การวิเคราะห์อุบัติเหตุ ·...

5
ความสำคัญของการวิเคราะหอุบัติเหตุ วิธีการในการวิเคราะหอุบัติเหตุ การวิเคราะหอุบัติเหตุ จะเปนวิธีการที่นำขอมูลรายละเอียดจากรายงานการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแตละชวงเวลา และแตละรายของการเกิดอุบัติเหตุ มาวิเคราะหหาความสัมพันธของอุบัติเหตุในแตละรายเพื่อใชในการมองภาพแนวโนมของการเกิด อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งจะทำใหสามารถกำหนดมาตรการเชิงรุกในการปองกันอุบัติเหตุขององคกรไดอยางมีระบบ การวิเคราะหอุบัติเหตุสามารถทำไดหลายรูปแบบ ตามความเหมาะสม และวัตถุประสงคของการวิเคราะห เชน การวิเคราะหหาความสัมพันธของการเกิดอุบัติเหตุ กับประสบการณ การทำงานของผูปฏิบัติงาน การวิเคราะหหาความสัมพันธของ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแตละชวงเวลา เปนตน แตกอนที่จะวิเคราะห อุบัติเหตุจะตองมีการทำการวิเคราะหอุบัติเหตุในแตละรายอยาง ละเอียด (Case Analysis) ซึ่งจะทำใหสามารถทราบรายละเอียด ที่เปนประโยชน ซึ่งจะนำไปสูการกำหนดมาตรการแกไขและปอง กันอุบัติเหตุอยางมีประสิทธิภาพตอไปในการวิเคราะหอุบัติเหตุมี ประเด็นสำคัญทั้งหมด 8 ประเด็น ที่ควรนำมาวิเคราะห ซึ่งอาง อิงตามรูปของสถาบันกำหนดมาตรฐานแหงชาติของประเทศ สหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature and Occurance of Work Injuries) ซึ่งตามมาตรฐานนี้ไดกำหนด ลักษณะของประเด็นที่สำคัญไว 8 ประเด็นอันเปนผลจากการ เกิดอุบัติเหตุ อันไดแก วัตถุประสงคของการวิเคราะหอุบัติเหตุ การวิเคราะหอุบัติเหตุ มีวัตถุประสงคดังตอไปนี1. เพื่อรวบรวมขอมูลรายละเอียดของการเกิดอุบัติเหตุ อันไดแก ลักษณะของการเกิดอุบัติเหตุ แหลงที่กอใหเกิด อุบัติเหตุ บุคคล ตำแหนงหนาที่ สถานที่ เวลา เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และอื่น ๆ 2. เพื่อใหทราบถึงลักษณะของปญหาการเกิดอุบัติเหตุใน หนวยงาน และตำแหนงหนาที่ตาง ๆ 3. เพื่อทำใหทราบถึงลักษณะของการกระทำและสภาพการณทีไมปลอดภัย (Unsafe Act and Unsafe Condition) ซึ่ง จำเปนที่จะตองใหความสำคัญเปนพิเศษในการปองกันอุบัติเหตุ 4. เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานสำหรับผูบริหารและหัวหนางานใน การตรวจสอบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และสภาพ แวดลอมการทำงาน 5. เพื่อใชในการประเมินผลความสำเร็จของการนำแผนงานดาน ความปลอดภัย (Safety Plan) ไปสูการปฏิบัติ -1- สวินทร พงษเกา ( [email protected] ) การวิเคราะห์อุบัติเหตุ

Upload: others

Post on 17-Apr-2020

28 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวิเคราะห์อุบัติเหตุ · สหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature

ความสำคัญของการวิเคราะหอุบัติเหตุ

วิธีการในการวิเคราะหอุบัติเหตุ

การวิเคราะหอุบัติเหตุ จะเปนวิธีการที่นำขอมูลรายละเอียดจากรายงานการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในแตละชวงเวลา และแตละรายของการเกิดอุบัติเหตุ มาวิเคราะหหาความสัมพันธของอุบัติเหตุในแตละรายเพื่อใชในการมองภาพแนวโนมของการเกิดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งจะทำใหสามารถกำหนดมาตรการเชิงรุกในการปองกันอุบัติเหตุขององคกรไดอยางมีระบบ

การวิเคราะหอุบัติเหตุสามารถทำไดหลายรูปแบบ ตามความเหมาะสม และวัตถุประสงคของการวิเคราะห เชน การวิเคราะหหาความสัมพันธของการเกิดอุบัติเหตุ กับประสบการณการทำงานของผูปฏิบัติงาน การวิเคราะหหาความสัมพันธของอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนในแตละชวงเวลา เปนตน แตกอนท่ีจะวิเคราะหอุบัติเหตุจะตองมีการทำการวิเคราะหอุบัติเหตุในแตละรายอยางละเอียด (Case Analysis) ซ่ึงจะทำใหสามารถทราบรายละเอียดที่เปนประโยชน ซึ่งจะนำไปสูการกำหนดมาตรการแกไขและปองกันอุบัติเหตุอยางมีประสิทธิภาพตอไปในการวิเคราะหอุบัติเหตุมีประเด็นสำคัญท้ังหมด 8 ประเด็น ท่ีควรนำมาวิเคราะห ซ่ึงอางอิงตามรูปของสถาบันกำหนดมาตรฐานแหงชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature and Occurance of Work Injuries) ซึ่งตามมาตรฐานนี้ไดกำหนดลักษณะของประเด็นที่สำคัญไว 8 ประเด็นอันเปนผลจากการเกิดอุบัติเหตุ อันไดแก

วัตถุประสงคของการวิเคราะหอุบัติเหตุ

การวิเคราะหอุบัติเหตุ มีวัตถุประสงคดังตอไปน้ี1. เพื่อรวบรวมขอมูลรายละเอียดของการเกิดอุบัติเหตุ อันไดแก ลักษณะของการเกิดอุบัติเหตุ แหลงที่กอใหเกิด อุบัติเหตุ บุคคล ตำแหนงหนาท่ี สถานท่ี เวลา เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ และอื่น ๆ2. เพื ่อใหทราบถึงลักษณะของปญหาการเกิดอุบัติเหตุใน หนวยงาน และตำแหนงหนาที่ตาง ๆ3. เพ่ือทำใหทราบถึงลักษณะของการกระทำและสภาพการณท่ี ไมปลอดภัย (Unsafe Act and Unsafe Condition) ซ่ึง จำเปนท่ีจะตองใหความสำคัญเปนพิเศษในการปองกันอุบัติเหตุ4. เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานสำหรับผูบริหารและหัวหนางานใน การตรวจสอบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และสภาพ แวดลอมการทำงาน5. เพ่ือใชในการประเมินผลความสำเร็จของการนำแผนงานดาน ความปลอดภัย (Safety Plan) ไปสูการปฏิบัติ

-1-

สวินทร พงษเกา ( [email protected] )

การวิเคราะห์อุบัติเหตุ

Page 2: การวิเคราะห์อุบัติเหตุ · สหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature

1. ลักษณะของการบาดเจ็บ (Nature of Injury) เปนการชี้บงลักษณะของการบาดเจ็บของรางกาย โดยในวิเคราะหใหใสชื่อลักษณะที่รางกายไดรับบาดเจ็บ เชน ถูกตัด กระดูกหัก เคล็ด เปนตน แตในบางกรณีถาไดรับบาดเจ็บ 2 อยาง หรือมากกวาและมีลักษณะการบาดเจ็บอยางหนึ่งที่มีความรุนแรง (Severity) ที่เห็นไดอยางชัดเจนกวาลักษณะการบาดเจ็บอยางอื่นแลว ก็ใหถือวาลักษณะการบาดเจ็บที่มีความรุนแรงสูงสุด เปนลักษณะการบาดเจ็บของอุบัติเหตุรายนั้น แตสำหรับกรณีที่มีการบาดเจ็บหลายๆ อยางที่มีลักษณะแตกตางกัน เชน เคล็ด ถลอก ยอก และไมมีลักษณะการบาดเจ็บใดมีความรุนแรงสูงสุดอยางชัดเจนแลว ก็ใหลงในรายการวิเคราะหวา “บาดเจ็บหลายแหง“ (Multiple Injuries)

2. สวนของรางกายที่ไดรับบาดเจ็บ (Part of Body) ถาไดรับอันตรายและบาดเจ็บสวนใดสวนหน่ึงของรางกาย ก็ใหใสช่ือสวนของรายกายท่ีไดรับบาดเจ็บน้ันลงไปในรายการวิเคราะห แตถาไดรับบาดเจ็บหลายแหงแตอยูในสวนของรางกายสวนใหญๆ สวน ใดสวนหนึ่งก็ใหลงชื ่อสวนของรายกายสวนใหญนั ้นลงไป เชน ถูกไฟไหม มีผลทำใหไดรับการบาดเจ็บท่ีน้ิวมือ มือ ขอมือ และตนแขน ก็ใหลงวา ไดรับบาดเจ็บ “สวนแขน” ซึ่งรวมหมายถึงสวนตางๆ ของแขน แตไดรับบาดเจ็บที่อวัยวะภายใน โดยอวัยวะระบบใดระบบ หนึ่งไดรับผลกระทบกระเทือน หรือเสียหาย ก็ใหลงรายละเอียดของ ระบบอวัยวะนั้นดวย เชน กรณีจมน้ำหรือหายใจไมออก ก็ใหระบุวา “ระบบทางเดินหายใจไดรับอันตราย”

3. แหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ (Source of Injury) วัตถุ สิ่งของ เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ การเคลื่อนไหวของรางกาย ที่สงผลโดยตรงตอการบาดเจ็บ ก็ใหระบุลงไปวา เปนแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ ในบางครั้งการบาดเจ็บเกิดจากการสัมผัสกันกับแหลงที่ทำใหเกิดบาดเจ็บมากกวา 1 แหลง ซึ่งเปนการยากที่จะตัดสินวาแหลงใดกอใหเกิดการบาดเจ็บโดยตรง ในกรณีนี้ในการพิจารณาแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บใหดูจากแหลงที่รางกายสัมผัสครั้งหลังสุด และใหถือวาเปนแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บตัวอยางเชน คนงานตกจากนั่งรานสูง 10 เมตร มากระแทกกับโครงสรางอาคารและตัวนั่งราน กอนที่รางกายจะกระแทกกับพื้นดินใหถือวา พื้นดินเปนแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บสำหรับในกรณีที่มีการบาดเจ็บเล็กนอย เชน เคล็ด ขัด ยอก โดยการเคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย เชน การบิดตัว งอตัว เอื้อม ก็ใหระบุวา “การเคลื่อนไหวของรางกาย” เปนแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ

4. ชนิดของอุบัติเหตุ (Accident Type) ชนิดของอุบัติเหตุ คือ เหตุการณที่มีผลโดยตรงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ ชนิดของอุบัติเหตุนั้น ในการจำแนกลักษณะจะมีความสัมพันธโดยตรงกับแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ เชน คนงานตกจากหลังคาโรงงานขณะทำการซอมแซมหลังคา ชนิดของอุบัติเหตุคือ “ตกจากที่สูง” โดยทั่วไปสามารถจำแนกชนิดของอุบัติเหตุไดเปน 9 ลักษณะ คือ

4.1 ชนกับวัตถุ 4.2 ถูกชน (กระแทกโดยวัตถุที่เคลื่อนที่) 4.3 ตกจากที่ตางระดับ (ตกจากที่สูง) 4.4 ลมในระดับเดียวกัน (ลื่น ลม สะดุด) 4.5 ถูกแทง ทิ่ม ตำ 4.6 ถูกหนีบ ถูกบีบ 4.7 ถูกอัด ถูกทับ ถูกบดขยี้ การตัดขาด 4.8 สัมผัสกับไฟฟา ความรอน ความเย็น รังสี สารเคมี วัตถุมีพิษ เสียงดัง ปจจัยทางชีวะภาพ 4.9 การออกแรงเกินกำลัง

-2-

Page 3: การวิเคราะห์อุบัติเหตุ · สหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature

5. สภาพที่เปนอันตราย (Hazardous Condition) หมายถึงสภาพการณหรือสภาพแวดลอม ซ่ึงเปนปจจัยทำใหเกิดการบาดเจ็บ ในการวิเคราะหใหช้ีบงถึงสภาพหรือสภาวะทางกายภาพโดยทั่วไป ซึ่งมีผลโดยตรงหรือมีสวนในการทำใหเกิดการบาดเจ็บ เชน ชางซอมบำรุงทำงานซอมเครื่องจักรในบริเวณที่มีเสียงดัง และแสงสวางนอย สภาพที่เปนอันตรายคือ เสียงดัง และแสงสวางไมเพียงพอ โดยทั่วไปนั้นสภาพที่เปนอันตรายจะมีความสัมพันธโดยตรงกับชนิดของอุบัติเหตุ และสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ

6. สิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ (Agency of Accident) สิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง วัตถุสิ่งของ สสารหรือสวนของสภาพที่เปนอันตราย สิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ อาจเปนสิ่งเดียวกันกับแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บหรือไมก็ได ในการจำแนกใน 2 ประเด็น ระหวาง สิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ กับแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ ลักษณะความแตกตางที่เห็นไดชัดเจนก็คือ แหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ จะเปนจุดที่มีผลทำใหเกิดการบาดเจ็บโดยตรง แตส่ิงท่ีทำใหเกิดอุบัติเหตุอาจจะไมมีผลทำใหเกิดการบาดเจ็บโดยตรง ตัวอยางเชน คนงานตกจากน่ังรานสูง 10 เมตร มากระแทกกับโครงสรางและตัวนั่งรานกอนที่รางกายจะกระแทกกับพื้นดิน จากตัวอยางนี้ สิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ (Agency of Accident) คือ นั่งราน (Scaffolds) แตแหลงที่ทำใหเกิดการบาดเจ็บ (Source of Injury) คือ พื้นดิน

7. สวนของสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ (Agency of Accident Part) สวนของสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ จะเปนสวนประกอบที่อยูในสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ (Agency of Accident) ซึ่งมีอันตรายหรือเปนสวนที่บกพรอง ซึ่งสงผลตอการการเกิดอุบัติเหตุ ตัวอยางเชน กรณีคนงานตกจากนั่งราน ซึ่งตรงจุดของพื้นนั่งรานมีขนาดเล็กกวามาตรฐาน ทำใหจุดสัมผัสของเทาคนงานกับพื้นนั่งรานไมสมดุลยและไมมั่นคง จึงทำใหคนงานผลัดตกลงมาจากนั่งรานจากอุบัติเหตุกรณีนี้ นั่งรานจะเปนสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ (Agency of Accident) และพื้นนั่งรานที่มีขนาดเล็กกวามาตรฐานจะเปนสวนของสิ่งที่ทำใหเกิดอุบัติเหตุ (Agency of Accident Part)

8. การกระทำที่ไมปลอดภัย (Unsafe Act) การกระทำที่ไมปลอดภัยของพนักงานถือวาเปนสาเหตุที่ขั้นกลางของการเกิดอุบัติเหตุ (Immedieate Cause) ซึ่งเปนสาเหตุที่จะเชื่อมโยงกับสาเหตุพื้นฐาน (Basic Cause) ของการเกิดอุบัติเหตุ การกระทำที่ไมปลอดภัยของพนักงาน เชนสูบบุหรี่ในท่ีหามสูบ ปฏิบัติงานโดยไมมีหนาท่ี ปฏิบัติงานลัดข้ันตอนการทำงาน ฯลฯ นับวาเปนปจจัยท่ีสำคัญท่ีกอใหเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บจากการทำงานนอกจากการวิเคราะหอุบัติเหตุใน 8 ประเด็นที่กลาวมาแลวในขางตน ก็อาจยังมีปจจัยอื่นที่ถือวาเปนปจจัยที่เอื้ออำนวย (Contributing Factor) ตอการเกิดอุบัติเหตุที่ควรพิจารณาดวยในการวิเคราะห เชน อายุ เพศ อาชีพ อายุงาน ลักษณะงานท่ีทำขณะเกิดอุบัติเหตุ อายุงานในตำแหนงกอนการเกิดอุบัติเหตุ เวลาของการเกิดอุบัติเหตุ การฝกอบรมดานทักษะความชำนาญฯลฯ ถาผูดำเนินการวิเคราะหอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นสามารถวิเคราะหในประเด็นตางๆ ที่ไดกลาวมาขางตนแลวโดยละเอียดก็จะทำใหเห็นภาพของแนวโนมของการเกิดอุบัติเหตุในประเด็นตางๆ ที่ทำการวิเคราะหไว อีกทั้งสามารถคาดการไปขางหนาไดวา อุบัติเหตุมีแนวโนมเปนไปในลักษณะใด ซึ่งจะทำใหการวางแผนในการควบคุมอุบัติเหตุทำไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

-3-

Page 4: การวิเคราะห์อุบัติเหตุ · สหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature

กรณีศึกษาการวิเคราะหอุบัติเหตุการวิเคราะหอุบัติเหตุจะดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพน้ันผูท่ีทำการวิเคราะหจะตองนำหลักการมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับสถานการณ โดยใชหลักการวิเคราะหตามท่ีกลาวไวในเบ้ืองตน

กรณีศึกษาท่ี 1 รถฟอรคลิฟทขณะขับยกอุปกรณวิ ่งมาตามทางวิ ่ง ปรากฎวามีทอนไมวางขวางทางอยู 1 ทอนทำใหคนขับรถฟอรคลิฟทตองหักหลบ และรถเสียหลักถลาไปชนผูปฏิบัติงานท่ีคุมเคร่ืองจักร จนทำใหผูปฏิบัติงานไดรับบาดเจ็บขาหักระหวางขอเทากับหัวเขา

-4-

กรณีศึกษาท่ี 2 พนักงานคลังเก็บสินคาแหงหนึ่ง ขณะทำการขนถายสินคาไดกระโดดลงจากทาขนถายสินคาลงสูพื้นดิน แทนท่ีจะใชบันไดไตลงมา จนทำใหขอเทาเคล็ดถลาไปชนผูปฏิบัติงานที่คุมเครื่องจักร จนทำใหไดรับบาดเจ็บ

ผลการวิเคราะห

หัวขอการวิเคราะห

1. ลักษณะของการบาดเจ็บ

ผลการวิเคราะห

กระดูกหัก

2. สวนของรางกายท่ีได รับบาดเจ็บ ขาสวนลาง

3. แหลงท่ีทำใหเกิดการ บาดเจ็บ รถฟอรคลิฟท

4. ชนิดของอุบัติเหตุ ถูกชน

5. สภาพท่ีเปนอันตราย ทอนไมวางไมถูกตอง

6. ส่ิงท่ีทำใหเกิดอุบัติเหตุ เศษทอนไม

7. สวนของส่ิงท่ีทำใหเกิด อุบัติเหตุ

ไมระบุ

8. การกระทำท่ีไมปลอดภัย การวางวัสดุไมไดมาตรฐาน

ผลการวิเคราะห

หัวขอการวิเคราะห

1. ลักษณะของการบาดเจ็บ

ผลการวิเคราะห

เคล็ด

2. สวนของรางกายท่ีได รับบาดเจ็บ ขอเทา

3. แหลงท่ีทำใหเกิดการ บาดเจ็บ พ้ืนดิน

4. ชนิดของอุบัติเหตุ ตกจากท่ีสูง

5. สภาพท่ีเปนอันตราย ไมระบุ

6. ส่ิงท่ีทำใหเกิดอุบัติเหตุ ไมระบุ

7. สวนของส่ิงท่ีทำใหเกิด อุบัติเหตุ

ไมระบุ

8. การกระทำท่ีไมปลอดภัย การกระโดลงมาจากท่ีสูง

Page 5: การวิเคราะห์อุบัติเหตุ · สหรัฐอเมริกา (ANSI Z 16.2 Standard Method of Recording Basis Facts Relating to the Nature

-5-

กรณีศึกษาท่ี 3 ชางไมขณะทำงานเลื่อยไม โดยใชเลื่อยวงเดือน โดยขณะที่ทำงานอยูไดเอื้อมมือขามแผนใบเลื่อยซึ่งกำลังหมุนอยู เพื่อไปหยิบเศษไมอีกชิ้นหนึ่ง จึงทำใหมือของเขาไปสัมผัสถูกใบเลื่อย ซึ่งไมมีคลอบปองกัน จนทำใหนิ้วชี้มือขวาถูกใบเลื่อยตัดขาดไดรับบาดเจ็บสาหัส

ผลการวิเคราะห

หัวขอการวิเคราะห

1. ลักษณะของการบาดเจ็บ

ผลการวิเคราะห

ถูกตัด

2. สวนของรางกายท่ีได รับบาดเจ็บ น้ิวช้ีมือขวา

3. แหลงท่ีทำใหเกิดการ บาดเจ็บ เล่ือยวงเดือน

4. ชนิดของอุบัติเหตุ การตัดขาด

5. สภาพท่ีเปนอันตราย ไมมีการปองกันใบเล่ือย

6. ส่ิงท่ีทำใหเกิดอุบัติเหตุ เล่ือยวงเดือน

7. สวนของส่ิงท่ีทำใหเกิด อุบัติเหตุ

ใบเล่ือยวงเดือน

8. การกระทำท่ีไมปลอดภัย เอ้ือมมือขามใบเล่ือยขณะท่ีเล่ือยวงเดือนกำลังหมุนอยู