รายงานสรุปผลการดําเนิน...

85
รายงานสรุปผลการดําเนิน “โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔” สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ - ๑ - คํานํา มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสังคมเมือง ที่มีการขยายตัวของเมืองสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวและพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมูลฝอยทั้งภาครัฐ และองคกรปกครองสวน ทองถิ่นตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เนื่องจากการดําเนินงานขององคกร ปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญยังขาดความพรอมทั้งดานงบประมาณ บุคลากรที่ชํานาญ ความพรอมในการบริหาร จัดการ เปนผลทําใหการจัดการขยะมูลฝอยไมมีประสิทธิภาพ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงไดกําหนดนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย ใหมีความ สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในการใชทรัพยากรธรรมชาติ ใหเกิดประโยชนสูงสุด (Resource conservation and recovery) โดยมุงเนนใหมีระบบการบริหารจัดการขยะมูล ฝอยในชุมชนแบบครบวงจร ตั้งแตจุดเริ่มตนของการเกิดขยะมูลฝอย จนถึงการกําจัดขั้นสุดทาย และใหความสําคัญ ตอการนําขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพกลับมาใชประโยชนใหมากที่สุด รวมทั้งลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะตองนําไป กําจัดใหเหลือนอยที่สุด โดยระบบการบริหารจัดการที่กลาวถึงขางตน จะมุงเนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ทั้ง จากหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ในสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น กรมควบคุมมลพิษ เปนหนวยงานหนึ่งที่มีหนาที่ความรับผิดชอบในการผลักดันเรื่องฯ ดังกลาว ใหเกิดการ ขับเคลื่อนและดําเนินการ เพื่อนําไปสูการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น กอใหเกิดการดําเนินงานรวมกับ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด และ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน อยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตนมา ในการที่จะ ผลักดัน สนับสนุน และสงเสริมใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมในการจัดการ ขยะมูลฝอยใหเปนไปอยางตอเนื่องและเปนรูปธรรม รวมทั้งเพื่อเปนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และถูกตองตามหลักวิชาการ สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย สิงหาคม ๒๕๕๕

Upload: others

Post on 09-Mar-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑ -

คํานํา

มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวคีวามรนุแรงขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ในสงัคมเมอืง

ที่มีการขยายตัวของเมืองสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวและพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมูลฝอยทั้งภาครัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เนื่องจากการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญยังขาดความพรอมทั้งดานงบประมาณ บุคลากรที่ชํานาญ ความพรอมในการบรหิารจัดการ เปนผลทําใหการจัดการขยะมูลฝอยไมมีประสิทธิภาพ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงไดกําหนดนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย ใหมีความ

สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายตาง ๆ ทีเ่กีย่วของ ในการใชทรพัยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด (Resource conservation and recovery) โดยมุงเนนใหมรีะบบการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยในชุมชนแบบครบวงจร ตั้งแตจุดเริ่มตนของการเกิดขยะมูลฝอย จนถงึการกาํจดัขัน้สดุทาย และใหความสาํคญัตอการนําขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพกลับมาใชประโยชนใหมากที่สุด รวมทั้งลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะตองนําไปกําจัดใหเหลือนอยที่สุด โดยระบบการบริหารจัดการที่กลาวถึงขางตน จะมุงเนนการมสีวนรวมจากทกุภาคสวน ทัง้จากหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ในสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น

กรมควบคุมมลพิษ เปนหนวยงานหนึ่งที่มีหนาที่ความรับผิดชอบในการผลักดันเรื่องฯ ดงักลาว ใหเกดิการ

ขับเคลื่อนและดําเนินการ เพื่อนําไปสูการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น กอใหเกิดการดําเนินงานรวมกับ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด และ องคกรปกครองสวนทองถิน่ ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน อยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตนมา ในการที่จะผลักดัน สนับสนุน และสงเสริมใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของตระหนักถึงความสําคัญของการมสีวนรวมในการจดัการขยะมูลฝอยใหเปนไปอยางตอเนื่องและเปนรูปธรรม รวมทัง้เพือ่เปนการพฒันาระบบการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และถูกตองตามหลักวิชาการ

สวนขยะมลูฝอยและสิง่ปฏิกลู

สํานกัจดัการกากของเสยีและสารอนัตราย สิงหาคม ๒๕๕๕

Page 2: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒ -

สารบัญ

หนา

คํานํา ๑ บทที่ ๑ บทนาํ ๓ บทที่ ๒ ขอกําหนดการดาํเนนิงาน (Term of Reference) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๘ บทที่ ๓ ขอกาํหนดการดาํเนนิงาน (Term of Reference) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑๓ บทที่ ๔ ขอกาํหนดการดาํเนนิงาน (Term of Reference) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๒๑ บทที่ ๕ ขอกาํหนดการดาํเนนิงาน (Term of Reference) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๓๘ บทที่ ๖ เกณฑการประเมนิผล ๕๐ บทที่ ๗ ผลการประเมนิ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ๕๓ บทที่ ๘ สรปุผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ๖๕ บทที่ ๙ ปญหาและแนวทางการกไขปญหา ๗๗ บทที่ ๑๐ ขอคดิเห็นและขอเสนอแนะ ๘๑ ผูดําเนินการจัดทาํ ๘๕

Page 3: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓ -

บทท่ี ๑ บทนํา

มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวีความรุนแรงขึ้น ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ มีปริมาณ

ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น จํานวน ๑๕.๐๓ ลานตัน ป พ.ศ. ๒๕๕๒ จํานวน ๑๕.๑๑ ลานตนั และป พ.ศ. ๒๕๕๔ จาํนวน ๑๕.๑๖ ลานตัน ซึ่งในแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมูลฝอย ตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ดังนั้น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงไดกําหนดนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย ใหมีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิและนโยบายตาง ๆ ทีเ่กีย่วของ โดยกําหนดใหมีการจัดการในรูปแบบของการใชทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยมุงเนนใหมีระบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนแบบครบวงจร ตั้งแตจุดเริ่มตนของการเกิดขยะมูลฝอย จนถึงการกาํจดัขัน้สุดทาย และใหความสําคัญตอการนําขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพกลับมาใชประโยชนใหมากที่สุด รวมทั้งลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะตองนําไปกําจัดใหเหลือนอยที่สุด โดยระบบการบริหารจัดการที่กลาวถึงขางตน จะมุงเนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ทั้งจากหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ในสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น

กรมควบคุมมลพิษ รวมกับ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จังหวัด และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการเตรียมความพรอมในการประกาศใหสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุม ตามมาตรา ๖๘ และ ๖๙ แหงพระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ รวมทั้งเสริมสรางใหองคกรปกครองสวนทองถิน่มสีมรรถนะในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ ประกอบดวย

๑) แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ๒) การลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชน ๓) ประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย ๔) การบริหารจัดการขยะมูลฝอยหรือมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ๕) ประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย ๖) รายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

Page 4: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔ -

๑.๑ พื้นที่ดําเนินงาน

การดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกบัขององคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน มีมาอยางตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนตนมา โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดดําเนินการในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลนคร จํานวน ๒๓ แหง ป พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดดําเนินการในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลนคร และเทศบาลเมือง จํานวน ๕๙ แหง ป พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดดําเนินการในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบล จํานวน ๙๔ แหง จนถึง ป พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดดําเนินการในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ระดับเทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล และเขตการปกครองพิเศษ จํานวน ๑๓๑ แหง

จํานวน พื้นที่ อปท. เปาหมาย ในการดาํเนินงาน

จํานวน พื้นที่ อปท. เปาหมาย ที่ผานเกณฑที่กําหนด อยางนอย ๔ จาก ๖ สมรรถนะ

พ.ศ. ๒๕๕๑ อปท. ๒๓ แหง อปท. ๑๙ แหง จาก ๒๓ แหง ๘๒.๖ %

พ.ศ. ๒๕๕๒ อปท. ๕๙ แหง อปท. ๕๔ แหง จาก ๕๙ แหง ๙๑.๕ %

พ.ศ. ๒๕๕๓ อปท. ๙๔ แหง อปท. ๙๐ แหง จาก ๙๔ แหง ๙๕.๗ %

พ.ศ. ๒๕๕๔ อปท. ๑๓๑ แหง อปท. ๑๒๖ แหง จาก ๑๓๑ แหง ๙๖.๒ %

Page 5: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕ -

๑.๒ ผลการดาํเนินงาน

ผลการดําเนินโครงการฯ ที่ผานมาในป พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๓ และ พ.ศ. ๒๕๕๔ มอีงคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนด อยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ คิดเปนรอยละ ๘๒.๖ รอยละ ๙๑.๕ รอยละ ๙๕.๗ และ รอยละ ๙๖.๒ ตามลําดับ

๑.๓ สรุปผลการดาํเนินงาน การดําเนินงานที่ผานมา พบวา องคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ ที่เขารวมดําเนินโครงการฯ จะเปน

แบบอยางใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ ใชเปนแบบอยางในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย รวมทั้งเปนสวนหนึ่งในการผลักดัน สนับสนุน สงเสริมใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ ตระหนกัถงึความสําคัญของการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยใหเปนไปอยางตอเนื่อง เปนรูปธรรม และเปนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพถูกตองตามหลักวิชาการ โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความรู ความเขาใจ ไดรับแนวทาง แนวคิด และวิธีปฏิบัติ จากการแลกเปลี่ยนประสบการณการทํางานขององคปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ เปนการกระตุนให องคกรปกครองสวนทองถิน่ ดาํเนนิการปรบัปรงุและพัฒนาการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเปนการผลักดันใหผูบริหารเห็นถึงความสําคัญในเรื่องของการบริหารจัดการขยะมูลฝอยมากขึ้น และเพื่อใหการดาํเนนิโครงการฯ มคีวามยัง่ยนื และเกดิเปนรปูธรรม จึงไดกําหนดแผนในการที่จะขยายพื้นที่ในการดําเนินโครงการฯ เพิ่มขึ้น ใหครอบคลุมทุกจังหวัดในประเทศ

Page 6: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖ -

ผลการดาํเนิน “โครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในการบริหารจดัการขยะมลูฝอยและของเสยีอันตรายจากชุมชน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

การชีแ้จงรายละเอยีดการดาํเนิน “โครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในการบริหารจดัการขยะมลูฝอยและของเสยีอันตรายจากชุมชน”

การจัดสัมมนาเรื่อง “แนวทางการเสรมิสรางสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมลูฝอย และของเสียอันตรายจากชมุชนใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน”

การศึกษาดูงาน “เทคโนโลยใีนการจดัการขยะมลูฝอยใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน”

Page 7: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗ -

ผลการดาํเนิน “โครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในการบริหารจดัการขยะมลูฝอยและของเสยีอันตรายจากชุมชน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

การลงพื้นที่ เพ่ือดําเนินการประเมินสถานที่กําจัดขยะมลูฝอย และเก็บตัวอยางคุณภาพนํ้าใตดิน ณ สถานที่กําจัดขยะมลูฝอยขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน

การลงพื้นที่ เพ่ือชีแ้จงรายละเอยีดโครงการฯ เปนรายภาค และใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/แนวทางในการเพิ่มประสทิธิภาพการบริหารจัดการขยะมลูฝอย ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมท้ังติดตามผลการดาํเนินงานโครงการฯ

การติดตามและสรุปผลการดาํเนินโครงการฯ รวมท้ังพิธมีอบโลเกยีรติคุณ และเกยีรติบัตรใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 8: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘ -

บทท่ี ๒

ขอกําหนดการดาํเนินงาน (Term of Reference) ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑

๑. หลักการและเหตุผล มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสังคมเมืองที่มีการขยายตัวของเมืองสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวและพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมลูฝอยทัง้ภาครฐั และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในการเก็บรวบรวม ขนสง และกําจัดขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ที่ผานมาแมวาจะมีการดําเนินการเพื่อปองกันและแกไขจากหนวยงานที่เกี่ยวของหลายหนวยงาน แตไมประสบผลสําเร็จตามเปาหมายเทาที่ควรเนื่องจากการดําเนินงานขาดความชัดเจนและไมสอดคลองกัน ขาดการประสานงานระหวางหนวยงาน การสรางความเขาใจแกชุมชนและประชาชนในพื้นที่ หนวยงานที่เกี่ยวของมกีารวางแผนและปฏบิตังิานในลักษณะตางคนตางทํา เกิดความซ้ําซอนของงานจนไมสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ งบประมาณสวนใหญมักเนนการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อการกําจัดขยะมูลฝอยตามปริมาณที่เกิดขึ้น แตในขอเท็จจริง การดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในฐานหนวยงานที่มีหนาที่รับผดิชอบตามกฎหมาย สวนใหญยงัขาดความพรอมทั้งดานงบประมาณ บุคลากรที่ชํานาญ ความพรอมในการบริหารจัดการ เปนผลทําใหระบบกาํจดัขยะมูลฝอยที่กอสรางไปแลวไมสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นตามมา คือ การสูญเสียงบประมาณของรัฐจํานวนมาก แตชุมชนเมืองยังมีสภาพแวดลอมที่ไมดี สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน เปนเหตุใหสังคมขาดความเชื่อมั่น ละเลยการปฏิบัติที่ถูกตอง หรือตอตานไมใหความรวมมือในการจัดการขยะมูลฝอย จากสาเหตุดังกลาว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยกรมควบคุมมลพิษ จึงไดกําหนดนโยบาย แผน และมาตรการเพื่อผลักดันใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการดําเนินการแกไขปญหาขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายชุมชน รวมถึงการรณรงคเรื่องการลดและใชประโยชนของเสียอยางตอเนือ่ง และในป ๒๕๕๑ กรมฯ ไดมีแผนการดําเนินงานที่จะใหมีโครงการเพื่อเสริมสรางสมรรถนะในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยและของเสียอันตรายชุมชน โดยประสานความรวมมือกับสํานักงานสิ่งแวดลอมภาค และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดในพื้นที่ที่กํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิน่ระดบัเทศบาลนครในพืน้ทีเ่ปาหมาย จาํนวน ๒๓ แหง ในสวนของการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย และแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร โดยจะเปนการจัดทํากิจกรรม และประชุมหารือรวมกันกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร พรอมทั้งกําหนดแนวทางการจัดการขยะมลูฝอยที่เหมาะสมและสอดคลองกับนโยบายสวนกลาง สามารถประยุกตใชกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร และจะขยายผลไปยังระดับเทศบาลเมืองในปตอไป

Page 9: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๙ -

๒. วัตถุประสงค เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครทั้ง ๒๓ แหง มีการจัดทาํแผนปฏบิตักิารปองกนัและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับเทศบาลนคร และแผนการบริหารจัดการในลักษณะรวมศูนยใหสอดคลองกับนโยบายของราชการสวนกลางและลักษณะรูปแบบองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครทั้ง ๒๓ แหง ๓. เปาหมาย องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครทั่วประเทศ จํานวน ๒๓ แหง มีแนวทางการจัดการและแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย

๑) ทน.เชียงราย ๒) ทน.เชียงใหม ๓) ทน.ลาํปาง ๔) ทน.พิษณุโลก ๕) ทน.นครสวรรค ๖) ทน.นครปฐม ๗) ทน.สมทุรสาคร ๘) ทน.พระนครศรอียุธยา ๙) ทน.นนทบุร ี๑๐) ทน.ปากเกร็ด ๑๑) ทน.สมทุรปราการ ๑๒) ทน.อุดรธาน ี๑๓) ทน.ขอนแกน ๑๔) ทน.นครราชสมีา ๑๕) ทน.อบุลราชธาน ี๑๖) ทน.ระยอง ๑๗) ทน.สรุาษฎรธาน ี๑๘) ทน.นครศรีธรรมราช ๑๙) ทน.ภูเก็ต ๒๐) ทน.ตรงั ๒๑) ทน.สงขลา ๒๒) ทน.หาดใหญ ๒๓) ทน.ยะลา

Page 10: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๐ -

๔. การดําเนินงาน ๔.๑ ประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมาย เพื่อรวบรวมขอมูล รปูแบบการจดัการขยะมลูฝอยที่ผานมา และแผนงานการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายชุมชนของเทศบาลในอนาคต โดยใหมกีารจัดทําแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอย การลดและใชประโยชนของเสีย และการจดัการมลูฝอยตดิเชือ้ของเทศบาล และสงไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครจํานวน ๒๓ แหง ๔.๒ วิเคราะหสภาพปญหา และขอมูลจากแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอย การลดและใชประโยชนของเสีย และการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของเทศบาลนครทั้ง ๒๓ แหง และจัดทํารายงานสรุปเบื้องตน ๔.๓ จัดประชุมระหวางกรมควบคุมมลพิษ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่เกี่ยวของ ทรพัยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมจังหวัดที่เกี่ยวของ เพื่อกําหนดกรอบนโยบายรวมกันในการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย ๔.๔ จัดประชุมระหวางกรมควบคุมมลพิษ สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่เกี่ยวของ ทรพัยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมจังหวัดที่เกี่ยวของ และเทศบาลนครรายเทศบาล เพื่อกําหนดกรอบในการจดัทาํแผนปฏบิตักิารปองกนัและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสีย พรอมทั้งแนวทางการจดัการขยะมูลฝอยในลักษณะศูนยกําจัดรวมของพื้นที่ ๔.๕ ติดตามความคืบหนาการดําเนินงานเปนระยะ ๆ และประเมินผลการดําเนินงานในพื้นที่ที่เขารวมโครงการ โดยจะตองประสานงานและใหความชวยเหลือดานวิชาการเพื่อใหเทศบาลเปาหมาย ๔.๖ จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน รวมทั้งวิเคราะหปญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นในดานตาง ๆ เพือ่กาํหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับเทศบาลนคร โดยรายงานผลการดําเนินงาน ประกอบดวยขอมูลดังตอไปนี้ ๔.๖.๑ ขอมูล สภาพปญหา แผนการดําเนินงานในปจจุบัน และแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครในปจจุบัน ทั้ง ๒๓ แหง ๔.๖.๒ แผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่เหมาะสมและเปนไปตามสภาพเงื่อนไขขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครแตละแหง ๔.๖.๓ สรุปผลการประชุมหารือรวมกับสํานักงานสิ่งแวดลอมภาค ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด และองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร ๒๓ แหง ๔.๖.๔ การลงพื้นที่ประสานงานกับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของในพื้นที่เปาหมาย ๕. ผลที่คาดวาจะไดรับ ๕.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร มีแผนการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อรองรับการพฒันาและขยายตัวของเทศบาลอยางเหมาะสม ๕.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร มีแนวทางการดําเนินงานจัดการขยะมลูฝอยและของเสียอันตรายรวมกันในลักษณะศูนยจัดการรวม

Page 11: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๑ -

๖. ระยะเวลาดําเนินการ มกราคม – กันยายน ๒๕๕๑ ๗. งบประมาณดําเนินการ จํานวน ๒,๓๐๐,๐๐๐ บาท โดยจะโอนเบิกจายใหสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่เกี่ยวของ และสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดที่เกี่ยวของ ที่รับผิดชอบพื้นที่เทศบาลนครจํานวน ๒๓ แหง ๘. ผูรับผิดชอบโครงการ ๘.๑ หนวยงานหลัก กรมควบคุมมลพิษ รับผิดชอบในสวนของ ๑) การประสานงาน/การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมลูฝอยและของเสียอันตรายชุมชนเพื่อชี้แจงโครงการ ๒) การจัดแถลงขาวลงนามบันทึกความรวมมือขอตกลงรวมกัน ๓) ใหงบประมาณอุดหนุนการดําเนินกิจกรรมกับสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคทีเ่กีย่วของ และสาํนกังานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดที่เกี่ยวของ จํานวน ๕๐,๐๐๐ บาทตอเทศบาลนคร เพื่อการจดัประชมุหารือ และการประสานงานในสวนที่เกี่ยวของกับการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ๔) การจัดสงแบบสอบถามดานการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน การลดและใชประโยชนของเสีย และการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ไปยังเทศบาลนครจํานวน ๒๓ แหง ๕) การวิเคราะหและเสนอแนะแนวทางการจัดการขยะมูลฝอย สาํหรบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ทัง้ ๒๓ แหง ๖) การติดตามและประเมินผล ๗) จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน รวมทั้งวิเคราะหปญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นดานตาง ๆ ในการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสยีขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครทั้ง ๒๓ แหง ๘.๒ หนวยงานสนับสนุน สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค รับผิดชอบ ๑) การประสานงาน/การจัดประชุมเชิงพื้นที่ในการจัดทําแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยและ/หรือของเสียอันตรายชุมชนในลักษณะกลุมองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครเปนรายพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๒) รวมประสานงาน/การจัดประชุมเชิงพื้นที่ในการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกนัและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิน่ระดบัเทศบาลนครเปนรายพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๓) รวมเปนคณะทํางานติดตามประเมินผล

Page 12: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๒ -

๔) วิเคราะหและเสนอแนะแนวทางการจัดการขยะมูลฝอย สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิน่ระดบัเทศบาลนครในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๕) จัดทํารายงานผลการดําเนินงานรวมทั้งวิเคราะหปญหา/อุปสรรคที่เกดิขึน้ดานตาง ๆ ในการจดัทาํแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยและ/หรือของเสียอันตรายชุมชนในลักษณะกลุมองคกรปกครองสวนทองถิน่ระดบัเทศบาลนครรายพื้นที่ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ ๑) การประสานงาน/การจัดประชุมเชิงพื้นที่ในการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิน่ระดบัเทศบาลนครเปนรายพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๒) รวมประสานงาน/การจัดประชุมเชิงพื้นที่ในการจัดทําแนวทางการจัดการขยะมูลฝอย ในลกัษณะกลุมองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครเปนรายพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๓) รวมเปนคณะทํางานติดตามประเมินผล ๔) วิเคราะหและเสนอแนะแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสียขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครเปนรายพื้นที่ที่รับผิดชอบ ๕) จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน รวมทั้งวิเคราะหปญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นดานตาง ๆ ในการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย รวมถึงแผนการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสยีขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครเปนรายพื้นที่ที่รับผิดชอบ องคกรปกครองสวนทองถ่ินที่เขารวมโครงการ รับผิดชอบ ๑) มอบหมายเจาหนาที่ระดับปฏิบัติ รับผิดชอบโครงการ ๒) การรายงานขอมูลการจัดการขยะมูลฝอย การลดและใชประโยชนของเสยี และการจดัการของเสยีอันตรายชุมชนและมูลฝอยติดเชื้อ ณ ปจจุบัน และแผนการดําเนินงานในอนาคตของเทศบาล ๓) การจัดทําแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย มูลฝอยติดเชื้อ รวมถึงการสงเสริมการลดและใชประโยชนของเสีย ๙. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ๙.๑ จํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการมีแนวทางการจดัการขยะมลูฝอยและ/หรอืของเสียอันตรายชุมชนในลักษณะกลุมองคกรปกครองสวนทองถิ่น ๙.๒ จํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการมีแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาขยะมูลฝอย

Page 13: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๓ -

บทท่ี ๓

ขอกําหนดการดาํเนินงาน (Term of Reference) ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒

๑. หลักการและเหตุผล

มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวคีวามรนุแรงขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ในสงัคมเมอืงที่มีการขยายตัวของเมืองสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวและพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมูลฝอยทั้งภาครัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เนื่องจากการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญยังขาดความพรอมทั้งดานงบประมาณ บุคลากรที่ชํานาญ ความพรอมในการบรหิารจัดการ เปนผลทําใหการจัดการขยะมูลฝอยไมมีประสิทธิภาพ

ในป ๒๕๕๑ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงไดดําเนินโครงการเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนคร จํานวน ๒๓ แหง ใหมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยพิจารณาผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะจาก ๖ สมรรถนะ โดยประกอบดวย ๑) แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ๒) กิจกรรมลดและใชประโยชนขยะมลูฝอยในลักษณะ ๑ เทศบาล ๑ รีไซเคิล ๓) ประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย ๔) แผนการจัดการขยะมูลฝอยในลักษณะรวมศูนย ๕) คุณภาพน้ําใตดินอยูในเกณฑมาตรฐาน และ๖) รายไดในการจัดการขยะมลูฝอยเพิม่ขึน้ ซึง่ผลการดําเนินงานพบวามีจํานวนเทศบาลที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดรอยละ ๘๖ และเพื่อใหการดําเนินการดังกลาวมีความยั่งยืนและเกิดเปนรูปธรรม รวมทั้งสามารถขยายผลไปยังพื้นที่อื่น

ดังนั้นป ๒๕๕๒ กระทรวงฯ จึงดําเนินการในระดับเทศบาลเมืองเพิ่มอีก ๓๕ แหง และดําเนินการสงเสรมิใหเทศบาลนครในป ๒๕๕๑ มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีการดําเนินการตามแผนปฏบิตักิารจดัการขยะมูลฝอยที่ไดจัดทําไว รวมทั้งสิ้น ๕๘ แหง โดยเกณฑที่จะใชในการพิจารณาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในป ๒๕๕๒ ไดมีการทบทวนและปรับเพิ่มเปน ๘ สมรรถนะ ดังนี้ ๑.) แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ๒.) กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย ๓.) กิจกรรมคัดแยกขยะอันตรายชุมชน ๔.) การเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย ๕.) แผนการจัดการขยะมูลฝอยในลักษณะรวมศูนย ๖.) คุณภาพน้ําใตดนิอยูในเกณฑมาตรฐาน ๗.) การดําเนินการฝงกลบขยะมูลฝอยที่มีการควบคุม (ประกอบดวย มีการควบคุมขยะมูลฝอยที่เขา/ช่ังน้ําหนัก มีการนําดินกลบทับขยะมูลฝอยอยางนอยสัปดาหละ ๑ ครั้ง มีBuffer zone และมีการควบคุมผูคุยขยะในสถานที่ฝงกลบ) ๘.) รายไดในการจัดการขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น เพื่อใหสอดคลองกบัสอดคลองกบัสภาพการจัดการขยะมูลฝอยของทองถิ่น

๒. วัตถุประสงค ๒.๑ เพื่อเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ๒.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครมีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง

Page 14: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๔ -

๓. เปาหมาย ๓.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ ๓.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับเทศบาลนครมกีารดาํเนนิกจิกรรมตามแผนปฏบิตักิารจดัการขยะมูลฝอย ๔. การดําเนินงาน

๔.๑ การดําเนินงานของ ๒๓ เทศบาลนคร ที่ดําเนินการในป ๒๕๕๑ ๔.๑.๑ คพ.รวมกับ สสภ. ทสจ.และเทศบาลฯ ในการตรวจสอบรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ

ดานการจัดการขยะมูลฝอย ของ ๒๓ เทศบาลนคร ที่เทศบาลฯ จะดําเนินงานในป งบประมาณ ๒๕๕๒ รวมทั้ง สงเสริมใหเทศบาลฯ มีการดําเนินการตามแผนฯ

๔.๑.๒ กิจกรรม ๓Rs สส. คพ. สสภ. และ ทสจ. รวมกบัเทศบาลฯ ในการดาํเนนิการเพิม่กจิกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย

๔.๑.๓ สส. คพ. สสภ. และ ทสจ. รวมกับเทศบาลฯ ดําเนินกิจกรรมดานการคัดแยกขยะอันตรายชุมชน

๔.๑.๔ คพ.รวมกับ สสภ. ทสจ.และเทศบาลฯ ติดตามผลการดําเนินการใหบริการเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอย

๔.๑.๕ คพ. สผ. สสภ. และทสจ. รวมกับเทศบาลฯ ดําเนินการแกไขปญหาขยะมลูฝอยทีเ่ปน Cluster เพื่อเขาแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด ประจําป ๒๕๕๔ (ตามลําดับความสําคญั) รวมทั้งผลักดันใหเทศบาลนครที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณแลวมีการดําเนินการปรับปรุง/กอสราง รวมทั้งตรวจสอบ/ทบทวนการจัดกลุมพื้นที่ (cluster) ในพื้นที่ตาง ๆ

๔.๑.๖ คพ. ดําเนินการติดตามตรวจวัดคุณภาพน้ําใตดิน พรอมทั้งจัดทําแนวทางการปรบัปรงุสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

๔.๑.๗ คพ.รวมกับ สสภ. ทสจ.และเทศบาลฯ ติดตามและประเมนิประสทิธภิาพของการดาํเนนิการฝงกลบขยะมูลฝอยที่มีการควบคุม (โดยมีการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอย มีการนําดินกลบทับขยะมูลฝอยอยางนอยสัปดาหละ ๑ ครั้ง มี Buffer zone และมีการควบคุมผูคุยขยะในสถานที่ฝงกลบ) พรอมทั้งจัดทําแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินการ

๔.๑.๘ คพ.รวมกับ สสภ. ทสจ.และเทศบาลฯ จัดฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอยเชิงพื้นที่ และหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเกบ็คาบรกิาร

๔.๑.๙ คพ.รวมกับ สสภ. และทสจ. ดําเนินการติดตามและประเมินผลการดาํเนนิการ พรอมทัง้จดัทาํรายงานผลการดําเนินงาน

Page 15: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๕ -

๔.๒ การดําเนินงานของเทศบาลเมือง ๓๕ แหง

๔.๒.๑ คพ. รวมกับ สสภ. และทสจ. จัดสงแบบสอบถามขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยของ ๓๕ เทศบาล

๔.๒.๒ สสภ และ ทสจ. จัดสง TOR ในการดําเนินโครงการใหกับ ๓๕ เทศบาล เพื่อพิจารณาใหความเห็นในรายละเอียดการดําเนินโครงการ พรอมทั้งสงแบบตอบรับในการเลือกการดําเนินการเพิม่สมรรถนะในการจัดการขยะมูลฝอยอยางนอย ๔ สมรรถนะ

๔.๒.๓ คพ.จัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการ ใหกับ ทสจ. สสภ. สส. สผ. สตป. และสถ.ใหทราบถึงบทบาทและหนาที่ของแตละหนวยงาน โดยมี ปกท.ทส. เปนประธาน

๔.๒.๔ คพ. ดําเนินการโอนงบประมาณสนับสนุนใหกับ ทสจ. และ สสภ. จํานวน ๒๐,๐๐๐ บาทตอเทศบาล เพื่อเปนคาใชจายในการจัดประชุม การประสานงานและสนับสนุนการดําเนินงานในแตละสมรรถนะ

๔.๒.๕ คพ. รวมกับ สสภ. และ ทสจ. จัดประชุมรวมกับ ๕๘ เทศบาล เพือ่ชีแ้จงรายละเอยีดโครงการและรับฟงความคิดเห็นในการดําเนินงาน โดยมี รอง ปกท.ทส. เปนประธาน

๔.๒.๖ ทสจ. และ สสภ.รวมกับเทศบาลฯ ในการทบทวน/จัดทําแผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย

๔.๒.๗ สส. คพ. สสภ. และ ทสจ. รวมกับเทศบาลฯ ในการดําเนินงานดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย

๔.๒.๘ สส. คพ. สสภ. และ ทสจ. รวมกับเทศบาลฯ ในการดําเนินกิจกรรมดานการคัดแยก ขยะอันตรายชุมชน

๔.๒.๙ คพ.รวมกับ สสภ. ทสจ.และเทศบาลฯ ในการหาแนวทางเพิม่ประสทิธภิาพในการเกบ็รวบรวมขยะมูลฝอย

๔.๒.๑๐ คพ. สผ. สสภ. และทสจ. รวมกับเทศบาลฯ ในการความพรอมในการจดัทาํรายละเอยีดเพือ่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณผานแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด ตั้งแตการจัดทําขอบเขตการดําเนินงาน การพิจารณาใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะทางวิชาการตอรายงานการศึกษาและแบบรายละเอียด การรวมประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และแนวทางการกาํหนดอตัราคาธรรมเนยีมในการกําจัดขยะมูลฝอย เปนตน

๔.๒.๑๑ คพ. ดําเนินการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ๔.๒.๑๒ คพ.รวมกับ สสภ. ทสจ.และเทศบาลฯ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพในการดําเนินการ

ฝงกลบขยะมูลฝอยที่มีการควบคุม (โดยมีการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอย มีการนําดินกลบทับขยะมูลฝอยอยางนอยสัปดาหละ ๑ ครั้ง มี Buffer zone และมีการควบคุมผูคุยขยะในสถานทีฝ่งกลบ เปนตน) พรอมทัง้จดัทาํแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินการ

๔.๒.๑๓ คพ. จัดฝกอบรม ทสจ. สสภ. และเทศบาลในการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคณุภาพน้าํใตดนิ ๔.๒.๑๔ คพ.จัดฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูล

ฝอย และหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บคาบริการ ๔.๒.๑๕ คพ.รวมกับ สสภ. และทสจ. ติดตามและประเมินผลการดําเนินการ พรอมทั้งจัดทํารายงาน

ผลการดําเนินงาน

Page 16: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๖ -

๕. ผลที่คาดวาจะไดรับ ๕.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองทั้ง ๕๘ แหง มีแผนการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อรองรับการพัฒนาและขยายตัวของเทศบาลอยางเหมาะสม ๕.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองทั้ง ๕๘ แหง มีแนวทางการดําเนินงานจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายรวมกันในลักษณะศูนยจัดการรวม ๖. ระยะเวลาดําเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๑ – กันยายน ๒๕๕๒ ๗. งบประมาณดําเนินการ จํานวน ๒,๓๒๐,๐๐๐ บาท โดยจะโอนเบิกจายใหสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่เกี่ยวของ และสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดที่เกี่ยวของ ที่รับผิดชอบพืน้ทีเ่ทศบาลนครและเทศบาลเมอืงจาํนวน ๕๘ แหง ไดแก

สสภ จํานวนเงิน (บาท) ทสจ. จํานวนเงิน (บาท) พื้นที่เทศบาล ๑ ๘๐,๐๐๐ เชียงใหม ๔๐,๐๐๐ ทน.เชียงใหม ทม.เมอืงแกนพฒันา เชียงราย ๒๐,๐๐๐ ทน.เชียงราย แมฮองสอน ๒๐,๐๐๐ ทม.แมฮองสอน

๒ ๖๐,๐๐๐ ลําปาง ๔๐,๐๐๐ ทน.ลาํปาง ทม.เขลางคนคร สุโขทัย ๒๐,๐๐๐ ทม.สุโขทัยธาน ี

๓ ๖๐,๐๐๐ พิษณุโลก ๒๐,๐๐๐ ทน.พิษณุโลก นาน ๒๐,๐๐๐ ทม.นาน อุตรดิตถ ๒๐,๐๐๐ ทม.อตุรดิตถ

๔ ๖๐,๐๐๐ นครสวรรค ๔๐,๐๐๐ ทน.นครสวรรค ทม.ตาคล ี อุทัยธานี ๒๐,๐๐๐ ทม.อทุัยธาน ี

๕ ๘๐,๐๐๐ นครปฐม ๒๐,๐๐๐ ทน.นครปฐม สมทุรสาคร ๔๐,๐๐๐ ทน.สมทุรสาคร

ทม.ออมนอย สุพรรณบุร ี ๒๐,๐๐๐ ทม.สุพรรณบุร ี

Page 17: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๗ -

สสภ จํานวนเงิน (บาท) ทสจ. จํานวนเงิน (บาท) พื้นที่เทศบาล ๖ ๑๔๐,๐๐๐ นนทบรุ ี ๖๐,๐๐๐ ทน.นนทบุร ี ทน.ปากเกร็ด ทม.บางกรวย สมทุรปราการ ๒๐,๐๐๐ ทน.สมทุรปราการ พระนครศรีอยุธยา ๔๐,๐๐๐ ทน.

พระนครศรีอยุธยา ทม.เสนา ปทมุธานี ๒๐,๐๐๐ ทม.ปทมุธาน ี

๗ ๒๐,๐๐๐ เพชรบรูณ ๒๐,๐๐๐ ทม.เพชรบรูณ ๘ ๔๐,๐๐๐ เพชรบรุ ี ๒๐,๐๐๐ ทม.หัวหนิ ประจวบครีีขันธ ๒๐,๐๐๐ ทม.ชะอํา

๙ ๘๐,๐๐๐ สกลนคร ๒๐,๐๐๐ ทม.สกลนคร หนองคาย ๒๐,๐๐๐ ทม.หนองคาย อุดรธาน ี ๔๐,๐๐๐ ทน.อุดรธาน ี

ทม.โนนสงู-นํ้าคํา ๑๐ ๖๐,๐๐๐ ขอนแกน ๔๐,๐๐๐ ทน.ขอนแกน

ทม.ชมุแพ มหาสารคาม ๒๐,๐๐๐ ทม.มหาสารคาม

๑๑ ๔๐,๐๐๐ นครราชสีมา ๒๐,๐๐๐ ทน.นครราชสมีา ศรสีะเกษ ๒๐,๐๐๐ ทม.ศรสีะเกษ

๑๒ ๔๐,๐๐๐ อุบลราชธาน ี ๔๐,๐๐๐ ทน.อบุลราชธาน ี ทม.วารนิชําราบ

๑๓ ๘๐,๐๐๐ ระยอง ๔๐,๐๐๐ ทน.ระยอง ทม.มาบตาพุด จันทบรุ ี ๒๐,๐๐๐ ทม.ขลงุ ตราด ๒๐,๐๐๐ ทม.ตราด

๑๔ ๘๐,๐๐๐ สรุาษฎรธาน ี ๒๐,๐๐๐ ทน.สรุาษฎรธาน ี นครศรีธรรมราช ๔๐,๐๐๐ ทน.นครศรีธรรมราช ทม.ปากพนงั ชุมพร ๒๐,๐๐๐ ทม.หลงัสวน

Page 18: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๘ -

สสภ จํานวนเงิน (บาท) ทสจ. จํานวนเงิน (บาท) พื้นที่เทศบาล ๑๕ ๑๒๐,๐๐๐ ภูเก็ต ๔๐,๐๐๐ ทน.ภูเก็ต

ทม.ปาตอง ตรงั ๔๐,๐๐๐ ทน.ตรงั ทม.กนัตงั กระบี ่ ๒๐,๐๐๐ ทม.กระบี ่ พังงา ๒๐,๐๐๐ ทม.พงังา

๑๖ ๑๒๐,๐๐๐ สงขลา ๘๐,๐๐๐ ทน.สงขลา ทน.หาดใหญ ทม.สะเดา ทม.สงิหนคร ยะลา ๒๐,๐๐๐ ทน.ยะลา พัทลุง ๒๐,๐๐๐ ทม.พทัลงุ

๘. ผูรับผิดชอบโครงการ ๘.๑ หนวยงานหลัก กรมควบคุมมลพิษ รับผิดชอบในสวนของ

๑) จัดสงแบบสอบถามขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยของ ๓๕ เทศบาล ๒) จัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการ ใหกับ ทสจ. สสภ. สส. สผ. สตป. สถ.และคพ. ใหทราบถึง

บทบาทและหนาที่ของแตละหนวยงาน ๓) ดําเนินการโอนงบประมาณสนับสนุนใหกับ ทสจ. และ สสภ. จํานวน ๒๐,๐๐๐ บาทตอเทศบาล

เพื่อเปนคาใชจายในการจัดประชุม การประสานงานและสนับสนุนการดําเนินงานในแตละสมรรถนะ ๔) จัดประชุมรวมกับ ๕๘ เทศบาล เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการและรับฟงความคิดเห็นในการ

ดําเนินงาน ๕) เก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยทั้ง ๕๘ แหง ๖) รวมติดตามและประเมินประสิทธิภาพในการดําเนินการฝงกลบขยะมูลฝอยที่มีการควบคุม ๗) ฝกอบรมวิธีการเก็บตัวอยางน้ําใตดินของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ใหกับ สสภ. ทสจ. และอปท.

ตาง ๆ ๘) รวมวิเคราะหและใหขอเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอยแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง ๕๘ แหง ๙) รวมจัดฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอย

และหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บคาบริการ ๑๐) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ๑๑) จัดทํารายงานในภาพรวมเพื่อสงให กพร. ตอไป

Page 19: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๑๙ -

๘.๒ หนวยงานสนับสนุน สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค รับผิดชอบ

๑) สง TOR ในการดําเนินโครงการใหกับ ๕๘ เทศบาลเพื่อพิจารณาใหความเห็นในรายละเอียดการดําเนินโครงการ พรอมทั้งสงแบบตอบรับในการเลือกดําเนินการอยางนอย ๔ สมรรถนะ

๒) รวมกับ ทสจ. ในการตรวจสอบรายละเอียดของแผนงาน/โครงการดานการจัดการขยะมูลฝอย ของ ๒๓ เทศบาลนคร ที่เทศบาลฯ จะดําเนินงานในป งบประมาณ ๒๕๕๒ และรวมทบทวน/จดัทาํแผนปฏบิตักิารดานการจัดการขยะมูลฝอย ของ ๓๕ เทศบาลเมือง

๓) รวมกับ ทสจ. ในการประสานและรวบรวมแบบสอบถามขอมลูดานการจดัการขยะมลูฝอยของ ๓๕ เทศบาลเมือง

๔) การประสานงาน/การจัดประชุมเชิงพื้นที่ในการจัดทําแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย และทบทวนขอตกลงในการจัดตั้งศูนยกําจัดขยะมูลฝอยรวม หาพื้นที่ที่เคยนําเสนอมาแลว รวมถึงผลักดนัใหเทศบาลมีการดําเนินการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยทั้ง ๘ สมรรถนะ

๕) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงานพรอมทั้งรายงานผลตามไตรมาส ๖) รวมวิเคราะหและใหขอเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอยแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง ๕๘ แหง ๗) จัดทํารายงานผลการดําเนินงานและวิเคราะหปญหา/อุปสรรค เพือ่จดัสงให คพ. นาํไปใชประกอบ

ในการจัดทํารายงานตัวช้ีวัดตอไป สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ

๑) ประสานและรวบรวมแบบสอบถามขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยของ ๕๘ เทศบาล ๒) ตรวจสอบรายละเอียดของแผนงาน/โครงการดานการจดัการขยะมลูฝอย ของ ๒๓ เทศบาลนคร ที่

เทศบาลฯ จะดําเนินงานในป งบประมาณ ๒๕๕๒ และรวมกับเทศบาลฯ ทบทวน/จัดทําแผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย ของ ๓๕ เทศบาลเมือง

๓) ประสานงาน/การจัดประชุมเชิงพื้นที่ในการจัดทําแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย และทบทวนแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย รวมถึงผลักดันใหเทศบาลมีการดําเนินการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยทั้ง ๘ สมรรถนะ

๔) รวมติดตามและประเมินผล การดําเนินงานพรอมทั้งรายงานตามไตรมาส ๕) รวมวิเคราะหและใหขอเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอยแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง ๕๘ แหง ๖) จัดทํารายงานผลการดําเนินงานและวิเคราะหปญหา/อุปสรรค ระดับพื้นที่และจัดสงให สสภ.

รวบรวมนําไปใชประกอบในการจัดทํารายงานระดับจังหวัดตอไป

Page 20: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๐ -

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ

๑) รวมตรวจสอบรายละเอียดของแผนงาน/โครงการดานการจัดการขยะมูลฝอย ของ ๕๘ เทศบาล รวมทั้ง ผลักดันใหเทศบาลฯ มีการดําเนินการตามแผนฯ

๒) รวมผลักดันใหเทศบาลฯ มีความพรอมในการจัดทํารายละเอียดเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณผานแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด รวมทั้งผลกัดนัใหเทศบาลทีไ่ดรบัการสนับสนุนงบประมาณแลวมีการดําเนินการปรับปรุง/กอสราง

๓) รวมประชุมและเปนคณะทํางานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ ๑) ผลักดันและสงเสริมใหเทศบาลฯ มีกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยใน

ลักษณะ ๑ เทศบาล ๑ ศูนยรีไซเคิล ๒) รวมประชุมและเปนคณะทํางานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน

๙. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ๙.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายอยางนอยรอยละ ๘๐ มีสมรรถนะในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จากสมรรถนะในการจัดการขยะมูลฝอยทั้งหมด ๘ สมรรถนะ

๙.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครมีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยรอยละ ๑๐๐

Page 21: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๑ -

บทท่ี ๔

ขอกําหนดการดาํเนินงาน (Term of Reference) ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

๑. หลักการและเหตุผล

มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวคีวามรนุแรงขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ในสงัคมเมอืงที่มีการขยายตัวของเมืองสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวและพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมูลฝอยทั้งภาครัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เนื่องจากการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญยังขาดความพรอมทั้งดานงบประมาณ บุคลากรที่ชํานาญ ความพรอมในการบรหิารจัดการ เปนผลทําใหการจัดการขยะมูลฝอยไมมีประสิทธิภาพ

ในป ๒๕๕๑ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดดําเนินโครงการเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในระดับเทศบาลนคร จํานวน ๒๓ แหง ใหมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยประกอบดวย ๑) แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ๒) กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน ๓) ประสิทธภิาพในการเกบ็ขนขยะมูลฝอย ๔) การบริหารจัดการขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศนูย ๕) ประสทิธภิาพในการกาํจดัขยะมูลฝอย และ ๖) รายไดในการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งผลการดําเนินงานพบวามจีาํนวนเทศบาลทีผ่านเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะจาก ๖ สมรรถนะ ประมาณรอยละ ๘๖ และในป ๒๕๕๒ ไดดาํเนนิการในระดับเทศบาลเมืองเพิ่มอีก ๓๕ แหง รวมทั้งดําเนินการสงเสริมใหเทศบาลนครในป ๒๕๕๑ มีการดําเนนิการอยางตอเนื่องและมีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยที่ไดจัดทําไว รวมทั้งสิ้น ๕๘ แหง

ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินการดังกลาวมีความยั่งยืนและสามารถขยายผลไปยังพื้นที่อื่น และผลักดันใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ดําเนินการในป ๒๕๕๑-๕๒ มีการเพิ่มสมรรถนะในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน รวมทั้งมีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยที่ไดจัดทําไว ในป ๒๕๕๓ จึงไดดําเนินการในระดับเทศบาลเมืองเพิ่มอีก ๓๕ แหง รวมทั้งสิ้น ๙๓ แหง ซึ่งกรมควบคุมมลพิษ ไดมีการบูรณาการโครงการตางๆ จํานวน ๔ โครงการภายใตโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอนัตรายจากชมุชน (๙๓ พืน้ที)่ โดยประกอบดวย ๑) โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมลูฝอย ๙๓ พื้นที่ ๒) โครงการสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดเตรียมระบบการจดัการของเสยีอนัตรายจากชุมชน ๓) โครงการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมที่มีประสิทธิภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของในแตละกลุมพื้นที่ ป ๒๕๕๓ และ ๔) โครงการรานรับซื้อของเกาสีเขียว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชนและเปนการเตรียมความพรอมใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในลําดับความสําคัญมีการจัดตั้งศูนยจัดการขยะมูลฝอยครบวงจรแบบรวมกลุมพื้นที่และมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวม

Page 22: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๒ -

๒. วัตถุประสงค ๒.๑ เพื่อเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ๒.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ มีการดําเนินการตามแผนปฏบิตัิการจัดการขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง ๒.๓ เพื่อเตรียมความพรอมใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในลําดับความสําคัญมีการจัดตั้งศูนยจัดการขยะมูลฝอยครบวงจรแบบรวมกลุมพื้นที่และมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวม ๓. เปาหมาย

๓.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ

๓.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่รวมดําเนินการในป ๒๕๕๒ มีการดําเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย

๓.๓ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายอยางนอย ๗ แหง มรีะบบการจดัการของเสยีอนัตรายจากชมุชนที่ถูกตองตามหลักวิชาการ

๓.๔ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมาย ๕ กลุมพื้นที่ (๑๗ จังหวัด) มีแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อของแตละจังหวัด และ/หรือ แผนงาน แนวทาง/รูปแบบ และแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมในกลุมพื้นที่จังหวัด ๔. พื้นที่ดําเนินการ

๔.๑ การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ๙๓ พื้นที่ รายละเอียดดังตารางที่ ๑ ๔.๒ การจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน ๗ พื้นที่ (ทน.สมุทรปราการ ทม.นาน ทน.นครสวรรค

ทน.ลําปาง ทน.เชียงใหม ทน.เชียงราย และทน.นครราชสีมา) ๔.๓ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ๕ กลุมพื้นที่ ครอบคลุม ๑๗ จังหวัด ไดแก กลุมทน.เชียงใหม (เชียงใหม

ลําพูน แมฮองสอน ลําปาง) กลุม ทน.เชียงราย (เชียงราย พะเยา แพร นาน) กลุม ทม.เพชรบูรณ (เพชรบูรณ ลพบุรี ชัยภูมิ) กลุม ทน.นครราชสีมา (นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร) และ กลุม ทน.นครศรีธรรมราช (นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง)

Page 23: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๓ -

ตารางที่ ๑ พื้นที่ดาํเนินการและงบประมาณที่โอนใหกบั สสภ. และ ทสจ. ในการดําเนินโครงการฯ สสภ.

งบประมาณดําเนนิ

กิจกรรม ๓R (บาท)

งบประมาณสําหรับใชใน

การจดัประชุมและศึกษาดูงานมูลฝอยตดิเชื้อ (บาท)

งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

รวมงบประมาณ

สําหรับ สสภ. (บาท)

ทสจ. งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

พื้นที่เทศบาล

๑ ๑๐,๐๐๐ ๑๖๐,๐๐๐ ๕๒,๐๐๐ ๓๐๖,๐๐๐ เชียงใหม ๒๗,๐๐๐ ทน.เชียงใหม * ๑๐,๐๐๐ ทม.เมืองแกนพัฒนา ๑๘,๐๐๐ ทม.เวียงฝาง ๑๘,๐๐๐ เชียงราย ๓๒,๐๐๐ ทน.เชียงราย * ๑๐,๐๐๐ ทต.แมสาย ๑๐,๐๐๐ แมฮองสอน ๑๒,๐๐๐ ทม.แมฮองสอน ๑๘,๐๐๐ ลําพูน ๑๗,๐๐๐ ทม.ลําพูน

๒ ๑๐,๐๐๐ - ๓๐,๐๐๐ ๗๘,๐๐๐ ลําปาง ๑๒,๐๐๐ ทน.ลําปาง ๑๐,๐๐๐ ทม.เขลางคนคร ๑๐,๐๐๐ สุโขทัย ๒๘,๐๐๐ ทม.สุโขทยัธานี ๑๘,๐๐๐ ทม.สวรรคโลก

๓ ๑๐,๐๐๐ - ๓๗,๐๐๐ ๑๐๓,๐๐๐ พิษณุโลก ๑๒,๐๐๐ ทน.พิษณุโลก ๑๐,๐๐๐ นาน ๑๒,๐๐๐ ทม.นาน ๑๐,๐๐๐ อุตรดิตถ ๑๒,๐๐๐ ทม.อุตรดติถ ๑๘,๐๐๐ พิจิตร ๓๒,๐๐๐ ทม.พิจิตร ๑๘,๐๐๐ ทม.บางมูลนาก

๔ ๑๐,๐๐๐ - ๓๕,๐๐๐ ๑๐๑,๐๐๐ นครสวรรค ๑๐,๐๐๐ ทน.นครสวรรค ๑๐,๐๐๐ ทม.ตาคล ี ๑๐,๐๐๐ อุทัยธานี ๑๐,๐๐๐ ทม.อุทัยธานี ๑๘,๐๐๐ กําแพงเพชร ๑๘,๐๐๐ ทม.กําแพงเพชร ๑๘,๐๐๐ ตาก ๒๐,๐๐๐ ทม.แมสอด

๕ ๑๐,๐๐๐ - ๓๓,๐๐๐ ๘๓,๐๐๐ นครปฐม ๑๒,๐๐๐ ทน.นครปฐม ๑๐,๐๐๐ สมุทรสาคร ๑๐,๐๐๐ ทน.สมุทรสาคร ๑๐,๐๐๐ ทม.ออมนอย ๑๐,๐๐๐ สุพรรณบุร ี ๑๒,๐๐๐ ทม.สุพรรณบุร ี ๑๐,๐๐๐ ชัยนาท ๑๐,๐๐๐ ทม.ชัยนาท

Page 24: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๔ -

ตารางที่ ๑ พื้นที่ดาํเนินการและงบประมาณที่โอนใหกบั สสภ. และ ทสจ. ในการดําเนินโครงการฯ สสภ.

งบประมาณดําเนนิ

กิจกรรม ๓R (บาท)

งบประมาณสําหรับใชใน

การจดัประชุมและศึกษาดูงานมูลฝอยตดิเชื้อ (บาท)

งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

รวมงบประมาณ

สําหรับ สสภ. (บาท)

ทสจ. งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

พื้นที่เทศบาล

๖ ๑๐,๐๐๐ - ๕๐,๐๐๐ ๑๔๖,๐๐๐ นนทบุรี ๑๒,๐๐๐ ทน.ปากเกรด็ ๑๐,๐๐๐ ทม.บางกรวย ๑๐,๐๐๐ สมุทรปราการ ๑๒,๐๐๐ ทน.สมุทรปราการ ๑๐,๐๐๐ พระนครศรีอยุธยา ๑๔,๐๐๐ ทน.

พระนครศรีอยุธยา ๑๐,๐๐๐ ทม.เสนา ๑๐,๐๐๐ ปทุมธานี ๑๒,๐๐๐ ทม.ปทุมธานี ๑๘,๐๐๐ สิงหบุรี ๑๙,๐๐๐ ทม.สิงหบุร ี ๑๘,๐๐๐ อางทอง ๑๙,๐๐๐ ทม.อางทอง

๗ ๑๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๓๔,๐๐๐ ๑๗๖,๐๐๐ เพชรบูรณ ๑๒,๐๐๐ ทม.เพชรบรูณ * ๑๘,๐๐๐ สระบรุ ี ๓๐,๐๐๐ ทม.สระบุร ี ๑๘,๐๐๐ ทม.พระพุทธบาท ๑๘,๐๐๐ ลพบุร ี ๑๙,๐๐๐ ทม.บานหมี ่ ๑๘,๐๐๐ ปราจีนบุร ี ๑๗,๐๐๐ ทม.ปราจีนบุร ี

๘ ๑๐,๐๐๐ - ๑๘,๐๐๐ ๓๘,๐๐๐ เพชรบุร ี ๑๐,๐๐๐ ทม.ชะอํา ๑๐,๐๐๐ ประจวบคีรีขันธ ๑๐,๐๐๐ ทม.หัวหิน

๙ ๑๐,๐๐๐ - ๕๓,๐๐๐ ๑๖๕,๐๐๐ สกลนคร ๒๖,๐๐๐ ทม.สกลนคร ๑๘,๐๐๐ ทต.พังโคน ๑๐,๐๐๐ หนองคาย ๒๔,๐๐๐ ทม.หนองคาย ๑๘,๐๐๐ ทม.ทาบอ ๑๐,๐๐๐ อุดรธานี ๒๗,๐๐๐ ทน.อุดรธานี ๑๐,๐๐๐ ทม.โนนสูง-น้ําคํา ๑๘,๐๐๐ ทม.หนองสําโรง ๑๘,๐๐๐ เลย ๒๐,๐๐๐ ทม.เลย

๑๐ ๑๐,๐๐๐ - ๔๐,๐๐๐ ๑๒๔,๐๐๐ ขอนแกน ๔๒,๐๐๐ ทน.ขอนแกน ๑๐,๐๐๐ ทม.ชุมแพ ๑๘,๐๐๐ ทม.บานไผ ๑๘,๐๐๐ ทม.เมืองพล ๑๐,๐๐๐ มหาสารคาม ๑๒,๐๐๐ ทม.มหาสารคาม ๑๘,๐๐๐ กาฬสินธุ ๒๐,๐๐๐ ทม.กาฬสินธุ

Page 25: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๕ -

ตารางที่ ๑ พื้นที่ดาํเนินการและงบประมาณที่โอนใหกบั สสภ. และ ทสจ. ในการดําเนินโครงการฯ สสภ.

งบประมาณดําเนนิ

กิจกรรม ๓R (บาท)

งบประมาณสําหรับใชใน

การจดัประชุมและศึกษาดูงานมูลฝอยตดิเชื้อ (บาท)

งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

รวมงบประมาณ

สําหรับ สสภ. (บาท)

ทสจ. งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

พื้นที่เทศบาล

๑๑ ๑๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐ ๑๗๔,๐๐๐ นครราชสีมา ๒๒,๐๐๐ ทน.นครราชสีมา * ๑๘,๐๐๐ ทม.ปากชอง ๑๐,๐๐๐ ศรีสะเกษ ๑๒,๐๐๐ ทม.ศรีสะเกษ ๑๘,๐๐๐ สุรินทร ๒๐,๐๐๐ ทต.สังขะ ๑๘,๐๐๐ บุรีรัมย ๒๐,๐๐๐ ทม.บุรีรัมย

๑๒ ๑๐,๐๐๐ - ๔๑,๐๐๐ ๑๓๓,๐๐๐ อุบลราชธานี ๒๗,๐๐๐ ทน.อุบลราชธานี ๑๐,๐๐๐ ทม.วารินชําราบ ๑๘,๐๐๐ ทม.พิบูลมังสาหาร ๑๘,๐๐๐ อํานาจเจริญ ๒๐,๐๐๐ ทม.อํานาจเจริญ ๑๘,๐๐๐ ยโสธร ๒๐,๐๐๐ ทม.ยโสธร ๑๘,๐๐๐ มุกดาหาร ๑๘,๐๐๐ ทม.มุกดาหาร

๑๓ ๑๐,๐๐๐ - ๔๙,๐๐๐ ๑๖๑,๐๐๐ ระยอง ๒๐,๐๐๐ ทน.ระยอง ๑๐,๐๐๐ ทม.มาบตาพุด ๑๐,๐๐๐ จันทบุรี ๒๗,๐๐๐ ทม.ขลุง ๑๘,๐๐๐ ทม.จันทบุร ี ๑๐,๐๐๐ ตราด ๑๐,๐๐๐ ทม.ตราด ๑๘,๐๐๐ ชลบุร ี ๔๕,๐๐๐ ทม.แสนสุข ๑๘,๐๐๐ ทม.บานบึง ๑๘,๐๐๐ ทม.ศรรีาชา

๑๔ ๑๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๔๓,๐๐๐ ๑๖๑,๐๐๐ สุราษฎรธานี ๒๕,๐๐๐ ทน.สุราษฎรธาน ี* ๑๘,๐๐๐ ทม.เกาะสมุย ๑๐,๐๐๐ นครศรีธรรมราช ๑๘,๐๐๐ ทน.นครศรีธรรมราช ๑๐,๐๐๐ ทม.ปากพนัง ๑๐,๐๐๐ ชุมพร ๑๒,๐๐๐ ทม.หลังสวน

Page 26: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๖ -

ตารางที่ ๑ พื้นที่ดาํเนินการและงบประมาณที่โอนใหกบั สสภ. และ ทสจ. ในการดําเนินโครงการฯ สสภ.

งบประมาณดําเนนิ

กิจกรรม ๓R (บาท)

งบประมาณสําหรับใชใน

การจดัประชุมและศึกษาดูงานมูลฝอยตดิเชื้อ (บาท)

งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

รวมงบประมาณ

สําหรับ สสภ. (บาท)

ทสจ. งบประมาณในการ

ประสานงานโครงการฯ

(บาท)

พื้นที่เทศบาล

๑๕ ๑๐,๐๐๐ - ๖๑,๐๐๐ ๑๔๙,๐๐๐ ภูเก็ต ๒๕,๐๐๐ ทน.ภูเก็ต ๑๐,๐๐๐ ทม.ปาตอง ๑๘,๐๐๐ ทม.กะทู ๑๐,๐๐๐ ตรัง ๒๒,๐๐๐ ทน.ตรัง ๑๐,๐๐๐ ทม.กันตัง ๑๐,๐๐๐ กระบี ่ ๑๐,๐๐๐ ทม.กระบี ่ ๑๐,๐๐๐ พังงา ๑๐,๐๐๐ ทม.พังงา ๑๐,๐๐๐ สตูล ๑๐,๐๐๐ ทม.สตูล

๑๖ ๑๐,๐๐๐ - ๕๐,๐๐๐ ๑๒๐,๐๐๐ สงขลา ๒๐,๐๐๐ ทน.สงขลา ๑๐,๐๐๐ ทน.หาดใหญ ๑๐,๐๐๐ ทม.คอหงส ๑๐,๐๐๐ ทม.สิงหนคร ๑๐,๐๐๐ ยะลา ๑๐,๐๐๐ ทน.ยะลา ๑๐,๐๐๐ พัทลุง ๑๒,๐๐๐ ทม.พัทลุง ๑๐,๐๐๐ ปตตานี ๑๐,๐๐๐ ทม.ปตตานี

สรุป งบประมาณที่ คพ. โอนให สสภ. เปนจํานวนเงิน ๒,๒๑๘,๐๐๐ บาท และ งบประมาณที่ คพ. โอนให ทสจ. เปนจํานวนเงิน ๑,๑๐๐,๐๐๐ บาท

ดังนั้น งบประมาณที่ คพ. โอนให สสภ. และ ทสจ. รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น ๓,๓๑๘,๐๐๐ บาท หมายเหตุ *** พื้นที่ดําเนินการในป ๒๕๕๓ โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะ

มูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประกอบดวย เทศบาลเมืองและเทศบาลตําบล จํานวน ๓๔ แหง __ พื้นที่ดําเนินการในป ๒๕๕๓ โครงการสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดเตรียมระบบการจัดการของเสียอันตรายจาก ชุมชน จํานวน ๗ แหง

* พื้นที่ดําเนินการในป ๒๕๕๓ โครงการการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมที่มีประสิทธิภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของในแตละกลุมพ้ืนที่ โดยมี อปท. ที่ดูแลที่ตั้งศูนยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ จํานวน ๕ แหง

Page 27: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๗ -

๕. การดําเนินงาน

๕.๑ จัดสง/รวบรวมขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลพื้นที่ใหมในป พ.ศ. ๒๕๕๓ (๓๕ แหง) ขอมูลการจัดการของเสียอัตรายจากชุมชน ๗ แหง (ทน.สมุทรปราการ ทม.นาน ทน.นครสวรรค ทน.ลําปาง ทน.เชียงใหม ทน.เชียงราย และทน.นครราชสีมา) และขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ๕ กลุมพื้นที่ (กลุม ทน. เชียงราย กลุม ทน. เชียงใหม กลุม ทม. เพชรบูรณ กลุม ทน .นครราชสีมา และกลุม ทน.นครศรีธรรมราช)

๕.๒ จัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการฯ ใหกับ ทสจ. สสภ. สป.ทส. สส. สตป. และ อปท. ในพื้นที่ดําเนินการทั้งหมด

๕.๓ ดําเนินการโอนงบประมาณสนับสนุนใหกับ สสภ. จํานวน ๑๘,๐๐๐ บาทตอเทศบาล (สําหรับพื้นที่ใหม ๓๕ แหง) และ ๑๐,๐๐๐ บาท (สําหรับพื้นที่ในป ๕๑ และ ๕๒) เพื่อเปนคาใชจายในการสนับสนุนการดําเนินงานในการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ของเสยีอนัตรายชมุชนของเทศบาล รวมทัง้งบประมาณสนับสนุนให ทสจ. และ สสภ. เพื่อใชเปนคาใชจายในการประสานงานการจัดการขยะมูลฝอย การจัดการของเสยีอันตรายชุมชน และการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ทั้งนี้คาใชจายในการประสานงานดังกลาวขึน้กบัระยะทางและความเหมาะสมของพื้นที่ ดังตารางที่ ๑

๕.๔ ดําเนินกิจกรรมในการเพิ่มสมรรถนะในการจัดการขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายชุมชนและมูลฝอย ติดเชื้อ

๕.๔.๑ แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย รวมกับเทศบาลฯ ในการตรวจสอบ/ทบทวนจัดทําแผนปฏิบัติการดานการจดัการขยะมลูฝอย/

แผนของเสียอันตรายชุมชน/มูลฝอยติดเช้ือ ของ อปท. ที่เทศบาลฯ จะดําเนินงานในป งบประมาณ ๒๕๕๓และในปตอๆ ไป (แผน ๓ ป) ใหครอบคลุมถึงปญหาของการจัดการ รวมทั้งสงเสริมใหเทศบาลฯ ในพื้นที่เดิมในป พ.ศ. ๒๕๕๒ (๕๙ แหง) มีการดําเนินการตามแผนฯ

๕.๔.๒ กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ ของเสียอันตรายชุมชน ขยะมูลฝอยชุมชน

รวมกับเทศบาลฯ ทั้ง ๙๓ แหง ดําเนินการกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย โดยรูปแบบของกิจกรรมขึ้นอยูกับความตองการของ อปท.

ของเสียอันตรายชุมชน

รวมวิเคราะหสภาพปญหาการจัดการของเสียอันตรายใน ๗ พืน้ที ่หรอืพืน้ทีอ่ืน่ๆ หาก อปท. มีความประสงคที่จะรวมดําเนินการ (ถามี)

จัดทําแผนการดําเนินงานคัดแยกและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน และจัดตั้งคณะทํางานในการดําเนินงานรวมกัน

ฝกอบรมวิธีการปฏิบัติงานการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนใหแกบุคลากรของเทศบาลฯ และจัดฝกอบรมใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนแกผูนําชุมชน ผูแทนจากสถานศึกษา และสถานประกอบการ

Page 28: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๘ -

ดําเนินการประชาสัมพันธใหประชาชนและสถานประกอบการในพื้นที่เทศบาลฯ รับทราบถึงการดําเนินโครงการ รวมทั้งจัดประชุมหารือกับสถานประกอบการในพื้นที่เทศบาลฯ เกี่ยวกับรูปแบบการจัดระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายในสถานประกอบการ

จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนและภาชนะรองรับของเสียอันตรายจากชุมชน

กําหนดวิธีการทิ้งและจัดเก็บของเสียอันตรายจากชุมชน ที่เหมาะสมกบั อปท. กรณทีี่เลือกวิธีการตั้งจุดทิ้งสวนกลางตองกําหนดจุดวางชุดภาชนะรองรับของเสียอันตรายสาํหรบัจดุทิง้สวนกลาง และนาํชุดภาชนะฯ ไปวางตามจุดที่กําหนด รวมทั้งรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงจุดทิ้งที่นําไปวางในชุมชน กรณีที่กําหนดการทิ้งตามหนาบาน ตองกําหนดวัน เวลาในการเก็บขนของเสียอันตรายจากชุมชน และประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ

ปรับปรุงรถเก็บขนขยะมูลฝอยทั่วไปใหเปนรถ เก็บขนของเสียอันตราย และปรบัปรงุอาคารสถานที่สําหรับเก็บรวบรวมของเสียอันตราย ตามคูมือแนวทางการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนที่ กรมฯ ไดพัฒนาขึ้น

จัดกิจกรรมรณรงคประชาสัมพันธใหชุมชนและสถานประกอบการดําเนินการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน โดยกรมควบคุมมลพิษสนับสนุน สื่อประชาสัมพันธ

ดําเนินการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชนที่ไดรับการคัดแยกตามระบบที่ไดจัดเตรียมไว และสงของเสียอันตรายไปกําจัด

ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน ๕.๔.๓ เพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย

รวมกับ สสภ. ทสจ. และเทศบาลฯ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพการใหบริการเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอยโดยประเมินจากพื้นที่การใหบริการกับปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได พรอมทั้งหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

๕.๔.๔ การบริหารจัดการขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ขยะมูลฝอยชุมชน รวมกับ อปท. ทั้ง ๙๓ แหง เตรียมความพรอมในการจัดตั้งศูนยกําจัดขยะมูลฝอยรวม

(Clustering) เพื่อเสนอเขาแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดบัจงัหวดั (ตามลาํดบัความสาํคญัของพื้นที่) รวมทั้งผลักดันให อปท. ที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณแลวมกีารดาํเนนิการปรบัปรงุ/กอสราง รวมทัง้ตรวจสอบ/ทบทวนการจัดกลุมพื้นที่ (Cluster) ในพื้นที่ตาง ๆ

มูลฝอยติดเชื้อ

ตรวจสอบขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ ๕ กลุมพื้นที่ และสภาพปญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในแตละกลุมพื้นที่

จัดทํารางแนวทาง/รูปแบบการบริหารจัดการมูลฝอยตดิเชือ้แบบศนูยรวมในกลุมพืน้ที ่

จัดประชุมและศึกษาดูงาน ใหแก ทสจ. สสจ. และอปท.ในกลุมพื้นที่จงัหวดัเปาหมาย เพื่อระดมสมองในการจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมของแตละกลุมพื้นที่

Page 29: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๒๙ -

ติดตามและประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการฯ รวมทัง้ประสานการของบประมาณในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด หรือแผนพัฒนาทองถิ่นที่ใชงบประมาณของ อปท. หรอืแผนพัฒนาหนวยงานที่ใชงบประมาณหนวยงาน และรวบรวมคําขอต้ังงบประมาณแจงหนวยงานที่เกี่ยวของ

๕.๔.๕ เพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย

รวมกับ อปท. ในการดําเนินการประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยและเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําใตดิน ทั้งนี้ อปท. ที่ไมผานเกณฑในสมรรถนะที่ ๕ (ประสิทธิภาพในการกาํจดัขยะมลูฝอย) ในป ๒๕๕๒ ทส. จะเสนอแนวทางการปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยให อปท. ดําเนินการตอไป

จัดฝกอบรม/ดูงานเทคโนโลยีในการจัดการขยะมูลฝอย ๕.๔.๖ แนวทางในการเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

จัดฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกาํจดัขยะมลูฝอยเชงิพื้นที่ และแนวทางในการเพิ่มรายไดจากการจัดการขยะมูลฝอย

๕.๕ ดําเนินการติดตามและประเมินผลการดําเนินการ พรอมทั้งจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ๖. ผลที่คาดวาจะไดรับ

๖.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองทั้ง ๙๓ แหง มีแผนการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อรองรับการพัฒนาและขยายตัวของเทศบาลอยางเหมาะสม

๖.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองทั้ง ๙๓ แหง มีแนวทางการดําเนินงานจัดการขยะมูลฝอยและมูลฝอยติดเชื้อรวมกันในลักษณะศูนยรวม

๖.๓ องคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองอยางนอย ๗ แหง มีการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนอยางถูกตองตามหลักวิชาการ

๖.๔ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมาย ๕ กลุมพื้นที่ (๑๗ จังหวัด) มีแผนปฏิบัติการบริหารจัดการ มูลฝอยติดเชื้อของแตละจังหวัด และ/หรือ แผนงาน แนวทาง/รูปแบบ และแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมในกลุมพื้นที่จังหวัด ๗. ระยะเวลาดําเนินการ ตุลาคม ๒๕๕๒ – กันยายน ๒๕๕๓ ๘. งบประมาณดําเนินการ จํานวน ๓,๓๑๘,๐๐๐ บาท โดยจะโอนคาใชจายใหสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคทั้ง ๑๖ ภาค และสํานกังานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดที่เกี่ยวของ ที่รับผิดชอบเพื่อคาใชจายในการรวมดําเนินกิจกรรม ๓R ใหกับ อปท. ทั้ง ๙๓ แหง และคาใชจายในการจัดประชุม/ศึกษาดูงานมูลฝอยติดเชื้อของ ๕ กลุมพื้นที ่รวมทัง้เปนคาใชจายในการประสานงานของ สสภ. และ ทสจ. ในกิจกรรมการจัดการขยะมูลฝอย การจดัการของเสยีอนัตรายชุมชน และการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

Page 30: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๐ -

๙. ผูรับผิดชอบโครงการ ๙.๑ หนวยงานหลัก กรมควบคุมมลพิษ รับผิดชอบในสวนของ

๑) จัดสงแบบสอบถามขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลพื้นที่ใหมในป พ.ศ. ๒๕๕๓ (๓๕ แหง) ขอมูลการจัดการของเสียอัตรายจากชุมชน ๗ แหง (ทน.สมุทรปราการ ทม.นาน ทน.นครสวรรค ทน.ลําปาง ทน.เชียงใหม ทน.เชียงราย และทน.นครราชสีมา) และขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ๕ กลุมพืน้ที ่(กลุม ทน. เชียงราย กลุม ทน. เชียงใหม กลุม ทม. เพชรบูรณ กลุม ทน .นครราชสีมา และกลุม ทน.นครศรีธรรมราช)

๒) จัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการ ใหกับ ทสจ. สสภ. สส. สป.ทส. สตป. และอปท.ในพื้นที่ดําเนินการทั้งหมด

๓) ดําเนินการโอนงบประมาณสนับสนุนใหกับ ทสจ. และ สสภ. เพื่อเปนคาใชจายในการดําเนินกิจกรรม ๓R จัดประชุม/ดูงานมูลฝอยติดเชื้อ และคาใชจายในการประสานงานในกิจกรรมแตละสมรรถนะ

๔) รวมกับ สสภ. ทสจ. และ อปท. ในการดําเนินกิจกรรมในแตละสมรรถนะ ดังนี้ แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย

ประสานใหคําแนะนําแก สสภ. และ ทสจ. ในการวิเคราะหจัดทําแผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย/แผนของเสียอันตรายชุมชน/มูลฝอยติดเชื้อ ในระดับจังหวัด และวิเคราะหภาพรวมในระดับประเทศ รวมทั้งสงเสริมใหเทศบาลฯ ในพื้นที่เดิมในป พ.ศ. ๒๕๕๒ (๕๙ แหง) มีการดําเนินการตามแผนฯ

กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ ของเสียอันตรายชุมชน ขยะมูลฝอยชุมชน สนับสนุนองคความรูใหกับ อปท. ในการดําเนินการกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใช

ประโยชนขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน และรวมเปนคณะกรรมการลงพื้นทีเ่พือ่ตรวจประเมนิรานรบัซือ้ของเกา รวมทั้งสรุปผลการตรวจประเมินรานรับซื้อของเกาสีเขียว

ของเสียอันตรายชุมชน

รวมกับ อปท. วิเคราะหสภาพปญหาการจัดการของเสยีอนัตรายใน ๗ พืน้ที ่หรอืพืน้ที่อื่นๆ หาก อปท. มีความประสงคที่จะรวมดําเนินการ (ถามี)

สนับสนุนให อปท. จัดทําแผนการดําเนินงานคดัแยกและเกบ็รวบรวมของเสยีอนัตรายจากชุมชน และจัดตั้งคณะทํางานในการดําเนินงานรวมกัน

จัดฝกอบรมวิธีการปฏิบัติงานการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนใหแกบุคลากรของเทศบาลฯ และจัดฝกอบรมใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนแกผูนําชุมชน ผูแทนจากสถานศึกษา และสถานประกอบการ

รวมกับ อปท. ดําเนินการประชาสัมพันธใหประชาชนและสถานประกอบการในพื้นที่เทศบาลฯ รับทราบถึงการดําเนินโครงการ รวมทั้งจัดประชมุหารอืกบัสถานประกอบการในพืน้ทีเ่ทศบาลฯ เกีย่วกบัรูปแบบการจัดระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายในสถานประกอบการ

จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนและภาชนะรองรับของเสียอันตรายจากชุมชน

Page 31: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๑ -

สนับสนุนองคความรูทางวิชาการและใหขอคิดเห็นกับ อปท. ในการกําหนดวิธีการทิง้และจัดเก็บของเสียอันตรายจากชุมชน ปรับปรุงรถเก็บขนขยะมูลฝอยอันตราย และปรบัปรงุอาคารสถานทีส่าํหรบัเก็บรวบรวมของเสียอันตราย ตามคูมือแนวทางการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนที่ กรมฯ ไดพัฒนาขึ้น

สนับสนุน อปท. ในการจัดกิจกรรมรณรงคประชาสัมพันธใหชุมชนและสถานประกอบการดําเนินการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน โดยกรมควบคุมมลพิษสนับสนุน สื่อประชาสัมพันธ

รวมกับ ทสจ. สสภ. และ อปท. ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย

รวมกับ สสภ. ทสจ. และ อปท. ติดตามและประเมินประสิทธิภาพการใหบริการเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอย รวมทั้งวิเคราะหหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยในภาพรวม

การบริหารจัดการขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ขยะมูลฝอยชุมชน รวมกับ สสภ. ทสจ. และ อปท. ในการใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะในการจัดทํา

รายละเอียดโครงการฯ เพื่อเสนอเขาแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด (ตามลําดับความสําคัญของพื้นที่) รวมทั้งผลักดันให อปท. ที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณแลวมีการดําเนินการปรับปรุง/กอสราง รวมทั้งตรวจสอบ/ทบทวนการจัดกลุมพื้นที่ (Cluster) ในพื้นที่ตาง ๆ

มูลฝอยติดเชื้อ

รวมกับ สสภ. และ ทสจ. ตรวจสอบขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ ๕ กลุมพืน้ที ่และสภาพปญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในแตละกลุมพื้นที่

รวมกับ สสภ. จัดทํารางแนวทาง/รูปแบบการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมในกลุมพื้นที่

รวมกับ สสภ. จัดประชุมและศึกษาดูงาน ใหแก อปท.ในกลุมพื้นที่จังหวัดเปาหมาย เพื่อระดมสมองในการจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมของแตละกลุมพื้นที่

รวมกับ สสภ. ทสจ. และ อปท. ติดตามและประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการฯ รวมทั้งประสานการของบประมาณในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด หรือแผนพัฒนาทองถิ่นที่ใชงบประมาณของ อปท. หรือแผนพัฒนาหนวยงานที่ใชงบประมาณหนวยงาน และรวบรวมคําขอตั้งงบประมาณแจงหนวยงานที่เกี่ยวของ

เพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย

รวมกับ สสภ. และ อปท. ในการดําเนินการประเมินสถานทีก่าํจดัขยะมลูฝอยและเกบ็ตัวอยางคุณภาพน้ําใตดิน ทั้งนี้ อปท. ที่ไมผานเกณฑในสมรรถนะที่ ๕ (ประสทิธภิาพในการกาํจดัขยะมลูฝอย) ในป ๒๕๕๒ ทส. จะเสนอแนวทางการปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยให อปท. ดําเนินการตอไป

จัดฝกอบรม/ดูงานเทคโนโลยีในการจัดการขยะมูลฝอย

Page 32: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๒ -

แนวทางในการเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

จัดฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกาํหนดอตัราคาบรกิารกาํจดัขยะมลูฝอยเชิงพื้นที่ และแนวทางในการเพิ่มรายไดจากการจัดการขยะมูลฝอย

๕) ดําเนินการติดตามและประเมินผลการดําเนินการ พรอมทั้งจัดทํารายงานผลในภาพรวมให กพร. ตอไป

๙.๒ หนวยงานสนับสนุน สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค รับผิดชอบ

๑) รวมกับ ทสจ. ในการติดตามและรวบรวมแบบสอบถามขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลพื้นที่ใหมในป พ.ศ. ๒๕๕๓(๓๕ แหง) ขอมูลการจัดการของเสียอัตรายจากชุมชน ๗ แหง (ทน.สมุทรปราการ ทม.นาน ทน.นครสวรรค ทน.ลําปาง ทน.เชียงใหม ทน.เชียงราย และทน.นครราชสีมา) และขอมลูการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ๕ กลุมพื้นที่ (กลุม ทน. เชียงราย กลุม ทน. เชียงใหม กลุม ทม. เพชรบูรณ กลุม ทน .นครราชสีมา และกลุม ทน.นครศรีธรรมราช) เพื่อใชประกอบในการจัดทํารายงาน

๒) รวมประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการ ฯ ๓) รวมกับ คพ. ทสจ. และ อปท. ในการดําเนินกิจกรรมในแตละสมรรถนะ ดังนี้

แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย รวมกับ ทสจ. ในการวิเคราะหจัดทําแผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย/แผนของ

เสียอันตรายชุมชน/มูลฝอยติดเช้ือ ในระดับจังหวัด รวมทั้งสงเสริมใหเทศบาลฯ ในพื้นทีเ่ดมิในป พ.ศ. ๒๕๕๒ (๕๙ แหง) มีการดําเนินการตามแผนฯ

กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ ของเสียอันตรายชุมชน ขยะมูลฝอยชุมชน รวมกับ ทสจ. และ อปท. ดําเนินกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูล

ฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน และรวมเปนคณะกรรมการลงพื้นที่เพื่อตรวจประเมินรานรับซื้อของเกา ของเสียอันตรายชุมชน

รวมกับ อปท. วิเคราะหสภาพปญหาการจัดการของเสยีอนัตรายใน ๗ พืน้ที ่หรอืพืน้ที่อื่นๆ หาก อปท. มีความประสงคที่จะรวมดําเนินการ (ถามี)

สนับสนุนให อปท. จัดทําแผนการดําเนินงานคดัแยกและเกบ็รวบรวมของเสยีอนัตรายจากชุมชน และจัดตั้งคณะทํางานในการดําเนินงานรวมกัน

รวมฝกอบรมวิธีการปฏิบัติงานการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนใหแกบุคลากรของเทศบาลฯ และอบรมใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดการของเสยีอนัตรายจากชมุชนแกผูนาํชมุชน ผูแทนจากสถานศึกษา และสถานประกอบการ

รวมกับ อปท. ดําเนินการประชาสัมพันธใหประชาชนและสถานประกอบการในพื้นที่เทศบาลฯ รับทราบถึงการดําเนินโครงการ รวมทั้งจัดประชมุหารอืกบัสถานประกอบการในพืน้ทีเ่ทศบาลฯ เกีย่วกบัรูปแบบการจัดระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายในสถานประกอบการ

รวมจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนและภาชนะรองรบัของเสยีอนัตรายจากชมุชน

Page 33: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๓ -

รวมสนับสนุนองคความรูทางวิชาการและใหขอคิดเห็นกบั อปท. ในการกาํหนดวธิกีารทิ้งและจัดเก็บของเสียอันตรายจากชุมชน ปรับปรุงรถเก็บขนขยะมูลฝอยอันตราย และปรับปรุงอาคารสถานที่สําหรับเก็บรวบรวมของเสียอันตราย ตามคูมือแนวทางการจัดการของเสียอันตรายจากชมุชนที ่กรมฯ ไดพฒันาขึน้

รวมสนับสนุน อปท. ในการจัดกิจกรรมรณรงคประชาสัมพันธใหชุมชนและสถานประกอบการดําเนินการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน โดยกรมควบคุมมลพิษสนับสนุน สื่อประชาสัมพันธ

รวมกับ ทสจ. คพ. และ อปท. ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย

รวมกับ ทสจ. และ อปท. ติดตามและประเมินประสทิธภิาพการใหบรกิารเกบ็รวบรวมและขนสงขยะมูลฝอย รวมทั้งวิเคราะหหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยในระดับพื้นที่

การบริหารจัดการขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ขยะมูลฝอยชุมชน รวมกับ ทสจ. และ อปท. ในการประสาน/จัดประชุมเชิงพื้นที่และใหขอคิดเห็น/

ขอเสนอแนะในการจัดทํารายละเอียดโครงการฯ รวมทั้งกลั่นกรองโครงการฯ เพื่อเสนอเขาแผนปฏบิตักิารเพือ่การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด (ตามลําดับความสําคัญของพื้นที่) นอกจากนี้ผลกัดนัให อปท. ทีไ่ดรบัการสนับสนุนงบประมาณแลวมีการดําเนินการปรับปรุง/กอสราง และรวมตรวจสอบ/ทบทวนการจัดกลุมพื้นที่ (cluster) ในพื้นที่ตาง ๆ

มูลฝอยติดเชื้อ

รวมกับ ทสจ. ตรวจสอบขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ ๕ กลุมพืน้ที ่และสภาพปญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในแตละกลุมพื้นที่

รวมกับ คพ. จัดทํารางแนวทาง/รูปแบบการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมในกลุมพื้นที่

จัดประชุมและศึกษาดูงาน ใหแก อปท.ในกลุมพื้นที่จังหวัดเปาหมาย เพือ่ระดมสมองในการจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมของแตละกลุมพื้นที่

รวมกับ คพ. ทสจ. และ อปท. ติดตามและประสานการจดัทาํแผนปฏบิตักิารฯ รวมทัง้ประสานการของบประมาณในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอมในระดับจงัหวดั หรอืแผนพฒันาทองถิน่ที่ใชงบประมาณของ อปท. หรือแผนพัฒนาหนวยงานที่ใชงบประมาณหนวยงาน และรวบรวมคําขอต้ังงบประมาณแจงหนวยงานที่เกี่ยวของ

เพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย

รวมกับ คพ. และ อปท. ในการดําเนินการประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยและเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําใตดิน ทั้งนี้ อปท. ที่ไมผานเกณฑในสมรรถนะที่ ๕ (ประสทิธภิาพในการกาํจดัขยะมลูฝอย) ในป ๒๕๕๒ และประสานให อปท. มีการดําเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอยตอไป

รวมฝกอบรม/ดูงานเทคโนโลยีในการจัดการขยะมูลฝอย

Page 34: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๔ -

แนวทางในการเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

รวมฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอยเชิงพื้นที่ และรวมวิเคราะหแนวทางในการเพิ่มรายไดจากการจัดการขยะมูลฝอยใหกับแตละอปท.

๔) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงานพรอมทั้งรายงานผลตามไตรมาส ๕) รวมวิเคราะหและใหขอเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอยแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง ๙๓ แหง ๖) รวบรวมผลการดําเนินงานจาก ทสจ. และวิเคราะหปญหา/อปุสรรค เพือ่จดัทาํรายงานผลเปนราย

พื้นที่และ เพื่อจัดสงให คพ. นําไปใชประกอบในการจัดทํารายงานในภาพรวมตอไป สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ

๑) ประสานกับ อปท. ในการติดตามและรวบรวมแบบสอบถามขอมูลดานการจดัการขยะมลูฝอยของเทศบาลพื้นที่ใหมในป พ.ศ. ๒๕๕๓(๓๕ แหง) ขอมูลการจัดการของเสียอัตรายจากชุมชน ๗ แหง (ทน.สมุทรปราการ ทม.นาน ทน.นครสวรรค ทน.ลําปาง ทน.เชียงใหม ทน.เชียงราย และทน.นครราชสีมา)และขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ๕ กลุมพื้นที่ (กลุม ทน. เชียงราย กลุม ทน. เชียงใหม กลุม ทม. เพชรบูรณ กลุม ทน .นครราชสีมา และกลุม ทน.นครศรีธรรมราช) เพื่อใชประกอบในการจัดทํารายงาน

๒) รวมประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการ ฯ ๓) รวมกับ คพ. สสภ. และ อปท. ในการดําเนินกิจกรรมในแตละสมรรถนะ ดังนี้

แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ประสานกับ อปท. ในการขอขอมูลดานแผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย/แผน

ของเสียอันตรายชุมชน/มูลฝอยติดเชื้อ ในระดับพื้นที่/จังหวัด เพื่อใชประกอบการวิเคราะห รวมทั้งสงเสริมใหเทศบาลฯ ในพื้นที่เดิมในป พ.ศ. ๒๕๕๒ (๕๙ แหง) มีการดําเนินการตามแผนฯ

กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ ของเสียอันตรายชุมชน ขยะมูลฝอยชุมชน ประสานกับ สสภ. และ อปท. เพื่อดําเนินกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชน

ขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน และรวมเปนคณะกรรมการลงพื้นที่เพื่อตรวจประเมินรานรับซื้อของเกา ของเสียอันตรายชุมชน

ประสานกับ อปท. เพื่อรวบรวมขอมูล และรวมกับ สสภ. วิเคราะหสภาพปญหาการจัดการของเสียอันตรายใน ๗ พื้นที่ หรือพื้นที่อื่นๆ หาก อปท. มีความประสงคที่จะรวมดําเนินการ (ถามี)

ประสานและสนับสนุนให อปท. จัดทําแผนการดําเนินงานคัดแยกและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน และจัดตั้งคณะทํางานในการดําเนินงานรวมกัน

รวมฝกอบรมวิธีการปฏิบัติงานการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนใหแกบุคลากรของเทศบาลฯ และอบรมใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดการของเสยีอนัตรายจากชมุชนแกผูนาํชมุชน ผูแทนจากสถานศึกษา และสถานประกอบการ

Page 35: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๕ -

รวมกับ อปท. ดําเนินการประชาสัมพันธใหประชาชนและสถานประกอบการในพื้นที่เทศบาลฯ รับทราบถึงการดําเนินโครงการ รวมทั้งจัดประชมุหารอืกบัสถานประกอบการในพืน้ทีเ่ทศบาลฯ เกีย่วกบัรูปแบบการจัดระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายในสถานประกอบการ

รวมจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนและภาชนะรองรบัของเสยีอนัตรายจากชมุชน

รวมสนับสนุนองคความรูทางวิชาการและใหขอคิดเห็นกบั อปท. ในการกาํหนดวธิกีารทิ้งและจัดเก็บของเสียอันตรายจากชุมชน ปรับปรุงรถเก็บขนขยะมูลฝอยอันตราย และปรับปรุงอาคารสถานที่สําหรับเก็บรวบรวมของเสียอันตราย ตามคูมือแนวทางการจัดการของเสียอันตรายจากชมุชนที ่กรมฯ ไดพฒันาขึน้

รวมสนับสนุน อปท. ในการจัดกิจกรรมรณรงคประชาสัมพันธใหชุมชนและสถานประกอบการดําเนินการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน โดยกรมควบคุมมลพิษสนับสนุน สื่อประชาสัมพันธ

รวมกับ สสภ. คพ. และ อปท. ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย

ประสานกับอปท. ในการรวบรวมขอมูลและรวมติดตาม/ประเมินประสิทธิภาพการใหบริการเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอย รวมทั้งรวมกับ สสภ. ในการวิเคราะหหาแนวทางเพิม่ประสทิธภิาพในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยในระดับพื้นที่

การบริหารจัดการขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ขยะมูลฝอยชุมชน รวมกับ สสภ. และ อปท. ในการประสาน/จัดประชุมเชิงพื้นที่และใหขอคิดเห็น/

ขอเสนอแนะในการจัดทํารายละเอียดโครงการฯ รวมทั้งกลั่นกรองโครงการฯ เพื่อเสนอเขาแผนปฏบิตักิารเพือ่การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด (ตามลําดับความสําคัญของพื้นที่) นอกจากนี้ผลกัดนัให อปท. ทีไ่ดรบัการสนับสนุนงบประมาณแลวมีการดําเนินการปรับปรุง/กอสราง และรวมตรวจสอบ/ทบทวนการจัดกลุมพื้นที่ (Cluster) ในพื้นที่ตาง ๆ

มูลฝอยติดเชื้อ

รวมกับ สสภ. และ อปท. ตรวจสอบขอมูลการจัดการมูลฝอยตดิเชือ้ของ ๕ กลุมพืน้ที ่และสภาพปญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในแตละกลุมพื้นที่

รวมประชุมและศึกษาดูงาน ใหแก อปท.ในกลุมพื้นที่จังหวัดเปาหมาย เพื่อระดมสมองในการจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมของแตละกลุมพื้นที่

รวมกับ คพ. สสภ. และ อปท. ติดตามและประสานการจดัทาํแผนปฏบิตักิารฯ รวมทัง้ประสานการของบประมาณในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอมในระดับจงัหวดั หรอืแผนพฒันาทองถิน่ที่ใชงบประมาณของ อปท. หรือแผนพัฒนาหนวยงานที่ใชงบประมาณหนวยงาน และรวบรวมคําขอต้ังงบประมาณแจงหนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 36: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๖ -

เพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย

รวมกับ สสภ. และ อปท. ในการดําเนินการประเมินสถานทีก่าํจดัขยะมลูฝอยและเกบ็ตัวอยางคุณภาพน้ําใตดิน ทั้งนี้ อปท. ที่ไมผานเกณฑในสมรรถนะที่ ๕ (ประสทิธภิาพในการกาํจดัขยะมลูฝอย) ในป ๒๕๕๒ และประสานให อปท. มีการดําเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอยตอไป

รวมฝกอบรม/ดูงานเทคโนโลยีในการจัดการขยะมูลฝอย แนวทางในการเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

รวมฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอยเชิงพื้นที่ และรวมวิเคราะหแนวทางในการเพิ่มรายไดจากการจัดการขยะมูลฝอยใหกับแตละอปท.

๔) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงานพรอมทั้งรายงานผลตามไตรมาส ๕) รวมวิเคราะหและใหขอเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอยแก

องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง ๙๓ แหง ๖) ประสานและรวบรวมขอมูลผลการดําเนินงานจาก อปท. เพื่อให สสภ.จัดทํารายงานผลเปนราย

พื้นที่และนําไปใชประกอบในการจัดทํารายงานในภาพรวมตอไป

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ ๑) ผลักดันและสงเสริมใหเทศบาลฯ มีกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยใน

ลักษณะ ๑ เทศบาล ๑ ศูนยรีไซเคิล ๒) รวมประชุมและเปนคณะทํางานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน

สํานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบ ๑) ประสานให คพ. สสภ. และ ทสจ. ดําเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการฯ ๒) รวมประชุม ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของโครงการ สํานักตรวจและประเมินผล รับผิดชอบ ๑) รวมประชุม ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของโครงการ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน รับผิดชอบ ๑) ใหขอมูลและรวมดําเนินกิจกรรมในแตละสมรรถนะที่ อปท. ไดเลือกดําเนินการ (อยางนอย ๔ ใน

๖ สมรรถนะ) ๒) รวมประชุมและฝกอบรม/ดูงาน ๓) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของโครงการ

Page 37: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๗ -

๑๐. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ

๑๐.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายอยางนอยรอยละ ๘๐ มีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จากสมรรถนะในการจัดการขยะมูลฝอยทั้งหมด ๖ สมรรถนะ

๑๐.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในป พ.ศ. ๒๕๕๒ มีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยรอยละ ๑๐๐

Page 38: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๘ -

บทท่ี ๕

ขอกําหนดการดาํเนินงาน (Term of Reference) ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

๑. หลักการและเหตุผล

มลพิษจากขยะมูลฝอย เปนหนึ่งในปญหาสิ่งแวดลอมที่ทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสังคมเมืองที่มีการขยายตัวของเมืองสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวและพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี โดยแตละปหนวยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะมลูฝอยทัง้ภาครฐั และองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น เนื่องจากการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญยังขาดความพรอมทั้งดานงบประมาณ บุคลากรที่ชํานาญ ความพรอมในการบรหิารจัดการ เปนผลทําใหการจัดการขยะมูลฝอยไมมีประสิทธิภาพ

ในป ๒๕๕๑ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่น อยางตอเนื่องตั้งแตป ๒๕๕๑ เปนตนมา โดยในป ๒๕๕๑ กรมควบคุมมลพิษ ไดดําเนนิการในระดบัเทศบาลนคร จาํนวน ๒๓ แหง ใหมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ โดยมีหลักเกณฑที่จะใชในการพิจารณาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย จํานวน ๖ สมรรถนะ ประกอบดวย ๑) แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ๒) กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชน ๓) ประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย ๔) การบรหิารจดัการขยะมลูฝอยหรือมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ๕) ประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย และ ๖) รายไดในการจดัการขยะมูลฝอย ซึ่งจากผลการดําเนินงานในป ๒๕๕๑ พบวามีจํานวนเทศบาลที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดรอยละ ๘๖ ตอมาในป ๒๕๕๒ ไดดําเนินการในระดับเทศบาลเมืองเพิ่มอีก ๓๖ รวมทัง้สิน้ ๕๙ แหง โดยมจีาํนวนเทศบาลที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ คดิเปนรอยละ ๙๑ และในป ๒๕๕๓ ไดเพิ่มจํานวนพื้นที่ดําเนินการในระดับเทศบาลเมืองและเทศบาลตําบลอีก ๓๕ แหง รวมทั้งสิ้น ๙๔ แหง

โดยในป ๒๕๕๔ จะไดดําเนินการเพิ่มพื้นที่ในการดําเนินการอีก ๓๙ แหง รวมพืน้ทีด่าํเนนิการในป ๒๕๕๔ ประมาณ ๑๓๑ แหง (พื้นที่ดําเนินการตั้งแตป ๒๕๕๓ จํานวน ๙๑ แหง และพื้นที่เริ่มดําเนินการใหมใน ป ๒๕๕๔ จํานวน ๔๐ แหง) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางสมรรถนะใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยและเปนการเตรียมความพรอมใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในลําดับความสําคัญมีการจัดตั้งศูนยจัดการขยะมูลฝอยครบวงจรแบบรวมกลุมพื้นที่ (Clustering) ซึ่ง กรมควบคมุมลพษิ หวงัเปนอยางยิง่วาการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะฯ จะเปนสวนหนึ่งในการผลักดัน สนับสนุน และสงเสรมิใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมในการจดัการขยะมลูฝอยใหเปนไปอยางตอเนือ่งและเปนรูปธรรม รวมทั้งเพื่อเปนการพัฒนาระบบการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยใหเปนไปอยางมปีระสทิธภิาพ และถูกตองตามหลักวิชาการ

Page 39: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๓๙ -

๒. วัตถุประสงค

๒.๑ เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการบูรณาการระหวางหนวยงานกลางและหนวยงานสวนภมูภิาคในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักธรรมาภิบาล

๒.๒ เพื่อเสริมสรางสมรรถนะและถายทอดองคความรูใหกับขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายจากชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อในแตละกลุมพื้นที่จังหวัดเปาหมาย

๒.๓ เพื่อสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีการจัดเตรียมระบบการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน และแผนปฏิบัติการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อในแตละกลุมพื้นที่จังหวัดเปาหมาย

๓. เปาหมาย

๓.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ

๓.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่รวมดําเนินโครงการฯ ในป ๒๕๕๓ มีการดําเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยที่กําหนดไว ๔. พื้นที่ดําเนินการ

๔.๑ การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ในพื้นที่ อปท. จํานวน ๑๓๑ แหง รายละเอียดดังตารางที่ ๑ ๔.๒ การจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน ในพื้นที่ อปท. จํานวนอยางนอย ๗ แหง ไดแก

- เทศบาลนครปากเกร็ด - เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา - เทศบาลนครอุบลราชธานี - เทศบาลเมืองเขลางคนคร - เทศบาลเมืองมหาสารคาม - เทศบาลเมืองขลุง - เทศบาลเมืองศรีสะเกษ

๔.๓ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ในพื้นที่ อปท. ที่เปนที่ตั้งของศูนย จํานวน ๔ กลุมพื้นที่ (๑๓ จังหวัด) ไดแก - กลุมเมืองพัทยา (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด) - กลุมเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา (ฉะเชิงเทรา นครนายก สระแกว ปราจีนบุรี) - กลุมเทศบาลนครภูเก็ต (ภูเก็ต พังงา กระบี่) - กลุมเทศบาลนครหาดใหญ (สงขลา สตูล)

Page 40: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๐ -

ตารางท่ี ๑ พื้นที่ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

สสภ. ทสจ. อปท. ๑ เชียงใหม ทน.เชียงใหม ทม.เมืองแกนพัฒนา ทม.เวียงฝาง ทม.แมโจ เชียงราย ทน.เชียงราย ทต.แมสาย ทต.แมสรวย ทต.เวยีง แมฮองสอน ทม.แมฮองสอน ทม.ปาย ลําพูน ทม.ลําพูน ทต.อุโมงค

๒ ลําปาง ทน.ลําปาง ทม.เขลางคนคร สุโขทัย ทม.สุโขทยัธานี ทม.สวรรคโลก ทต.ศรีสําโรง แพร ทม.แพร

๓ พิษณุโลก ทน.พิษณุโลก ทต.บางระกํา นาน ทม.นาน ทต.ทุงชาง ทต.ทาวังผา ทต.ปว ทต.นานอย ทต.เชยีงกลาง อุตรดิตถ ทม.อุตรดติถ ทต.หัวดง พิจิตร ทม.พิจิตร ทม.บางมูลนาก ทต.วังทรายพูน

Page 41: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๑ -

ตารางท่ี ๑ พื้นที่ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ-๑)

สสภ. ทสจ. อปท. ๔ นครสวรรค ทน.นครสวรรค ทม.ตาคล ี ทต.ทาตะโก กําแพงเพชร ทม.กําแพงเพชร

๕ นครปฐม ทน.นครปฐม สมุทรสาคร ทน.สมุทรสาคร ทม.ออมนอย ทต.หลักหา สุพรรณบุร ี ทม.สุพรรณบุร ี ชัยนาท ทม.ชัยนาท

๖ นนทบุรี ทน.ปากเกรด็ ทม.บางกรวย สมุทรปราการ ทน.สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา ทน.พระนครศรีอยุธยา ทม.เสนา ปทุมธานี ทม.ปทุมธานี ทม.รังสิต สิงหบุรี ทม.สิงหบุร ี อางทอง ทม.อางทอง

๗ เพชรบูรณ ทม.เพชรบรูณ สระบรุ ี ทม.สระบุร ี ทม.พระพุทธบาท ปราจีนบุร ี ทม.ปราจีนบุร ี นครนายก ทม.นครนายก ลพบุร ี ทต.หนองมวง

๘ เพชรบุร ี ทม.ชะอํา ประจวบคีรีขันธ ทม.หัวหิน

Page 42: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๒ -

ตารางท่ี ๑ พื้นที่ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ-๒)

สสภ. ทสจ. อปท. ๙ สกลนคร ทม.สกลนคร ทต.พังโคน หนองคาย ทม.หนองคาย ทม.ทาบอ อุดรธานี ทน.อุดรธานี ทม.โนนสูง-น้ําคํา ทม.หนองสําโรง เลย ทม.เลย นครพนม ทม.นครพนม

๑๐ ขอนแกน ทน.ขอนแกน ทม.ชุมแพ ทม.บานไผ ทม.เมืองพล ทต.หนองโก มหาสารคาม ทม.มหาสารคาม ทต.เชยีงยืน ทต.ทาขอนยาง กาฬสินธุ ทม.กาฬสินธุ ชัยภูมิ ทม.ชัยภูม ิ หนองบัวลําภู ทม.หนองบัวลําภ ู

๑๑ นครราชสีมา ทน.นครราชสีมา ทม.ปากชอง ศรีสะเกษ ทม.ศรีสะเกษ ทม.กันทรลักษณ สุรินทร ทต.สังขะ ทต.ระแงง บุรีรัมย ทม.บุรีรัมย

Page 43: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๓ -

ตารางท่ี ๑ พื้นที่ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ-๓)

สสภ. ทสจ. อปท. ๑๒ อุบลราชธานี ทน.อุบลราชธานี

ทม.วารินชําราบ ทม.พิบูลมังสาหาร ทม.เดชอุดม อํานาจเจริญ ทม.อํานาจเจริญ ยโสธร ทม.ยโสธร มุกดาหาร ทม.มุกดาหาร รอยเอ็ด ทม.รอยเอ็ด

๑๓ ระยอง ทน.ระยอง ทม.มาบตาพุด จันทบุรี ทม.ขลุง ทม.จันทบุร ี ตราด ทม.ตราด ชลบุร ี ทม.แสนสุข ทม.บานบึง ทม.ศรรีาชา เมืองพัทยา * ทน.แหลมฉบัง สระแกว ทต.วังนํ้าเย็น ฉะเชิงเทรา ทม.ฉะเชิงเทรา *

๑๔ สุราษฎรธานี ทน.สุราษฎรธาน ี ทม.เกาะสมุย นครศรีธรรมราช ทน.นครศรีธรรมราช ทม.ปากพนัง ทม.ทุงสง ชุมพร ทม.หลังสวน

Page 44: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๔ -

ตารางท่ี ๑ พื้นที่ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสรมิสรางสมรรถนะใหกบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ-๔)

สสภ. ทสจ. อปท. ๑๕ ภูเก็ต ทน.ภูเก็ต *

ทม.ปาตอง ทม.กะทู ตรัง ทน.ตรัง ทม.กันตัง ทต.ทาขาม กระบี ่ ทม.กระบี ่ พังงา ทม.พังงา ทม.ตะกั่วปา สตูล ทม.สตูล ทต.ควนโดน

๑๖ สงขลา ทน.สงขลา ทน.หาดใหญ * ทม.คอหงส ทม.สิงหนคร ทม.สะเดา ยะลา ทน.ยะลา พัทลุง ทม.พัทลุง ปตตานี ทม.ปตตานี นราธิวาส ทม.นราธิวาส

จํานวน อปท. รวม ๑๓๑ แหง (อปท. เกา ๙๑ แหง และ อปท. ใหม ๔๐ แหง) หมายเหตุ : *** พื้นที่เปาหมายแหงใหมในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ในป ๒๕๕๔ ประกอบดวย เทศบาลเมือง และ เทศบาลตําบล จํานวน ๔๐ แหง __ พื้นที่ดําเนินโครงการสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการจัดเตรียมระบบการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน ในป ๒๕๕๔ จาํนวน ๗ แหง (ทน.ปากเกรด็ ทน.พระนครศรีอยุธยา ทน.อุบลราชธานี ทม.เขลางคนคร ทม.มหาสารคาม ทม.ขลุง ทม.ศรีสะเกษ) * พื้นที่ดําเนินโครงการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบศูนยรวมที่มีประสิทธิภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและหนวยงานที่เกี่ยวของในแตละกลุมพืน้ที ่โดยม ีอปท. ที่ดูแลที่ตั้งศูนยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ในป ๒๕๕๔ จํานวน ๔ แหง (กลุม เมืองพัทยา กลุม ทม.ฉะเชิงเทรา กลุม ทน.ภูเก็ต และ กลุม ทน.หาดใหญ)

สสภ. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ จํานวน อปท. เกา ที่เคยดําเนินโครงการฯ ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ (แหง) ๗ ๔ ๕ ๓ ๕ ๘ ๔ ๒ ๘ ๖ ๕ ๖ ๘ ๕ ๘ ๗ จํานวน อปท. ใหมที่เริ่มดําเนินโครงการฯ ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ (แหง) ๕ ๒ ๘ ๑ ๑ ๑ ๒ - ๑ ๕ ๒ ๒ ๔ ๑ ๓ ๒ จํานวน อปท. รวมที่ดําเนินโครงการฯ ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ (แหง) ๑๒ ๖ ๑๓ ๔ ๖ ๙ ๖ ๒ ๙ ๑๑ ๗ ๘ ๑๒ ๖ ๑๑ ๙

Page 45: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๕ -

๕. การดําเนินงาน

๕.๑ รวบรวมขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน ของเทศบาลในพื้นที่ที่รับผดิชอบทัง้ ๖ สมรรถนะ ไดแก ขอมูลพื้นฐาน แผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน ขอมูลดานการลดและใชประโยชนขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน ขอมูลดานการเกบ็รวบรวมขยะมลูฝอย ขอมลูดานการรวมกลุมพื้นที่และขอมูลโครงการที่จะเสนอขอการรับการสนับสนุนงบประมาณผานแผนปฏบิตักิารเพือ่การจดัการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด (ถามี) ขอมูลการกําจัดขยะมูลฝอย (สถานที่กําจัดขยะมูลฝอย) และขอมลูรายไดในการจัดการขยะมูลฝอยของปที่ผานมา เพื่อใชประกอบในการประเมินประสิทธิภาพในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอย (ทั้ง ๖ สมรรถนะ) เบื้องตน

๕.๒ จัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดโครงการฯ ใหกับ สสภ. ทสจ. ในพื้นที่เปาหมายทั้งหมด และเจาหนาทีจ่าก ทส. ที่มีสวนเกี่ยวของ

๕.๓ ดําเนินการโอนงบประมาณสนับสนุนใหกับ สสภ. เพื่อเปนคาใชจายในการบริหารและประสานงานในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจดัการขยะมูลฝอยและคาใชจายในการสนับสนุน อปท. ในการเพิ่มสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย (ตามที่ อปท. รองขอ) รวมทั้งดําเนินการโอนงบประมาณสนับสนุน ใหกับ ทสจ. เพื่อเปนคาใชจายในการบรหิารและประสานงานโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอย ทัง้นี้คาใชจายในการประสานงานดังกลาวขึ้นกับระยะทางและความเหมาะสมของพื้นที่

๕.๔ วิเคราะหผลการดําเนินการที่ผานมาของพื้นที่เปาหมายป ๒๕๕๓ พรอมทั้งจัดทําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในแตละสมรรถนะกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายในป ๒๕๕๓

๕.๕ สสภ. รวมกับ ทสจ. พื้นที่เปาหมายดําเนินการจัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดการดําเนินโครงการฯ เปนรายภาค (ตามพื้นที่ของ สสภ.)

๕.๖ ผลักดันให อปท. เปาหมายมีการดําเนินกิจกรรมในการเพิ่มสมรรถนะในการจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตรายชุมชน

๕.๖.๑แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย รวมกับ อปท. ในการตรวจสอบ/ทบทวนจัดทําแผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย/แผน

ของเสียอันตรายชุมชน ของ อปท. ที่จะดําเนินงานในปงบประมาณ ๒๕๕๔ และในปตอๆ ไป (แผน ๓ ป) ใหครอบคลุมถึงปญหาของการจัดการฯ รวมทั้งสงเสริมให อปท. ในพื้นที่เดิมในป พ.ศ. ๒๕๕๓ มีการดําเนินการตามแผนฯ

๕.๖.๒กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชน รวมกับ อปท. ดําเนินการกิจกรรมดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย/ของเสีย

อันตรายชุมชน โดยรูปแบบของกิจกรรมขึ้นอยูกับความตองการของแตละ อปท. ๕.๖.๓การเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย

รวมกับ อปท. ในการติดตามและประเมินประสิทธิภาพการใหบริการเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอย โดยประเมินจากพื้นที่การใหบริการกับปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได พรอมทั้งหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย (ในกรณีที่ประสิทธิภาพในการเก็บขนไมผานเกณฑการประเมิน)

Page 46: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๖ -

๕.๖.๔การบริหารจัดการขยะมูลฝอยหรือมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย

รวมกับ อปท. เปาหมาย ในการเตรียมความพรอมกับ อปท.ในการจัดตั้ งศูนยกําจัด ขยะมูลฝอยรวมหรือมูลฝอยติดเชื้อรวม (Clustering) เพื่อเสนอเขาแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด (ตามลําดับความสําคัญของพื้นที่) รวมทั้งผลักดันให อปท. ที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณแลวมีการดําเนินการปรับปรุง/กอสราง รวมทั้งตรวจสอบ/ทบทวนการจดักลุมพืน้ที ่(Cluster) ในพืน้ที่ตางๆ

๕.๖.๕การเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย รวมกับ อปท. ในการประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย พรอมทั้งเก็บตัวอยางและวิเคราะห

คุณภาพน้ําใตดิน ทั้งนี้ อปท. ที่ไมผานเกณฑในสมรรถนะที่ ๕ (ประสิทธิภาพในการกาํจดัขยะมลูฝอย) ในป ๒๕๕๓ ทส. จะเสนอแนวทางการปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยให อปท. ดําเนินการตอไป รวมทั้งจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสรางสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหกับ อปท.

๕.๖.๖แนวทางในการเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย จัดฝกอบรมการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอยเชิง

พื้นที่ และแนวทางในการเพิ่มรายไดจากการจัดการขยะมูลฝอย ๕.๗ ดําเนินการติดตามและประเมินผลการดําเนินการ พรอมทั้งจัดทํารายงานผลการดําเนินงานเปนราย

ไตรมาส รวมทั้งรายงานสรุปผลการดําเนินโครงการ ๖. ผลที่คาดวาจะไดรับ

๖.๑ เกิดการบูรณาการระหวางหนวยงานกลางและหนวยงานสวนภูมิภาคในการบริหารจัดการขยะ มูลฝอย

๖.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น ปริมาณขยะมูลฝอยไดรับการจัดการอยางถูกตองตามหลักวิชาการมากขึ้น

๖.๓ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายมีแผนการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อรองรับการพัฒนาและขยายตัวของเทศบาลอยางเหมาะสม ๗. ระยะเวลาดําเนินการ

ตุลาคม ๒๕๕๓ – กันยายน ๒๕๕๔ ๘. งบประมาณดําเนินการ

จากงบประมาณป พ.ศ. ๒๕๕๔ ของกรมควบคุมมลพิษ

Page 47: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๗ -

๙. บทบาทหนาทีข่องผูรับผิดชอบโครงการ

กรมควบคุมมลพิษ ๑) วิเคราะหผลการดําเนินการที่ผานมาของพื้นที่เปาหมาย พรอมทั้งจัดทําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/

แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมลูฝอยในแตละสมรรถนะกบัองคกรปกครองสวนทองถิน่ในป ๒๕๕๓

๒) จัดประชมช้ีแจงและหารือรายละเอียดในการดําเนินโครงการในป ๒๕๕๔ รวมกับ สสภ. และ ทสจ.พื้นที่เปาหมาย

๓) โอนงบประมาณสนับสนุนใหกับ ทสจ. และ สสภ. เพื่อเปนคาใชจายในการติดตอและประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งโอนงบประมาณสนับสนุนสําหรับดําเนินการกิจกรรมเพิ่มสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง ๑๓๑ แหงโดยผานทาง ทสจ. หรือ สสภ.

๔) รวมประชุมช้ีแจงรายละเอียดการดําเนินโครงการฯ ในป ๒๕๕๔ ตามที่ สสภ. จัดประชุมเปนรายภาค ๕) รวมลงพื้นที่ในการนําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยเสนอใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปาหมาย พิจารณาในการนําไปประยุกตใชหรือปรับปรุงในการดําเนินงานของแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ตามที่ ทสจ. หรือ สสภ. รองขอ)

๖) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางในการเพิ่มสมรรถนะในการบรหิารจดัการขยะมลูฝอยใหกบัองคกรปกครองสวนทองถิ่น

๗) ลงพื้นที่เพื่อเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําใตดินและประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ๘) รวบรวมผลความกาวหนาของการดําเนินงานเปนรายไตรมาส จาก สสภ. เพื่อรายงานในภาพรวมตามขอสัง่การ ๙) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการฯ พรอมทั้งจัดทํารายงานในภาพรวมของโครงการฯ เพื่อ

นําสง กพร. ตอไป สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค

๑) รวมกับ ทสจ. ในพื้นที่เปาหมายในการประสานการยืนยันจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการเขารวมโครงการในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

๒) จัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดการดําเนินโครงการฯ ในป ๒๕๕๔ รวมกบั ทสจ. ในพืน้ทีเ่ปาหมายใหกบั องคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่เปาหมายเปนรายภาค (ตามพื้นที่ สสภ.) อยางนอย ๑ ครั้ง ระยะเวลาไมนอยกวา ๑ วัน

๓) ประสานกับ ทสจ. ในพื้นที่เปาหมายเพื่อรวบรวมขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยทั้ง ๖ สมรรถนะ เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย (ทั้ง ๖ สมรรถนะ) เบื้องตน พรอมทั้งใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในแตละสมรรถนะกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่เปาหมาย

Page 48: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๘ -

๔) รวมกับ ทสจ. ในการนําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยเสนอใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปาหมาย พิจารณาในการนําไปประยุกตใชหรือปรับปรุงในการดําเนินงานของแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น

๕) รวมกับ ทสจ. ในการติดตามและใหขอคิดเห็นกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการดําเนินการในแตละสมรรถนะ

๖) รวบรวมรายงานผลความกาวหนาของการดําเนินงานเปนรายไตรมาส จาก ทสจ. เพื่อรายงานในภาพรวมของภาคและจัดสงให คพ. รวบรวมผลและรายงานในภาพรวม

๗) รวมประชุมตางๆ และรวมเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําใตดิน/ประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยรวมกับ ทสจ. และ คพ.

๘) รวมกับ ทสจ. ติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการฯ ทั้ง ๖ สมรรถนะ พรอมทัง้จดัทาํรายงานสรปุผลเปนรายงานในภาพรวมของแตละ สสภ. จัดให คพ. รวบรวมเพื่อจัดทําเปนรายงานในภาพรวมของโครงการฯ เพือ่นําสง กพร. ตอไป

สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

๑) ประสานกับ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ในพื้นที่เปาหมายเพื่อยืนยันการเขารวมโครงการในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

๒) รวมกับ สสภ. ในการจัดประชุมช้ีแจงรายละเอียดการดําเนินโครงการฯ ในป ๒๕๕๔ ใหกับ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่เปาหมายเปนรายภาค (ตามพื้นที่ สสภ.)

๓) ประสานกับเทศบาลตางๆ ในพื้นที่เปาหมายเพื่อรวบรวมขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยทั้ง ๖ สมรรถนะ ไดแก ขอมูลพื้นฐาน แผนปฏิบัติการดานการจัดการขยะมูลฝอย ขอมูลดานการลดและใชประโยชนขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน ขอมูลดานการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย ขอมูลดานการรวมกลุมพื้นที่หรือขอมูลโครงการที่จะเสนอขอการรับการสนับสนุนงบประมาณผานแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด ขอมูลการกําจัดขยะมูลฝอย (สถานที่กําจัดขยะมูลฝอย) และขอมูลรายไดในการจัดการขยะมูลฝอยของปทีผ่านมา เพื่อใชประกอบในการประเมินประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย (ทั้ง ๖ สมรรถนะ) เบื้องตน

๔) รวมกับ สสภ. ในการนําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ/แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยเสนอใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เปาหมาย พิจารณาในการนําไปประยุกตใชหรือปรับปรุงในการดําเนินงานของแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น

๕) รวมกับ สสภ. ในการติดตามและใหขอคิดเห็นกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการดําเนินการในแตละสมรรถนะ

๖) รายงานผลความกาวหนาของการดําเนินงานเปนรายไตรมาสให สสภ. รวบรวมเพื่อรายงานในภาพรวมของภาค

๗) รวมประชุมตางๆ และรวมเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําใตดิน/ประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยรวมกับ สสภ. และ คพ.

๘) รวมกับ สสภ. ติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการฯ ทั้ง ๖ สมรรถนะ พรอมทัง้จดัทาํรายงานสรปุผลการดําเนินโครงการฯ เปนรายพื้นที่ และจัดสงให สสภ. รวบรวมและจัดทําเปนรายงานในภาพรวมของแตละ สสภ.

Page 49: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๔๙ -

สํานักตรวจและประเมินผล/สํานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

๑) ประสานและอํานวยการใหหนวยงานดานสิ่งแวดลอมใน ทส. ไดแก ทสจ. สสภ. สส. และ คพ. เปนตน ใหดําเนินการสนับสนุนใหองคกปรครองสวนทองถิ่นมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น

๒) รวมประชุมตางๆ ๓) รวมลงพื้นที่ชี้แจงรายละเอียดและกํากับใหดําเนินการเปนไปตามตัวชี้วัดของกระทรวงฯ ๔) รวมลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการฯ

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

๑) ใหขอมูลและรวมดําเนินกิจกรรมในการเพิ่มสมรรถนะที่ อปท. ไดเลือกดําเนินการเลือก (อยางนอย ๔ ใน ๖ สมรรถนะ) หรือดําเนินการตามที่ ทส. ไดใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในแตละสมรรถนะ

๒) รวมประชุมและฝกอบรม/ดูงาน ๓) รวมติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของโครงการ

๑๐. ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการ

๑๐.๑ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายอยางนอยรอยละ ๘๐ มีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยผานเกณฑที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จากสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยทั้งหมด ๖ สมรรถนะ

๑๐.๒ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในป พ.ศ. ๒๕๕๓ มีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการจัดการขยะ มูลฝอยรอยละ ๑๐๐

Page 50: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๐ -

บทท่ี ๖

เกณฑการประเมินผล

วัดความสําเร็จของขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมาย ใหมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ ซึง่จะวดัผลในไตรมาสที ่๔ โดยมีเกณฑที่จะใชในการพิจารณาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ดังนี ้ สมรรถนะที่ ๑ แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย

ตัวชี้วัด (กรณี อปท .เกา ในป พ.ศ. ๒๕๕๓) มีการทบทวนและวิเคราะหแผนฯ ทีค่รอบคลมุการจดัการขยะมูลฝอย/ของเสียอันตรายชุมชน/มูลฝอยติดเช้ือ และ อปท. มีการดําเนินกิจกรรมตามแผนฯ ที่กําหนดไว หรอื มี % ของแผนงานดานการจัดการขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา

ตัวชี้วัด (กรณี อปท. ใหม ในป พ.ศ. ๒๕๕๔) มีแผนเฉพาะในการจัดการขยะมูลฝอย หรือ ของเสียอันตรายจากชุมชน หรือ มูลฝอยติดเชื้อ และสงเสริมใหเทศบาลฯ มีการดําเนินกิจกรรมตามแผนฯ ทีก่าํหนดไว เชน

- แผนพัฒนาเทศบาล ๓ ป (ดานการจัดการขยะมูลฝอย หรือ ของเสียอันตรายชุมชน หรือ มูลฝอยติดเชื้อ)

- แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม (ดานการจัดการขยะมูลฝอย) - แผนแมบทการบริหารจัดการขยะมูลฝอย หลักฐานที่ใชประกอบ : กรอบรายละเอียดของแผนดานการจัดการขยะมูลฝอย ที่บรรจุอยูในแผนฯ ตาง ๆ ที่มีการดําเนิน

โครงการฯ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยรายละเอียดของแผนฯ ประกอบดวย ชื่อโครงการ วตัถปุระสงค เปาหมาย/กิจกรรม (ผลผลิตของโครงการ) งบประมาณและแหลงที่มา ผลที่คาดวาจะไดรับ หนวยงานทีร่บัผดิชอบ

สมรรถนะที่ ๒ การลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย (๓Rs) หรือ ของเสียอันตรายจากชุมชน

ตัวชี้วัด มีตัวเลข รอยละ หรือ ขอมูลการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหม หรอื มกีารลด คดัแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย หรือ ของเสียอันตรายชุมชน ในรูปแบบของกิจกรรมตาง ๆ ที่มีการดําเนินโครงการ/กิจกรรม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ เชน

- กิจกรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอย (๓Rs) หรือ ของเสียอันตรายจากชุมชน - กิจกรรมในรูปแบบศูนย (๑ เทศบาล ๑ ศูนยรีไซเคิล) - ธนาคารขยะ หรือ ศูนยจัดทําน้ําหมัก/ปุยชีวภาพ - รวมทั้งมีการบันทึกปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนจากขยะมลู

ฝอย (เปนรายเดือน หรือ รายป) ทั้งนี้ อปท. เกาที่ดําเนินงานในป ๒๕๕๓ ควรมีการกําหนดเปาหมายในการรไีซเคลิ หรอืมกีารเพิม่พืน้ที่

ในการดําเนินโครงการฯ มากขึ้น

Page 51: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๑ -

หลักฐานที่ใชประกอบ : รายละเอียดผลการดําเนินโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งตองมีการดําเนินงาน

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยมีการระบุวัน เวลา และสถานที่ พรอมทั้งภาพถายการดําเนินโครงการ/กิจกรรม หรือ ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถรีไซเคิลได สมรรถนะที่ ๓ ประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย

ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอยประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ระดับเทศบาลนคร ไมต่ํากวารอยละ ๙๕ ในระดับเทศบาลเมือง ไมต่ํากวารอยละ ๙๐ และในระดับเทศบาลตําบลหรอืองคการบรหิารสวนตําบล ไมต่ํากวารอยละ ๘๕ โดยพิจารณาจาก

- เสนทางการเก็บขน พาหนะในการจัดเก็บ และพื้นที่ใหการบริการ - ปริมาณขยะมูลฝอยที่ไดรับการจัดเก็บเพิ่มขึ้น (จํานวนครัวเรือนที่ไดรับบริการเพิ่มขึ้นจากป พ.ศ.

๒๕๕๓) หลักฐานที่ใชประกอบ : แผนที่เสนทางการเก็บขนของรถเก็บขนขยะมูลฝอย พรอมทั้ง รายละเอียดการดําเนินการเก็บขนขยะ

มูลฝอย อาทิเชน ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึน ปริมาณขยะมูลฝอยที่สามารถเก็บขนได เสนทางการเก็บขน และพื้นที่ใหการบริการ ปริมาณขยะมูลฝอยที่ตกคาง และสถิติเรื่องรองเรียน เปนตน สมรรถนะที่ ๔ การบริหารจัดการขยะมูลฝอย หรือ มูลฝอยติดเช้ือในลักษณะรวมศูนย

ตัวชี้วัด มีการจัดทํา MOU ในการจัดการขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อ หรือ มีการรวมกลุมของ อปท. หรือ หนวยงานตาง ๆ ที่นําขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเช้ือ มากําจัดรวมกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง โดยมีหลักฐานการลงนาม เชน

- หลักฐานการลงนามสัญญาในการนําขยะมูลฝอย/มูลฝอยติดเชื้อ มากําจัดรวม ของแตละ อปท. - หนังสือแสดงความจํานงในการขอทิ้งรวมดวย ของแตละ อปท. - สําหรับกรณี ที่ อปท. นําขยะไปทิ้งในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของเอกชน ตองมีหลักฐานแสดงวา

เอกชน น้ันมีการรับกําจัดขยะมูลฝอยของหนวยงานอื่นดวย หลักฐานที่ใชประกอบ : บันทึกการลงนามความรวมมือการแบงกลุมพื้นที่เพื่อรองรับการจัดตั้งศูนยจัดการขยะมลูฝอย (MOU)

หรือ บันทึกขอตกลงระหวางเทศบาลในการนําขยะมูลฝอยมากําจัดรวม โดยมีการระบุรายชื่อหนวยงานมีการลงนาม MOU หรือ รายช่ือหนวยงานที่มีการนําทิ้งขยะมูลฝอยมาทิ้งรวม

Page 52: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๒ -

สมรรถนะที่ ๕ ประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย

ตัวชี้วัด การดําเนินงานบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ อปท. อยางนอยตองมกีารดาํเนนิการในลกัษณะการเทกองที่มีการควบคุม (Controlled Dump) หรือ การฝงกลบขยะมูลฝอยตามหลักทางวิศวกรรม (Engineered Landfill) หรือ มีแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย โดย คพ. รวมกับ สสภ. และ ทสจ. ดําเนินการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําใตดินจากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย เพื่อใชประกอบการประเมินประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย โดยพิจารณาจาก

- เทศบาลที่ไดรับงบประมาณในการออกแบบและกอสรางระบบกําจัดขยะมูลฝอย การดําเนินงานจะตองผานเกณฑเฉลี่ยการประเมินสมรรถนะการดําเนินงานฝงกลบขยะมูลฝอยตามหลักทางวิศวกรรม (Engineered Landfill)

- เทศบาลที่ไมไดรับงบประมาณในการออกแบบและกอสรางระบบกําจัดขยะมลูฝอย การดาํเนนิงานจะตองผานเกณฑเฉลี่ยการประเมินสมรรถนะการเทกองที่มีการควบคุม (Controlled Dump)

หลักฐานที่ใชประกอบ : รายละเอียดขอมูลในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย พรอมทัง้ภาพถายการ

ดําเนินงานในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

สมรรถนะที่ ๖ รายไดในการจัดการขยะมูลฝอย ตัวชี้วัด พิจารณาจากรายไดที่เกิดจากกิจกรรมการจัดการขยะมลูฝอย หรอื ของเสยีอนัตรายจากชมุชน

หรือ มูลฝอยติดเช้ือ ที่เกิดขึ้นประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีรายไดฯ เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับรายไดฯ ที่เกิดข้ึนประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยพิจารณาจาก

- การออกเทศบัญญัติในการจัดเก็บคากําจัดขยะมูลฝอย - รายรับจากการจัดเก็บคาบริการเก็บขน/กําจัด (จากในเขตเทศบาล และ อปท.รวม) หรือ จํานวน

ผูรับบริการ - รายไดจากการลด คัดแยก และใชประโยชนจากขยะมูลฝอย ตามสมรรถนะที่ ๒ หรือ คาใชจายใน

การกําจัดขยะมูลฝอยลดลง ซึ่งเกิดจากการลด คัดแยก และใชประโยชนจากขยะมูลฝอย หลักฐานที่ใชประกอบ : บัญชีรายไดการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ตัง้แตเดอืน ตลุาคม

๒๕๕๒ ถึง กันยายน ๒๕๕๓ และ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ตั้งแตเดือน ตุลาคม ๒๕๕๓ ถึง กันยายน ๒๕๕๔ หรือ ถึงเดือนปจจุบันที่เทศบาลมีขอมูล โดยมีการระบุตัวเลขและประเภทของรายไดอยางชัดเจน เชน รายไดจากการเก็บขนขยะมูลฝอย หรือ รายไดจากการกําจัดขยะมูลฝอย หรือ รายไดจากการดําเนินการตามสมรรถนะที่ ๒ เปนตน

Page 53: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๓ -

บทท่ี ๗

ผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔

๗.๑ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ สมรรถนะ

เทศบาลนคร มีแผน ปฏิบัติการ

ขยะ

๑ เทศบาล ๑ รีไซเคิล

เก็บขนไดมากกวา

รอยละ ๙๕

บริหารแบบรวมศูนย

คุณภาพน้ําใตดินอยูในมาตรฐาน

รายไดจัดการขยะ

เพ่ิมขึ้น

รวม

๑. ทน.เชียงราย ๔ ๒. ทน.เชียงใหม ๔ ๓. ทน.ลําปาง ๔ ๔. ทน.พิษณุโลก ๖ ๕. ทน.นครสวรรค ๔ ๖. ทน.นครปฐม ๔ ๗. ทน.สมุทรสาคร ๓ ๘. ทน.พระนครศรีอยุธยา ๔ ๙. ทน.นนทบุรี ๔ ๑๐. ทน.ปากเกร็ด ๔ ๑๑. ทน.สมุทรปราการ ๔ ๑๒. ทน.อุดรธานี ๕ ๑๓. ทน.ขอนแกน ๒ ๑๔. ทน.นครราชสีมา ๔ ๑๕. ทน.อุบลราชธานี ๔ ๑๖. ทน.ระยอง ๓ ๑๗. ทน.สุราษฎรธานี ๔ ๑๘. ทน.นครศรีธรรมราช ๒ ๑๙. ทน.ภูเก็ต ๔ ๒๐. ทน.ตรัง ๔ ๒๑. ทน.สงขลา ๕ ๒๒. ทน.หาดใหญ ๖* ๒๓. ทน.ยะลา ๔

แหง ๑๙ เทศบาลที่ผานการประเมิน ๔ ใน ๖ สมรรถนะ

รอยละ ๘๒ * รายไดจะคิดรวมกับปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ

Page 54: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๔ -

๗.๒ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒

รายการสมรรถนะ ผลการประเมินป

๒๕๕๒ สสภ ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

จํานวนสมรรถนะ

ที่ผานเกณฑ ผาน

เกณฑ ไมผานเกณฑ

๑ เชียงใหม ทน.เชียงใหม ๔ ทม.เมืองแกนพัฒนา ๔ แมฮองสอน ทม.แมฮองสอน ๓

๒ ลําปาง ทน.ลําปาง ๖ ทม.เขลางคนคร ๖ สุโขทัย ทม.สุโขทัยธานี ๖

๓ พิษณุโลก ทน.พิษณุโลก ๖ นาน ทม.นาน ๖ อุตรดิตถ ทม.อุตรดิตถ ๕

๔ นครสวรรค ทน.นครสวรรค ๕ ทม.ตาคลี ๕ อุทัยธานี ทม.อุทัยธานี ๔

๕ นครปฐม ทน.นครปฐม ๕ สมุทรสาคร ทน.สมุทรสาคร ๔ ทม.ออมนอย ๔ สุพรรณบุรี ทม.สุพรรณบุรี ๖ ชัยนาท ทม.ชัยนาท ๕

๖ นนทบุรี ทน.ปากเกร็ด ๕ ทม.บางกรวย ๕ สมุทรปราการ ทน.สมุทรปราการ ๓ พระนครศรีอยุธยา ทน.พระนครศรีอยุธยา ๓ ทม.เสนา ๔ ปทุมธานี ทม.ปทุมธานี ๔

๗ เพชรบูรณ ทม.เพชรบูรณ ๕ ๘ ประจวบคีรีขันธ ทม.หัวหิน ๕ เพชรบุรี ทม.ชะอํา ๕

๙ สกลนคร ทม.สกลนคร ๕ หนองคาย ทม.หนองคาย ๖ อุดรธานี ทน.อุดรธานี ๖ ทม.โนนสูง-น้ําคํา ๕

Page 55: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๕ -

๗.๒ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ตอ – ๑)

รายการสมรรถนะ ผลการประเมินป

๒๕๕๒ สสภ ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

จํานวนสมรรถนะ

ที่ผานเกณฑ ผาน

เกณฑ ไมผานเกณฑ

๑๐ ขอนแกน ทน.ขอนแกน ๔ ทม.ชุมแพ ๕ มหาสารคาม ทม.มหาสารคาม ๔

๑๑ นครราชสีมา ทน.นครราชสีมา ๔ ศรีสะเกษ ทม.ศรีสะเกษ ๕

๑๒ อุบลราชธานี ทน.อุบลราชธานี ๕ ทม.วารินชําราบ ๖

๑๓ ระยอง ทน.ระยอง ๕ ทม.มาบตาพุด ๕ จันทบุรี ทม.ขลุง ๖ ตราด ทม.ตราด ๖

๑๔ สุราษฎรธานี ทน.สุราษฎรธานี ๓ นครศรีธรรมราช ทน.นครศรีธรรมราช ๔ ทม.ปากพนัง ๕ ชุมพร ทม.หลังสวน ๓

๑๕ ภูเก็ต ทน.ภูเก็ต ๕ ทม.ปาตอง ๕ ตรัง ทน.ตรัง ๕ ทม.กันตัง ๕ กระบี่ ทม.กระบี่ ๕ พังงา ทม.พังงา ๕ สตูล ทม.สตูล ๔

๑๖ สงขลา ทน.สงขลา ๖ ทน.หาดใหญ ๖ ทม.สิงหนคร ๕ ทม.คอหงส ๖ ยะลา ทน.ยะลา ๔ พัทลุง ทม.พัทลุง ๕ ปตตานี ทม.ปตตานี ๔ รวม ๕๙ ๕๔ ๕ รอยละ ๑๐๐ ๙๑.๕ ๘.๕

Page 56: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๖ -

๗.๓ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๓ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทน.เชียงใหม ทม.เมืองแกนพัฒนา เชียงใหม

ทม.เวียงฝาง ทน.เชียงราย

เชียงราย ทต.แมสาย

แมฮองสอน ทม.แมฮองสอน

ลําพูน ทม.ลําพูน ทน.ลําปาง

ลําปาง ทม.เขลางคนคร ทม.สุโขทัยธานี

๒ สุโขทัย

ทม.สวรรคโลก พิษณุโลก ทน.พิษณุโลก นาน ทม.นาน อุตรดิตถ ทม.อุตรดิตถ

ทม.พิจิตร

พิจิตร ทม.บางมูลนาก ทน.นครสวรรค

นครสวรรค ทม.ตาคลี

อุทัยธานี ทม.อุทัยธานี กําแพงเพชร ทม.กําแพงเพชร

ตาก ทม.แมสอด นครปฐม ทน.นครปฐม

ทน.สมุทรสาคร สมุทรสาคร

ทม.ออมนอย สุพรรณบุรี ทม.สุพรรณบุรี

ชัยนาท ทม.ชัยนาท

Page 57: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๗ -

๗.๓ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ (ตอ – ๑)

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๓ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน นนทบุรี ทน.ปากเกร็ด ทม.บางกรวย สมุทรปราการ ทน.สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา ทน.พระนครศรีอยุธยา ทม.เสนา ปทุมธานี ทม.ปทุมธานี สิงหบุรี ทม.สิงหบุรี

อางทอง ทม.อางทอง เพชรบูรณ ทม.เพชรบูรณ

ทม.สระบุรี สระบุรี

ทม.พระพุทธบาท ลพบุรี ทม.บานหมี่

ปราจีนบุรี ทม.ปราจีนบุรี เพชรบุรี ทม.ชะอํา

๘ ประจวบคีรีขันธ ทม.หัวหิน

ทม.สกลนคร สกลนคร

ทต.พังโคน ทม.หนองคาย

หนองคาย ทม.ทาบอ ทน.อุดรธานี ทม.โนนสูง-น้ําคํา อุดรธานี

ทม.หนองสําโรง

เลย ทม.เลย ทน.ขอนแกน ทม.ชุมแพ ทม.บานไผ

ขอนแกน

ทม.เมืองพล มหาสารคาม ทม.มหาสารคาม

๑๐

กาฬสินธุ ทม.กาฬสินธุ

Page 58: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๘ -

๗.๓ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ (ตอ – ๒)

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๓ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน นครราชสีมา ทน.นครราชสีมา ทม.ปากชอง ศรีสะเกษ ทม.ศรีสะเกษ สุรินทร ทต.สังขะ

๑๑

บุรีรัมย ทม.บุรีรัมย อุบลราชธานี ทน.อุบลราชธานี ทม.วารินชําราบ ทม.พิบูลมังสาหาร อํานาจเจริญ ทม.อํานาจเจริญ ยโสธร ทม.ยโสธร

๑๒

มุกดาหาร ทม.มุกดาหาร ทน.ระยอง

ระยอง ทม.มาบตาพุด ทม.ขลุง

จันทบุรี ทม.จันทบุรี

ตราด ทม.ตราด ทม.แสนสุข ทม.บานบึง

๑๓

ชลบุรี

ทม.ศรีราชา ทน.สุราษฎรธานี

สุราษฎรธานี ทม.เกาะสมุย ทน.นครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช ทม.ปากพนัง

๑๔

ชุมพร ทม.หลังสวน

Page 59: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๕๙ -

๗.๓ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ (ตอ – ๓)

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๓ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทน.ภูเก็ต ทม.ปาตอง ภูเก็ต ทม.กะทู ทน.ตรัง

ตรัง ทม.กันตัง

กระบี่ ทม.กระบี่ พังงา ทม.พังงา

๑๕

สตูล ทม.สตูล ทน.สงขลา ทน.หาดใหญ ทม.คอหงส

สงขลา

ทม.สิงหนคร ยะลา ทน.ยะลา พัทลุง ทม.พัทลุง

๑๖

ปตตานี ทม.ปตตานี

หมายเหตุ : ๑. จํานวน อปท. ที่ผานเกณฑการประเมิน จํานวน ๙๐ แหง จาก ๙๔ แหง (รอยละ ๙๕.๗) ประกอบดวย อปท. เกา จํานวน ๕๗ แหง จาก ๕๙ แหง (รอยละ ๙๖.๖ และ อปท. ใหม จํานวน ๓๓ แหง จาก ๓๕ แหง (รอยละ ๙๔.๓) ๒. คือ อปท. ที่ผานเกณฑการประเมิน คือ อปท. ที่ไมผานเกณฑการประเมิน

๓. รายชื่อ อปท. เกา (ดําเนนิโครงการฯ ในป ๒๕๕๒) รายชื่อ อปท. ใหม (ดําเนนิโครงการฯ ในป ๒๕๕๓) ๔. รายการสมรรถนะในการบริการจัดการขยะมูลฝอย ๖ สมรรถนะ พิจารณาจาก

- สมรรถนะที่ ๑ มีแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย - สมมรถนะที่ ๒ มีการดําเนินกิจกรรมลด คัดแยก และนําขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชนกลับมาใชประโยชน เชน การทําปุยหมัก/

ปุยน้ําชีวภาพ กิจกรรมธนาคารขยะ ตลาดนัดรีไซเคิล ศูนยรีไซเคิลชุมชน ขยะแลกไขขยะแลกของ เปนตน - สมรรถนะที่ ๓ มีการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยครอบคลุมพื้นที่ใหบริการไมนอยกวารอยละ ๙๕ ในระดับเทศบาลนคร ไมนอยกวารอยละ ๙๐

ในระดับเทศบาลเมือง และไมนอยกวารอยละ ๘๕ ในระดับเทศบาลตําบล - สมรรถนะที่ ๔ มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยหรือมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย หรือมีการใชบริการสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยรวมกันกับ

อปท. ใกลเคียง - สมรรถนะที่ ๕ มีการเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย - สมรรถนะที่ ๖ มี รายไดในการจัดการขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น

Page 60: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๐ -

๗.๔ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๔ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทน.เชียงใหม ๖/๖ ทม.เมืองแกนพัฒนา ๕/๖ ทม.เวียงฝาง ๕/๖

เชียงใหม

ทม.แมโจ ๖/๖ ทน.เชียงราย ๕/๖ ทต.แมสาย ๕/๖ ทต.แมสรวย ๔/๖

เชียงราย

ทต.เวยีง ๕/๖ ทม.แมฮองสอน ๔/๖ แมฮองสอน ทม.ปาย ๓/๖ ทม.ลําพูน ๖/๖

ลําพูน ทต.อุโมงค ๕/๖ ทน.ลําปาง ๖/๖ ลําปาง ทม.เขลางคนคร ๕/๖ ทม.สุโขทยัธานี ๖/๖ ทม.สวรรคโลก ๖/๖

สุโขทัย

ทต.ศรีสําโรง ๖/๖

แพร ทม.แพร ๔/๖ ทน.พิษณุโลก ๖/๖ พิษณุโลก ทต.บางระกํา ๖/๖ ทม.นาน ๕/๖ ทต.ทุงชาง ๓/๖ ทต.ทาวังผา ๔/๖ ทต.ปว ๓/๖ ทต.นานอย ๔/๖

นาน

ทต.เชยีงกลาง ๔/๖ ทม.อุตรดติถ ๕/๖ อุตรดิตถ ทต.หัวดง ๖/๖ ทม.พิจิตร ๔/๖ ทม.บางมูลนาก ๖/๖

พิจิตร

ทต.วังทรายพูน ๔/๖

Page 61: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๑ -

๗.๔ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ – ๑)

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๔ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทน.นครสวรรค ๖/๖ ทม.ตาคล ี ๖/๖

นครสวรรค

ทต.ทาตะโก ๕/๖

กําแพงเพชร ทม.กําแพงเพชร ๕/๖ นครปฐม ทน.นครปฐม ๕/๖

ทน.สมุทรสาคร ๔/๖ ทม.ออมนอย ๔/๖

สมุทรสาคร

ทต.หลักหา ๓/๖ สุพรรณบุร ี ทม.สุพรรณบุร ี ๖/๖

ชัยนาท ทม.ชัยนาท ๕/๖ ทน.ปากเกรด็ ๖/๖ นนทบุรี ทม.บางกรวย ๕/๖

สมุทรปราการ ทน.สมุทรปราการ ๔/๖ ทน.พระนครศรีอยุธยา ๕/๖ พระนครศรีอยุธยา ทม.เสนา ๕/๖ ทม.ปทุมธานี ๓/๖ ปทุมธานี ทม.รังสิต ๔/๖

สิงหบุรี ทม.สิงหบุร ี ๕/๖

อางทอง ทม.อางทอง ๕/๖ เพชรบูรณ ทม.เพชรบรูณ ๖/๖

ทม.สระบุร ี ๖/๖ สระบรุ ีทม.พระพุทธบาท ๕/๖

ปราจีนบุร ี ทม.ปราจีนบุร ี ๔/๖ นครนายก ทม.นครนายก ๔/๖

ลพบุร ี ทต.หนองมวง ๔/๖ เพชรบุร ี ทม.ชะอํา ๖/๖ ๘ ประจวบคีรีขันธ ทม.หัวหิน ๕/๖

Page 62: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๒ -

๗.๔ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ – ๒)

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๔ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทม.สกลนคร ๖/๖ สกลนคร ทต.พังโคน ๖/๖ ทม.หนองคาย ๔/๖ หนองคาย ทม.ทาบอ ๕/๖ ทน.อุดรธานี ๖/๖ ทม.โนนสูง-น้ําคํา ๖/๖

อุดรธานี

ทม.หนองสําโรง ๖/๖ เลย ทม.เลย ๕/๖

นครพนม ทม.นครพนม ๕/๖ ทน.ขอนแกน ๕/๖ ทม.ชุมแพ ๖/๖ ทม.บานไผ ๖/๖ ทม.เมืองพล ๕/๖

ขอนแกน

ทต.หนองโก ๕/๖ ทม.มหาสารคาม ๕/๖ ทต.เชยีงยืน ๕/๖

มหาสารคาม

ทต.ทาขอนยาง ๔/๖ กาฬสินธุ ทม.กาฬสินธุ ๖/๖ ชัยภูมิ ทม.ชัยภูม ิ ๔/๖

๑๐

หนองบัวลําภู ทม.หนองบัวลําภ ู ๔/๖ ทน.นครราชสีมา ๕/๖ นครราชสีมา ทม.ปากชอง ๔/๖ ทม.ศรีสะเกษ ๖/๖ ศรีสะเกษ ทม.กันทรลักษณ ๖/๖ ทต.สังขะ ๔/๖ สุรินทร ทต.ระแงง ๕/๖

๑๑

บุรีรัมย ทม.บุรีรัมย ๖/๖

Page 63: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๓ -

๗.๔ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ – ๓)

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๔ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทน.อุบลราชธานี ๖/๖ ทม.วารินชําราบ ๖/๖ ทม.พิบูลมังสาหาร ๖/๖

อุบลราชธานี

ทม.เดชอุดม ๖/๖ อํานาจเจริญ ทม.อํานาจเจริญ ๖/๖ ยโสธร ทม.ยโสธร ๖/๖ มุกดาหาร ทม.มุกดาหาร ๕/๖

๑๒

รอยเอ็ด ทม.รอยเอ็ด ๕/๖ ทน.ระยอง ๔/๖ ระยอง ทม.มาบตาพุด ๕/๖ ทม.ขลุง ๖/๖ จันทบุรี ทม.จนัทบุร ี ๕/๖

ตราด ทม.ตราด ๕/๖ ทม.แสนสุข ๕/๖ ทม.บานบึง ๔/๖ ทม.ศรรีาชา ๕/๖ เมืองพัทยา ๖/๖

ชลบุร ี

ทน.แหลมฉบัง ๕/๖ สระแกว ทต.วังนํ้าเย็น ๕/๖

๑๓

ฉะเชิงเทรา ทม.ฉะเชิงเทรา ๕/๖ ทน.สุราษฎรธาน ี ๕/๖ สุราษฎรธานี ทม.เกาะสมุย ๖/๖ ทน.นครศรีธรรมราช ๕/๖ ทม.ปากพนัง ๖/๖

นครศรีธรรมราช

ทม.ทุงสง ๕/๖

๑๔

ชุมพร ทม.หลังสวน ๖/๖

Page 64: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๔ -

๗.๔ ผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ – ๔)

หมายเหตุ : ๑. จํานวน อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินอยางนอย ๔ ใน ๖ สมรรถนะ จํานวน ๑๒๖ แหง จาก ๑๓๑ แหง (รอยละ ๙๖.๑) ๒. คือ ผานเกณฑการประเมิน คือ ไมผานเกณฑการประเมนิ ๓. รายชื่อ อปท. เกา ที่เคยดาํเนินโครงการฯ ในป ๒๕๕๓ จํานวน ๙๑ แหง รายชื่อ อปท. ใหม ที่เริ่มดําเนินโครงการฯ ในป ๒๕๕๔ จํานวน ๔๐ แหง ๔. รายการสมรรถนะในการบริการจัดการขยะมูลฝอย ๖ สมรรถนะ พิจารณาจาก

- สมรรถนะที่ ๑ มีแผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยระดับเทศบาล

- สมมรถนะที่ ๒ มีการดําเนินกิจกรรมลด คัดแยก และนําขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชนกลับมาใชประโยชน อยางนอย ๑ กิจกรรม

- สมรรถนะที่ ๓ มีการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยครอบคลุมพื้นที่ใหบริการไมนอยกวารอยละ ๙๕ ในระดับเทศบาลนคร (ทน.) ไมนอยกวารอยละ ๙๐ ในระดบัเทศบาลเมือง (ทม.) และไมนอยกวารอยละ ๘๕ ในระดับเทศบาลตําบล (ทต.)

- สมรรถนะที่ ๔ มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยหรือมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย หรือมีการใชบริการสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยรวมกันกับ อปท. ใกลเคียง

- สมรรถนะที่ ๕ มีการเพ่ิมประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย ในดานตางๆ เชน มีการปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนด

- สมรรถนะที่ ๖ มีรายไดในการจัดการขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น หรือมีการลดคาใชจายในการจัดการขยะมูลฝอย

รายการสมรรถนะ ที่ผานเกณฑ

ผลการประเมิน ป ๒๕๕๔ สสภ. ทสจ. อปท.

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ผาน ไมผาน ทน.ภูเก็ต ๖/๖ ทม.ปาตอง ๖/๖

ภูเก็ต

ทม.กะทู ๖/๖ ทน.ตรัง ๔/๖ ทม.กันตัง ๖/๖

ตรัง

ทต.ทาขาม ๔/๖ กระบี ่ ทม.กระบี ่ ๔/๖

ทม.พังงา ๔/๖ พังงา ทม.ตะกั่วปา ๕/๖ ทม.สตูล ๖/๖

๑๕

สตูล ทต.ควนโดน ๖/๖ ทน.สงขลา ๕/๖ ทน.หาดใหญ ๔/๖ ทม.คอหงส ๖/๖ ทม.สิงหนคร ๔/๖

สงขลา

ทม.สะเดา ๕/๖ ยะลา ทน.ยะลา ๕/๖ พัทลุง ทม.พัทลุง ๔/๖ ปตตานี ทม.ปตตานี ๕/๖

๑๖

นราธิวาส ทม.นราธิวาส ๖/๖

Page 65: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๕ -

บทท่ี ๘

สรุปผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔

Page 66: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๖ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๑)

Page 67: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๗ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๒)

Page 68: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๘ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๓)

Page 69: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๖๙ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๔)

Page 70: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๐ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๕)

Page 71: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๑ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๖)

Page 72: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๒ -

๘.๑ ตารางแสดงการเปรยีบเทียบผลการประเมิน ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ (ตอ – ๗)

Page 73: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๓ -

๘.๒ สรุปผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑

การดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกบัขององคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดดาํเนนิการในพืน้ทีอ่งคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๒๓ แหง ประกอบดวย เทศบาลนคร จํานวน ๒๓ แหง ซึ่งจากผลการดําเนินโครงการฯ พบวา มีจํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๑๙ แหง จาก ๒๓ แหง คิดเปน รอยละ ๘๒.๖ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๒ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๒ แหง (รอยละ ๘.๗)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๓ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๒ แหง (รอยละ ๘.๗)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๑๕ แหง (รอยละ ๒๒.๙)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๕ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๒ แหง (รอยละ ๘.๗)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๖ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๒ แหง (รอยละ ๘.๗)

๘.๓ สรุปผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒

การดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกบัขององคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดดาํเนนิการในพืน้ทีอ่งคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๕๙ แหง ประกอบดวย เทศบาลนคร จํานวน ๒๑ แหง และเทศบาลเมือง จํานวน ๓๘ แหง ซึ่งจากผลการดําเนินโครงการฯ พบวา มีจํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๕๔ แหง จาก ๕๙ แหง คิดเปน รอยละ ๙๑.๕ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๓ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๕ แหง (รอยละ ๘.๕)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๑๔ แหง (รอยละ ๒๓.๗)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๕ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๒๖ แหง (รอยละ ๔๔.๑)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๖ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๑๔ แหง (รอยละ ๒๓.๗)

Page 74: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๔ -

๘.๔ สรุปผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓

การดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกบัขององคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดดาํเนนิการในพืน้ทีอ่งคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๙๔ แหง ประกอบดวย เทศบาลนคร จํานวน ๒๒ แหง เทศบาลเมือง จํานวน ๖๙ แหง และเทศบาลตําบล จํานวน ๓ แหง ซึ่งจากผลการดําเนินโครงการฯ พบวา มีจํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๙๐ แหง จาก ๙๔ แหง คิดเปน รอยละ ๙๕.๗ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๓ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๔ แหง (รอยละ ๔.๒)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๒๐ แหง (รอยละ ๒๑.๓)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๕ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๓๔ แหง (รอยละ ๓๖.๒)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๖ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๓๖ แหง (รอยละ ๓๘.๓)

๘.๕ สรุปผลการประเมิน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

การดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกบัขององคกรปกครองสวนทองถิน่ในการบรหิารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดดาํเนนิการในพืน้ทีอ่งคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน ๑๓๑ แหง ประกอบดวย เทศบาลนคร จํานวน ๒๓ แหง เทศบาลเมือง จํานวน ๘๒ แหง เทศบาลตําบล จํานวน ๒๕ แหง และเขตการปกครองพิเศษ จํานวน ๑ แหง ซึ่งจากผลการดําเนินโครงการฯ พบวา มีจํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๑๒๖ แหง จาก ๑๓๑ แหง คิดเปน รอยละ ๙๖.๒ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๓ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จํานวน ๕ แหง (รอยละ ๓.๙)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๔ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๓๐ แหง (รอยละ ๒๒.๙)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๕ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๔๘ แหง (รอยละ ๓๖.๖)

- อปท. ที่ผานเกณฑการประเมินที่กําหนดอยางนอย ๖ สมรรถนะ จาก ๖ สมรรถนะ จาํนวน ๔๘ แหง (รอยละ ๓๖.๖)

Page 75: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๕ -

๘.๖ จํานวนพื้นที่ อปท. เปาหมาย ที่ผานเกณฑการประเมินในแตละสมรรถนะ ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔

22

15

22

5

14

26

14

4

20

34

36

5

30

48

48

0

50

100

150

พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554

อปท. ทีผ่านเกณฑ 6 ใน 6 สมรรถนะ

อปท. ทีผ่านเกณฑ 5 ใน 6 สมรรถนะ

อปท. ทีผ่านเกณฑ 4 ใน 6 สมรรถนะ

อปท. ทีผ่านเกณฑ 3 ใน 6 สมรรถนะ

อปท. ทีผ่านเกณฑ 2 ใน 6 สมรรถนะ

Page 76: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๖ -

๘.๗ รอยละของพ้ืนที่ อปท. เปาหมาย ที่ผานเกณฑการประเมินในแตละสมรรถนะ ประจาํปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔

Page 77: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๗ -

บทท่ี ๙

ปญหาและแนวทางการแกไขปญหา

๙.๑ ปญหาและแนวทางการแกไขปญหาดานการบริหาร

ที่ ปญหา แนวทางการแกไขปญหา

๑.๑ ความเขาใจในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ตามตัวชี้วัดระดับกระทรวงฯ ที่ ๑.๑.๓.๓ “รอยละของจํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่นเป าหมายมีสมรรถนะในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตามเกณฑที่กําหนด” และการดําเนินงานตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด ที่ ๓.๔ “ระดับความสําเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม”

คพ. จะประสาน สตป.ทส. (ผูรับผิดชอบตัวชี้วัดระดับจังหวัด) เพื่อทําความเขาใจ และใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ ในการดําเนินงานของทั้ง ๒ ตัวชี้วัด คือ โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะฯ ตามตัวชี้ วัดระดับกระทรวงฯ ที่ ๑.๑.๓.๓ และ การดําเนินงานตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด ที่ ๓.๔ ใหกบั ทสจ. โดยอาจขอความอนุเคราะหให สสภ. ทั้ง ๑๖ แหง ชวย ทสจ. ในการดําเนินการ

๑.๒ งบประมาณในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะฯ และการดําเนินงานตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด มีจํานวนไมเพียงพอ

งบประมาณที่ คพ. จะสนับสนุนเปนงบประมาณในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะฯ ตามตัวชี้วัดระดับกระทรวงฯ ที่ ๑.๑.๓.๓ ซึ่งในแตละปกอนสิ้นปงบประมาณ คพ. จะตองรวบรวมจํานวนรายชื่อ อปท. ที่จะดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะฯ พรอมแบบตอบรับทั้งหมด เพื่อใชตั้งงบประมาณในปถัดไป ซึ่งอาจไมคลอบคลุมพื้นที่ดําเนินการตามตัวชี้วัดระดับจังหวัด ที่ ๓.๔

๑.๓ ขาดการบูรณาการในการดําเนินงานรวมกัน ระหวางหนวยงานตาง ๆ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดประสาน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และ สํานักงบประมาณ เพื่อผลักดันใหเกิดการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

๑.๔ อปท. ที่ผานเกณฑสมรรถนะการบริหารจัดการขยะมูลฝอยแลว ไมใหความสําคัญในการดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ อปท. ที่ เปนพื้นที่เกา ในการดําเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะฯ ปที่ผาน ๆ มา

คพ. ไดแจงผลการดําเนินงานใหผูบริหารทองถิ่น ผูวาราชการจังหวัด กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และ สํานักงบประมาณ เพื่อใหเกิดการบูรณาการในการผลักดันนโยบายไปสูการปฏิบัติ

Page 78: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๘ -

๙.๑ ปญหาและแนวทางการแกไขปญหาดานการบริหาร (ตอ – ๑)

ที่ ปญหา แนวทางการแกไขปญหา

๑.๕ การดํ า เนินการด านลด คั ดแยก และ ใชประโยชนขยะมูลฝอย มีการดําเนินการไมตอเนื่อง

คพ. จะผลักดันใหการดําเนินงานดานการลด คดัแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอย เปนนโยบายภาพรวมทั้งประเทศ ซึ่งขณะนี้ คพ. ไดจัดทํายุทธศาสตรการดําเนินงานลด คัดแยก และนําขยะมูลฝอยกลับมาใชใหม (Reduce Reuse Recycle : ๓Rs) เพื่อผลักดันใหเกิดการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรมและตอเนื่อง โดยความรวมมือของทุกภาคสวน ซึ่งคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติไดพิจารณาเห็นชอบตอยุทธศาสตรฯ ดังกลาว เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๔ ขณะนี้ อ ยู ร ะห ว า งก า ร นํ า เ ส นอ คณะรัฐมนตรี (ครม.) ตอไป

๑.๖ การรวมกลุมพื้นที่ (Clustering) ในการจัดการขยะมูลฝอย ยังไมเปนรูปธรรม

คพ. จะรวมกับ สสภ. และ ทสจ. ในการทบทวนการรวมกลุมพื้นที่ใหม ใหมีความเหมาะสมกับสภาพในปจจุบัน และจะผลักดันใหขอมูลการรวมกลุมพื้นที่ดังกลาว เปนเกณฑหนึง่ทีใ่ชในการพิจารณาใหการสนับสนุนงบประมาณกับหนวยงานตาง ๆ ในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ คพ. ไดจัดทําระบบชวยในการตัดสินใจ ใหกับ อปท. ในการพิจารณาคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมเบื้องตน เพื่อใชประกอบในการจัดตั้งศูนยกําจัดขยะมูลฝอย ตอไป

Page 79: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๗๙ -

๙.๒ ปญหาและแนวทางการแกไขปญหาดานเทคนิค

ที่ ปญหา แนวทางการแกไขปญหา

๒.๑ แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ขาดการแปลงแผนฯ นําไปสูการปฏิบัติ ไมไดรับงบประมาณในการดําเนินงานตามแผนฯ

เนื่องจากสภาเทศบาลไมเห็นชอบตอแผนฯ ดังกลาว

ทสจ. รวมผลักดันแผนฯ ของแตละ อปท. เพื่อใหเกิดการนําไปสูการปฏิบัติ โดยอาจพิจารณาเสนอแผนฯ ผานชองทางงบประมาณตาง ๆ เชน แผนยุทธศาสตรจังหวัด แผนยุทธศาสตรกลุมจังหวัด แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด หรือ แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ เปนตน

๒.๒ กิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชน

ขาดการบันทึกขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดจากการลด คัดแยก และใชประโยชน

ขาดการดําเนินการดําเนินการดานการลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยอยางตอเนื่อง รวมทั้งขาดการประชาสัมพันธในเชิงนโยบายในระดับประเทศ

การกําจัดของเสียอันตรายจากชุมชนภายหลังจากการเก็บรวมรวบ

คพ. ประสาน สสภ. และ ทสจ. ในการผลักดันให อปท. มีการรวบรวมและจัดทําฐานขอมูลดานการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหมในพื้นที่ เพื่อใชประกอบในการวางแผน และเปนฐานในการกําหนดเปาหมายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตอไป

คพ. จะประสานไปยังหนวยงานผูผลิต / ผูจําหนาย ในการเรียกคืนซากผลิตภัณฑ ที อปท. เก็บรวมรวม ตอไป

ทส. ควรผลักดันหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (สส.) ใหดําเนินการในเชิงภาพรวมทั้งประเทศ

๒.๓ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยในลักษณะรวมศูนย รูปแบบการรวมกลุมพื้นที่ (Clustering) มีการ

เปลี่ยนแปลง สงผลใหการผลักดันการรวมกลุมพื้นที่ในบางพื้นที่ อาจไมประสบความสําเร็จ ซึ่งอาจเกิดจากปญหาการเมืองทองถิ่น ประชาชนตอตาน หรือ ไมมีพื้นที่ในการกําจัดขยะมูลฝอย

คพ. รวมกับ สสภ. และ ทสจ. ในการทบทวนการรวมกลุมพื้นที่ใหม ใหมีความเหมาะสมกับสภาพในปจจุบัน รวมทั้งผลักดันกลุมพื้นที่ลําดับความสําคัญ เปนเกณฑหนึ่งที่ใชในการพิจารณาใหการสนับสนุนงบประมาณกับหนวยงานตาง ๆ ในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ คพ. ไดจัดทําระบบชวยในการตัดสินใจ ใหกับ อปท. ในการพิจารณาคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมเบื้องตน เพื่อใชประกอบในการจดัตัง้ศูนยกําจัดขยะมูลฝอย ตอไป นอกจากนี้ ทส. จะประสาน อปท. ในการใหการสนับสนุนทางดานวิชาการ และเตรียมความพรอม / รายละเอียด ในการขอรับการสนับสนุนผาน แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด

Page 80: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘๐ -

๙.๒ ปญหาและแนวทางการแกไขปญหาดานเทคนิค (ตอ – ๑)

ที่ ปญหา แนวทางการแกไขปญหา

๒.๔ ประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย จากผลการประเมินประสิทธิภาพในการกําจัดขยะ

มูลฝอย อปท. สวนใหญ ยังมีการบริหารจัดการสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเปนแบบเทกองควบคุม (Controlled Dump)

คพ. ไดประสานแจง อปท. เกี่ยวกับปญหา และแนวทางการปรับปรุงแผนการดําเนินงานดานการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เปนรายพื้นที่แลว โดย อปท. ควรมีแผนในการดําเนินการดานการกําจัดขยะมูลฝอยของ อปท. ใหมีการดําเนินการถูกตองตามหลักวิชาการ รวมทั้งมีการติดตามและเฝาระวังคุณภาพน้ําใตดินเปนระยะและควรมีการดําเนินการคัดแยกของเสียอันตรายกอนดําเนินการฝงกลบเพื่อลดการปนเปอนโลหะหนักในนํ้าใตดิน

สําหรับปญหาที่พบไดบอยในการบริหารจัดการสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย คพ. ไดมีการรวบรวบและจัดทําคูมือ “๒๐ ปญหาที่พบบอยในระบบฝงกลบขยะมูลฝอยอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Landfill Q-๒๐)” ซึ่งกลาวถึงปญหาและแนวทางการแกไขปญหาตาง ๆ ที่ เกิดขึ้น สามารถดาวนโหลดไดที http://infofile.pcd.go.th/ waste/ waste_๒๐Questions.pdf?CFID=๕๒๔๑๗๓๑& CFTOKEN=๖๔๗๒๓๑๑๒

๒.๕ รายไดในการจัดการขยะมูลฝอย ไมสามารถเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย ทั้ง

ในเรื่องของ การเพิ่มอัตราคาบริการ จํานวนครัวเรือนที่ใหบริการ เปนตน

ไมมีนโยบายในการจัดเก็บคาธรรมเนียมในการเก็บขนและกําจัดขยะมูลฝอยที่เหมาะสม

ไมการประเมินคาใชจายที่เกิดขึ้นจริง จากการบริหารจัดการขยะมูลฝอยใหเหมาะสมกับแผนการพัฒนาเทศบาล ๓ ป

คพ. ประสาน อปท. ในการผลักดันใหมีการใชโปรแกรมประยุกตแนวทางการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอยเชิงพื้นที่ และนํารูปแบบการเพิ่มรายไดของ อปท. ที่มีการดําเนินการจริง มาประยุกตใช โดย คพ. จะไดประสานขอรายละเอียดในการดําเนินการ ใหกับ อปท. ที่สนใจ ตอไป

คพ. ประสานเรงรัด คณะกรรมการสาธารณสุข ในการผลักดันการกําหนดอัตราคาบริการกําจัดขยะมูลฝอย ผานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

สําหรับ อปท. ที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณผานกองทุนสิ่งแวดลอม คพ. จะชวยทางดานเทคนิคในการกําหนดอัตราคาบริการที่เหมาะสม เพื่อใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ พิจารณาเห็นชอบ

Page 81: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘๑ -

บทท่ี ๑๐

ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ สมรรถนะที่ ๑ แผนปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

๑. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการวางแผนการจัดการขยะมูลฝอยในภาพรวม ใหครอบคลุมถึงปญหาการจัดการขยะมูลฝอยในทุก ๆ ดาน อาทิเชน การจัดการขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายจากชุมชน และ มูลฝอยติดเชื้อ

๒. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการผลักดัน/กํากับใหมีการดําเนินกิจกรรมตามแผนปฏบิตักิารฯ ที่ไดจัดทําไวอยางตอเนื่อง และควรจัดทํารายละเอียดของแผนปฏิบัติการฯ ใหครอบคลุมการดําเนินงานในทุก ๆ ดาน อาทิเชน

- แผนการรณรงคประชาสัมพันธ และสรางการมีสวนรวม - แผนการดูแลและเดินระบบกําจัดมูลฝอย - แผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย - แผนการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะมูลฝอย

๓. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรนําแผนการจัดการขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศ นาํมาใชเปนกรอบแผนปฏิบัติการฯ ในการดําเนินงานระยะยาว รวมถึงบูรณาการแผนงานในทุกๆ สวนขององคกร ซึ่งการยกรางกรอบแผนปฏิบัติการฯ สวนใหญมักเปนเพียงการแกไขปญหาเฉพาะหนา หรือในลักษณะของตางคนตางทํา สมรรถนะที่ ๒ การลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชน ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

๑. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการบันทึกขอมูลผลการดําเนินงาน รวบรวม และจัดทําฐานขอมูลดานการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใหมในพื้นที่ เพื่อใชประกอบการวางแผนและใชเปนฐานในการกาํหนดเป าหมายในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามนโยบายในแผนการจัดการคุณภาพสิ่ งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ดานการจัดการมลพิษ ที่ไดกําหนดเปาหมายใหมีการนําขยะกลับมาใชประโยชน ไมนอยกวารอยละ ๓๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนภายในป พ.ศ. ๒๕๕๔ ทั่วประเทศ

๒. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรผลักดัน/ขยายผลการดําเนินกิจกรรมลด คัดแยก และใชประโยชนขยะมูลฝอยหรือของเสียอันตรายจากชุมชน ใหครอบคลุมทั่วทั้งพื้นที่ และสงผลในทางปฏิบัติอยางเปนรปูธรรม ที่เนนการปองกันมลพิษ ณ แหลงกําเนิดมลพิษ สงเสริมการดําเนินการตามหลกัการ ๓Rs ไดแก การลดการใช การใชซ้ํา และการนํากลับมาใชใหม โดยใหประชาชนคัดแยกขยะกอนทิ้ง เพื่อเปนการลดปริมาณขยะมูลฝอยจากแหลงกําเนิด และนําขยะกลับมาใชประโยชนได

Page 82: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘๒ -

๓. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรสงเสริมใหมีการลด คัดแยก และใชประโยชนจากของเสียอันตราย

จากชุมชนออกจากขยะมูลฝอยชุมชน เพื่อสรางความรวมมือและความแข็งขันในการปฏิบัติหนาที่ระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคประชาชน ใหเกิดความรูความเขาใจในการปฏิบัติและบริหารจัดการ โดยผานทางสื่อ กิจกรรม และการจัดฝกอบรมตาง ๆ

สมรรถนะที่ ๓ ประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอย ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขนขยะมูลฝอยใหครอบคลมุพืน้ที ่เพือ่ไม ใหมี ขยะมูลฝอยตกคาง ซึ่ งหากพบจุดที่ มีขยะมูลฝอยตกคาง องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรมี การดําเนินการแกไข ดังนี้

๑. กรณีที่จุดที่มีขยะมูลฝอยตกคางเปนซอยเล็ก องคกรปกครองสวนทองถิน่ควรเปลีย่นแปลงรปูแบบการเก็บรวบรวมใหม โดยอาจติดต้ังถังคอนเทนเนอร หรือจัดซื้อรถเก็บรวบรวมขนาดเล็กที่สามารถเขาออกในบริเวณดังกลาวไดอยางสะดวก

๒. กรณีที่จุดที่มีขยะมูลฝอยตกคางเปนตลาดสด องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรติดต้ังถังคอนเทนเนอร และแจงเวลาเก็บรวบรวมใหชัดเจน พรอมทั้งประสานงานใหพอคาแมคาและประชาชนทั่วไปรับทราบถึงเวลาเกบ็รวบรวม และองคกรปกครองสวนทองถิ่นควรพิจารณานําขยะมูลฝอยจากตลาดสดมาใชประโยชนในรูปแบบของการเลี้ยงสัตว หรือ การหมักปุย เปนตน

๓. กรณีรถเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยมีจํานวนไมเพียงพอหรือมีสภาพเสื่อมโทรม องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรมีแผนการจัดหาครุภัณฑใหมหรือทดแทนของเดิม

๔. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการประชาสัมพันธเวลาการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยสําหรับเสนทางเก็บขนแตละแหง ใหประชาชนไดรับทราบลวงหนา

สมรรถนะที่ ๔ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยหรือมูลฝอยติดเชื้อในลักษณะรวมศูนย ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

๑. องคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ ที่รวมลงนามในบันทึกขอตกลงการจัดการขยะมูลฝอยแบบรวมศูนย (MOU) และไมไดเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นหลักในการดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอย ควรสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นหลัก มีการดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดยการใหความรวมมือในการคัดแยกขยะมูลฝอย กอนนําไปกําจัดที่ศูนยกําจัดขยะมูลฝอยรวม เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย ลดภาระขององคกรปกครองสวนทองถิ่นหลักในการกําจัดขยะมูลฝอย รวมทั้งใหความรวมมือในการเสียคาธรรมเนียมในการกําจัดขยะมูลฝอยที่สะทอนตนทุนที่แทจริงในการกําจัด

๒. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่จัดสงขยะมูลฝอยไปทิ้ง ณ สถานที่กําจัดขยะมลูฝอยของเอกชน ควรมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของเอกชน ใหมีการดําเนินกิจกรรมตามแผนการที่กําหนดไว และเปนไปอยางถูกตองตามหลักสุขาภิบาล

Page 83: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘๓ -

๓. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่มีความพรอมในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย และมีความประสงคที่

จะดําเนินการปรับปรุงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย เพื่อจัดตั้งศูนยกําจัดขยะมูลฝอย สามารถดําเนินการขอรับการสนับสนุนงบประมาณผานแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด ตามกลุมพื้นที่ลาํดบัความสําคัญเรงดวน (Priority) โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะตองเตรียมความพรอมในการจัดตั้งศูนยฯ ดังนี้

- ประชาสัมพันธใหความรูพรอมทั้งสรางความเขาใจใหกับประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งดําเนิน การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่

- ศึกษาออกแบบและรายละเอียดตางๆ ของศูนยฯ - จัดทํารายละเอียดของโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินกิจกรรมตอไป

๔. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรประชาสัมพันธใหความรู พรอมทั้งสรางความเขาใจที่ถูกตองในการจัดการขยะมูลฝอยใหกับประชาชนในพื้นที่ เพื่อใหเกิดความรวมมือในการจัดการขยะมูลฝอย และปองกันการรองเรียนจากประชาชนในพื้นที่ สมรรถนะที่ ๕ ประสิทธิภาพในการกําจัดขยะมูลฝอย ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

๑. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ไดรับงบประมาณในการกอสรางสถานที่กําจัดขยะมลูฝอยอยางถกูตองตามหลักสุขาภิบาล สวนใหญยังมีการดําเนินงานในรูปแบบการเทกองแบบควบคุม (Controlled Dump) ดังนั้น องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการปรับปรุงใหมีการดําเนินงานในรูปแบบการฝงกลบเชิงวิศวกรรม (Engineered Landfill) ดังนี้

- ความเหมาะสมของพื้นที่ ตองเปนไปตามเกณฑของกรมควบคุมมลพิษ (รายละเอียดดูไดจาก http://www.pcd.go.th/

count/wastedl.cfm?FileName=CopMuniWaste.pdf) - การวางแผนในการดําเนินงานในสถานที่กําจัดมูลฝอย

ตองมีการแบงพื้นที่ยอย (Phase) การดําเนินงานกําจัด มีทางเขาพื้นที่กําจัดแตละระยะ และ มีการกําหนดเวลาเขา-ออกพื้นที่กําจัด

- ความครบถวนของโครงสรางพื้นฐานในสถานที่กําจัดมูลฝอย ตองมีอาคารสํานักงาน อาคารและเครื่องชั่งน้ําหนัก โรงจอดเครื่องจักรกลและซอมบํารุง ถนน

ทางเขาสามารถใชงานไดทุกฤดูกาล ลานลางรถ ระบบกันซึมในบอฝงกลบ รั้วรอบพื้นที/่การปองกนัการลกัลอบทิง้ขยะ พื้นที่กันชน (Buffer Zone) บอบําบัดน้ําเสีย เครื่องจักรกล/อุปกรณที่ใชดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอย และระบบระบายน้ําฝนที่มีอยูรอบบริเวณสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

- ความครบถวนของระบบสาธารณูปโภค ตองมีระบบไฟฟา ระบบประปา และ สัญญาณโทรศัพท

Page 84: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘๔ -

- การบริหารจัดการ

ตองมีเจาหนาที่ที่ทําหนาที่ควบคุมการดําเนินงานในสถานทีก่าํจดัขยะมลูฝอย ผูควบคมุงานระดบัหัวหนางานที่ทําหนาที่ดูแลสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยใหเปนไปตามเกณฑการดําเนินงาน การเกลี่ยและใชเครื่องจักรกลบดอัดขยะมูลฝอย การกลบทับขยะมูลฝอยดวยวัสดุกลบทับ มาตรการควบคมุผูคุยเขีย่ขยะมลูฝอยในพื้นที่ มาตรการควบคุมขยะมูลฝอยที่เขาสูพื้นที่กําจัด มาตรการปองกันการปลิวของขยะมูลฝอยบริเวณหนางาน มาตรการปองกันเหตุรําคาญดานกลิ่น ทัศนอุจาด แมลงวัน การจดบันทึกปริมาณขยะมูลฝอยที่เขาสูสถานทีท่กุวนั การใชวัสดุกลบทับขยะมูลฝอยที่เหมาะสมเปนประจํา และ เครื่องจักรกลในสถานที่กําจัดมูลฝอยมีความพรอมในการใชงาน

๒. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ดําเนินการกอสรางสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยใหม หรือขยายพื้นที่การดําเนินการ ควรพิจารณาถึงความถูกตองของบอติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินใหเปนไปตามเกณฑที่กรมควบคุมมลพิษไดกําหนดไว

๓. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรดําเนินการสํารวจรายละเอียดสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย รวมไปถึงการจัดทําแผนการฟนฟูประสิทธิภาพเบื้องตน พรอมทั้งประมาณคาใชจายในการดําเนินงาน เปนประจําทุกป รวมทั้งควรมีการเตรียมการจัดการกับของเสียอันตราย และการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมทุกป สมรรถนะที่ ๖ รายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

๑. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรปรับปรุงและสรางแรงจูงใจในการจัดเก็บคาธรรมเนียมการจัดการขยะมูลฝอยใหครอบคลุมพื้นที่ โดยอาจสงเสริมใหชุมชนดําเนินการจัดเก็บคาธรรมเนียมฯ และเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการ

๒. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรปรับปรุงอัตราคาธรรมเนียมใหสะทอนตนทุนที่แทจริงในการกําจัดโดยอาจประยุกตใชโปรแกรมประยุกตของกรมควบคุมมลพิษในการคํานวณอัตราคาบริการการจดัการขยะมลูฝอย

๓. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรมีการจัดทําบัญชีรายรับ - รายจายในการจัดการขยะมูลฝอยแยกไว เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ โดยมีการจัดเก็บขอมลูพืน้ฐานการนาํขยะมลูฝอยกลบัมาใชประโยชนใหมจากแหลงตาง ๆ อาทิ รานรับซื้อของเกา ธนาคารขยะ เปนตน เพื่อนํากลับมาคํานวณเปนอตัราการลดปรมิาณขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ตองไปกําจัดกลับมาเปนคาใชจายที่ลดลงได หรือ คํานวณจากปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนจริงตอคนตอวันกับจํานวนประชากรในพื้นที่เพื่อเปรยีบเทยีบกบัปรมิาณขยะมลูฝอยที่เกิดข้ึนในปที่ผานมา และคิดคํานวณเปนคาใชจายที่ลดลงจริงของแตละพื้นที่

๔. องคกรปกครองสวนทองถิ่น ที่ดําเนินการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากแผนปฏิบัติการ เพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับจังหวัด จะตองออกเทศบัญญัติอัตราคาบรกิารกาํจดัขยะมลูฝอย จงึควรมีการเตรียมความพรอมในเรื่องนี้ดวย ซึ่งกรมควบคุมมลพิษไดจัดทําแนวทางในการกาํหนดอตัราคาบรกิารกาํจดัขยะมูลฝอยใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนแนวทางในการกําหนดเพื่อเพิ่มรายไดในการจัดการขยะมูลฝอย

Page 85: รายงานสรุปผลการดําเนิน ...infofile.pcd.go.th/waste/waste-10Sep12_2.pdf · 2012-09-10 · คํานํา ๑ บทที่ ๑

รายงานสรุปผลการดําเนิน

“โครงการสนับสนุนและเสริมสรางสมรรถนะใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔”

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ

- ๘๕ -

ผูดําเนินการจัดทํา

ที่ปรึกษา นายวิเชียร จุงรุงเรือง อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นายวรศาสน อภัยพงษ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นางสุณี ปยะพันธุพงศ รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นางสาวอาระยา นันทโพธิเดช รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ นายรังสรรค ปนทอง ผูอํานวยการสํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

ผูดําเนินการจัดทํา นางสาวภัทรภร ศรีชํานิ นักวิชาการสิ่งแวดลอมปฏิบัติการ

สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล นายเชาวน นกอยู ผูอํานวยการสวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล นางสาวกุลชา ธนะขวาง นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นายทวีชัย เจียรนัยขจร นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นายวุทธิชัย แกวกระจาง นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นายวิจารณ อินทรกําแหง นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นายสุพจิต สุขกันตะ นักวิชาการสิ่งแวดลอมปฏิบัติการ นางขามแกว มารคทรัพย นักวิชาการสิ่งแวดลอมปฏิบัติการ นางสาวพรพรรณ เฟองอักษร นักวิชาการสิ่งแวดลอม นางสาวณัฐฐิกา มาสังข นักวิชาการสิ่งแวดลอม นายพนมกร ขุนออน นักวิชาการสิ่งแวดลอม นายธนนนท นุชเนตร นักวิชาการสิ่งแวดลอม นายปยวัฒน เรืองราย นักวิชาการสิ่งแวดลอม

สวนลดและใชประโยชนของเสีย นางสาวนภวัส บัวสรวง ผูอํานวยการสวนลดและใชประโยชนของเสีย นายไชยา บุญชิต นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นางสาววานิช สาวาโย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นางสาวนุชนารถ ลีลาคหกิจ นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นางสาววาสนา แจงประจักษอ นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นางสุนันทา พลทวงษ นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นายอิมราน หะยีบากา นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นายบัญชาการ วินัยพานิช นักวิชาการสิ่งแวดลอมปฏิบัติการ

สวนของเสียและสารอันตราย นายภัทรพล ตุลารักษ รักษาราชการแทน ผูอํานวยการสวนของเสียและสารอันตราย นางสาวนวนุช ทองแปน นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ นางสาวเบญจวรรณ โชคชัยตระกูลโพธิ์ นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการ สวนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ ๙๒ ซอยพหลโยธิน ๗ ถนนพหลโยธนิ เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๙๘ ๒๔๑๒ – ๔ โทรสาร ๐ ๒๒๙๘ ๒๔๑๕ E – mail : [email protected]