณี ของชาวอีสานที่เรียกวา ฮีตสิบสองครองสิบสี่

ประวัติหลวงปูพิบูลย หลวงปูพิบูลย นามเดิมวา นายพิบูลย แซตัน เกิดประมาณป พ.ศ. 2363( บัณฑิต : ผูเขียน) ที่บานพระเจา ตําบลมะอึ(ปจจุบันคือตําบลพระเจา) อําเภอธวัชบุรี จังหวัดรอยเอ็ด บิดาช่ือนายสา แซตัน มารดาช่ือ นางโสภา แซตัน มีอาชีพคาขาย และทํานา นายพิบูลย ในวัยหนุมรับราชการเปนพลทหาร และเคยสมรสแตไมทราบช่ือภรรยา ไมมีบุตรดวยกันเมื่ออายุได 45 ปจึงตัดสินใจบวช ได 1 พรรษา จึงเดินทางไปศึกษาธรรมะ เรียนกรรมฐาน ปฏิบัติธรรมอยูประเทศลาวเปนเวลาหลายป ป พ.ศ. 2443 เดินธุดงคกลับประเทศไทย เพื่อเผยแพรธรรมะ และไดบูรณปฏิสังขรณวัดราง ที่มีแทนพระโบราณแตไมมีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู ปจจุบันคือ วัดพระแทน และบุกเบิกกอต้ังบานแดงข้ึนในคราวเดียวกัน ดวยช่ือเสียงบารมีของหลวงปูพิบูลย ล่ําลือกันไปไกล ไมวาในดานวิชาอาคมในดานความเปนพระนักพัฒนา เชน ริเริ่มต้ังธนาคารโคกระบือ ธนาคารขาว ธนาคารเครื่องไมเครื่องมือดานการเกษตร เพื่อชวยเหลือคนยากจน การจัดสรรที่ดินทํากิน กันที่ดินไวเพื่อต้ังสวนราชการตางๆในอนาคต เปนตน ทําใหชาวบานจากพื้นที่ตางๆ อพยพครอบครัวมาอาศัยบารมีหลวงปูอยูบานแดงเปนจํานวนมาก บานแดงจึงกลายเปนชุมชนใหญในเวลาไมนาน ทําใหทางราชการผูปกครองมณฑลอุดรในสมัยน้ันเพงเล็ง หาวาซองสุมกําลังคิดการกบฏ ประกอบกับการหมจีวรของหลวงปูเอาตามความสะดวก ดูไมสํารวมเหมือนพระภิกษุทั่วไปในสมัยน้ัน ทางราชการจึงจับหลวงปูไปถวงนํ้าที่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี แตรอดชีวิตกลับมาไดอยางปาฏิหาริย และนาอัศจรรยย่ิงนัก ชาวเกาะสีชังจึงนิมนตใหหลวงปูจําพรรษาที่น้ันเปนเวลา 3 ป ถึงเดินทางกลับวัดพระแทน บานแดง แตทางราชการยังคงไมไววางใจใหหลวงปูไปจําพรรษาอยูวัดโพธิสมภรณ กับเจาคณะมณฑลอุดร เพื่อความสะดวกในการควบคุมดูแลพฤติกรรม หลวงปูพิบูลย จําพรรษาอยูวัดโพธิสมภรณ 15 พรรษา ไดสรางกุฏิสงฆจํานวน 15 หลัง ฉางขาว 2 หลัง และเงินบริจาคจากชาวบานผูมีจิตศรัทธา ไดซื้อโคกระบือ แจกจายชาวบานคนยากจนเปนจํานวนมาก เมื่อ ป พ.ศ. 2498 หลวงปูพิบูลย ไดมรณภาพดวยโรคชรา ท่ีวัดโพธิสมภรณ สิริรวมอายุได 135 ป (พระครูมัญจาภิรักษ: เจาคณะอําเภอพิบูลยรักษ)

Page 13: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

แผนท่ีตําบล (ระบุที่ต้ัง กศน. ตําบล สถานที่สําคัญและเสนทางคมนาคม)

Page 14: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

แผนการดําเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ประจําปงบประมาณ ………………………. ภาคเรียนท่ี .................................

คําชี้แจง : ใหจัดทําขอมูลโดยยอ กรณีที่มีโครงการใหแนบประกอบทายเลม

ท่ี งาน/โครงการ กลุมเปาหมาย

(คน) ระยะเวลา สถานท่ี

งบประมาณ (บาท)

ประโยชน

Page 15: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน. หลักสูตรการศึกษาขึ้นพ้ืนฐาน

(เปาหมายจํานวน……………………..คน)

คําชี้แจง : ชองที่อยู ใหลงขอมูลเฉพาะบานเลขที่ /หมูที่ / ตําบล

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 16: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 17: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

ลงชื่อ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงชื่อ………………………………………………..ผูรับรอง

(…………………………………………………) (…………………………………………………)

ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ

(…………………………………………………)

Page 18: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน.หลักสูตรการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ

คําชี้แจง : ชองที่อยู ใหลงขอมูลเฉพาะบานเลขที ่/ หมูที่ / ตําบล

ชื่อโครงการ…………………………………………………………………………..…...จํานวนเปาหมาย.........…………..คน

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 19: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

ลงชื่อ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงชื่อ………………………………………………..ผูรับรอง

(…………………………………………………) (…………………………………………………) ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ

(…………………………………………………)

Page 20: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน.หลักสูตรการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

คําชี้แจง : ชองที่อยู ใหลงขอมูลเฉพาะบานเลขที ่/ หมูที่ / ตําบล

ชื่อโครงการ…………………………………………………………………………………...จํานวนเปาหมาย……………..คน

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ปเกิด

ท่ีอยู เบอร

โทรศัพท

Page 21: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ปเกิด

ท่ีอยู เบอร

โทรศัพท

ลงชื่อ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงชื่อ………………………………………………..ผูรับรอง

(…………………………………………………) (…………………………………………………) ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ

(…………………………………………………)

Page 22: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บัญชีรายชื่อนักศึกษา กศน.หลักสูตรการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน

คําชี้แจง : ชองที่อยู ใหลงขอมูลเฉพาะบานเลขที ่/ หมูที่ / ตําบล

ชื่อโครงการ……………………………………………………………………………....จํานวนเปาหมาย……………………..คน

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 23: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 24: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

ลงชื่อ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงชื่อ………………………………………………..ผูรับรอง

(…………………………………………………) (…………………………………………………) ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ

(…………………………………………………)

Page 25: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บัญชีรายชื่อนักศึกษา กศน.หลักสูตรกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

คําชี้แจง : ชองที่อยู ใหลงขอมูลเฉพาะบานเลขที ่/ หมูที่ / ตําบล

ชื่อโครงการ………………………………………………………….………………………...จํานวนเปาหมาย……………..คน

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 26: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 27: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

ลงชื่อ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงชื่อ………………………………………………..ผูรับรอง

(…………………………………………………) (…………………………………………………) ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ

(…………………………………………………)

Page 28: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บัญชีรายช่ือนักศึกษา กศน.หลักสูตรการศึกษาตามอัธยาศัย

คําชี้แจง : ชองที่อยู ใหลงขอมูลเฉพาะบานเลขที ่/ หมูที่ / ตําบล

ชื่อโครงการ…………………………………………………………………………………….……...จํานวนเปาหมาย………..คน

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 29: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

Page 30: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ท่ี เลขบัตรประจําตัว

ประชาชน ชื่อ – สกุล

ระดับการศึกษา

วัน เดือน ป

เกิด ท่ีอยู

เบอรโทรศัพท

ลงช่ือ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงช่ือ………………………………………………..ผูรับรอง (…………………………………………………) (…………………………………………………)

ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ (…………………………………………………)

Page 31: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 32: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 33: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 34: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 35: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 36: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 37: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 38: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 39: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 40: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 41: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 42: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกการปฏิบัติงานประจําวัน

คําชี้แจง : ใหบันทึกการปฏิบัติงานประจําวันใหครบถวนโดยยอ

วัน เดือน ป กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ

Page 43: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

แผนการปฏิบัติงานประจําเดือนของ ครู กศน.ตําบล/ ครู ศรช.

ช่ือ – สกุล......................................................................................................................

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ

ประจําเดือน...........................................พ.ศ......................

นักเรียนที่รับผิดชอบจํานวน................................คน

วัน/เดือน/ป รายการปฏิบัติงาน สถานที่ปฏิบัติงาน เวลา ปริมาณงาน

Page 44: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

วัน/เดือน/ป รายการปฏิบัติงาน สถานที่ปฏิบัติงาน เวลา ปริมาณงาน

ความเห็นของผูบังคับบัญชา

.................................................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................................................

(.........................................................)

ผอ.กศน.อําเภอพิบูลยรักษ วันที่..........เดือน......................พ.ศ………….

Page 45: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

คําชี้แจง ใหครูกศน.ตําบล/ครู ศรช.สรุปผลการปฏิบัติงานแตละภาคเรียน โดยกรอกขอมูลใหสมบูรณ

และให ผอ.กศน.อําเภอ ลงนามรับรองผลการปฏิบัติงานดวย

ผลการปฏิบัติงาน ประจําภาคเรียนที่.........................../.....................................

ของครูกศน.ตําบล/ครู ศรช. ช่ือ...............................................นามสกุล...............................................

ต้ังแตวันที่.....................เดือน...............................................พ.ศ.......................................................

ถึงวันที่......................... เดือน...............................................พ.ศ.......................................................

1. การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ไดแก 1.1 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

1.2 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

1.3 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

2. การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

โครงการพัฒนาทักษะชีวิต มี ไมมี

ถามี มีโครงการพัฒนาทักษะชีวิต จํานวน...............................โครงการ

ไดแก 2.1 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

2.2 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

2.3 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

หมายเหตุ มีโครงการที่ไดรับอนุมัติจากผูบริหารและมีโครงการสามารถตรวจสอบได

บันทึกการปฏิบัติงานประจําภาคเรียนของ ครู กศน.ตําบล/ครู ศรช.

ผลงานดีเดนของครูและนักศึกษา

Page 46: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

3. การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ

โครงการเพื่อพัฒนาอาชีพ มี ไมมี

ถามี มีโครงการพัฒนาทักษะชีวิต จํานวน...............................โครงการ

ไดแก 3.1 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

3.2 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

3.3 โครงการ.........................................................................................ผุเรียน.........................

4. การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน

โครงการเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มี ไมมี

ถามี มีโครงการเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนจํานวน...............................โครงการ

ไดแก 4.1 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

4.2 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

4.3 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

5. กระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โดยการจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี ไมมี

ถามี มีโครงการกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจํานวน...............................โครงการ

ไดแก 5.1 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

5.2 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

5.3 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

Page 47: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

6. กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มี ไมมี

ถามี มีโครงการการศึกษาตามอัธยาศัยจํานวน...............................โครง

ไดแก 6.1 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

6.2 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

6.3 โครงการ.........................................................................................ผูเรียน.........................

7. การจัดการศึกษาใหกับผูไมรูหนังสือ จํานวน.........................................................คน

8. งานอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมาย

8.1..........................................................................................................................................................

8.2..........................................................................................................................................................

8.3..........................................................................................................................................................

8.4..........................................................................................................................................................

8.5..........................................................................................................................................................

(.........................................................)

ครู กศน.ตําบล/ ครู ศรช.

วันที่..........เดือน......................พ.ศ.

ความคิดเห็นของผูบริหารสถานศึกษา

....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

(.........................................................) ผอ.กศน.อําเภอพิบูลยรักษ

วันที่..........เดือน.....................พ.ศ…………

Page 48: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ผลงานเดนของ ครู กศน.ตําบล/ครู ศรช.

ใหเขียนรายละเอียดผลงานเดนโดยสังเขป

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

Page 49: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ผลงานเดนของนักศึกษา

ใหเขียนรายละเอียดผลงานเดนโดยสังเขป

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

Page 50: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สรุปผลการดําเนินงาน

1 ตุลาคม – 31 มีนาคม 1 เมษายน – 30 กันยายน

คําชี้แจง : เขียนหรืพิมพผลการดําเนินงาน/ปญหาอุปสรรค/ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา/และความภาคภูมิใจในรอบครึ่งปแรก/ครึ่งปหลัง

ผลการดําเนินงาน 1.1 งานการศึกษาขึ้นพ้ืนฐาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

Page 51: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.2 งานการศึกษาตอเน่ือง 1.2.1 งานการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ

Page 52: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.2 งานการศึกษาตอเน่ือง 1.2.2 การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

Page 53: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.2 งานการศึกษาตอเน่ือง 1.2.3 การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน

Page 54: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.2 งานการศึกษาตอเน่ือง 1.2.4 กระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Page 55: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.3 งานการศึกษาตามอัธยาศัย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบงานการศึกษาตามอัธยาศัย

Page 56: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.4 บานหนังสืออัจฉริยะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบบานหนังสืออัจฉริยะ

Page 57: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.5 งานพัฒนาบุคลากร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบงานพัฒนาบุคลากร

Page 58: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.6 งานการพัฒนาศูนยการเรียนชุมชน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบงานการพัฒนาศูนยการเรียนชุมชน

Page 59: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.7 งานอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูปภาพประกอบงานอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมาย ลงชื่อ………………………………………………..ครู กศน./ ครู ศรช. ลงชื่อ………………………………………………..ผูรับรอง

(…………………………………………………) (…………………………………………………)

ลงช่ือ………………………………………………..ผอ.กศน.อําเภอ (…………………………………………………)

Page 60: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บทบาทหนาท่ีครู กศน.ตําบล/ศรช. บทบาทหนาที่ครูประจําศูนยการเรียนชุมชน

กําหนดใหครูประจําศูนยการเรียนชุมชน มีบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบในสวนของงานการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน ดังน้ี

1. จัดทําแผนปฏิบัติงาน

1.1 การประชาสัมพันธระดับพื้นที ่

1.2 แนะแนวการเรียนรูต้ังแตกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังการเรียนรู

1.3 การรับสมัครนักศึกษา

1.4 จัดกลุมนักศึกษา

1.4.1 แยกระดับ (ประถมศึกษา/มัธยมศึกษาตอนตน/มัธยมศึกษาตอนปลาย)

1.4.2 แยกหมวดวิชา

1.4.3 แยกกลุมผูเรียนที่ตองการพบกลุม

2. งานธุรการ/งานทะเบียน ในศูนยการเรียนชุมชน

2.1 รับข้ึนทะเบียนนักศึกษา

2.2 รับลงทะเบียนนักศึกษาเปนกลุม/ระดับ

2.3 จัดทําประวัตินักศึกษาที่มาลงทะเบียน

2.4 จัดทําบัตรประจําตัวนักศึกษา ฯลฯ

3. จัดศูนยบริการสื่อ/ประสานงานแหลงเรียนรูในชุมชนเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอน

3.1 จัดทําและใหบริการสื่อในศูนยบริการสื่อ

3.2 ประสานและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแหลงการเรียนรู

3.2.1 แหลงวิทยากรในชุมชน (ทั้งรัฐ/เอกชน)

3.2.2 ภูมิปญญาทองถ่ิน

3.2.3 แหลงการเรียนรูตามธรรมชาติ

4. จัดกระบวนการเรียนรู

4.1 จัดปฐมนิเทศนักศึกษา

4.2 แนะแนวการศึกษา

4.3 จัดกระบวนการเรียนรู

4.3.1 วิเคราะหหลักสูตร

4.3.2 วิเคราะหสภาพปญหาและความตองการของชุมชน

4.3.3 วิเคราะหการจัดกระบวนการเรียนรู

4.3.4 จัดทําแผนการเรียนรูรวมกันกับผูเรียนและผูที่เกี่ยวของ

4.4 วัดผลประเมินผลรวมกับผูเรียนและผูที่เกี่ยวของตามที่สถานศึกษากําหนด

Page 61: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

4.5 จัดทําผลการเรียนตามที่สถานศึกษากําหนด

5. การปฏิบัติหนาท่ีของครูประจําศูนยการเรียนชุมชน

5.1 การจัดการเรียนโดยพบกลุมในทุกสัปดาหจะตองมีการจัดใหพบกลุมอยางนอยสัปดาหละ 3 ช่ัวโมง

โดยใหผูเรียนนําเสนอผลงานที่ครูมอบหมายใหไปศึกษาคนควาดวยตนเอง มีการอภิปราย วิเคราะห สรุปองค

ความรูรวมกันกรณีที่ผูเรียนยังไมเขาใจในสาระบางเรื่องคลาดเคลื่อน ครูตองอธิบายและใหความรูเพิ่มเติมเพื่อให

ผูเรียนเขาใจมากย่ิงข้ึน และมีการทดสอบยอยดวย

5.2 การจัดการเรียนดวยการศึกษาคนควาดวยตนเอง ครูและผูเรียนตองวางแผนการจดักิจกรรมการ

เรียนตลอดภาคเรียนรวมกัน โดยวิเคราะหสาระเน้ือหาออกเปน 3 สวน ดังน้ี

5.2.1 สวนที่ 1 เน้ือหาสวนที่ไมซับซอนและยากเกินไป และอยูในวิสัยทัศนที่จะเรียนรูตนเองได

ใหผูเรียนไปศึกษาเรียนรูจากสื่อตาง ๆ และแหลงวิทยาการดวยตนเอง แลวจดบันทึกผลการเรียนรูไวเปน

หลักฐานเพื่อนํามาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันในการพบกลุม

5.2.2 สวนที่ 2 เน้ือหาสวนที่คอนขางยาก ใหผูเรียนศึกษาเรียนรูรวมกันในการพบกลุม โดยมี

ครูเปนที่ปรึกษาช้ีแจงและใหความรูเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความเขาใจมากย่ิงข้ึน

5.2.3 สวนที่ 3 เน้ือหาสวนที่ยากมาก ในกรณีที่ครูมีความสามารถในสาขาวิชาเฉพาะน้ัน ๆครูก็

สามารถสอนเองได หากไมชํานาญก็ใหเรียนเชิญผูรู ผูชํานาญการมาเปนวิทยากรสอนเสริม

5.3 การจัดการเรียนโดยการทําโครงการโดยครูมอบหมายใหผูเรียนรวมกลุมกันประมาณ 5-7 คนไป

ศึกษาเรียนรูเรื่องใดเรื่องหน่ึง และใหทําโครงงาน 1 โครงงาน โดยผูเรียนตองรวมมือกันในการคิดลงมือปฏิบัติ

และจดจําสงที่ไดปฏิบัติเพื่อนํามาวิเคราะหหาขอดีและขอจํากัด เพื่อการปรับปรุงแกไขและพัฒนาโครงการใหดี

ย่ิงข้ึนแลนํามาเสนอความกาวหนาของการทําโครงงาน ในการพบกลุมแตละครั้งเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ือง

5.4 การทดสอบการประเมินผลการเรียนรูใหประเมิน ดังน้ี

(สถานศึกษาตองกําหนดระเบียบการ การประเมินของสถานศึกษาไวใหชัดเจน)

5.4.1 ประเมินผลระหวางภาค 60 สวน จากสิ่งตอไปน้ี

1) ผลงาน /ช้ินงาน ที่ผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเอง การนําเสนอรายงานและการ

รวมอภิปรายในระหวางการพบกลุม

2) การทดสอบยอย (Quiz) ใหการประเมินโดยการใชแบบทดสอบที่ศูนยการศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ/เขตเปนผูจัดทําข้ึนและใหมีการทดสอบยอยทุกครั้งที่มีการพบกลุม

3) การทําโครงงาน ใหประเมินต้ังแตการเขียนโครงงาน กระบวนการจัดทํา ผลงาน

และการรายงาน

4) แฟมสะสมงาน ใหการประเมินถึงการเลือกใชแฟมสะสมงานแตละประเภทรูปแบบ

และแนวทางการพัฒนาแฟมสะสมงานเพื่อใหชวยพัฒนาความคิดสรางสรรคของผูเรียน

5.4.2 ประเมินผลสอบปลายภาคเรียน 40 สวนจากแบบทดสอบที่สํานักงานสงเสริมการศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานครจัดทําข้ึน

6. ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามท่ีสถานศึกษามอบหมาย

Page 62: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

การสงเสริมพลังการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนโดยใชกลไก กศน. ตําบล จากการประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

ในชวง 9 ปที่ผานมา (พ.ศ. 2542-2551) ของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา พบวาหลายเรื่องประสบ

ผลสําเร็จ โดยเฉพาะอยางย่ิงการปรับโครงสรางหนวยงานการศึกษาใหมีเอกภาพ อยางไรก็ตามยังมีอีกหลาย

เรื่องที่มีปญหาตองเรงดําเนินการแกไขปรับปรุง พัฒนาและตอยอด ที่สําคัญ ไดแก ดานคุณภาพการศึกษา การ

เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา และการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา สภาการศึกษาในคราว

ประชุม เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2552 โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ)

เปนประธาน ไดเห็นชอบใหสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาดําเนินการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของใหแลวเสร็จโดยเร็ว ไดแตงต้ังคณะอนุกรรมการสภาการศึกษาเฉพาะกิจปฏิรูป

การศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ 2552-2561) ซึ่งไดมีการดําเนินการจัดทําขอเสนอยุทธศาสตรและมาตรการ

ปฏิรูปการศึกษา รวม 9 ประเด็น ไดแก

1) การพัฒนาคุณภาพผูเรียน

2) การผลิตและการพัฒนาครูอาจารย

3) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา และการมีสวนรวม

4) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา

5) การผลิตและพัฒนากําลังคน

6) การเงินเพื่อการศึกษา

7) เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

8) กฎหมายการศึกษา และ

9) การเรียนรูตลอดชีวิตการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษา

ตามยุทธศาสตรและมาตรการทั้ง 9 ประเด็นดังกลาว คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 18

สิงหาคม 2552

จากการวิเคราะหผลการปฏิรูปการศึกษาที่ผานมาในแงของปญหาที่ตองเรงปรับปรุงแกไข พัฒนา และ

สานตอและขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองบนฐานของหลักการและแนวทางแหงพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉลับที่ 2) พ.ศ. 2545 พบวามีหลายประเด็นที่สะทอน

เช่ือมโยงถึงขอจํากัดในการใชศูนยการเรียนชุมชน หรือ “ศรช.” เปนกลไกสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของ

ประชาชนและการสรางสังคมแหงการเรียนรูในชุมชน ตามกรอบบทบาทหนาที่ที่กําหนดไวเพียงกลไกเดียว ซึ่ง

ขอเท็จจริงดังกลาวเปนเหตุผลรอบรับที่สําคัญในการใช กศน. ตําบล เปนกลไกเสริมพลังการเรียนรูตลอดชีวิตของ

ชุมชนอีกกลไกหน่ึง กลาวคือ

1. ผลจากการประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 พบ

สภาพปญหาที่เช่ือมโยงหรือสะทอนถึงขอจํากัดในการใช ศรช. เปนกลไกสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน

เพียงกลไกหรือรูปแบบเดียว ไดแก

Page 63: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1.1 ในดานกรเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาและสงเสริมการมีสวนรวม

รวมทั้งการกระจายการบริหารและการจัดการศึกษา พบวาหนวยปฏิบัติยังไมมีอิสระและความคลองตัวในการ

บริหารและการจัดการศึกษาเทาที่ควร รวมทั้งยังขาดการมีสวนรวมในการบริหารและการจัดการศึกษาจากทุก

ภาคสวนอยางแทจริง

1.2 ในดานการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา ในสวนของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยแมวามีแนวโนมเพิ่มข้ึน โดยในป 2549 จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของประชากรวัยแรงงาน ( อายุ 15-59

ป) คือ 8.7 ป แตก็ยังไมถึงเปาหมายที่กําหนดไวคือ 9.5 ป สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติ จึงตองปรับลดอัตราเรงการเพิ่มจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของประชากรวัยแรงงานลง โดยกําหนด

เปาหมายสิ้นปสุดทายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 คือ ป 2554 ไวที่จํานวน 10 ป

เทาน้ัน และยังพบวาการใหบริการการศึกษาแกผูดอยโอกาสยังไมทั่วถึง และไมมีกลไกที่ชัดเจน

1.3 ในดานการศึกษาตลอดชีวิต การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แมวาจะมี

ความกาวหนาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งทําใหมีเครื่องมือมากข้ึน แตยังขาดเน้ือหาและวิธีการที่เหมาะสม ที่

จะทําใหมีสัมฤทธิผลเทาที่ควร ทําใหการศึกษาตลอดชีวิตยงไมเปนวิถีของคนในชาติ

1.4 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษาไมสะทอนผลการดําเนินงานของ

ศรช. โดยตรงและขาดการนําผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามบทบาทภารกิจของ ศรช.อยางชัดเจน

2. ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง มีประเด็นสําคัญที่เช่ือมโยงถึงความจําเปนที่ตองใช

กศน.ตําบล เปนกลไกขับเคลื่อนภารกินการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน ไดแก

2.1 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม ที่มุงเนนการกระจายอํานาจสูสถานศึกษา

รวมทั้งการมีสวนรวมของชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคสวนอยางแทจริง

2.2 การพัฒนาการบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาอยางมีคุณภาพเพื่อให

ประชาชนทุกคนในชุมชนต้ังแตแรกเกิดจนตลอดชีวิต มีโอกาสเขาถึงการศึกษาและการเรียนรูที่มีคุณภาพ อยาง

ตอเน่ืองตลอดชีวิต

2.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสงเสริม สนับสนุน การมีสวนรวมของประชาชน

ภาคเอกชน และทุกภาคสวน ในการจัดการศึกษาและการสนับสนุนการศึกษาและเรียนรูใหมากข้ึน โดยปรับปรุง

กลไกรองรับการบริหารจัดการของสถานศึกษาใหยืดหยุนและมีความคลองตัว

2.4 การจัดต้ังหนวยงาน และ/หรือปรับบทบาทหนวยงาน เพื่อเปนกลไกรับรองคุณภาพ

มาตรฐานและเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต โดยปรับบทบาทสํานักงาน

สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปนสํานักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดใหมีศูนย

การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรูที่เหมาะสมในพื้นที่ระดับหมูบานหรือชุมชนทั่วประเทศ เพื่อเติมเต็มระบบ

การศึกษาใหรองรับการเปนสังคมแหงการเรียนรูอยางแทจริง

ดวยสภาพขอเท็จจริงและปญหา อุปสรรค การไมบรรลุผลการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญั ติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ที่ผานมา และขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองในประเด็นที่กลาวมา

Page 64: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

น้ัน เปนเหตุผลความจําเปนรองรับการจัดใหมี “กศน. ตําบล” ซึ่งสาระสําคัญเกี่ยวกับ กศน.ตําบลที่มุง

ดําเนินการตอไปน้ี คือ ยุทธศาสตรสําคัญของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ที่จะใชในการมีสวนรวมสนับสนุนการขับเคลื่อนขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-

2561) ใหปรากฏผลในทางปฏิบัติที่เปนรูปธรรมอยางมีประสิทธิภาพ ตามวิสัยทัศนที่กําหนดไว คือ “ คนไทยได

เรียนรูตลอดชีวิต อยางมีคุณภาพ”

บทบาทและภารกิจของ กศน. ตําบล กศน. ตําบล เปนหนวงงานในสังกัด กศน.อําเภอ มีฐานะเปนหนวยจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนและการสรางสังคมเกงการเรียนรูใน

ชุมชน กศน. ตําบล มีภารกิจที่สําคัญ ดังน้ี

1. กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนกลุมเปาหมายในชุมชน

อยางนอยปงบประมาณละ 560 คน โดยจําแนกเปนรายกิจกรรม ดังน้ี

1.1 การศึกษานอกระบบ 260 คน ประกอบดวย

1.1.1 การศึกษาข้ันพื้นฐาน จํานวน 60 คน

1.1.2 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ จํานวน 20 คน

1.1.3 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จํานวน 20 คน

1.1.4 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 60 คน

1.1.5 กระบวนการเรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 100 คน

1.2 การศึกษาตามอัธยาศัย จํานวน 300 คน

2. สรางและขยายภาคีเครอืขายเพื่อการมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยในชุมชน

3. สงเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน ของ

ภาคีเครือขาย ทั้งในแงของความเขมแข็งและความตอเน่ืองในการมีสวนรวม และศักยภาพในการจัด

4. จัดทําระบบขอมูล สถิติ และสารสนเทศ เกี่ยวกับประชากรกลุมเปาหมายและผลการจัดกิจกรรม

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาและแผนการจัดการศึกษานอก

ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งระดับชุมชนหรือระดับจุลภาค ระดับอําเภอ ระดับจังหวัด และภาพรวม

ระดับประเทศของสํานักงาน กศน.

5. การจัดทําแผนงานโครงการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจําปงบประมาณ เพื่อ

จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนกลุมเปาหมาย และชุมชน และ

พัฒนาการศึกษาตามอัธยาศัยตามกรอบจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงาน กศน. สํานักงาน กศน .จังหวัด และ

กศน. อําเภอที่สังกัด เพื่อการสนับสนุนงบประมาณจาก กศน. อําเภอ ที่สังกัด โดยในกรณีของการจัดกิจกรรม

การศึกษาข้ันพื้นฐานใหยึดคาใชจายรายหัวตามที่มติคณะรัฐมนตรีกําหนด คูณดวยจํานวนนักศึกษา 60 คน

Page 65: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สําหรับกิจกรรมอื่น ๆ น้ัน จัดทําแผนงานโคตงการเพื่อเสนอของบประมาณใหดําเนินการตามที่ไดรับมอบหมาย

จาก กศน. อําเภอ

6. ประสานและเช่ือมโยงการดําเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ของศูนยการเรียนชุมชนและภาคีเครือขายในตําบล โดยมีการประสานแผนการดําเนินงานภายในตําบลที่

รับผิดชอบกับ กศน. อําเภอที่สังกัด ตามกรอบจุดเนนการดําเนินงานบนพื้นฐานของความเปนเอกภาพดาน

นโยบาย และความหลากหลายในการปฏิบัติ

7. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในความรับผิดขอบ

ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อรับรองการประกันคุณภาพภายนอกของ กศน. อําเภอที่

สังกัด

8. รายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตอ กศน. อําเภอที่สังกัด

ตามแผนหรือขอตกลงที่กําหนดไว

9. ปฏิบัติภารกิจอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายจาก กศน. อําเภอ สํานักงาน กศน. จังหวัด หรือสํานักงาน

กศน. และตามที่กฎหมายกําหนด

หลักการดําเนินงานของ กศน. ตําบล 1. การจัดต้ัง กศน. ตําบล

ตามหนังสือ สํานักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.02/3267 ลงวันที่ 4 กันยายน 2552 เรื่อง การดําเนินงาน

กศน. ตําบล สํานักงาน กศน. โดยเลขาธิการ กศน. (นายอภิชาต จีระวุฒิ) ไดสั่งการใหผูอํานวยการสํานักงาน

กศน. จังหวัด ทุกจังหวัดและผูอํานวยการสํานักงาน กศน. กทม. ดําเนินการปรับศูนยการเรียนชุมชนในทุก

ตําบลใหเปน กศน. ตําบล อยางไรก็ตามเน่ืองจากบางตําบล ยังไมมีศูนยการเรียนชุมชน จึงให กศน. อําเภอ

เสนอประกาศจัดต้ังใหครบทุกตําบล โดยใหบุคลากร กศน. รวมกับชุมชนและ/หรือ ภาคีเครือขาย ดําเนินการ

สํารวจ และคัดเลือกอาคารสถานที่ที่เหมาะสม ที่อยูในแหลงชุมชนหรือศูนยรวมประชาชน เชน วัด ศาสนาสถาน

โรงเรียน องคการบริหารสวนตําบล อาคารเอนกประสงค ศาลาประชาคม เปนตน พรอมทั้งประสานงานการใช

อาคารสถานที่โดยเจาของหรือผูรับผิดชอบดูแลอาคารสถานที่ที่เปนของศูนยการเรียนชุมชน เปนผูลงนามหนังสือ

อนุญาตใหใชอาคารสถานที่ หรือกรณีใชสถานที่ของชุมชนจัดต้ังอาคารศูนยการเรียนชุมชนสําหรับชุมชนใน

กรุงเทพมหานคร ในเขตพื้นที่รอบใน ผูลงนามในหนังสืออนุญาต ใหจัดต้ังหรือใชสถานที่ คือ ประธานชุมชน สวน

ในเขตพื้นที่รอบนอก ผูลงนามในหนังสืออนุญาต คือ ผูใหญบานหรือกํานัน

อน่ึง ในการจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชนมีความเปนไปไดใน 3 กรณี ดังน้ี

1. กรณีเปนพื้นที่วางเปลา ไมมีอาคารให กศน. อําเภอ วางแผนการกอสรางอาคาร รวมกับชุมชนโดยใช

งบประมาณของ กศน. และ/หรือ ขอนับการสนับสนุนจากภาคีเครือขาย

2. กรณีที่เปนพื้นที่ที่มีอาคารดําเนินการอยูแลว ให กศน. อําเภอรวมกับชุมชน ดําเนินการพัฒนา

ปรับปรุงใหพรอมที่จะใชงาน โดยใชงบประมาณของ กศน. และ/หรือขอรับการสนับสนุนจากภาคีเครือขาย

Page 66: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

3. กรณีที่มีอาคารของหนวยงานอื่นที่วางเปลาให กศน.อําเภอ ประสานงานขอใชสถานที่ดังกลาว กับผู

มีอํานาจ

การจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชนให กศน. อําเภอจัดทําประกาศจัดต้ังโดยให ผูอํานวยการ กศน.อําเภอเปน

ผูลงนาม สวนการจัดต้ัง กศน.ตําบล จัดทําเปนประกาศของจังหวัด โดยผูวาราชการจังหวัดเปนผูลงนามใน

ประกาศจัดต้ัง สําหรับตําบลใดที่มีศูนยการเรียนชุมชนมากกวา 1 แหง ให กศน.อําเภอตนสังกัดคัดเลือกเพื่อ

จัดต้ังเปน กศน.ตําบล เพียงแหงเดียวโดยเสนอผูวาราชการจังหวัดลงนามในประกาศจัดต้ัง

สําหรับหัวหนา กศน.ตําบลและครู ศรช. ใหผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดลงนามแตงต้ังเพื่อให

เปนมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ การจัดทําปายช่ือ กศน.ตําบล ใหเขียนช่ือ กศน.ตําบลอยูแถวบน และศูนยการ

เรียนชุมชน อยูแถวลางในขนาดปายที่เหมาะสมกับขนาดของอาคาร โดยช่ือ กศน.ตําบล มีขนาดโตกวาขอความ

ศูนยการเรียนชุมชน

2. การบริหารจัดการ

1.1 ครู ศรช. ที่รับผิดชอบ กศน.ตําบล เปนหัวหนา กศน.ตําบล ทั้งน้ี ทั้งครู ศรช. ที่รับผิดชอบ

ศรช. ทั่วไปและหัวหนา กศน.ตําบล ตองปฏิบัติงานประจําอยูที่ ศรช. หรือ กศน.ตําบล อยางนอย สัปดาหละ 4

วัน โดยจัดทําปฏิทินการปฏิบัติงานแสดงไวในอาคารที่สามารถมองเห็นไดชัดเจน

2.2 กศน.ตําบล หรือ ศรช. จัดใหมีคณะกรรมการ กศน.ตําบล หรือ ศรช. ซึ่งเปนองคคณะ

บุคคล ที่มีบทบาทในการสงเสริม สนับสนุนและมีสวนรวม ในการบริการกิจการดานตาง ๆ ของ กศน.ตําบล หรือ

ศรช. ใหเปนไปตามภารกิจที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดองคประกอบและบทบาทหนาที่ของ

คณะกรรมการ กศน.ตําบล และ ศรช. ไว ดังน้ี

1) องคประกอบของคณะกรรมการ กศน.ตําบล และ ศรช. คณะกรรมการ กศน. ตําบล และ

ศรช. ประกอบดวย องคคณะบุคคล ดังน้ี

(1) ประธานกรรมการ (เลอืกจากตัวแทนคณะกรรมการในขอ 2)

(2) กรรมการที่เปนตัวแทนจากหมูบานหรือชุมชน หมูบานหรือชุมชนละ 2 คน ซึ่งอาจ

มาจากผูแทนผูทรงคุณวุฒิ ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูนําศาสนา เปนตน

(3) กรรมการที่เปนผูแทนองคกรนักศึกษา (กรรมการนักศึกษา 2 คน)

(4) กรรมการที่เปนอาสาสมัคร กศน. (ตัวแทนจากตําบล 1 คน)

(5) กรรมการและเลขานุการ (หัวหนา กศน. ตําบล หรือ หัวหนา ศรช.)

กรณีที่ กศน.ตําบลใด มี ศรช. มากกวา 1 แหง ใหแตงต้ังคณะกรรมการได ตามความเหมาะสมประกอบดวย

1) ประธาน (เลือกจากตัวแทนคณะกรรมการในขอ 2)

2) กรรมการที่เปนตัวแทนจากหมูบานหรือชุมชน จํานวน 5 คน

3) กรรมการที่เปนผูแทนองคกรนักศึกษา (กรรมการนักศึกษา 2 คน)

4) กรรมการที่เปนอาสาสมัคร กศน. (ตัวแทนอาสาสมัคร 1 คน)

5) กรรมการและเลขานุการ (ครู ศรช.)

2) บทบาทหนาที ่

Page 67: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

(1) บทบาทหนาที่คณะกรรมการ ครช.

(1.1) วางแผนการดําเนินงานศูนยการเรียนชุมชน

(1.2) จัดประชาสัมพันธงานศูนยการเรียนชุมชน

(1.3) จัดหาวัสดุ อุปกรณและครุภัณฑพื้นฐานใหกับครูศูนยการเรียนชุมชน

(1.4) บริหารและจัดกิจกรรมในศูนยการเรียนชุมชน

(1.5) กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานศูนยการเรียนชุมชน

(1.6) ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กําหนดใหเปนบทบาท

หนาที่ของคณะกรรมการ กศน. ตําบล

(2) บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการ กศน. ตําบล คณะกรรมการ กศน. ตําบล มีบทบาทหนาที่

เชนเดียวกันกับคณะกรรมการ ศรช. ตามขอ (1.1)-(1.5) และยังมีบทบาทหนาที่เพิ่มเติม ดังน้ี

(2.1) ประสานงานและเช่ือมโยงขอมูล เพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยกับกาเรียนชุมชนตาง ๆ ในตําบล

(2.2) ประสานกับสวนราชการในตําบลและเครือขายการเรียนรูในชุมชน

(2.3) ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินในพื้นที่เพื่อนําแผนชุมชนในสวนที่

เกี่ยวของกับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาปฏิบัติ

(2.4) ปฏิบัติหนาที่อื่น ๆ ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กําหนดใหเปน

บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการ กศน. ตําบล

ทั้งน้ี คณะกรรมการ ศรช. ผูอํานวยการ กศน.อําเภอตนสังกัดเปนผูแตงต้ัง สวนคณะกรรมการ กศน.

ตําบล ผูวาราชการจังหวัดเปนผูแตงต้ัง โดยอยูในตําแหนงวาระละสีป่

3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

3.1 ใชปญหาหรือความตองการของกลุมเปาหมายเปนฐาน (Problem or Need-based) การ

กําหนดกิจกรรมการเรียนรู

3.2 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู ใหผูเรียนหรือผูรวมกิจกรรมการเรียนรู เกิดทักษะ

กระบวนการตัดสินใจตามหลัก “คิด วิเคราะหเปน” โดยถือเปนจุดมุงหมายการเรียนรูที่จําเปนประการหน่ึงดวย

3.3 การจัดระบบหรือกระบวนการเรียนรู เนนระบบหรือกระบวนการเรียนรูที่เอื้ออํานวยให

ผูเรียนหรือ ผูรวมกิจกรรมการเรียนรู สามารถเรียนรูดวยตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความใฝรู รักในการ

เรียนรู และแสวงหาความรูจนเปนสวนหน่ึงของวิถีชีวิต

3.4 จัดสภาพแวดลอมหรือบรรยากาศใน กศน.ตําบล หรือ ศรช. ในช้ันเรียนและชุมชน โดยใช

แผนชุมชนเปนกลไกสําคัญ ในการประสานการมีสวนรวม สงเสริม สนับสนุนการดําเนินงาน ทั้งในฐานะ

ผูรับผิดชอบหรือเจาภาพหลักและผูมีสวนรวมกับองคกรหรือหนวยงานอื่นในชุมชน

3.5 ใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม หรือการวิจัยเชิง

ปฏิบัติในช้ันเรียนและ การจัดความรูเปนกระบวนการสําคัญ ในการแกไขปญหา หรือพัฒนาการจัดกระบวนการ

เรียนรูและคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน

Page 68: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

3.6 ใชทุนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และสวนตางๆ

ทางสังคมในชุมชน ใหเกิดประโยชนสงูสุดตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู

มาตรการพัฒนาการดําเนินงาน กศน. ตําบล ตามกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561)

การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองกําหนดกรอบแนวทางการปฏิรูปบนฐานของหลักการ และ

แนวทางแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 มุงเนนการ

ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอยางเปนระบบและเช่ือมโยงกับการพัฒนาระบบอื่นอยางเปนองครวม ทั้งดาน

เศรษฐกิจ สังคม เกษตรกรรม สาธารณสุข การจางงาน เปนตน โดยมุงเนนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

การศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูและสงเสริมการมีสวนรวมทุกภาคสวนเพื่อใหคนไทยได

เรียนรูตลอดชีวิต ทั้งในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และตามอัธยาศัย อยางมีคุณภาพในทุกระดับ และ

ประเภทการศึกษา การดําเนินงานของ กศน.ตําบล จึงตองประสานสอดคลองกับจุดเนนและกรอบแนวทางการ

ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองเปนสําคัญ โดยมีมาตรการดําเนินการดังน้ี

1. มาตรการเรงดวนท่ีตองดําเนินการใหแลวเสร็จในไตรมาสแรกของปงบประมาณ พ.ศ. 2553

ไดแก

1.1 จัดใหมีคณะกรรมการ กศน.ตําบล ตามองคประกอบที่กําหนดไว

1.2 ปรับปรุงอาคารสถานที่ ศรช. เดิมใหเหมาะสําหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู การใชเปน

สํานักงานและการมีภาพลักษณที่ดีขององคกรโดยปรับปรุงสภาพแวดลอม บริเวณอาคารสถานที่ใหสะอาด รมรื่น

สวยงาม จัดหา ครุภัณฑที่จําเปน เชน โตะ เกาอี้ คอมพิวเตอร โทรทัศน วิทยุ เครื่องเลนเทป เครื่องเลน DVD /

VCD เครื่องขยายเสียง เครื่องรับสัญญาณดาวเทียม และโสตทัศนูปกรณอื่นๆ รวมทั้งสื่อ วัสดุอุปกรณที่จําเปน

สําหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู เชน สื่อสิ่งพิมพ หนังสือ แบบเรียนตามหลักสูตร กศน. อินเตอรเน็ต DVD /

VCD ผังรายการโทรทัศนและวิทยุ เปนตน

1.3 จัดทําแผนงานโครงงานทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการพัฒนาการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่จะดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยเช่ือมโยงประสานงานกับแผนตําบล

หรือแผนชุมชน แผนดําเนินงานของ ศรช. อื่นๆ ในตําบลและแผนงาน กศน.อําเภอ เพื่อเห็นภาพการพัฒนาใน

พื้นที่เช่ือมตอ และสนับสนุนกันอยางเปนองครวมเปนระบบ

1.4 สํารวจขอมูลชุมชน และจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับกลุมเปาหมายที่พรอมรองรับนโยบาย

เรงดวนของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของสํานักงาน กศน.

Page 69: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

2. มาตรการระยะยาวเชิงรุกในชวงปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2561

2.1 จัดทําแผนสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนรองรับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่

สองภายใตแนวคิดการเช่ือมโยงระบบการศึกษาและการเรียนรูที่เปนสวนหน่ึงของระบบการพัฒนาประเทศ ซึ่ง

ตองเช่ือมโยงกับการพัฒนาระบบอื่น ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม เกษตรกรรม สาธารณสุข การจางงาน เปนตน

2.2 พัฒนาแหลงเรียนรูในชุมชนทุกรูปแบบและจัดสภาพแวดลอมของชุมชนใหเอื้อตอการ

เรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนในชุมชน

2.3 สรางเครือขายการเรียนรูในรูปแบบของชุมชนนักปฏิบัติ ( Community of Practice :

COP ) ตามประเด็นองคความรูที่ชุมชนใหความสนใจ โดย กศน.ตําบล เปนศูนยกลางเช่ือมโยงเครือขายและ

อํานวยความสะดวกการแบงปนความรู และการสรางโอกาสเขาถึงความรูของกลุมเปาหมายตางๆ ในชุมชน

2.4 สรางความรูความเขาใจในการทํางานรวมกันกับคณะกรรมการ กศน.ตําบล และศรช. ใน

ตําบลตามกรอบภารกิจของ กศน.ตําบล และศรช. และบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการ กศน.ตําบล และศรช.

2.5 ประชาสัมพันธสถานภาพ กศน.ตําบล และ ศรช. สรางความรูความเขาใจในภารกิจของ

กศน.ตําบล และ ศรช. และสรางความรูสึกความเปนเจาของรวมกันในชุมชน เกิดความตระหนักในการมีสวนรวม

สนับสนุน ติดตามผลและพัฒนาการดําเนินงานเพื่อผลักดันให กศน.ตําบล และ ศรช. เปนหนวยจัดบริการ

การศึกษาที่เปนไปตามความคาดหวังของชุมชน

2.6 เผยแพรงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดําเนินงาน เพื่อใหชุมชนทราบกิจการและความ

เคลื่อนไหวของ กศน.ตําบล และ ศรช. ซึ่งจะชวยใหชุมชนมีสวนรวมในการติดตามการดําเนินงาน ของ กศน.

ตําบล และ ศรช. ไดตรงตามสภาพความเปนจริงและมองเห็นชองทางการเขามามีสวนรวมสงเสริมสนับสนุนการ

ดําเนินงานไดอยางเหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุดรวมกัน ทั้งเชิงการปฏิบัติภารกิจของ กศน.ตําบล และ ศรช.

และการไดรับการบริการการศึกษา ตลอดจนการเขาถึงโอกาสทางการศึกษาเพื่อการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอด

ชีวิตที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงของประชาชนในชุมชน

Page 70: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

โครงสรางการบริหารศูนยการเรียนชุมชน

วัตถุประสงคการจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชน

เพื่อใหการบริการจัดการศึกษาครอบคลุมพื้นที่และกลุมเปาหมายอยางทั่วถึงกรมการศึกษานอกโรงเรียนจึงได พัฒนารูปแบบเครือขายการจัดการศึกษานอกโรงเรียนโดยมีวัตถุประสงค ดังน้ี (กองสงเสริมปฏิบัติการ,2539 : 3 ) 1. เพื่อเปนศูนยกลางการเรียนรูการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนการสงเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียน 2. เพื่อเปนการสรางโอกาสทางการศึกษาสําหรับประชาชนและกลุมเปาหมายตางๆที่ดอยโอกาสไดครอบคลุมอยางแทจริง 3. เพื่อกระจายอํานาจการบริหารจัดการและการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา สรางสังคมการเรียนรู เพื่อการศึษาตลอดชีวิตอยางเปนรูปธรรมและชัดเจน

องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอ

(กศน.อําเภอ)

คณะกรรมการ ศูนยการเรียนชุมชน

ศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.)

ประสานงาน

ทิศทาง นโยบาย

Page 71: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

กรอบแนวคิดการดําเนินงาน ศรช.

- รัฐธรรมนูญ / ประชาธิปไตย

- เศรษฐกิจชุมชน

- ครอบครัวนักศึกษา

- สุขภาพอนามัย

- เอดส

- ยาเสพติด

- สิ่งแวดลอม

- เด็ก / เยาวชน - ผูสูงอาย ุ- คนพิการ - สตร ี- แรงงานคืนถ่ิน

ครู ศรช.

องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

ศูนยการเรียนชุมชน (ศรช.)

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอ

(กศน.อําเภอ)

นักศึกษา กศน.

การศึกษาพ้ืนฐาน การศึกษาอาชีพ การศึกษาตามอัธยาศัย

- กิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ - ป.6 - ม.3 - ม.6

- ปอ. - ปวช.ทางไกล - อาชีพระยะสั้น

- การเรียนรูสื่ออิเล็กทรอนิกส - การเรียนรูจากหนังสือพิมพ เอกสาร / สิ่งพิมพ - การเรียนรูจากกิจกรรมในชุมชน

เน้ือหาเนนตามสถานการณ กลุมเปาหมายเฉพาะ

ชุมชนเปนฐานจัดการศึกษา - เรียนจากการทํางาน - ทํางานเพ่ือการเรียน - เรียนรูในวิถีชีวิต - ทํางานในสถานการณจริง

การเรียน

การทํางาน วิถีชีวิต

Page 72: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

วาดวยศูนยการเรียนชุมชน

พุทธศักราช 2552

เพื่อใหการดําเนินงานศูนยการเรียนชุมชน มีบทบาทในการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน

ในชุมชน โดยเนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของชุมชน มุงสรางโอกาส และใหบริการการเรียนรูอยาง

หลากหลายวิธี สนองตอบความตองการ และเสนอทางเลือกในการพัฒนาตนเองอันจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตของประชาชน โดยยึดหลักการชุมชนเปนรากฐานของการพัฒนา

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดระเบียบวาดวยศูนยการเรียนชุมชน ไวดังน้ี

ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยศูนยการเรียนชุมชน พ.ศ. 2552”

ขอ 2 ระเบียบน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป

บรรดา ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง หลักเกณฑหรือขอตกลงอื่นใดในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบ หรือซึ่งขัดหรือ

แยงกับระเบียบน้ีใหใชระเบียบน้ีแทน

ขอ 3 ในระเบียบน้ี

“หมูบาน” หมายความวา บานหลายบานที่อยูรวมกันในทองถ่ินอันหน่ึงและอยูในความ

ปกครองเดียวกันถามีจํานวนบานนอยใหถือเอาจํานวนคนประมาณสองรอยคนเปนหน่ึงหมูบานถามีการต้ัง

บานเรือนหางไกลกันถึงจํานวนจะนอยถาบานไมตํ่ากวาหาบานจะจัด เปนหน่ึงหมูบาน

“ตําบล” หมายความวา ตําบลตามกฎหมายวาดวยลักษณะปกครองทองที่ที่อยูนอกเขตหนวย

การบริหารราชการ สวนทองถ่ิน และในกรณีที่ตําบลใดมีพื้นที่อยูทั้งในและนอกเขตหนวยการบริหารราชการสวน

ทองถ่ินใหหมายความถึงเฉพาะพื้นที่ที่อยูนอกเขตหนวยการบริหารราชการสวน ทองถ่ิน

“ชุมชน” หมายความวา หมูบาน หรือชุมชนในเขตเทศบาล หรือกรุงเทพมหานคร

“ศูนยการเรียนรูชุมชน” หมายความวา ศูนยกลางการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน เพื่อสรางโอกาสการเรียนรู การถายทอด และเปนเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ

วิทยาการตลอดจนภูมิปญญาของชุมชน

“ศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบล” หมายความวา ศูนยการเรียนชุมชนที่ไดรับการคัดเลือก

ใหทําหนาที่เปนศูนยกลางการประสาน งานกับศูนยการเรียนชุมชนและหนวยงานหรือองคกรหรือกลุมตาง ๆ ใน

ชุมชนในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในตําบล

ขอ 4 ศูนยการเรียนชุมชน จัดต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงค

(๑) เพื่อเปนศูนยกลางการเรียนรูและจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยเพื่อใหประชาชนไดรับการสงเสริมใหเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอด ชีวิต

(2) เพื่อสรางเสริมกระบวนการเรียนรูของชุมชน

(3) เพื่อสรางโอกาสการเรียนรูสําหรับประชาชนในชุมชน

Page 73: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

(4) เพื่อใหชุมชนมสีวนรวมในการบริหารจัดการ และจัดการศึกษาใหกับชุมชนเอง

ขอ 5 การจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชน

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหรือเขตแลวแตกรณี การประกาศ

จัดต้ังศูนยการเรียนชุมชน ใหพิจารณาถึงความพรอมและความเหมาะสมของสถานที่ การมีสวนรวมของ

ประชาชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน การคาดประมาณผูใชบริการ ทั้งน้ี โดยความเห็นชอบขององคการ

บริหารสวนตําบลซึ่งศูนยการเรียนชุมชนน้ันต้ังอยู

ในตําบลหน่ึง ๆ อาจจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชนไดมากกวาหน่ึงแหง ทั้งน้ี ใหคํานึงถึงพื้นที่การ

ใหบริการที่ไมซ้ําซอนกัน

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหรือเขตคัดเลือกศูนยการเรียน

ชุมชนหน่ึงแหง โดยความเห็นชอบขององคการบริหารสวนตําบลใหเปนศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบล ทํา

หนาที่เปนศูนยกลางในการประสานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยในตําบล

การจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชนใหศูนยการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ

หรือเขต จัดทําเปนประกาศของสถานศึกษา สวนการจัดต้ังศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบลใหจัดทําเปน

ประกาศของจังหวัด โดยผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจลงนามในประกาศจัดต้ัง

ขอ 6 การยุบเลิกศูนยการเรียนชุมชน

(๑) ศูนยการเรียนชุมชน ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชนโดย

จัดทําเปนประกาศของสถานศึกษา

(๒) ศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบล ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศูนยการ

เรียน

(๓) ชุมชนประจําตําบล โดยจัดทําเปนประกาศของจังหวัด

ขอ 7 ศูนยการเรียนชุมชนจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ดังน้ี

(1) สงเสริมและจัดการศึกษาพื้นฐาน

(2) สงเสริมและจัดการศึกษาตอเน่ือง

(3) สงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย

(4) สงเสริมกิจกรรม และกระบวนการเรียนรูของชุมชน

ขอ 8 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหรือเขตแลวแตกรณีตอง จัดใหมีครู

ประจําศูนยการเรียนชุมชนเพื่อปฏิบัติงานประจําหน่ึงคน

ขอ 9 ศูนยการเรียนชุมชนตองจัดใหมีคณะกรรมการ ดังน้ี

(1) ศูนยการเรียนชุมชน ประกอบดวยผูแทนในชุมชนน้ัน ๆ จํานวนไมนอยกวาหาคน โดยให

เลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธานกรรมการ และคนหน่ึงเปนเลขานุการ

(๒) ศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบล ประกอบดวยผูแทนในชุมชนน้ัน ๆ จํานวนไมนอยกวา

เจ็ดคน โดยใหเลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธานกรรมการ และมีครูประจําศูนยการเรียน

ชุมชนทําหนาที่กรรมการและเลขานุการวาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการตามขอ

Page 74: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

9 (1) และ (2) คราวละสี่ป นับจากวันที่ไดรับการแตงต้ังคณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชน

ใหผูอํานวยการสถานศึกษาเปนผูแตงต้ังคณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบล

ใหผูวาราชการจังหวัดเปนผูแตงต้ัง

ขอ 10 คณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชนมีหนาที ่ดังตอไปน้ี

(1) วางแผนการดําเนินงานศูนยการเรียนชุมชน

(2) จัดประชาสัมพันธงานศูนยการเรียนชุมชน

(3) จัดหาวัสดุ อุปกรณและครุภัณฑพื้นฐานใหกับศูนยการเรียนชุมชน

(4) บริหารและจัดกิจกรรมในศูนยการเรียนชุมชน

(5) กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานศูนยการเรียนชุมชน

ขอ 11 คณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชนประจําตําบลมีหนาที่ตามขอ 10 และยังมีหนาที่เพิ่มเติม

ดังตอไปน้ี

(๑) ประสานงานและเช่ือมโยงขอมูลเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับ

ศูนยการเรียนชุมชนแหงอื่น ๆ ในตําบล

(2) ประสานกับสวนราชการในตําบลและเครือขายการเรียนรูในชุมชน

(3) ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินในพื้นที่เพื่อนําแผนชุมชนในสวนที่เกี่ยว ของกับ

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมาปฏิบัติ

ขอ 12 ศูนยการเรียนชุมชนตองมีอาคาร สถานที่ที่ชัดเจนและเหมาะสมกับชุมชน

ขอ 13 ศูนยการเรียนชุมชนจัดใหมีสื่อ วัสดุ ครุภัณฑ ที่จําเปนพื้นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

และเปนประโยชนตอชุมชน

ขอ 14 เกณฑมาตรฐาน การพัฒนา การประเมินมาตรฐานและแนวทางการดําเนินงานศูนยการเรียน

ชุมชน ใหเปนไปตามที่สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กําหนด

ขอ 15 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหรือเขตอาจจัดต้ังศูนยการเรียน

ชุมชนข้ึนในสถานประกอบการ ศาสนสถาน หนวยงานของรัฐหรือเอกชน ตลอดจนบานของภูมิปญญาทองถ่ินอีก

ก็ได ทั้งน้ี โดยใชหลักเกณฑการดําเนินงานตามระเบียบน้ีโดยอนุโลม

ขอ 16 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการใหเปนไปตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจตีความวินิจฉัยช้ี

ขาดปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2552

(นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 75: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

วาดวยแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบล หรือแขวง

พุทธศักราช 2553

เพื่อใหการดําเนินงานของแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบล หรือแขวง เปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตมี

บทบาทในการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนในชุมชนโดยเนนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของ

ชุมชน มุงสรางโอกาสและใหบริการการเรียนรูอยางหลากหลายวิธี สนองความตองการและเสนอทางเลือกในการ

พัฒนาตนเองอันจะนําไปสูการพัฒนาชีวิตของประชาชนโดยยึดหลักการชุมชนเปนรากฐานของการพัฒนา

กระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบไวดังน้ี

ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน

ตําบหรือแขวง พ.ศ.2553”

ขอ 2 ระเบียบน้ีใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ขอ 3 ในระเบียบน้ี

“ตําบล” หมายความวา ตําบลตามกฎหมายวาดวยลักษณะปกครองทองที่ที่อยูนอก

เขตหนวยการบริหารราชการทองถ่ิน และในกรณีที่ตําบลใดมีพื้นที่อยูทั้งในและนอกเขตหนวยการบริหารราชการ

สวนทองถ่ินใหหมายความถึงเฉพาะพื้นที่ที่อยูนอกเขตหนวยการบริหารราชการสวนทองถ่ิน

“แขวง” หมายความวา เปนเขตการปกครองระดับที่ 3 รองลงมาจากเขตและจังหวัด

แขวงไดรับการเปลี่ยนแปลงฐานะมาจากตําบลที่มีอยูเดิมในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุร ี

“กศน.ตําบล หรือแขวง” หมายความวา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยตําบลหรือแขวง

ขอ 4 แหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง จัดต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

(๑) เปนศูนยกลางการเรียนรูและการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย เพื่อใหประชาชนไดรับการศึกษาตลอดชีวิตอยางทั่วถึงและมี

คุณภาพ

(๒) สรางและขยายภาคีเครือขายในการมีสวนรวมการจัดกิจกรรมการศึกษานอก

ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน

(๓) สงเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษา

ตามอัธยาศัยของภาคีเครือขาย

(๔) ประสานและเช่ือมโยงการดําเนินงานจัดการศึกษารวมกับหนวยงาน ทั้ง

ภาครัฐ เอกชนและภาคประชาชน

ขอ 5 การจัดต้ังแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ใหศูนยการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหรือเขต คัดเลือกมาจากศูนยการเรียนชุมชนในตําบลหรือแขวงหรือจัดต้ังข้ึนใหม

Page 76: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ตามความเหมาะสม โดยความเห็นชอบของสํานักงาน กศน. จังหวัดหรือกทม. และจัดทําเปนประกาศของจังหวัด

โดยผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจลงนามในประกาศจัดต้ัง

ขอ 6 การยุบเลิกแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ใหจัดทําเปนประกาศจังหวัด

โดยความเห็นชอบของสํานักงาน กศน. จังหวัดหรือกทม.

ขอ 7 ใหแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต

ดังน้ี

(๑) สงเสริมและจัดการศึกษานอกระบบ ไดแก การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษา

ตอเน่ือง การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษา

เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนและจัดกระบวนการเรียนรูตามปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง

(2) สงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย

(3) ดําเนินการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน

(4) สงเสริมการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

(5) จัดบริการศูนยติวเขมเติมเต็มความรู

(6) จัดบริการการเรียนรูโดยเครือขายอินเตอรเน็ต

(7) จัดกิจกรรมสงเสริมการอาน

(8) จัดกิจกรรมสงเสริมความเปนพลเมืองดวยวิถีประชาธิปไตย

(9) สงเสริมการนําภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถ่ินมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

(10) เปนศูนยกลางเช่ือมโยงระหวางบาน วัด โรงเรียน และศาสนสถานอื่น ในการจัด

กระบวนการเรียนรูของชุมชน

(11) สงเสริมและสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําร ิ

(12) สงเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต โดยจัดใหมีอาสาสมัคร กศน. หาสิบหลังคา

เรือนตอหน่ึงคน

(13) กิจกรรมอื่นๆ ตามนโยบายรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ

ขอ 8 ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

หรือกรุงเทพมหานคร เปนผูแตงต้ังหัวหนาแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง

ขอ 9 ใหผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

หรือกรุงเทพมหานคร แตงต้ังคณะกรรมการแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ประกอบดวย

(๑) กรรมการที่เปนตัวแทนจากหมูบานหรือชุมชนละ 2 คน ถาหากมีเกิน 10 หมูบาน

ใหมีหมูบานละ 1 คน ซึ่งอาจมาจากผูแทนผูทรงคุณวุฒิ ผูแทนองคกรชุมชน

ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูนําศาสนา เปนตน

(2) กรรมการที่เปนผูแทนองคกรนักศึกษา 2 คน

(3) กรรมการที่เปนอาสาสมัคร กศน. 1 คน

Page 77: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

(4) ประธานกรรมการ เลือกจากตัวแทนคณะกรรมการในขอ (1)

(5) หัวหนาแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวงเปนกรรมการและเลขานุการ

ขอ 10 วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการตามขอ 9 คราวละสี่ปนับจากวันที่ไดรับ

แตงต้ัง

ขอ 11 คณะกรรมการตามขอ 9 พนจากตําแหนงเมื่อตาย ลาออก ถูกคณะกรรมการดวยกันมี

มติไมนอยกวากึ่งหน่ึงมีมติใหออก

ขอ 12 คณะกรรมการแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง มีหนาทีดังตอไปน้ี

(1) สงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง

(2) ประสานงานและเช่ือมโยงขอมูลเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยกับศูนยการเรียนชุมชนตางๆ ในตําบล

(3) ประสานกับสวนราชการในตําบลและเครือขายการเรียนรูในชุมชน

(4) ประสานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินในพื้นที่เพื่อสนับสนุน สื่อ วัสดุ ครุภัณฑ

อาคาร สถานที่ และนําแผนชุมชนในสวน ที่เกี่ยวของกับการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัยมาปฏิบัติ

(๕) ปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กําหนดใหเปนบทบาทหนาที่

ของแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง

ขอ 13 แหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ตองมีอาคาร สถานที่ที่ชัดเจนและ

เหมาะสมกับชุมชน

ขอ 14 แหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง จัดใหมีสื่อ วัสดุ ครุภัณฑ ที่จําเปนพื้นฐาน

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูและเปนประโยชนตอชุมชน

ขอ 15 การกําหนดมาตรฐานแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน. ตําบลหรือแขวง และแนวทางการ

ดําเนินงานแหลงเรียนรูราคาถูก : กศน.ตําบลหรือแขวง ใหเปนไปตามที่สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัยกําหนด

ขอ 16 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการใหเปนไปตามระเบียบน้ี และใหมีอํานาจ ตีความ

วินิจฉัยช้ีขาดปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2553

(นายชินวรณ บุณยเกียรติ)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 78: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ 2558

สวนที่ 1

สภาวะความเสี่ยงของสังคมไทย

ทิศทางการพัฒนาประเทศและโอกาสของสํานักงาน กศน.

สภาวะความเส่ียงของสังคมไทย สภาวะความเสี่ยงของสังคมไทยที่การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในบทบาทความรับผิดชอบของสํานักงาน กศน. จะตองเขามามีสวนรวมในการคลี่คลายและเตรียมการรองรับที่สําคัญ ไดแก สภาวะความเสี่ยงดังตอไปนี้ 1. ความขัดแยงทางการเมืองท่ีอยูในภาวะวิกฤตตลอดชวงระยะเวลากวา 6 เดือน กอนวันที่คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) เขาควบคุมอํานาจการปกครองประเทศ เม่ือวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ความขัดแยงระหวางรัฐบาลและฝายตอตานรัฐบาลไดดําเนินไปอยางรุนแรง ประชาชนมีความแตกแยกเปนกลุมกอนการเมืองตางๆ มีการประทุษรายตอชีวิตและทรัพยสิน มีการใชความรุนแรงซ่ึงกันและกันอยางกวางขวางและตอเนื่อง ประเทศตกอยูในภาวะวิกฤต รัฐบาลตกอยูในสภาพที่ไมอาจปฏิบัติหนาที่เพื่อบริหารประเทศไดตามปกติ เศรษฐกิจ และการปกครองตกอยูในภาวะชะงักงัน เปนยุคที่คนไทยแตกแยกความสามัคคี และเกลียดชังตอกันอยางที่ ไม เคยเปนมากอน กระบวนการยุติธรรมขาดความนาเชื่อถือประกอบกับความเสื่อมถอยทางคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมไทยสงผงใหสถาบันทางสังคมมีแนวโนมออนแอ คนในสังคมขาดความไวเนื้อเชื่อใจและขาดการมีสวนรวมทางสังคม 2. โครงสรางประชากรมีแนวโนมประชากรวัยสูงอายุเพ่ิมข้ึน ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง สัดสวนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : ผูสูงอายุ ลดลงจากรอยละ 20.5 : 67.6 : 11.9 ในป 2553 เปนรอยละ 18.3 : 66.9 : 14.8 ในป 2559 ขณะเดียวกันคนไทยขาดความรูความเขาใจดานอนามัยการเจริญพันธุที่ถูกตองและเหมาะสม สงผลตอความไมสมดุลระหวางปริมาณและคุณภาพของประชากรของประเทศ นอกจากนี้การยายถิ่นของประชากรจากชนบทเขาสูเมืองอยางตอเนื่องทําใหมีการขยายตัวของความเปนเมืองมากขึ้น โดยสัดสวนประชากรในเขตเมืองเพิ่มสูงขึ้นจากรอยละ 31.1 ในป 2543 เปนรอยละ 45.7 ในป พ.ศ. 2553 3. คนไทยไดรับการพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัยแตยังมีปญหาดานสติปญญา คุณภาพการศึกษาและมีพฤติกรรมเส่ียงทางสุขภาพ เด็กวัยเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํากวารอยละ 50.0 มาตรฐานความสามารถของผูเรียนในเรื่องการคิดวิเคราะห สังเคราะห มีวิจารณญาณ และคิดสรางสรรคคอนขางต่ํา นอกจากนี้ความเสี่ยงทางสุขภาพทําใหเกิดปญหาการตั้งครรภในวัยรุนเพิ่มสูงขึ้น อัตราการตั้งครรภของวัยรุนหญิงอายุ 15-19 ป เพิ่มจาก 54.9 ตอประชากรหญิงอายุ 15-19 ป พันคน ในป 2548 เปน 56.2 ในป 2553 ขณะที่กลุมวัยทํางานภาพรวมกาลังแรงงานมีการศึกษาสูงขึ้น โดยในป 2553 มีกาลังแรงงานจบการศึกษาสูงกวาระดับ

Page 79: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ประถมศึกษาเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 45.4 แตอัตราการเพิ่มของผลิตภาพแรงงานในชวงป พ.ศ.2550-2551 โดยเฉลี่ยยังคงอยูในระดับต่ําเพียงรอยละ 1.8 อีกทั้งแรงงานในกลุมอายุ 25-50 ป มีเพียงรอยละ 19.7 เทานั้นที่ออกกาลังกาย กลุมวัยผูสูงอายุแมจะมีอายุยืนยาวขึ้นแตประสบปญหาการเจ็บปวยดวยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น โดยพบวารอยละ 31.7 ปวยเปนโรคความดันโลหิตสูง รองลงมาคือ เบาหวาน รอยละ 13.3 และโรงหัวใจรอยละ 7.0 สงผลตอภาระคาใชจายดานการรักษาพยาบาลของภาครัฐในอนาคต 4. สังคมไทยเผชิญวิกฤตความเส่ือมถอยดานคุณธรรมจริยธรรมมีการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมท่ีหลากหลายและมีแนวโนมเปนสังคมปจเจกมากข้ึน

โดยคนไทยคํานึงถึงประโยชนสวนตนและพวกพองมากกวาสวนรวม ในป พ.ศ.2552 ประเทศไทยไดรับคะแนนความโปรงใสไมทุจริต และคนในประเทศยอมรับไมไดกับการทุจริตเพียง 3.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน จัดอยูในลาดับที่ 84 จาก 180 ประเทศ และอยูในลาดับที่ 11 ของภูมิภาคเอเชีย ขณะที่ภาคสวนตางๆ ไดมีการสงเสริมใหมีการรวมกลุมทํากิจกรรมตางๆ แตการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมเพื่อประโยชนสวนรวมยังอยูในระดับต่ํา ขณะเดียวกันสัมพันธภาพระหวางสมาชิกในครอบครัวมีความเปราะบางจนนาไปสูปญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น เชน อัตราการหยารางเพิ่มขึ้นจาก 4.5 คูตอพันครัวเรือนในป พ.ศ.2548 เปน 5.5 คูตอพัน ในป พ.ศ.2553 ปญหาความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศตอเด็กและสตรีเพิ่มขึ้น

5. บริบทการเปล่ียนแปลงในกระแสโลกกอใหเกิดความรวมมือทางเศรษฐกิจท้ังในระดับทวิภาคีและระดับพหุภาคีรวมท้ังความรวมมือในประชาคมอาเซียน ความรวมมือกับกลุมประเทศเพื่อนบานมีอิทธิพลตอการเคลื่อนยายแรงงานเขาสูประเทศไทย ทั้งแรงงานขามชาติที่เขามาในประเทศไทยอยางถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย ในป พ.ศ.2553 มีแรงงานขามชาติที่ถูกกฎหมายจานวน 378,078 คน และผิดกฎหมายจานวน 955,595 คน ทั้งนี้ในป พ.ศ.2558 จะมีการเคลื่อนยายแรงงานที่มีทักษะฝมืออยางเสรีตามกรอบความรวมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนซ่ึงการเคลื่อนยายแรงงานเสรีดังกลาวจะสงผลใหการแขงขันทางการคามีความรุนแรง มีความตองการนาเขาแรงงานจากตางประเทศทั้งในสวนแรงงานที่มีทักษะฝมือ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางและแรงงานไรฝมือ ซ่ึงจะสงผลกระทบตอภาวการณมีงานทําของแรงงานไทย นอกจากนั้นยังสงผลกระทบตอความม่ันคงของคนไทยในดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินเพิ่มมากขึ้น ทิศทางการพัฒนาประเทศและโอกาสของสํานักงาน กศน.

1. ทิศทางการพัฒนาประเทศ 1.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555-2558) กําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยมุงสรางภูมิคุมกันในมิติตางๆ ใหแก ปจเจกครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ โดยใชแนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศสูความยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พรอมทั้งขยายการนาทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก 3 ทุน ทั้งทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปน 6 ทุน ไดแก ทุนมนุษย ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และทุนทางวัฒนธรรมมาใชประโยชนอยางบูรณาการและเก้ือกูลกัน โดยเฉพาะการสรางฐานทางปญญา เพื่อเปนภูมิคุมกันใหกับคนและสังคมไทยเปนสังคมที่มีคุณภาพ กาวสูสังคมและเศรษฐกิจสีเขียวที่มีแบบแผนการผลิตและบริโภคอยาง

Page 80: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ยั่งยืนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยนาความรูและจุดแข็งของ อัตลักษณไทยมาปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานนวัตกรรมที่เขมแข็ง เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในภูมิภาคอยางรูเทาทัน สรางความยั่งยืนของภาคเกษตร และความม่ันคั่งดานอาหารและพลังงานรวมทั้งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนควบคูไปกับการเสริมสรางระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันทในทุกภาคสวนและทุกระดับเปนฐานการพัฒนาประเทศที่ม่ันคงและสมดุลมุงสูการอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุขและเปนธรรม

1.2 แผนการศึกษาแหงชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559) กําหนดวิสัยทัศนใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ โดยพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูอยางเปนระบบ มุงเนนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูและสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน เพื่อใหคนไทยทุกคนไดเรียนรูตลอดชีวิตทั้งในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียนและตามอัธยาศัยอยางมีคุณภาพ และมีเปาหมายเพื่อใหคนไทยเปนคนดี เกง มีความสุข มีความรูเชิงวิชาการและสมรรถนะทางวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรมใฝเรียนรูและแสวงหาความรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุข มีสุขภาพทั้งกายและใจที่สมบูรณสามารถประกอบอาชีพและอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข เพื่อเปนเปาหมายและฐานหลักของการพัฒนาประเทศ

1.3 นโยบายรัฐบาล (ภายใตการนาของ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี) ไดแถลงตอสภานิติบัญญัติแหงชาติเม่ือวันศุกรที่ 12 กันยายน 2557 โดยในสวนของนโยบายดานการศึกษาปรากฏอยูในนโยบายท่ี 4 การศึกษาและเรียนรู การทํานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ซ่ึงมีสาระของนโยบาย 10 ประเด็น ไดแก 1) จัดใหมีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูโดยใหความสําคัญทั้งการศึกษาในระบบและการศึกษาทางเลือกไปพรอมกัน 2) ปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษาใหสอดคลองกับความจาเปนของผูเรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษาและจัดใหมีคูปองการศึกษาเพื่อการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน 3) ใหองคกรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและประชาชนทั่วไปรวมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง และรวมปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู 4) พัฒนาคนทุกชวงวัยโดยสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตโดยเนนความรวมมือระหวางผูเก่ียวของทั้งในและนอกโรงเรียน 5) สงเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชนสรางแรงงานที่มีทักษะและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาใหเชื่อมโยงกับมาตรฐานวิชาชีพ 6) พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเปนครู 7) สนับสนุนใหองคกรทางศาสนามีบทบาทสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม การสรางสันติสุขและความปรองดองสมานฉันทในสังคมอยางยั่งยืน 8) อนุรักษ ฟนฟู และเผยแพรมรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทย และภาษาถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการเรียนรู การสรางจิตสํานึกความเปนไทยและการเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกประเทศ

Page 81: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

9) สนับสนุนการเรียนรู ภาษาตางประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบานและวัฒนธรรมสากล 10) ปลูกฝงคานิยมและจิตสํานึกที่ดีใหเยาวชนและประชาชนไดมีโอกาสแสดงออกอยางสรางสรรค

1.4 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการพลเรือเอกณรงค พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายเมื่อวันศุกรท่ี 12 กันยายน 2557 โดยแบงเปน 3 กลุมนโยบาย ดังนี้

(1) นโยบายทั่วไป มี 5 ประเด็นของนโยบาย ไดแก 1.1) การพัฒนาและปฏิรูปการศึกษาจะตองยึดหลักการมีสวนรวม การกระจายอํานาจและความตองการของทุกภาคสวนในสังคม 1.2) การสรางโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทยที่ใหความสําคัญกับการสรางความเทาเทียมและเปนธรรม 1.3) การพัฒนาระบบการจัดการศึกษา เจตนารมณตามหลักสูตรทางการศึกษาที่ใหความสําคัญกับการยกระดับความรูใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล 1.4) สงเสริมและยกสถานะของครูซ่ึงเปนบุคลากรหลักในระบบการศึกษาที่ใหความสําคัญกับการสรางเสริมใหวิชาชีพครูเปนวิชาชีพชั้นสูงในสังคม 1.5) การบริหารและปฏิบัติราชการกระทรวงในทุกระดับที่ใหความสําคัญกับการบูรณาการของทุกหนวยงานในสังกัดใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน (2) นโยบายเฉพาะ มี 7 ประเด็นนโยบาย ซ่ึงตองดําเนินการใหเห็นผลใน 1 ป ไดแก 2.1) การพัฒนาการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตและสนับสนุนการแกไขปญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต 2.2) การเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ.2558 และการดารงความตอเนื่องภายหลังการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน 2.3) การพัฒนาศักยภาพการแขงขันและสนับสนุนการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน 2.4) การมุงเนนการผลิตและการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพ 2.5) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาใหทันสมัย 2.6) การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปงบประมาณ 2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ 2.7) การดําเนินการตามแผนการศึกษาแหงชาติและการปฏิรูปการศึกษา

(3) นโยบายเรงดวน มี 10 ประเด็นนโยบายซ่ึงตองดําเนินการใหเห็นผลใน 3 เดือน ไดแก 3.1) เรงสํารวจและใหความชวยเหลือเยียวยา รวมทั้งฟนฟูโรงเรียน สถานศึกษา นักศึกษา ครูอาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ที่ไดรับผลจากอุทกภัยโดยเร็ว 3.2) เรงแกปญหาความรุนแรงและเหตุทะเลาะวิวาทของนักศึกษาอาชีวศึกษาอยางเปนระบบและตอเนื่อง

Page 82: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

3.3) เรงสรางคานิยมอาชีวศึกษา ปรับภาพลักษณและกําหนดมาตรฐาน เพื่อจูงใจใหนักเรียน นักศึกษา พอแมและผูปกครอง มีความยินดีและสงเสริมใหบุตรหลาน เขารับการศึกษาในสายอาชีพ อาชีวศึกษาเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอาชีพที่ขาดแคลน และเปนความตองการของตลาดแรงงาน 3.4) ทบทวนหลักสูตร การเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห มีเวลาทํากิจกรรมเพื่อพัฒนาความรูความสามารถ ทักษะและประสบการณ รวมทั้งปลูกฝงในเรื่องคานิยมหลัก มีคุณธรรม จริยธรรม สรางวินัย จิตสํานึก ความรับผิดชอบตอสังคม การยึดม่ันในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และความภาคภูมิใจในการเปนคนไทย 3.5) เรงพิจารณาทบทวนการอุดหนุนรายหัวแกนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งของภาครัฐและเอกชน การชวยเหลือคาอุปกรณการเรียนของนักเรียนสายอาชีพ อาชีวศึกษา และการชวยเหลือเด็กยากจน พิการ และดวยโอกาส 3.6) เรงขยายบทบาทของภาคเอกชนในการมีสวนรวมในระบบการศึกษาโดยเฉพาะการจัดทําขอตกลงระหวางผูประกอบการธุรกิจเอกชนในการใหการสนับสนุนและการรับนักเรียนนักศึกษาเขาทํางานหลังสําเร็จการศึกษาและสนับสนุนอ่ืนๆ ใหเพิ่มมากขึ้น 3.7) เรงปรับระบบการบรรจุครูและการรับรองมาตรฐานวิชาชีพครู ใหเอ้ือตอการเพิ่มโอกาสใหมีบุคลากรที่มีความรูและประสบการณที่เหมาะสมเขามาในระบบการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เพื่อสนับสนุนการแกไขปญหาการขาดแคลนครูและบุคลากรอาชีวศึกษา และครูสาขาขาดแคลนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.8 ) เรงทบทวนมาตรการการจัด กิจกรรมรับนองของนักเรียนนักศึกษาในสถาบันการศึกษาตางๆ และมาตรการติดตาม ควบคุมการลักลอบการจัดกิจกรรมรับนอง ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา ใหเปนไปแนวทางที่สรางสรรค ปลอดภัย ปราศจากการใชความรุนแรง การละเมิดและการคุกคามทางเพศรวมทั้งไมขัดตอหลักศีลธรรม ขนบประเพณีอันดีงาม และเปนไปตามหลักมนุษยชน โดยใหมีผลบังคับใช ใหทุกสถาบันยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติอยางเครงครัด 3.9) เรงทบทวนมาตรการความปลอดภัยสําหรับสถาบันการศึกษาตางๆ เก่ียวกับการจัดกิจกรรมนอกสถานศึกษา และมาตรการในการเดินทาง และการขนสงเปนหมูคณะนักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย และบุคลากรทางการศึกษา โดยมีผลบังคับใชในทุกสถาบันการศึกษายึดถือเปนแนวทางปฏิบัติอยางเครงครัด 3.10) เรงดําเนินการตามนโยบายเรงดวนของคณะรัฐมนตรีที่เก่ียวของดานการศึกษา ทั้งที่เปนหนวยรับผิดชอบหลักและหนวยสนบัสนุน ใหเห็นผลในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม และเปนไปตามเปาหมายและกรอบระยะเวลาที่กําหนด 2. โอกาสของสํานักงาน กศน. โอกาสความสําเร็จในการนายุทธศาสตร กศน. สูการปฏิบัติเพื่อรวมขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลตามทิศทางการพัฒนาประเทศใหบรรลุผลตามบทบาทความรับผิดชอบของสํานักงาน กศน. มีเงื่อนไขที่เปนโอกาสสัดสวนที่เปนนโยบายของรัฐบาล (นโยบายของคณะรัฐมนตรีและนโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ) และบริบทความเปลี่ยนแปลงของประเทศที่สําคัญ ดังนี้ 2.1 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศท่ีมุงสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) โดยมุงสรางกระแสสังคมใหการเรียนรู เปน

Page 83: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

หนาที่ของคนไทยทุกคน มีวินัยใฝรู รักการอานตั้งแตวัยเด็ก และสงเสริมการเรียนรูรวมกันของคนตางวัย ควบคูกับการสงเสริมใหองคกร กลุมบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภทเปนแหลงเรียนรูอยางสรางสรรค สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย รวมถึงสงเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน และสรางสังคมแหงการเรียนรูที่มีคุณภาพ และสนับสนุนปจจัยที่กอใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต 2.2 ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไทย ปจจุบันรัฐบาลไดใหบริการดานการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนขอมูลดวยความเร็วสูง รวมถึงการสนับสนุนการทํางานดานเทคโนโลยีสารสนเทศของหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอิสระ ใหเกิดประโยชนสูงสุดในการบริหารงานภายใน และการใหบริการแกประชาชน โดยประชาชนสามารถเขาถึงแหลงขอมูลตางๆ ผานเครือขายอินเทอรเน็ต ซ่ึงปจจุบันมีหลายหนวยงานของราชการจัดทํารายละเอียดขอมูลตางๆ ใหบริการผานเว็บไซต เชน การใหบริการของสํานักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ โดยมีผูใหบริการ Universal Resource Locator หรือ URL คือ http://www.gitt.net.th หรือการใหบริการของกระทรวงศึกษาธิการที่ http://www.moe.go.th นอกจากนี้ยังมีอีกหลายหนวยงานที่ใหบริการเชนเดียวกัน ในขณะเดียวกันภาคเอกชนตางๆ หรือองคกรอิสระที่เกิดขึ้นตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ตางก็ใหความสําคัญกับการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาใชงาน และเม่ือมีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซ่ึงรับผิดชอบทางดานนโยบายการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก็ยิ่งทําใหกิจการเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยกาวหนายิ่งขึ้น ซ่ึงทําใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลตางๆ ไดโดยงาย รวดเร็วและเทาเทียมกันเปนการเปดระบบการเรียนรูใหมของประชาชน ความรูจะกลายเปนสิ่งที่ทุกคนสามารถเขาถึงไดหมด ผูคนสามารถเรียนรูจากการศึกษาอยางไมเปนทางการไดมากมาย ในเวลาเดียวกันความรูจะกลายเปนปจจัยสําคัญของการแขงขันทางเศรษฐกิจซ่ึงถือวาเปนทุนความรู ทั้งนี้สํานักงาน กศน. เปนหนวยงานหลักของภาครัฐหนวยงานหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญและมีความพรอมในการสงเสริมการเรียนรูของประชาชน ในระบบของการศึกษาที่ไมเปนทางการหรือการศึกษาตามอัธยาศัยผานทางชองทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบเครือขายสารสนเทศ 2.3 ประเทศไทยมีแหลงเรียนรูในชุมชน หรือแหลงวิทยาการชุมชนประเภทตางๆ กระจายอยูทุกหมูบาน/ชุมชน ท่ัวประเทศ พรอมรองรับและสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนในหมูบาน/ชุมชนแตละแหง ประมาณ 75,098 หมูบาน ซ่ึงแตละหมูบาน/ชุมชน จะมีแหลงเรียนรูมากกวา 1 ประเภท แตละประเภทมีมากกวา 1 แหลง ไดแก แหลงเรียนรูประเภทบุคคล แหลงเรียนรูประเภทธรรมชาติ แหลงเรียนรูประเภทวัสดุและสถานที่ แหลงเรียนรูประเภทสื่อ แหลงเรียนรูประเภทเทคนิค และแหลงเรียนรูประเภทกิจกรรม แหลงเรียนรูแตละประเภทดังกลาวสามารถเปนภาคีเครือขาย เพื่อรวมจัดกิจกรรมการเรียนรูทั้งในรูปแบบของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนในพื้นที่ไดเปนอยางดี โดยประสานเชื่อมโยงการทํางานรวมกับ กศน.ตําบล/ศูนยการเรียนชุมชน และแหลงเรียนรูตางๆ ของสํานักงาน กศน. ในพื้นที่

จากขอเท็จจริงเก่ียวกับสภาวะความเสี่ยงของสังคมไทยและทิศทางการพัฒนาประเทศ และโอกาสของสํานักงาน กศน. ดังที่กลาวมานั้น มีประเด็นสําคัญที่สํานักงาน กศน. ตองเขามามีสวนรวมใน

Page 84: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

การปองกัน ปรับปรุง แกไข และพัฒนา โดยนาไปกําหนดเปนประเด็นสําคัญในขอยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานตอไป ไดแก 1. การสรางและกระจายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสรางความเทาเทียมและความเสมอภาคทางการศึกษา ใหกับทุกกลุมเปาหมาย 2. การเตรียมคนไทย ใหเปนพลเมืองดีของประเทศ มีความคิดเชิงวิเคราะห มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนสมาชิกที่มีศักยภาพของประชาคมอาเซียน และเปนพลเมืองโลกที่มีคุณภาพ 3. การสรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต ประชาชนมีความใฝรู ใฝเรียน รูจักแสวงหาโอกาส เพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต ทั้งจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเปนสังคมคุณธรรม สังคมเพื่อคนทั้งมวล และพรอมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงทุกรูปแบบ 4. การพัฒนากลไกการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ทั้งดานปจจัยดําเนินงาน และกระบวนการดําเนินงาน ใหสามารถดําเนินการขับเคลื่อนทิศทางการพัฒนาประเทศตามบทบาท และภารกิจของสํานักงาน กศน. ไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 85: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สวนที่ 2

ยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

บนพื้นฐานของสถานการณสภาวะความเสี่ยงของสังคมไทยและทิศทางการพัฒนาประเทศและโอกาสของ สํานักงาน กศน. ดังที่กลาวแลวในสวนที่ 1 สํานักงาน กศน. จึงกําหนดยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีวิสัยทัศน เปาประสงค และพันธกิจที่ใชเปนหลักยึดและตัวกํากับทิศทางยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานดังกลาวในปงบประมาณ พ.ศ.2558 ไวดังตอไปนี้ วิสัยทัศน

คนไทยทุกกลุม ทุกชวงวัย เขาถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพทั่วถึงเทาเทียม เปนพลเมืองดี มีศักยภาพ และมีความพรอมในการแขงขันในระดับสากล เปาประสงค

ประชาชนผูรับบริการ ทุกกลุม ทุกชวงวัย มีความรูความสามารถรอบดานเพียงพอตอการดารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุขบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม คานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีศักยภาพในการผลิตทางเศรษฐกิจ การสรางสังคมคุณภาพ การมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ และมีความใฝรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต พันธกิจ

สํานักงาน กศน. มีพันธกิจหลัก ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหประชาชนกลุมเปาหมายทุกกลุม ทุกชวงวัย มีการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต 2. สงเสริม สนับสนุนภาคีเครือขายทุกภาคสวนใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อตอบสนองความตองการทางการศึกษาของประชาชนอยางหลากหลาย 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มุงเนนผลสัมฤทธิ์ในการดําเนินงานตามบทบาทหนาที่ และภารกิจ ทั้งระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติของหนวยงาน สถานศึกษา รวมทั้งการสงเสริม สนับสนุนการดําเนินงาน การมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ยุทธศาสตร

3 ยุทธศาสตรท่ีหวังผลใน 3 เดือน

Page 86: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

1. การเรงปฏิรูปการดําเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหสามารถขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลทุกระดับในสวนที่เก่ียวของ เพื่อนาไปสูการปฏิบัติใหบรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพตามกรอบเงื่อนไขระยะเวลาที่กําหนดไว โดย 1.1) การทบทวนและปรับบทบาทหนาท่ีของหนวยงานและสถานศึกษาทุกประเภท ทุกระดับ ตลอดจนหนวยจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่ ใหทําหนาที่ตามเจตนารมณที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ โดยใช “กศน.ตําบล” เปนฐาน (สถานี) เติมเต็มความรู โดยยึดผูรับบริการเปนศูนยกลาง 1.2) การประเมิน ทบทวนและปรับกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเอ้ือตอการเรียนรูและสอดคลองกับวิถีชีวิต และสภาพปญหาความเรงดวนของแตละชุมชน ตลอดจนพัฒนาทักษะที่จาเปนในการดารงชีวิต สามารถนาไปใชประโยชนตอการพัฒนาตนเอง การพัฒนาชุมชนและสังคมไดอยางแทจริง โดยยึดหลักประสิทธิภาพ ความโปรงใส และความคุมคาในการดําเนินงาน

1.3) กํากับและติดตามใหหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับบริหารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยใชนโยบายและแผน ตลอดจนระบบการกระจายอํานาจเปนกลไกการดําเนินงานที่สําคัญ โดยมีการสื่อสารสรางความเขาใจที่ชัดเจนระหวางผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อใหนโยบายและแผนเปนเครื่องมือในการพัฒนาการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการนานโยบายสูการปฏิบัติที่เชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ 1.4) การกระตุน สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของทุกภาคสวนอยางกวางขวาง โดยยึดหลักความคลองตัวในการทํางาน การเขาถึงกลุมเปาหมายการศึกษาที่มีคุณภาพ และความตอเนื่องอยางยั่งยืนของการเปนภาคีเครือขายซ่ึงกันและกัน ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ 1.5) การเรงรัดสรางความเขาใจกรรมการ กศน.จังหวัด กรรมการสถานศึกษา และกรรมการ กศน.ตําบล ใหเขาใจบทบาทหนาที่และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.6) การเรงรัดพัฒนาครู กศน.ตําบล ทุกคนใหสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. การเรงรัดดําเนินการนาคูปองการศึกษาหรือคูปองการเรียนรูตลอดชีวิตมาใช เพื่อสงเสริมการเขาถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของประชาชนผูรับบริการใหเกิดประสิทธิภาพและเปนธรรมอยางแทจริง 3. การเรงรัดปรับปรุงหลักสูตรแกนกลาง และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรทองถิ่น ตลอดจนหลักสูตรที่สอดคลองกับบริบทของแตละกลุมเปาหมาย รวมถึงการเรียนการสอน ที่มุงใหผูเรียนเปนพลเมืองดี มีคุณธรรมนาความรู และปฏิบัติตนตามคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ มีสวนรวมในการสรางความสมานฉันท และมีความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน

3 ยุทธศาสตรท่ีหวังผลใน 1 ป

1. การเรงรัดการกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหสามารถเขาถึงประชาชนท่ีอยูนอกระบบโรงเรียนอยางท่ัวถึง ทุกกลุมอายุ ทุกกลุมเปาหมาย ที่มีลักษณะเฉพาะทางสังคม - ประชากรอยางเสมอ

Page 87: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

ภาค และเปนธรรมพรอมทั้งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางเปนองครวมทั้งระบบโดย 1.1) การใชแผนและการวิจัยเปนเครื่องมือสําคัญในการดําเนินการทั้งการออกแบบกิจกรรม การนิเทศ การติดตามผล การปรับปรุง การพัฒนา และการตัดสินใจทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติและสามารถรายงานสรุปความกาวหนาเปนรายไตรมาส และรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงโครงสราง ระบบงานกฎหมาย ระบบการบริหารจัดการและอ่ืนๆ ที่เก่ียวของไดอยางเปนระบบ 1.2) การนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่หลากหลาย และมีคุณภาพมาใชในการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดการศึกษา และขยายโอกาสในการเขาถึงการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูของกลุมเปาหมายทั้งในประเทศ และตางประเทศที่หวังผลไดอยางแทจริง 1.3) การสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษา และหนวยจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นาภูมิปญญาทองถิ่น ปราชญชาวบาน หรือภูมิปญญาพื้นบาน และแหลงวิทยาการชุมชนทุกประเภทในพื้นที่มาใชประโยชนในการจัดการศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพ และมีการอนุรักษ สืบสาน ประยุกตใช ตอยอดสรางสรรค และพฒันา เพื่อความยั่งยืนและความเขมแข็งของชุมชนและทองถิ่นตลอดจนการพัฒนาประเทศอยางเปนระบบ รวมทั้งพัฒนากลุมเปาหมายใหมีความคิดวิเคราะห มีเหตุผล และมีจิตวิทยาศาสตร 1.4) การปรับรูปแบบกิจกรรมและวิธีการดําเนินการจาก “บานหนังสืออัจฉริยะ” ไปสู “บานหนังสือชุมชน” และขยายการบริการใหกระจายครบทุกหมูบาน/ชุมชนทั่วประเทศ โดยคํานึงถึงความตองการทางการศึกษา/การเรียนรูของประชาชนในพื้นที่และบริบทเฉพาะของหมูบาน/ชุมชนแตละพื้นที่ เพื่อสงเสริมการรูหนังสือ การเสริมสรางนิสัยรักการอาน และการเขาถึงขาวสารขอมูลและความรูของประชาชนอยางทั่วถึง โดยเชื่อมโยงการทํางานเปนเครือขายกับ กศน.ตําบล/ศูนยการเรียนรูชุมชน ในพื้นที่เพื่อสรางกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่อง 1.5) การพัฒนาศักยภาพและความพรอมในการจัดบริการการศึกษาเพื่อการรูหนังสือขั้นพื้นฐาน และการศึกษาตอเนื่อง สําหรับกลุมเปาหมายทั้งในและตางประเทศ พรอมทั้งแสวงหาความรวมมือจากภาคสวนตางๆ ทั้งในและตางประเทศ 1.6) การวางระบบการนิเทศการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มุงเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและความคลองตัวในการจัดบริการการศึกษาใหกับกลุมเปาหมาย โดยมีการเชื่อมโยงขอมูลและการดําเนินการนิเทศจากระดับนโยบายสูระดับภูมิภาคระดับจังหวัด ระดับอําเภอ/ระดับสถานศึกษา และระดับหนวยจัดบริการ อยางเปนระบบ 1.7) การกําหนดแนวทางและดําเนินการในขอกฎหมายการศึกษาที่เก่ียวของ เพื่อใหการศึกษาทางเลือก เปนการศึกษาอีกประเภทหนึ่งที่สามารถตอบสนองความตองการทางการศึกษาและการเรียนรูของประชาชนผูรับบริการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการมีสวนรวมในการจัดของภาคสวนตางๆ อยางกวางขวาง 2. การกําหนดใหมีแผนยุทธศาสตร/แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสําหรับพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต โดยมีการเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร/แผนพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตอยางเปนระบบ และสนับสนุนซ่ึงกันและกันเพื่อใหการศึกษานอกระบบและ

Page 88: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

การศึกษาตามอัธยาศัยเปนกลไกหนึ่งที่มีพลังในการแกไขปญหาและพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตในบทบาทที่เก่ียวของไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีการนิเทศ กํากับติดตามและรายงานผลอยางเครงครัด และปรับเปลี่ยนไดอยางทันทวงทีตามนโยบายและสถานการณ

3. การเรงรัด ติดตาม ใหมีการพัฒนาหนวยงาน สถานศึกษาและหนวยงานจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุกแหงท่ัวประเทศ โดยยึดภารกิจหลักเปนตัวตั้งเพื่อใหมีศักยภาพในการนานโยบายรัฐบาลและนโยบายที่เก่ียวของสูการปฏิบัติจริงอยางมีประสิทธิภาพทั้งดานกาลังคนทุกระดับ และทรัพยากรสนับสนุนการดําเนินงานที่จาเปนตอการขับเคลื่อนนโยบายดังกลาว จุดเนนการดําเนินงานตามยุทธศาสตร

1. จุดเนนดานประชากรกลุมเปาหมาย 1.1) มุงเนนการสรางโอกาสทางการศึกษาที่มีความเปนธรรมใหกับประชากรทุกกลุมโดยเฉพาะอยางยิ่ง กลุมผูดอย ผูพลาด และผูขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งนี ้จําแนกประชากรกลุมเปาหมายไว ดังนี ้ (1) จําแนกตามชวงอายุ มี 3 กลุม ไดแก 1.1) กลุมวัยเรียนการศึกษาภาคบังคับ แตอยูนอกระบบโรงเรียน (อายุ 6-14 ป) 1.2) กลุมประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15-59 ป) ซ่ึงแบงออกเปน 2 กลุมยอย 1.2.1 กลุมวันแรงงานอายุ 15-39 ป เปนกลุมวันแรงงานที่ใหความสําคัญในการจัดบริการการเรียนรูเปนกลุมแรก 1.2.2 กลุมวัยแรงงานอายุ 40-59 ป เปนกลุมวัยแรงงานที่ใหความสําคัญในการจัดบริการการเรียนรูรองลงมา 1.3) กลุมผูสูงอายุ แบงเปน 4 กลุมยอย โดยใหความสําคัญในการจัดบริการการเรียนรูจากมากไปหานอยตามลาดับ ดังนี้ 1.3.1 กลุมอายุ 60-69 ป 1.3.2 กลุมอายุ 70-79 ป 1.3.3 กลุมอายุ 80-89 ป 1.3.4 กลุมอายุ 90 ปขึ้นไป (2) จําแนกตามคุณลักษณะเฉพาะทางสังคม – ประชากรท่ีเกี่ยวเนื่องกับการเขาสูโอกาสทางการศึกษา แบงเปน 2 กลุมใหญ ดังนี้ 2.1) กลุมท่ีมีเงื่อนไขขอจากัดในการเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู จําแนกเปน 3 กลุมใหญ 17 กลุมยอย ดังนี้ 2.1.1 กลุมผูดอยโอกาส เปนกลุมที่มีโอกาสในการที่จะเขารับบริการทางการศึกษา/รวมกิจกรรมการเรียนรูดอยกวาคนปกติทั่วไป อันเนื่องมาจาก (1) ขอจากัดทางรางกาย/จิตใจ/สติปญญาหรือความสามารถในการเรียนรู (2) ขอจากัดทางดานฐานะทางเศรษฐกิจ หรือความยากจนหรือ (3) ขอจากัดดานการติดตอสื่อสารอันเนื่องมาจากความแตกตางทางภาษา/วัฒนธรรม มี 3 กลุมยอย ไดแก (1) กลุมผูพิการ (2) กลุมผูประกอบอาชีพแรงงานนอกระบบ (3) กลุมชาติพันธุ (ชนกลุมนอย)

Page 89: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

2.1.2 กลุมผูพลาดโอกาส เปนกลุมที่พลาดโอกาสในการที่จะเขารับบริการทางการศึกษา/รวมกิจกรรมการเรียนรูอันเนื่องมาจาก (1) ความไมสามารถในการที่จะรับการศึกษา/การเยนรูไดอยางตอเนื่อง หรือไมมีความประสงคที่จะรับการศึกษา การเรียนรูจนจบหลักสูตรหรือระดับชั้นการศึกษาใดๆ ที่ผานมา (2) การยายถิ่น/เรรอน หรือ (3) เงื่อนไข ขอจากัดเก่ียวกับอายุ มี 7 กลุมยอย ไดแก (1) กลุมเด็ก/เยาวชนที่ออกกลางคันจากระดับการศึกษาภาคบังคับ (2) กลุมผูจบการศึกษาภาคบังคับแตไมไดเรียนตอ (3) กลุมทหารกองประจาการที่ยังไมจบการศึกษาภาคบังคับ (4) กลุมเด็ก/เยาวชนเรรอน/ไรบาน (5) กลุมเด็ก/เยาวชน/ลูกกรรมกรกอสราง (6) กลุมเด็ก/เยาวชนที่มีความพรอมแตไมตองการรับการศึกษาในระบบปกติ (7) กลุมผูสูงอายุ 2.1.3 กลุมผูขาดโอกาส เปนกลุมที่ไมสามารถเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/รวมกิจกรรมการเรียนรูอันเนื่องมาจาก (1) การอยูในพื้นที่เสี่ยงภัยจากการกอการราย/การกอความไมสงบบริเวณชายแดน (2) การอยูในพื้นที่ชนบทหางไกล หรือยากลาบากในการคมนาคมติดตอสื่อสาร (3) การมีถิ่นพานักอยูในตางประเทศ (4) การถูกจาคุก คุมขังหรือจากัดบริเวณตามคําพิพากษา หรือ (5) การไมมีสิทธิภาพในฐานะพลเมืองไทย มี 7 กลุมยอย ไดแก (1) กลุมประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยจากการกอการราย การกอความไมสงบในบริเวณชายแดน (2) กลุมประชาชนในพื้นที่ชนบทหางไกลหรือยากลาบากในการคมนาคมติดตอสื่อสาร (3) กลุมคนไทยในตางประเทศ (4) กลุมผูตองขัง (5) กลุมเด็ก/เยาวชนในสถานพินิจ (6) กลุมแรงงานตางดาว หรือแรงงานขามชาติ (7) กลุมบุคคลที่ไมมีทะเบียนราษฎร 2.2) กลุมท่ีไมมีเงื่อนไขขอจากัดในการเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู จําแนกเปน 4 กลุมยอย ไดแก 2.2.1 กลุมบุคคลผู เปนภูมิปญญาทองถิ่น/ภูมิปญญาพื้นบานหรือปราชญชาวบาน 2.2.2 กลุมผูนาชุมชนทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ 2.2.3 กลุมนักเรียน/นักศึกษาในระบบโรงเรียนที่สนใจเติมเต็มความรู 2.2.4 กลุมประชาชนทั่วไป

Page 90: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

2. จุดเนนดานผูจัดบริการและภาคีเครือขาย 2.1 ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท คณะกรรมการ กศน.จังหวัด คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตําบล และครู กศน.ตําบล ทุกคน ไดรับการพัฒนาใหมีศักยภาพและความพรอมในการปฏิบัติภารกิจตามบทบาทหนาที่อยางมีประสิทธิภาพ 2.2 มีการประสานเชื่อมโยงการทํางานตามโครงสรางภายในหนวยงานกับภาคีเครือขาย ทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติอยางเปนระบบ โดยมีเอกภาพในเชิงนโยบาย และเนนผลสัมฤทธิ์เปนเปาหมายความสําเร็จในการทํางาน 2.3 กศน.ตําบล ทุกแหงใชแผนจุลภาคระดับตําบลเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมหรือออกแบบกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนกลุมเปาหมายในพื้นที่ โดยมีขอมูลพื้นฐานที่สําคัญ ไดแก สภาพทางกายภาพของชุมชน ปญหา/ความตองการทางการศึกษาของประชาชนกลุมเปาหมาย แตละกลุม แตละประเภท แหลงวิทยากรชุมชน (ทุมมนุษย ทุนสังคม ทุนกายภาพ และทุกการเงิน) เปนตน ทั้งนี้ใหมีการปรับปรุงขอมูลดังกลาวใหเปนปจจุบันทุกรอบปงบประมาณ

3. จุดเนนดานผลสัมฤทธ์ิ 3.1 ผูสําเร็จหลักสูตรหรือรวมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีผลสัมฤทธิ์ที่มีคุณภาพ ตรงตามจุดมุงหมายของหลักสูตรหรือกิจกรรมการศึกษา/การเรียนรูที่กําหนดไว และสามารถนาความรูและประสบการณการเรียนรูที่ไดรับไปใชประโยชนไดจริง

3.2 ผูสําเร็จหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ในการดําเนินชีวิตและมีความใฝรูใฝเรียนอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

Page 91: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สวนที่ 3

ตัวชี้วัดความสําเร็จตามยุทธศาสตรและจุดเนน

ความสําเร็จในการดําเนินงานตามยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน มุงที่ผลลัพธหรือกลุมเปาหมายผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเปนสําคัญ มี 10 ตัวชี้วัด ดังตอไปนี้ 1. สัดสวนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ไดรับการบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบแตละกลุมอายุตอจานวนผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 2. สัดสวนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ไดรับการบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบกลุมที่มีเงื่อนไขขอจากัดในการเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู และกลุมที่ไมมีเงื่อนไขขอจากัดในการเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรูตอจานวนผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 3. สัดสวนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ไดรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบในพื้นที่ชนบท/และพื้นที่เมืองตอจานวนผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 4. สัดสวนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ไดรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษาตามอัธยาศัยแตละกลุมอายุตอจานวนผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษาตามอัธยาศัยทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม 5. สัดสวนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ไดรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษาตามอัธยาศัยกลุมที่มีเงื่อนไขขอจากัดในการเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรู และกลุมที่ไมมีเงื่อนไขขอจากัดในการเขาถึงโอกาสทางการศึกษา/การเรียนรูตอจานวนผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม

6. สัดสวนประชาชนนอกระบบโรงเรียนที่ไดรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่ชนบท/และพื้นที่เมืองตอจานวนผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษาตามอัธยาศัยทั้งหมด และจําแนกรายประเภทกิจกรรม

7. สัดสวนผูเรียน/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบแตละหลักสูตร/กิจกรรมที่จบหลักสูตรแตละระดับหรือแตละกิจกรรมตอจานวนผูลงทะเบียนเรียน/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบแตละหลักสูตร หรือแตละกิจกรรมทั้งหมด และจําแนกรายหลักสูตรหรือรายกิจกรรม 8. รอยละของผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคะแนนผลการสอบแตละภาคเรียนในวิชาคณิตศาสตร/วิทยาศาสตร/ภาษาอังกฤษ/ภาษาไทย รอยละ 55 ขึ้นไปของคะแนนเต็มแตละวิชาดังกลาว 9. รอยละของผูจบหลักสูตรการศึกษา/การฝกอบรมทางการศึกษานอกระบบแตละหลักสูตรที่สามารถนาความรู หรือประสบการณการเรียนรูที่ไดรับไปใชไดจริงตามจุดมุงหมายของหลักสูตรนั้นๆ 10. รอยละของผูรับบริการ/รวมกิจกรรมการเรียนรูทางการศึกษานอกระบบ/การศึกษาตามอัธยาศัยที่ยึดถือคานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ

Page 92: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

สวนที่ 4

ปจจัยหลักแหลงความสําเร็จ 1. การยึดหลักวิชา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาคิดเปน หลักธรรมาภิบาล และผลสัมฤทธ์ิในการบริหารจัดการ ทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปทั้งภายในองคกร ระหวางองคกร และการทํางานรวมกันกับภาคีเครือขาย 2. การใช ยุทธศาสตร/กลยุทธในการดําเนินงาน ทั้งที่ยึดพื้นที่ ยึดสภาวะแวดลอม ยึดกลุมเปาหมาย ยึดประเด็นปญหาและความตองการของกลุมเปาหมายหรือประเด็นการพัฒนา ยึดความสําเร็จ และยึดนโยบายเปนฐาน 3. การเนนการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ทั้งเครือขายเชิงพื้นที่ เครือขายเชิงภารกิจและการสรางความเขมแข็งของความรวมมือและความยั่งยืนในการเปนภาคีเครือขายทั้งในประเทศและตางประเทศ 4. การใช กศน.ตําบล เปนฐานและสถานีปลายทาง ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับประชาชนในพื้นที่ โดยไดรับการพัฒนาใหมีศักยภาพและความพรอมในการปฏิบัติงานตลอดเวลา 5. การใชกลุม/โซนเปนกลไกขับเคล่ือนการบริหารนโยบายในระดับพ้ืนท่ี โดยมีประธานคณะกรรมการบริหารในระดับกลุม/โซนทําหนาที่เสมือนผูชวยเลขาธิการ กศน. โดยมีการกระจายอํานาจ/มอบอํานาจ เพื่อใหสามารถบริหารนโยบายในระดับพื้นที่ ไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ 6. การมีขอมูลเกี่ยวกับกลุมเปาหมายทุกกลุมตามจุดเนน มาใชในการวางแผนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และออกแบบกิจกรรมการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

7. การมีระบบการนิเทศกํากับติดตามและรายงานผล การปฏิบัติงานและการใชจายงบประมาณที่สามารถตรวจสอบความกาวหนาในการดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 8. การมีกลไก/ระบบท่ีสามารถเช่ือมโยงการทํางาน กับสวนราชการและหนวยงานตางๆ ที่ไดรับมอบหมายจากรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการ เชน ระบบฐานขอมูลที่เก่ียวของและการจัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองนโยบายเรงดวนหรือนโยบายเฉพาะที่ไดรับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ 9. การมีหนวยงาน/สถานศึกษารับผิดชอบตัวช้ีวัดความสําเร็จ ตามยุทธศาสตรและจุดเนนที่ตรงตามภารกิจอยางชัดเจนที่เชื่อมโยงการกํากับติดตามและรายงานผลตัวชี้วัดทั้งสวนกลาง ระดับจังหวัด และระดับสถานศึกษาอยางเปนระบบ

Page 93: แบบบันทึกการปฏิบัติงานครูnfe-pbr.org/home1/documents/other/form-SRC-KSN.pdfศ นย การศ กษานอกระบบและการศ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพิบูลยรักษ www.nfe-pbr.org

บันทึกขอความ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ลงช่ือ).....................................................ผูบันทึกขอความ (...................................................)