การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... ·...

16
บทที4 การทดลองและผลการทดลอง 4.1 การทดลองที1 การทดสอบหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไดโอดเปล่งแสง 4.1.1 วัตถุประสงค์การทดลอง - เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางไฟฟ้าและทางแสงของหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไดโอดเปล่งแสง - หาความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างกับระยะห่างจากหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออ เรสเซนต์ และหลอดไดโอดเปล่งแสง - เพื่อเปรียบเทียบการทางานของหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอด ไดโอดเปล่งแสง 4.1.2 อุปกรณ์ประกอบการทดลอง - Voltage regulator 1 ตัว - Lux meter 1 ตัว - Voltmeter 1 ตัว - Ammeter 1 ตัว - Wattmeter 1 ตัว - Incandescent Lamp (INC) (200W) 1 หลอด - Light Emitting Diode (LED) (28W) 1 หลอด - Fluorescent Lamp (FL) (T8 36W,T5 24 W) 1 หลอด - สายต่อวงจร 1 ชุด

Upload: others

Post on 30-Dec-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

บทที ่4

การทดลองและผลการทดลอง

4.1 การทดลองที ่1 การทดสอบหลอดอนิแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไดโอดเปล่งแสง

4.1.1 วตัถุประสงค์การทดลอง

- เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางไฟฟ้าและทางแสงของหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์

และหลอดไดโอดเปล่งแสง

- หาความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างกับระยะห่างจากหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออ

เรสเซนต์ และหลอดไดโอดเปล่งแสง

- เพื่อเปรียบเทียบการท างานของหลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอด

ไดโอดเปล่งแสง

4.1.2 อุปกรณ์ประกอบการทดลอง

- Voltage regulator 1 ตัว - Lux meter 1 ตัว - Voltmeter 1 ตัว - Ammeter 1 ตัว - Wattmeter 1 ตัว - Incandescent Lamp (INC) (200W) 1 หลอด - Light Emitting Diode (LED) (28W) 1 หลอด - Fluorescent Lamp (FL) (T8 36W,T5 24 W) 1 หลอด - สายตอ่วงจร 1 ชุด

Page 2: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

41

4.1.3 ขั้นตอนการทดลอง

วงจรหลอดอนิแคนเดสเซนต์ 200 W

·

Sw

L

N

INCA

V

ภาพที่ 4.1 วงจรหลอดอินแคนเดสเซนต์

ภาพที่ 4.2 แสดงการต่อวงจรหลอดอินแคนเดสเซนต์

วงจรหลอดไดโอดเปล่งแสง

·

Sw

L

N

A

V

LED

ภาพที่ 4.3 วงจรหลอดไดโอดเปล่งแสง

Page 3: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

42

ภาพที่ 4.4 แสดงการต่อวงจรหลอดไดโอดเปล่งแสง

วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์

·

Sw

L

N

A

V

L

N

1

4

3

2

Electronic

Ballast

FL

ภาพที่ 4.5 วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์

ภาพที่ 4.6 แสดงการต่อวงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์

Page 4: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

43

Page 5: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

44

* การตอบสนองสี ทดสอบโดยการน าวัตถุสีใดสีหนึ่ง เข้าไปใกล้แสงสว่างของหลอดไฟแต่ละ

ประเภท แล้วดูว่าสีของวัตถุนั้นเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด แล้วจึงบันทึกลงในตารางการทดลอง

โดยใช้ค่าดังต่อไปนี้

ดี คือ สีของวัตถุที่น าไปไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

พอประมาณ คือ สีของวัตถุที่น าไปมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย

ไม่ดี คือ สีของวัตถุที่น าไปมีการเปลี่ยนแปลงไปจนไม่เหลือสีเดิมของวัตถุไว้

* สีของแสง ทดสอบและบันทึกค่าลงในตารางการทดลอง โดยดูจากสีที่ก าหนดให้ดังต่อไปนี้

Warm White Cool White Day light

ภาพที่ 4.7 สีของแสงที่ใช้ในการทดสอบ

ตารางที่ 4.2 ผลการทดลองโดยใช้ Lux meter วัดความสว่างตั้งแต่ 0.5 – 3 เมตร

ระยะห่าง(m) หลอด

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

อินแคนเดสเซนต ์ 738 187 82 55 41 29

ฟลูออเรสเซนต(์T5) 576 197 100 63 46 30

ฟลูออเรสเซนต(์T8) 340 121 72 49 34 25

ไดโอดเปล่งแสง 564 392 160 100 70 53

Page 6: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

45

ภาพที่ 4.8 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างและความสว่างของหลอดไฟฟ้า

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองโดยใช้ Lux meter วัดค่าความสว่างตั้งแต่ 0.5 – 3 เมตร จะเห็นได้ว่าหลอดแต่ละ

ชนิดมีค่าความสว่างลดลงตามระยะทางที่เพิ่มขึ้นเหมือนกันทุกชนิด แต่หลอด LED เป็นหลอดที่มี

การลดลงของความสว่างน้อยกว่าหลอดชนิดอ่ืนเมื่อเทียบกันที่ระยะเดียวกัน รองลงมาคือหลอด

ฟลูออเรสเซนต์T5 หลอดอินแคนเดสเซนต์ และหลอดฟลูออเรสเซนต์T8 ตามล าดับ ซึ่งจากการ

ทดลองแสดงให้เห็นว่าหลอด LED มีการรักษาค่าความสว่างที่ระยะต่างๆ ดีกว่าหลอดชนิดอ่ืนๆ

และเมื่อน ามาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างและค่าความสว่างจะได้ดังภาพที่ 4.4

0

200

400

600

800

0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5

ความสว่

าง (ล

กัซ์)

ระยะห่าง (เมตร)

กราฟแสดงผลการทดลองที ่4.2

อินแคนเดสเซนต์

ฟลูออเรสเซนต์ T5

ฟลูออเรสเซนต์ T8

ไดโอดเปล่งแสง

Page 7: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

46

Page 8: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

47

ภาพที่ 4.9 ความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างและแรงดันไฟฟ้าของหลอดไฟฟ้า

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองวัดค่าความสว่างที่ระยะ 2 เมตร แล้วท าการลดแรงดันไฟฟ้าลงและวัดความ

สว่างจนกว่าหลอดจะดับสังเกตได้ว่าที่แรงดัน 220 V หลอด LED มีค่าความสว่างสูงที่สุดจากหลอด

ทั้งหมดที่ทดลองคือ ประมาณ 100 Lux และค่าความสว่างของหลอด LED จะลดลงน้อยกว่าหลอด

อ่ืน เมื่อมีการลดแรงดันไฟลง โดยหลอดฟลูออเรสเซนต์ T5, T8 และหลอดอินแคนเดสเซนต์นั้นมี

ค่าความสว่างที่แรงดัน 220 V ใกล้เคียงกันที่ประมาณ 50 Lux และมีแนวโน้มการลดของค่าความ

สว่างเดียวกันเมื่อปรับลดแรงดันไฟลง แต่เมื่อลดแรงดันไฟลงต่ ากว่า 50 V หลอดทุกชนิดจะดับลง

ซึงจากการทดลองจะเห็นได้ว่าหลอดไฟจะให้ความสว่างได้ในช่วงแรงดันไฟ 220-50 V เท่านั้น

และเมื่อน ามาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้าและค่าความสว่างจะได้ดังภาพที่ 4.5

0

20

40

60

80

100

120

0 50 100 150 200 250

ความสว่

าง (ล

กัซ์)

แรงดันไฟฟ้า

กราฟแสดงผลการทดลองที ่ 4.3

อินแคนเดสเซนต ์

ฟลูออเรสเซนต์ T5

ฟลูออเรสเซนต์ T8

ไดโอดเปล่งแสง

Page 9: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

48

4.2 การทดลองที ่2 การทดสอบหลอดแสงจันทร์ หลอดโซเดียมความดันต ่า และหลอดโซเดียม

ความดันสูง

4.2.1 วตัถุประสงค์การทดลอง

- เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางไฟฟ้าและทางแสงของหลอดแสงจันทร์ หลอดโซเดียมความดันต่ า

และหลอดโซเดียมความดันสูง

- หาความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างกับระยะห่างจากหลอดแสงจันทร์ หลอดโซเดียมความ

ดันต่ า และหลอดโซเดียมความดันสูง

- เพื่อเปรียบเทียบการท างานของหลอดแสงจันทร์ หลอดโซเดียมความดันต่ า และหลอด

โซเดียมความดันสูง

4.2.2 อุปกรณ์ประกอบการทดลอง

- Voltage regulator 1 ตัว - Lux meter 1 ตัว - Voltmeter 1 ตัว - Ammeter 1 ตัว - Wattmeter 1 ตัว - High Pressure Mercury Lamp (HPM) (250W) 1 หลอด - Low Pressure Sodium Lamp (LPS) (135W) 1 หลอด - High Pressure Sodium Lamp (HPS) (400W) 1 หลอด - Igniter 1 ตัว - Ballast ส าหรับหลอด 250W, 135W, 400W อย่างละ 1 ตัว - สายต่อวงจร 1 ชุด

Page 10: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

49

4.2.3 ขั้นตอนการทดลอง

วงจรหลอดแสงจันทร์ 250 W

·

Sw

L

N

A

V HPM

Ballast

ภาพที่ 4.10 วงจรหลอดแสงจันทร์

ภาพที่ 4.11 แสดงการต่อวงจรหลอดแสงจันทร์

วงจรหลอดโซเดียมความดันต ่า 135 W

·

Sw

L

N

A

V LPS

Ballast

ภาพที่ 4.12 วงจรหลอดโซเดียมความดันต่ า

Page 11: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

50

ภาพที่ 4.13 แสดงการต่อวงจรหลอดโซเดียมความดันต่ า

วงจรหลอดโซเดียมความดันสูง 400 W

·

Sw

L

N

A

V HPS

BallastB Lp N

Igniter

ภาพที่ 4.14 วงจรหลอดโซเดียมความดันสูง

ภาพที่ 4.15 แสดงการต่อวงจรหลอดโซเดียมความดันสูง

Page 12: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

51

Page 13: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

52

* การตอบสนองสี ทดสอบโดยการน าวัตถุสีใดสีหนึ่ง เข้าไปใกล้แสงสว่างของหลอดไฟแต่ละ

ประเภท แล้วดูว่าสีของวัตถุนั้นเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด แล้วจึงบันทึกลงในตารางการทดลอง

โดยใช้ค่าดังต่อไปนี้

ดี คือ สีของวัตถุที่น าไปไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

พอประมาณ คือ สีของวัตถุที่น าไปมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย

ไม่ดี คือ สีของวัตถุที่น าไปมีการเปลี่ยนแปลงไปจนไม่เหลือสีเดิมของวัตถุไว้

* สีของแสง ทดสอบและบันทึกค่าลงในตารางการทดลอง โดยดูจากสีที่ก าหนดให้ดังต่อไปนี้

Warm White Cool White Day light

ภาพที่ 4.16 สีของแสงที่ใช้ในการทดสอบ

ตารางที่ 4.5 ผลการทดลองโดยใช้ Lux meter วัดความสว่างตั้งแต่ 0.5 – 3 เมตร

ระยะห่าง(m) หลอด

0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

แสงจันทร ์ 2940 925 408 256 181 124

โซเดียมความดันสูง 9800 2520 1193 753 522 358

โซเดียมความดันต่ า 4080 1390 650 382 263 176

Page 14: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

53

ภาพที่ 4.17 ความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างและความสว่างของหลอดไฟฟ้า

สรุปผลการทดลอง

จากตารางที่ 4.5 เป็นการทดลองวัดความสว่างที่ระยะต่างๆ กันตั้งแต่ 0.5-3 เมตร จะได้ว่าหลอด

แต่ละชนิดมีค่าความสว่างลดลงตามระยะทางที่เพิ่มขึ้นเหมือนกันทั้ง 3 ชนิด แต่เมื่อดูจากก าลังไฟฟ้า

ของหลอดแต่ละชนิดแล้ว จะเห็นได้ว่าหลอดโซเดียมความดันต่ าเป็นหลอดที่ให้ค่าความสว่างมากกว่า

หลอดชนิดอ่ืนๆ รองลงมาคือ หลอดโซเดียมความดันสูง และหลอดแสงจันทร์ตามล าดับ และเมื่อ

น ามาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างและค่าความสว่างจะได้ดังภาพที่ 4.9

0

2000

4000

6000

8000

10000

12000

0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 3.5

ความสว่

าง (ล

กัซ์)

ระยะห่าง (เมตร)

กราฟแสดงผลการทดลองที ่4.5

แสงจันทร์

โซเดียมความดันสูง

โซเดียมความดันต่ า

Page 15: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

54

Page 16: การทดลองและผลการทดลองdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/4686/8/บท... · 2016. 10. 13. · สรุปผลการทดลอง

55

ภาพที่ 4.18 ความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างและแรงดันไฟฟ้าของหลอดไฟฟ้า

สรุปผลการทดลอง

จากตารางที่ 4.6 เป็นการทดลองโดยการก าหนด Lux meter ไว้ที่ระยะ 2 เมตร แล้วท าการลด

แรงดันไฟตั้งแต่ 220-50 V จะได้ว่า หลอดไฟทั้ง 3 ชนิดมีค่าความสว่างลดลงในแนวโน้มที่ใกล้เคียง

กัน แต่จะต่างกันตรงที่ระยะแรงดันไฟที่ดับลงของหลอดไฟแต่ละประเภท คือ หลอดโซเดียมความ

ดันต่ าจะไม่สามารถใช้งานที่แรงดันไฟต่ ากว่า 160 V ได้ หลอดโซเดียมความดันสูงจะไม่สามารถใช้

งานที่แรงดันไฟต่ ากว่า 110 V ได้ และหลอดแสงจันทร์จะไม่สามารถใช้งานที่แรงดันต่ ากว่า 180 V

ได้ และเมื่อน ามาเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้าและค่าความสว่างจะได้ดังภาพที่ 4.9

0

100

200

300

400

500

600

700

800

0 50 100 150 200 250

ความสว่

าง (ล

กัซ์)

แรงดันไฟฟ้า

กราฟแสดงผลการทดลองที ่ 4.6

แสงจันทร์

โซเดียมความดันสูง

โซเดียมความดันต่ า