จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1...

34
รายงานแผนหลักการพัฒนาลุมน้ํา จังหวัดตราด สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน ธันวาคม 2561

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

รายงานแผนหลักการพัฒนาลุมน้ํา

จังหวัดตราด

สํานักบริหารโครงการ

กรมชลประทาน

ธันวาคม 2561

Page 2: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้ําระดับจังหวัด คํานํา จังหวัดตราด

คํานํา

การจัดทําแผนแมหลักการพัฒนาลุมน้ําในระดับจังหวัด กลุมจังหวัด และระดับภาค และการปรับปรุงแผนงานระยะปานกลาง (MTEF) เปนการดําเนินงานตามแนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมชลประทาน (RID NO.1) ของอธิบดีกรมชลประทาน (นายทองเปลว กองจันทร) ท่ีไดแถลงไวในการประชุมผูบริหารกรมชลประทาน เม่ือวันท่ี 4 มกราคม 2561 โดยอยูภายใตหัวขอท่ี 2 เรื่องการปรับปรุงกระบวนการจัดทําแผนงานและงบประมาณท้ังระบบ ซ่ึงมีเปาหมายท่ีจะผลักดันใหกระบวนการพัฒนาแหลงน้ําของกรมชลประทานมีแนวทางท่ีชัดเจน สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และแผนยุทธศาสตรกรมชลประทาน 20 ป (พ.ศ.2561 - 2580) ไดอยางเปนรูปธรรม เปนการวางแผนการพัฒนาในระดับจังหวัด ท้ังโครงการขนาดใหญ ขนาดกลาง

และขนาดเล็ก โดยวิเคราะหปญหาเชิงพ้ืนท่ี (AREA BASE) และพิจารณาศักยภาพต้ังแตระดับลุมน้ํายอยข้ึนมา เพ่ือใหเห็นศักยภาพการพัฒนาอยางแทจริง แลวจัดทําเปนฐานขอมูลแผนงานโครงการ ตอไป

สําหรับแนวทางการดําเนินงานนั้น ในข้ันตอนการรวบรวมแผนงาน/โครงการ ใชจากฐานขอมูลตางๆ ไดแก ฐานขอมูลกรอบการพัฒนาพ้ืนท่ีชลประทาน 60 ลานไร ฐานขอมูลโครงการตามแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ฐานขอมูลโครงการตามผลการศึกษาท่ีผานมา ท้ังรายงานการศึกษาความเหมาะสม (FS) รายงานวางโครงการ (PR) และรายงานการวางโครงการเบื้องตน (RR) ฐานขอมูลแผนงาน/โครงการ ตามแผนงบประมาณรายจายลวงหนาระยะปานกลาง (MEDIUM TERMS

EXPENDITURE FRAMEWORK : MTEF) ของกรมชลประทาน และฐานขอมูลแผนงานโครงการชลประทานขนาดเล็กท่ัวประเทศ จากนั้นจึงทําการทบทวน ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล เชน ตําแหนงท่ีตั้ง ความซํ้าซอน สถานภาพโครงการ ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ความสอดคลองกับปญหาท่ีเกิดข้ึนท้ังการขาดแคลนน้ํา อุทกภัย และคุณภาพน้ํา เปนตน และทําการจัดลําดับความสําคัญของโครงการ โดยพิจารณาจาก

นโยบายในระดับตางๆ ขอจํากัดในการพัฒนา ความตองการของราษฎร เปนตน กอนจัดทําเปนแผนงานการพัฒนาโครงการ โดยแบงเปนแผนงานระยะสั้น (พ.ศ.2561 – 2565) แผนงานระยะกลาง (พ.ศ.2566 –

2570) แผนงานระยะยาว (พ.ศ.2571 – 2580)

ระยะเวลาในการดําเนินงานเพ่ือจัดทําแผนแมบทการพัฒนาลุมน้ําในระดับจังหวัด กลุมจังหวัด และระดับภาค และการปรับปรุงแผนงานระยะปานกลาง (MTEF) ใชเวลา 6 เดือน (เดือนมีนาคม ถึง เดือนสิงหาคม 2561)

ท้ังนี้ กรมชลประทานตั้งใจจะใหแผนแมบทการพัฒนาลุมน้ําในระดับจังหวัด กลุมจังหวัด และระดับภาค ท่ีจัดทําข้ึนนี้ เปนเครื่องมือสําหรับหนวยงานในระดับสํานัก และโครงการชลประทานท่ัวประเทศใชเปนแนวทางในการวางแผนการพัฒนาดานการชลประทานใหเดินไปในทิศทางเดียงกันอยางชัดเจน

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

Page 3: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้ําระดับจังหวัด สารบัญ จังหวัดตราด

สารบัญ

หนา

1. สภาพทั่วไปของพ้ืนที่จังหวัด

1.1 สภาพภูมิประเทศ 1-1

1.2 สภาพภูมิอากาศ 1-1

1.3 ทรัพยากรดินและการใชประโยชนท่ีดิน 1-4

1.4 สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม 1-8

2. สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

2.1 ลําน้ําและแหลงน้ําธรรมชาติ 2-1

2.2 โครงการพัฒนาแหลงน้ําท่ีมีอยูในปจจุบัน 2-3

2.3 สถานการณน้ําของจังหวัด 2-6

3. ตองการใชน้ํา

3.1 ความตองการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค 3-1

3.2 ความตองการใชน้ําเพื่อการรักษาระบบนิเวศทายน้ํา 3-1

3.3 ความตองการใชน้ําเพื่อการเกษตร 3-1

3.4 ความตองการใชน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม 3-2

4. แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

4.1 ยุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของ 4-1

4.2 แผนการพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ป (พ.ศ.2561 ถึง พ.ศ.2580) 4-2

5. สรุปและขอเสนอแนะ

5.1 สรุป 5-1

5.2 ขอเสนอแนะ 5-2

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

Page 4: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

บทที ่1 สภาพทั่วไปของพ้ืนที่จังหวัด

1.1 สภาพภูมิประเทศ

จังหวัดตราดเปนจังหวัดสุดทายท่ีต้ังอยูทางภาคตะวันออก ตั้งอยูระหวางละติจูด (เสนรุง) ท่ี 11

องศา 34 ลิบดา กับละติจูดท่ี 12 องศา 45 ลิบดาเหนือ และเสนลองติจูด (เสนแวง) ท่ี 102 องศา 15 ลิบดา

ถึง 102 องศา 55 ลิบดาตะวันออก มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 2,857.68 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,786,051 ไร คิดเปนเนื้อท่ีประมาณรอยละ 0.56 ของพ้ืนท่ีประเทศ และรอยละ 8.31 ของภาคตะวันออก มีขนาดพ้ืนท่ีเปนอันดับท่ี 62 ของประเทศ จังหวัดตราดอยูหางจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต ตามเสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) เปนระยะทางประมาณ 385 กิโลเมตร หรือตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 37 (สายบางนา-ชลบุรี-บานบึง-แกลง-จันทบุรี-ตราด) เปนระยะทางประมาณ 315

กิโลเมตร มีอาณาเขตท้ัง 4 ดาน ดังนี้ ทิศเหนือ ติดตอ จังหวัดจันทบุร ีและประเทศกัมพูชา ทิศใต ติดตอ อาวไทย และนานน้ําทะเลประเทศกัมพูชา ทิศตะวันออก ติดตอ ประเทศกัมพูชา มีทิวเขาบรรทัดเปนแนวก้ันเขตแดน ทิศตะวันตก ติดตอ จังหวัดจันทบุรี

จังหวัดตราดมีสัณฐานคลายหัวชาง สวนกวางท่ีสุดของจังหวัด จากตําบลแสนตุง อําเภอเขาสมิงถึงแนวเทือกเขาบรรทัด ตําบลทากุม อําเภอเมืองตราด เปนระยะทาง 49 กิโลเมตร สวนท่ียาวท่ีสุดจากทิศเหนือของตําบลหนองบอน อําเภอบอไร ถึงตอนใตสุดของตําบลหาดเล็ก อําเภอคลองใหญ เปนระยะทางประมาณ 125 กิโลเมตร และสวนท่ีแคบท่ีสุดวัดจากบานโขดทราย ตําบลหาดเล็ก อําเภอคลองใหญ จากฝงทะเลตะวันตกถึงแนวเทือกเขาบรรทัดมีระยะเพียง 500 เมตร

จังหวัดตราดมีภูมิประเทศคลายคลึงกับจังหวัดใกลเคียง เชน จันทบุรี ระยอง ชลบุรี เปนตน พ้ืนท่ีมีลักษณะเปนลูกคลื่นหรือลูกฟูก และเนินเขาเตี้ย ๆ ทางตอนบนของจังหวัดเปนภูเขาและท่ีสูง ในตอนกลางมีท่ีราบแคบทางตอนบนบางแหงและชายฝงทะเลตอนใตชวง เทือกเขาบรรทัดติดกับจังหวัด จันทบุรีเปนเทือกเขาหินแกรนิตมีความแข็งแกรง

รายละเอียดของลักษณะสภาพภูมิประเทศ รายละเอียด แสดงในรูปท่ี 1-1

1.2 สภาพภูมอิากาศ

สภาพภูมิอากาศจังหวัดตราดมีอากาศไมรอนจัด หรือหนาวจนเกินไป แตมีฝนตกชุกมาก เพราะมีพ้ืนท่ีติดทะเลและภูเขาโอบลอม จึงทําใหรับอิทธิพลของลมมรสุม แบงออกเปน 3 ฤดู 32 ไดแก ฤดูหนาว 32เปนเพียงระยะเวลาสั้นๆ ชวงเดือนพ.ย.-ก.พ. อากาศไมหนาวมากนัก อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 20 องศาเซลเซียส 32ฤดูรอน 32เปนชวงระหวางเดือน มี.ค.-เม.ย. อุณหภูมิโดยเฉลี่ยไมเกิน 34 องศาเซลเซียส32 และฤดูฝน32

เกิดจากอิทธิพลลมมรสุมตัวันตกเฉียงใตพัดผานทะเลอาวไทย ในชวงเดือน พ.ค.-ต.ค ของทุกป ทําใหมีฝน

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-1

Page 5: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

ตกชุกในเกือบทุกพ้ืนท่ี โดยเฉลี่ยจะมีปริมาณน้ําฝน 4,000 มม.ตอป สรุปขอมูลตัวแปรภูมิอากาศเปนชวงพิสัยรายป และคาเฉลี่ยรายป รายละเอียด แสดงในตารางท่ี 1-1

ตารางท่ี 1-1 สภาพภูมิอากาศของจังหวัดตราด

ขอมูลภูมิอากาศท่ีสําคัญ หนวย ชวงพิสัยคารายป คาเฉล่ียรายป อุณหภูมิอากาศ องศาเซลเซียส 31.7 – 23.5 27.3 ความชื้นสัมพัทธ เปอรเซ็นต 92 - 67 81 ความเร็วลมผิวพ้ืน กิโลเมตรตอชั่วโมง 4.07-77.78 - อัตราการระเหย (ถาด) มิลลิเมตร - 1,459 ปริมาณฝน มิลลิเมตร 2,368-4,670 3,642

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-2

Page 6: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

รูปท่ี 1-1 แสดงท่ีตั้ง ขอบเขตลุมน้ําหลัก ลุมน้ํายอย ในจังหวัดตราด

ส่วนวางโครงการที ่3 สํานักบริหารโครงการ

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-3

Page 7: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

1.3 ทรัพยากรดินและใชประโยชนที่ดิน

จังหวัดตราด มีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ 1,786,051 ไร ตั้งอยูในเขตลุมน้ําชายฝงทะเลตะวันออกท้ังหมด ดังแสดงในรูปท่ี 1-1 มีรายละเอียดการใชประโยชนท่ีดินและทรัพยากรดิน ดังนี้

1.3.1 การใชประโยชนท่ีดิน

จากขอมูลระบบแผนท่ีเกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน 3 2(AGRI MAP ONLINE) กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ 32 จําแนกไดเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรม 924,827 ไร ประมาณรอยละ

51.79 ของจังหวัด สวนใหญเปนไมยืนตน ประมาณรอยละ 35.91 ของจังหวัด หรือคิดเปนรอยละ 69.34 ของพ้ืนท่ีเกษตรกรรม รายละเอียด แสดงในตารางท่ี 1-2 และรูปท่ี 1-2

ตารางท่ี 1-2 การใชประโยชนท่ีดินจังหวัดตราด

ประเภทการใชท่ีดิน ไร รอยละ พ้ืนท่ีปา 579,239 32.43 ไมผล 195,080 10.92 ไมยืนตน 641,299 35.91 สถานท่ีเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 55,132 3.09 พ้ืนท่ีชุมชนและสิ่งปลูกสราง 68,820 3.85 พ้ืนท่ีน้ํา 72,727 4.07 พืชไร 40,172 2.25 พ้ืนท่ีเบ็ดเตล็ด 74,733 4.18 พ้ืนท่ีนา 47,287 2.65 พ้ืนท่ีลุม 10,255 0.57 พืชสวน 989 0.06 ทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว 318 0.02

รวม 1,786,051 100.00 32ท่ีมา : Agri Map (2561)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-4

Page 8: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

รูปท่ี 1-2 แผนท่ีการใชประโยชนท่ีดิน จังหวัดตราด 32(AGRI MAP พ.ศ.2561)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-5

Page 9: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

1.3.2 ทรัพยากรดิน

จากขอมูลระบบแผนท่ีเกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน 32(AGRI MAP ONLINE) กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ 32 สามารถจําแนกกลุมดินเปนประเภทตางๆ ซ่ึงพบวาดินสวนใหญเปนดินในท่ีดอน มีเนื้อท่ีรอยละ 47.81 ของจังหวัด รายละเอียด แสดงในตารางท่ี 1-3 และรูปท่ี 1-3

ตารางท่ี 1-3 จําแนกกลุมดินท่ีพบในจังหวัดตราด

ประเภท พ้ืนท่ี (ไร) รอยละ ดินบนพ้ืนท่ีดอนในเขตดินชื้น 853,888 47.81 ดินบนพ้ืนท่ีลาดชันสูง 527,824 29.55 ดินบนท่ีราบลุม 227,502 12.74 พ้ืนท่ีเบ็ดเตล็ด 176,837 9.90

รวม 1,786,051 100.00 32ท่ีมา : Agri Map (2561)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-6

Page 10: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

รูปท่ี 1-3 แผนท่ีจําแนกกลุมท่ีดิน จังหวัดตราด

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-7

Page 11: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 1 จังหวัดตราด สภาพทั่วไปของพื้นที่จังหวัด

1.4 สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม

1.4.1 ประชากร

ป พ.ศ. 2560 จังหวัดตราดมีจํานวนครัวเรือนท้ังหมด 96,107 ครัวรือน จํานวนประชากรรวมท้ังสิ้น 229,649 คน แนวโนมจํานวนประชากรในอนาคตของจังหวัดตราด เม่ือทําการคํานวณอัตราการเจริญเติบโตของประชากรเพ่ือประมาณการจํานวนประชากรในอนาคตอีก 20 ปขางหนาโดยใชป พ.ศ. 2560 เปนปฐาน พบวาประชากรในจังหวัดตราดมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยรอยละ 0.54 ซ่ึงมีผลทําใหในอีก 20 ปขางหนา (พ.ศ.2580) จํานวนประชากรจะเพ่ิมข้ึนเปน 255,735 คน รายละเอียด ดังแสดงในตารางท่ี 1-4

ตารางท่ี 1-4 จํานวนประชากรและการคาดการณในอนาคต จังหวัดตราด

พ.ศ. ประชากร (คน) 2560 (ปจจุบัน) 229,649 2565 235,910 2570 242,341 2575 248,948 2580 (อนาคต 20 ป) 255,735

1.4.2 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) และรายได

ป 2560 ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดตราด (GPP) มีมูลคาเทากับ 39,277 ลานบาท อยูในลําดับท่ี 57 ของประเทศ และลําดับท่ี 21 ของภาคตะวันออก โดยมีสัดสวนมูลคานอกภาคการเกษตรรอยละ 55.96 และภาคเกษตรรอยละ 44.04 โดยมีรายไดเฉลี่ย 27,797 บาทตอครัวเรือนตอเดือนป 2560

1.4.3 สภาพการเกษตร

ป พ.ศ. 2560 จังหวัดตราด มีจํานวนครัวเรือน 96,107 ครัวเรือน โดยเปนครัวเรือนเกษตร 19,559

ครัวเรือน หรือรอยละ 20.35 ของครัวเรือนท้ังหมด ผลผลิตเฉลี่ยของพืชเศรษฐกิจท่ีปลูกในจังหวัดตราด

รายละเอียด แสดงในตารางท่ี 1-5

ตารางท่ี 1-5 ผลผลิตของพืชเศรษฐกิจ ตั้งแตป 2558-2560

พืชเศรษฐกิจ ผลผลิต (กิโลกรัมตอไร)

ป 2558 ป 2559 ป 2560 ขาวนาป 415 400 398 ขาวนาปรัง 484 456 544 ขาวโพดเลี้ยงสัตว 0 0 0 มันสําปะหลัง 0 0 0 ออย 0 0 0 ยางพารา 227 212 233 ปาลมน้ํามัน 2,538 2,344 2,480 ท่ีมา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2561

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

1-8

Page 12: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

บทที ่2

สถานการณดานทรัพยากรน้ําและการพัฒนาในปจจุบัน

2.1 ลําน้ําและแหลงน้ําตามธรรมชาติ

จังหวัดตราดตั้งอยูในเขตพ้ืนท่ีลุมน้ําชายฝงทะเลตะวันออก (ตามการแบงลุมน้ําหลักของประเทศไทยโดยคณะกรรมการอุทกวิทยาแหงชาติ) แตอยูใน 2 ลุมน้ํายอย คือ ลุมน้ํายอยชายฝงทะเลตะวันออก

และลุมน้ํ ายอยแมน้ํ าเมืองตราด โดยมีแหลงน้ํ าตามธรรมชาติ ท่ีสําคัญแยกตามลุมน้ํายอยตาง ๆ

(รายละเอียด แสดงในรูปท่ี 2-1) ดังนี้

- ลุมน้ํายอยแมน้ําเมืองตราด

เปนลุมน้ํายอยท่ีอยูในจังหวัดตราดท้ังลุมน้ํา มีแมน้ําท่ีสําคัญ คือ แมน้ําตราดเปนแมน้ําสายใหญสุด ยาวประมาณ 150 กิโลเมตร มีชื่อเรียกตางกันตามท่ีไหลผาน ตนน้ําเกิดจากทิวเขาบรรทัดตอนเหนือท่ีสําคัญคือ คลองแอง และคลองสะตอ แลวไหลผานบริเวณ อําเภอบอไร อําเภอเขาสมิง ชวงนี้เรียกวา คลองเขาสมิง หรือ คลองใหญ เม่ือไหลเขาเขตอําเภอเมือง คลองสมิงไดบรรจบกับคลองหวยแรง ณ จุดบรรจบนี้เรียกวาแมน้ําตราด และแมน้ําสําคัญอีกสายหนึ่งไดแก แมน้ําเวฬุเปนแมน้ําท่ีใชเปนเสนแบงเขตระหวางจังหวัดตราดกับจังหวัดจันทบุร ี

ตนน้ําอยูในเขตจังหวัดจันทบุรี ท่ีเขาชะอมและเขาสระบาป ชวงท่ีไหลผานจังหวัดตราดมีความยาวประมาณ 20 กิโลเมตร ไหลผานบานทาจอด ตําบลแสนตุง อําเภอเขาสมิง แลวไหลลงสูทะเลบริเวณอาวบานบางกระดาน อําเภอแหลมงอบ

- ลุมน้ํายอยชายฝงทะเลตะวันออก

เปนลุมน้ํายอยท่ีอยูในพ้ืนท่ี 4 จังหวัดของภาคตะวันออก และคิดเปนประมาณรอยละ 25 ของจังหวัดตราด อยูในบริเวณอําเภอเขาสมิง และอําเภอแหลมงอบ และพ้ืนท่ีเกาะตางๆ ไดแกเกาะชาง เกาะกูด และเกาะอ่ืนๆ มีแมน้ํา ลําคลองหลายสายในลุมน้ํายอยสวนนี้

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-1

Page 13: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

รูปท่ี 2-1 ลุมน้ําและระบบลําน้ํา จังหวัดตราด

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-2

Page 14: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

2.2 โครงการพัฒนาแหลงน้ําที่มีในปจจุบัน

จังหวัดตราดยังไมมีโครงการชลประทานขนาดใหญ โดยมีโครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็กประเภทตาง ๆ จํานวน 11 และ 255 โครงการ ตามลําดับ รวมจํานวนโครงการชลประทานท้ังสิ้น266 โครงการ สามารถเก็บกักน้ําได 127.56 ลานลูกบาศกเมตร พ้ืนท่ีชลประทาน 123,349.77 ไร รายละเอียด แสดงในตารางท่ี 2-1, 2-2 และรูปท่ี 2-2

ตารางท่ี 2-1 โครงการชลประทานท่ีมีอยูในปจจบุัน จังหวัดตราด

ประเภท ขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก รวม

1.อางเก็บน้ํา

- จํานวน (แหง) - 5 41 45

- ความจุ (ลบ.ม.) - 99.07 17.08 116.15

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - 61,093.34 3,221.00 64,314.34

2.ประตูระบายน้ํา

- จํานวน (แหง) - 4 - 4

- ความจุ (ลบ.ม.) - 0.00 - 0.00

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - 45,029.62 - 45,029.62

3.อ่ืน ๆ

- จํานวน (แหง) - 3 151 154

- ความจุ (ลบ.ม.) - 0.00 7.409 7.41

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - 7,640.81 0.00 7,640.81

4.แกมลิง

- จํานวน (แหง) - - 5 5

- ความจุ (ลบ.ม.) - - 1.93 1.93

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - - 0.00 0.00

5.ฝาย

- จํานวน (แหง) - - 47 47

- ความจุ (ลบ.ม.) - - 2.07 2.07

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - - 515.00 515.00

6.ระบบสงน้ํา

- จํานวน (แหง) - - 2 2

- ความจุ (ลบ.ม.) - - 0.00 0.00

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - - 1,350.00 1,350.00

7.ระบายน้ํา

- จํานวน (แหง) - - 1 1

- ความจุ (ลบ.ม.) - - 0.00 0.00

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - - 0.00 0.00

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-3

Page 15: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

ตารางท่ี 2-1 โครงการชลประทานท่ีมีอยูในปจจบุัน จังหวัดตราด (ตอ)

ประเภท ขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก รวม

8.สถานีสูบน้ํา

- จํานวน (แหง) - - 8 8

- ความจุ (ลบ.ม.) - - 0.00 0.00

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - - 4,500.00 4,500.00

9.รวมทุกประเภท

- จํานวน (แหง) - 12 255 266

- ความจุ (ลบ.ม.) - 99.07 28.485 127.56

- พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - 113,763.77 9,586.00 123,349.77

ตารางท่ี 2-2 โครงการชลประทานขนาดกลางท่ีมีอยูในจังหวัดตราด

ท่ี โครงการ ตําบล อําเภอ ความจุ

(ลาน ลบ.ม) พ้ืนท่ีชลประทาน

(ไร) ปกอสราง

เร่ิม เสร็จ 1 คันก้ันนํ้าเค็มนาเกลือ หนอง

คันทรง เมือง 0.00 2,493.45 2492 2492

2 คันก้ันนํ้าเค็มวังกระแจะ วังกระแจะ เมือง 0.00 2,417.50 2493 2493 3 อางเก็บนํ้าเขาระกํา ชําราก เมือง 47.69 7,849.22 2511 2515 4 ปตร.คลองรางหวาย เขาสมิง เขาสมิง 0.00 5,729.29 2518 2520 5 ปตร.คลองทาเลื่อน ชําราก เมือง 0.00 3,143.73 2519 2522 6 คันก้ันนํ้าฯคลองใหญ แหลมงอบ แหลมงอบ 0.00 2,729.86 2520 2522 7 ปตร.เขาระกําขยาย หนองเสม็ด เมือง 0.00 19,042.72 2527 2534 8 อางเก็บนํ้าดานชุมพล ดานชุมพล บอไร 5.60 3,337.39 2528 2528 9 อางเก็บนํ้าบานมะนาว บอพลอย บอไร 2.35 2,714.04 2528 2528 10 ปตร.เขาสมิง ทุงนนทรี เขาสมิง 0.00 17,113.88 2535 2539 11 อางเก็บนํ้าหวยแรง ดานชุมพล บอไร 36.80 40,902.76 2540 2545 12 อางเก็บนํ้าวังปลาหมอ ทาโสม เขาสมิง 6.63 6,289.93 2540 2545 รวม 99.07 113,763.77

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-4

Page 16: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

รูปท่ี 2-2 โครงการชลประทานขนาดกลางในจังหวัดตราด

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-5

Page 17: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

2.3 สถานการณน้ําของจังหวัด

2.3.1 สถานการณดานการขาดแคลนน้ําและภัยแลง

จากขอมูลพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยแลงของจังหวัดตราด โดยกรมพัฒนาท่ีดิน พ.ศ.2556 ตามรูปท่ี 2-3 พบวาพ้ืนท่ีสวนใหญประมาณรอยละ 85 ของจังหวัด มีปญหาภัยแลงในระดับต่ํา ซ่ึงอยูในบริเวณอําเภอบอไร อําเภอเขาสมิง อําเภอเมือง อําเภอแหลมงอบ และอําเภอคลองใหญ สวนในบริเวณอําเภอเกาะชางและอําเภอเกาะกูด ไมเปนพ้ืนท่ีสี่ยงภัยแลง ดังแสดงในรูปท่ี 2-3

2.3.2 สถานการณดานน้ําทวมและอุทกภัย

ปญหาดานอุทกภัย โดยท่ัวไปจะมีสาเหตุจากฝนท่ีตกหนักในพ้ืนท่ี และจากสภาพทางกายภาพภายในจังหวัด เชน พ้ืนท่ีปาตนน้ําตอนบนถูกทําลาย การขาดแคลนแหลงเก็บกักน้ําขนาดใหญในพ้ืนท่ีลุมน้ําตอนบนเพ่ือชวยชะลอน้ําหลาก ประสิทธิภาพของระบบระบายน้ําไมเพียงพอเนื่องจากตื้นเขินหรือถูกบุกรุก มีการกอสรางสิ่งกีดขวางทางน้ําและการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชท่ีดิน เปนตน ซ่ึงสภาพการเกิดอุทกภัยในจังหวัดตราด แบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ อุทกภัยท่ีเกิดในบริเวณพ้ืนท่ีลุมน้ํายอยตอนบนและลําน้ําสาขาตาง ๆ ซ่ึงเกิดจากการท่ีมีฝนตกหนักและน้ําปาไหลหลากจากตนน้ําลงมามากจนลําน้ําสายหลักไมสามารถระบายน้ําไดทัน ประกอบกับมีสิ่งกีดขวางจากเสนทางคมนาคม และมีอาคารระบายน้ําไมเพียงพอ ทําใหเกิดน้ําหลากอยางรวดเร็ว เนื่องจากพ้ืนท่ีรับน้ํามีความชันสูง สภาพปาไมถูกทําลาย นอกจากภาวะน้ําหลากฉับพลันแลวยังมีความเสี่ยงตอเหตุการณดินถลมอีกดวย พ้ืนท่ีท่ีเกิดน้ําทวมเปนประจําไดแก อําเภอบอไร อําเภอเขาสมิง สวนอุทกภัยลักษณะท่ีสองคือ อุทกภัยท่ีเกิดในพ้ืนท่ีราบลุม

จากขอมูลพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยน้ําทวมซํ้าซากของจังหวัดตราด โดยสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิศาสตรสารสนเทศ (GISDA) พ.ศ. 2556 พบวาพ้ืนท่ีสวนใหญของจังหวัดมีพ้ืนท่ีเสี่ยงน้ําทวมซํ้าซากระดับต่ําและระดับปานกลาง ซ่ึงระดับปานกลางสวนใหญจะอยูในพ้ืนท่ีอําเภอท่ีติดชายฝงทะเล เชน

อําเภอแหลมงอบ อําเภอเมือง และอําเภอคลองใหญ ดังแสดงในรูปท่ี 2-4

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-6

Page 18: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

รูปท่ี 2-3 พ้ืนท่ีเสี่ยงตอการเกิดภัยแลง จังหวัดตราด

ท่ีมา : กรมพัฒนาท่ีดิน (2556)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-7

Page 19: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

รูปท่ี 2-4 พ้ืนท่ีเสี่ยงตอการเกิดน้ําทวมซํ้าซาก จังหวัดตราด ท่ีมา : GISDA (2556)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-8

Page 20: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

2.3.3 แนวทางการแกไขปญหาอยางเปนระบบ (AREA BASE)

สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาต ิไดกําหนดพ้ืนท่ีเปาหมายในการแกไขปญหาทรัพยากรน้ําอยางเปนระบบ (AREA BASE) ท่ัวประเทศรวม 66 พ้ืนท่ี โดยวิเคราะหจากปญหา ความถ่ี ความรุนแรง ความเสียหาย โดยครอบคลุมปญหาน้ําแลง น้ําทวม น้ําเค็มรุกล้ํา รวมถึงการรองรับพ้ืนท่ีสําคัญ เชน เขตเศรษฐกิจพิเศษ

ในสวนของจังหวัดตราดมีพ้ืนท่ีเปาหมายในการแกไขปญหาทรัพยากรน้ําอยางเปนระบบ (AREA

BASE) จํานวน 3 พ้ืนท่ี ไดแกพ้ืนท่ีรองรับและชวยเหลือการทองเท่ียว ครอบคลุมอําเภอเกาะชางและอําเภอเกาะกูด รวมท้ังสองอําเภอมีพ้ืนท่ีประมาณ 199,345.20 ไร สวนพ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ อยูทางตอนใตของจังหวัด ในพ้ืนท่ีอําเภอคลองใหญ มีพ้ืนท่ีประมาณ 45,742.05 ไร รายละเอียด แสดงในรูปท่ี 2-5

แนวทางการแกไขปญหาอยางเปนระบบท้ังภัยแลงและน้ําทวมของจังหวัดตราดตองมีการบูรณาการรวมกันทุกภาคสวน ท้ังมาตรการไมใชสิ่งกอสรางและใชสิ่งกอสราง เชน การอนุรักษฟนฟูปาไมตนน้ํา

การจัดทําแหลงน้ําชุมชนตาง ๆ โดยในสวนของกรมชลประทานมีแนวทางแกไขปญหาอยางเปนระบบโดยการจัดทําแหลงเก็บกักน้ําในพ้ืนท่ีท่ีประสบปญหาภัยแลง เพ่ือใหประชาชนไดมีน้ําใชในการเกษตรกรรม ในการอุปโภค-บริโภค และการอุตสาหกรรม และในพ้ืนท่ีท่ีเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ซ่ึงถือวาเปนพ้ืนท่ีสวนใหญของจังหวัด ยังมุงเนนพัฒนาระบบกักเก็บน้ําใหครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีในจังหวัด เพ่ือตอบสนองนโยบายรัฐบาลท่ีในอนาคตจังหวัดตราดจะเปนพ้ืนท่ีเศรษฐกิจท้ังดานการเกษตรและการทองเท่ียวท่ีสําคัญของประเทศ

รวมถึงการเก็บน้ําในลําน้ําสาขา ซ่ึงมีท้ังโครงการท้ังขนาดกลางและขนาดเล็ก ตามลําดับความสําคัญตอไป

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-9

Page 21: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 2 จังหวัดตราด สถานการณดานทรัพยากรและการพัฒนา

รูปท่ี 2-5 พ้ืนท่ีเปาหมายในการแกไขปญหาทรัพยากรน้ําอยางเปนระบบ (Area Base)

ท่ีมา : สทนช. (2561)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

2-10

Page 22: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 3 จังหวัดตราด สภาพความตองการใชน้ําและการบริหารจัดการ

บทที ่3

ความตองการใชน้ํา

การศึกษาและประเมินความตองการใชน้ํา มีวัตถุประสงคเพ่ือตองการทราบปริมาณน้ําท่ีตองการสําหรับกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงขอมูลดังกลาวจะทําใหเห็นภาพรวมของความตองการน้ําท้ังหมดและเม่ือนําไปเปรียบเทียบกับปริมาณน้ําตนทุนและการพัฒนาท่ีมีอยูในปจจุบันจะทําใหทราบสถานการณของปญหาและนําไปประกอบในการพิจารณากําหนดแนวทางการแกไขปญหาท่ีเหมาะสม ท้ังมาตรการใชสิ่งกอสรางและการบริหารจัดการ นอกจากนี้ยังสามารถใชเปนแนวทางในการจัดสรรน้ําใหเกิดประโยชนสูงสุดตอไป

ในการศึกษาความตองการใชน้ําของจังหวัดตราดครั้งนี้จะไดประเมินความตองการใชน้ําจากกิจกรรมหลักท่ีสําคัญ 4 ประเภท คือ ความตองการใชน้ําเพ่ือการอุปโภคบริโภค ความตองการน้ําเพ่ือรักษาระบบนิเวศนทายน้ํา ความตองการน้ําเพ่ือการเกษตร และความตองการน้ําเพ่ืออุตสาหกรรม สามารถสรุปตามตารางท่ี 3-1 โดยมีรายละเอียดดังนี้

3.1 ความตองการใชน้ําเพ่ือการอุปโภคบริโภค

ความตองการใชน้ําเพ่ือการอุปโภคบริโภคประเมินจากจํานวนประชากรกับอัตราการใชน้ําของประชากรโดยทําการประเมินความตองการในอนาคต 5 และ 10 ป และ 20 ป จากการวิเคราะหแนวโนมของปริมาณประชากร โดยมีรายละเอียดดังนี้ ความตองการใชน้ําเพ่ืออุปโภคบริโภคในปจจุบัน เทากับ

12.57 ลานลูกบาศกเมตร/ป และจะเพ่ิมเปน 12.92, 13.27 และ 14.00 ลานลูกบาศกเมตร/ป ในระยะ 5, 10 ป และ 20 ป ตามลําดับ

3.2 ความตองการใชน้ําเพ่ือรักษาระบบนิเวศนทายน้ํา

ความตองการใชน้ําเพ่ือรักษาระบบนิเวศนทายน้ํา ประเมินโดยการเปรียบเทียบความตองการน้ําเพ่ือรักษาระบบนิเวศนทายน้ําของลุมน้ําหลัก โดยเปรียบเทียบพ้ืนท่ีของจังหวัดตราดกับพ้ืนท่ีลุมน้ําท่ีมีพ้ืนท่ีครอบคลุมจังหวัดตราด จากผลการประเมินความตองการใชน้ําเพ่ือรักษาระบบนิเวศนทายน้ําจังหวัดตราด เทากับ 86.00 ลานลูกบาศกเมตร/ป

3.3 ความตองการใชน้ําเพ่ือการเกษตร

ความตองการใชน้ําเพ่ือการเกษตร ประเมินจากพ้ืนท่ีเกษตรกรรมฤดูฝนและฤดูแลงท้ังในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน กับอัตราการใชน้ําเพ่ือการเพาะปลูกตอไร โดยความตองการน้ําเพ่ือการเกษตรในเขตชลประทานประเมินจากพ้ืนท่ีชลประทานท่ีมีในปจจุบันและแผนในอนาคตจากการพัฒนาพ้ืนท่ีชลประทาน ซ่ึงฤดูฝนเพาะปลูกเต็มพ้ืนท่ี สวนฤดูแลงพ้ืนท่ีเพาะปลูกรอยละ 50 ของพ้ืนท่ีชลประทาน ความตองการน้ําเพ่ือการเกษตรนอกเขตชลประทานประเมินจากพ้ืนท่ีเพาะปลูกนอกเขตชลประทานในปจจุบัน และคาดการณวาพ้ืนท่ีเพาะปลูกโดยรวมไมเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญ ผลการประเมินความตองการใชน้ําเพ่ือการเกษตรสรุปไดดังนี้ ความตองการใชน้ําเพ่ือการเกษตร เทากับ

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

3-1

Page 23: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 3 จังหวัดตราด สภาพความตองการใชน้ําและการบริหารจัดการ

2,057.34 ลานลูกบาศกเมตร/ป และความตองการน้ําเพ่ือการเกษตรจะเพ่ิมเปน 2,978.81 ลานลูกบาศกเมตร/ป ในระยะ 5, 10 และ 20 ป

3.4 ความตองการใชน้ําเพ่ือการอุตสาหกรรม

กรมโรงงานอุสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรมไดทําการประเมินความตองการน้ําเพ่ือการอุตสาหกรรมเปนรายจังหวัด โดยประเมินจากจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมท่ีข้ึนทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม กับอัตราการใชน้ําของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดตาง ๆ แยกตามกําลังการผลิต (กําลังมา)รวมถึงอัตราการใชน้ําของนิคมอุตสาหกรรมโดยคิดเปนตอพ้ืนท่ี โดยทําการประเมินความตองการในอนาคต 5, 10 และ 20 ป จากการวิเคราะหแนวโนมของการเจริญเติบโตดานอุตสาหกรรมและแผนการพัฒนานิคมอุสาหกรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ ความตองการใชน้ําเพ่ืออุตสาหกรรม เทากับ 2.65 ลานลูกบาศกเมตร/ป และจะเพ่ิมเปน 3.51, 4.19 และ 5.74 ลานลูกบาศกเมตร/ป ในระยะ 5, 10 และ 20 ป ตามลําดับ

ตารางท่ี 3-1 ความตองการน้ําดานตาง ๆ และการคาดการณในอนาคต จังหวัดตราด

ท่ี กิจกรรม ความตองการน้ํา (ลาน ลบ.ม./ป)

ปจจุบัน (2560) 5 ป (2565) 10 ป (2570) 20 ป (2580)

1 อุปโภค-บริโภค 12.57 12.92 13.27 14.00

2 รักษาระบบนิเวศน 86.00 86.00 86.00 86.00

3 การเกษตร

- ในเขตชลประทาน 410.57 1,332.04 1,332.04 1,332.04

- นอกเขตชลประทาน 1,646.77 1,646.77 1,646.77 1,646.77

- รวม 2,057.34 2,978.81 2,978.81 2,978.81

4 อุตสาหกรรม 2.65 3.51 4.19 5.74

รวม 2,158.57 3,081.24 3,082.27 3,084.56

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

3-2

Page 24: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

บทที ่4

แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

4.1 ยุทธศาสตรที่เกี่ยวของ

4.1.1 แผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

แผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําดําเนินการโดยคณะกรรมการกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา มีระยะเวลาของการดําเนินแผนงานตามยุทธศาสตร 12 ป (พ.ศ. 2558 ถึงพ.ศ. 2569) ปจจุบันอยูระหวางการปรับปรุงเปาหมายตามแผนยุทธศาสตรใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ20 ป (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2580) โดยสํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาต ิแตยังคงมียุทธศาสตร 6 ดาน ไดแก

1) การจัดการน้ําอุปโภคบริโภค 2) การสรางความม่ันคงของน้ําภาคการผลิต 3) การจัดการน้ําทวมและอุทกภัย 4) การจัดการคุณภาพน้ํา 5) การอนุรักษฟนฟูปาตนน้ํา 6) การบริหารจัดการ

4.1.2 ยุทธศาสตรกรมชลประทาน

กรมชลประทานมีวิสัยทัศน คือ “องคกรอัจฉริยะ ท่ีมุงสรางความม่ันคงดานน้ํา (WATER SECURITY) เพ่ือเพ่ิมคุณคาการบริการ ภายในป 2579” และมีพันกิจ ดังนี้

1) พัฒนาแหลงน้ําและเพ่ิมพ้ืนท่ีชลประทานตามศักยภาพของลุมน้ําใหเกิดความสมดุล 2) บริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการใหเพียงพอ ท่ัวถึง และเปนธรรม 3) ดําเนินการปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ําตามภารกิจอยางเหมาะสม 4) เสริมสรางการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาแหลงน้ํา และการบริหารจัดการน้ํา

โดยมีประเด็นยุทธศาสตร

1) การพัฒนาแหลงน้ําและเพ่ิมพ้ืนท่ีชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุมน้ํา (BASIN–BASED APPROACH)

2) การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ ตามวัตถุประสงคการใชน้ํา 3) การปองกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา 4) การสรางเครือขาย และการมีสวนรวม (NETWORKING AND PARTICIPATION) ของทุกภาคสวนใน

การบริหารจัดการน้ําชลประทานในระดับพ้ืนท่ี (NETWORKING COLLABORATION PARTICIPATION) 5) การปรับเปลี่ยนสูองคกรอัจฉรยิะ (TURNAROUND TO INTELLIGENT ORGANIZATION)

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-1

Page 25: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

4.1.3 ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดภาคตะวันออก

กลุมจังหวัดภาคตะวันออก ประกอบดวย 4 จังหวัด ไดแก ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี และตราด มีวิสัยทัศนคือ “ฐานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมสีเขียวชั้นนําในอาเซียน ฐานการผลิตและจําหนายผลไม ประมงและปศุสัตว เพ่ือการสงออก แหลงทองเท่ียวชายทะเลนานาชาติ เชิงนิเวศ เชิงเกษตร เชิงสุขภาพ และการทองเท่ียวโดยชุมชน พ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหมชายแดนเชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบาน และประตูสูเศรษฐกิจโลก”และมีประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้

1) ยกระดับการพัฒนากลุมอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยองใหเปน

ฐานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมสีเขียว ชั้นนําในอาเซียน 2) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตอาหารและสินคาเกษตร ใหมีความทันสมัยและเปนสากล

เพ่ือใหเปนฐานการผลิตและจําหนายผลไม ปศุสัตว และประมงเพ่ือการสงออก 3) พัฒนาแหลงทองเท่ียวและกิจกรรมการทองเท่ียวกลุมจังหวัดภาคตะวันออก ใหเปนแหลง

ทองเท่ียวเชิงนิเวศ เชิงเกษตร เชิงสุขภาพ และการทองเท่ียวโดยชุมชน 4) พัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจบริเวณชายแดนใหเปนประตูเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบานให เจริญเติบโตอยางยั่งยืนและเกิดผลท่ีเปนรูปธรรม

5) ปกปองและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหมีความหลากหลาย อุดมสมบูรณตามธรรมชาต ิและมีการใชประโยชนอยางเหมาะสม กอใหเกิดความสมดุลตอระบบนิเวศ

4.1.4 ยุทธศาสตรจังหวัดตราด

วิสัยทัศน คือ “ตราดเมืองนาอยู ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี แหลงผลิตอาหารคุณภาพ

ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน ทองเท่ียวเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเปนประตูเศรษฐกิจระหวางประเทศ” และมีประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้

1) การพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเท่ียวเชิงนิเวศ เชิงเกษตร เชิงสุขภาพ และการทองเท่ียวโดย ชุมชนท่ีเขมแข็ง (รอยละ25)

2) การพัฒนาธุรกิจการคาไมผล ประมง เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา และเกษตรแบบครบวงจรใหเขมแข็ง จากฐานการผลิตคุณภาพสูง และการจําหนายเพ่ือการสงออก (รอยละ 25)

3) การพัฒนาการคมนาคม และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหมบริเวณชายแดนประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับ อาเซียนและนานาชาต ิใหเติบโตอยางยั่งยืน (รอยละ20)

4) การเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหมี ความอุดมสมบูรณเกิดประโยชนแกชุมชน จังหวัดอยางยั่งยืน (รอยละ 20)

5) การพัฒนาการบริหารจัดการ และเสริมสรางการรักษาความม่ันคงภายใน ความสงบเรียบรอย และความสัมพันธท่ีดีระหวางประเทศ (รอยละ 10)

4.2 แผนพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ป (พ.ศ.2561 ถึง พ.ศ.2580)

ในการจัดทําแผนการดําเนินการระดับจังหวัด ไดนําโครงการท่ีมีผลการศึกษา สํารวจ ออกแบบและโครงการท่ีมีศักยภาพในการดําเนินการ มาทําการจัดเปนแผนงานและงบประมาณ โดยมีแนวทางดังนี้

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-2

Page 26: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

4.2.1 ระยะของแผนดําเนินการ

การจัดระยะของแผนงาน แบงออกเปน 3 ระยะ ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป และยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ซ่ึงเปนแผนดําเนินการกอสราง ดังนี้

- โครงการตามแผนระยะสั้น เปนโครงการท่ีมีแผนดําเนินการแลวเสร็จภายใน พ.ศ.2561-2565 - โครงการตามแผนระยะกลาง เปนโครงการท่ีมีแผนดําเนินการแลวเสร็จภายใน พ.ศ.2566-

2570 - โครงการตามแผนระยะยาว เปนโครงการท่ีมีแผนดําเนินการแลวเสร็จภายใน พ.ศ.2571-

2580

4.2.2 การจัดลําดับความสําคัญของโครงการ มีแนวทางดังนี้

- เปนโครงการท่ีมีความพรอมดานวิศวกรรมและสิ่งแวดลอมและสามารถดําเนินการกอสรางไดทันที

- เปนโครงการพระราชดําริ - มีความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ

ยุทธศาสตร ตาง ๆ ตอบสนองการแกไขปญหาเชิงพ้ืนท่ี (AREA BASE)

- เปนโครงการท่ีสามารถแกไขไดท้ังปญหาขาดแคลนน้ํา และน้ําทวม - มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ํา - มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูง

4.2.3 ผลการจัดทําแผนงานโครงการ

กรมชลประทานไดจัดทําแผนการพัฒนาการชลประทานในระดับลุมน้ํา โดยการวางแผนพัฒนาโครงการชลประทานประเภทตาง ๆ ท้ังขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ รวมถึงการปรับปรุงโครงการท่ีมีอยูเดิม ท้ัง 25 ลุมน้ําหลักท่ัวประเทศ โดยมีเปาหมายเพ่ือพัฒนาแหลงเก็บกักน้ํา พ้ืนท่ีชลประทาน และการปองกันบรรเทาน้ําทวมและอุทกภัย ใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรตาง ๆ ตามท่ีกลาวแลวขางตน

จังหวัดตราด มีโครงการพัฒนาแหลงน้ําท่ีมีศักยภาพตามแผนการพัฒนาการชลประทานระยะ 20

ป (พ.ศ.2561 – พ.ศ.2580) ท่ีอยูในแผนดําเนินการจํานวน 43 แหง เปนโครงการขนาดกลาง 20 แหง และโครงการขนาดเล็ก 23 แหง หากดําเนินการแลวเสร็จตามแผนท้ังหมดจะสามารถเก็บกักน้ําไดเพ่ิมอีก

209.16 ลานลูกบาศกเมตร และจะมีพ้ืนท่ีชลประทานเพ่ิมข้ึน 276,843 ไร รายละเอียด แสดงในตารางท่ี

4-1

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-3

Page 27: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

ตารางท่ี 4-1 โครงการพัฒนาแหลงน้ําท่ีมีศักยภาพใน จังหวัดตราด

ขนาดโครงการ ระยะเวลา

ระยะส้ัน (2561-2565)

ระยะกลาง (2566-2570)

ระยะยาว (2571-2580)

รวม 20 ป (2561-2580)

1.ขนาดใหญ - จํานวน (โครงการ) - - - - - ความจุ (ลบ.ม.) - - - - - พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) - - - - - วงเงิน (ลานบาท) - - - - 2.ขนาดกลาง - จํานวน (โครงการ) 20 - - 20 - ความจุ (ลบ.ม.) 188.80 - - 188.80 - พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) 275,843 - - 275,843 - วงเงิน (ลานบาท) 7,277.90 - - 7,277.90 3.ขนาดเล็ก - จํานวน (โครงการ) 23 - - 23 - ความจุ (ลบ.ม.) 20.36 - - 20.36 - พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) 1,000 - - 1,000 - วงเงิน (ลานบาท) 1,065.60 - - 1,065.60 รวมทุกขนาด - จํานวน (โครงการ) 43 - - 43 - ความจุ (ลบ.ม.) 209.16 - - 209.16 - พ้ืนท่ีชลประทาน (ไร) 276,843 - - 276,843 - วงเงิน (ลานบาท) 8,343.50 - - 8,343.50 จากแผนการพัฒนาดังกลาว สามารถจําแนกออกเปนโครงการท่ีมีวัตถุประสงคหลักในการตอบสนองแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ในยุทธศาสตรท่ี 2 เปนจํานวน 43 โครงการ

รายละเอียด แสดงในตารางท่ี 4-2 อยางไรก็ตาม พบวาโครงการหลายโครงการโดยเฉพาะโครงการประเภทอางเก็บน้ํา มีลักษณะเปนโครงการท่ีสามารถแกหรือบรรเทาไดท้ังการขาดแคลนน้ําและน้ําทวม

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-4

Page 28: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

ตารางท่ี 4-2 สรุปแผนการพัฒนาชลประทานระยะ 20 ป จังหวัดตราด จําแนกตามยุทธศาสตรน้ํา

ขนาดโครงการ

ยุทธศาสตรท่ี 2 (การสรางความม่ันคงของน้ําภาคการผลิต -เกษตร

และอุตสาหกรรม)

ยุทธศาสตรท่ี 3

(การจัดการน้ําทวมและอุทกภัย)

รวม

จํานวน (โครงการ)

วงเงนิ (ลานบาท)

จํานวน (โครงการ)

วงเงิน (ลานบาท)

จํานวน (โครงการ)

วงเงิน (ลานบาท)

ขนาดใหญ - - - - - - ขนาดกลาง 20 7,277.90 - - 20 7,277.90 ขนาดเล็ก 23 1,065.60 - - 23 1,065.60

รวม 43 8,343.50 - - 43 8,343.50

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-5

Page 29: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

รูปท่ี 4-1 แผนงานโครงการชลประทานระยะสั้น จังหวัดตราด

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-6

Page 30: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

ตารางท่ี 4-3 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ป จังหวัดตราด

ท่ี โครงการ ตําบล อําเภอ พ้ืนท่ี

ชลประทาน (ไร)

ความจุ (ลาน

ลบ.ม)

ป กอสราง

ปแลวเสร็จ

วงเงิน (ลานบาท)

1 เพ่ิมประสิทธิภาพการกักเก็บนํ้าอางเก็บนํ้าเขาระกํา จังหวัดตราด

วังกระแจะ

เมือง 7,850 5.82 2561 2561 48.00

2 ระบบสงนํ้าอางเก็บนํ้าคลองสะพานหิน

แหลมกลัด

เมือง 13,000 0.00 2561 2564 550.00

3 ระบบสงนํ้าอางเก็บนํ้าคลองโสน

นนทร ี บอไร 73,000 0.00 2562 2565 750.00

4 อางเก็บนํ้าคลองแอง หนองบอน

บอไร 30,000 35.38 2562 2565 980.00

5 อางเก็บนํ้าหวยสะตอ หนองบอน

บอไร 75,490 74.65 2562 2565 990.00

6 เพ่ิมประสิทธิภาพการกักเก็บนํ้าอางเก็บนํ้าหวยแรง จังหวัดตราด

ดานชุมพล

บอไร 40,903 8.00 2563 2561 95.00

7 อางเก็บนํ้าคลองยายก๋ี เกาะกูด เกาะกูด 500 1.00 2563 2564 200.00 8 อางเก็บนํ้าบานอาวพราว เกาะกูด เกาะกูด 500 1.00 2563 2564 150.00

9 อางเก็บนํ้าคลองพราว เกาะชาง

เกาะชาง 1,780 2.35 2563 2566 434.00

10 อางเก็บนํ้าคลองเจา เกาะกูด เกาะกูด 1,000 3.00 2563 2566 320.00

11 โครงการเพ่ิมศักยภาพความจุ อางเก็บนํ้าคลองโสน

- - 0.00 0.00 2563 2567 30.00

12 อางเก็บนํ้าคลองหาดทรายแดง

เกาะชาง

เกาะชาง 1,000 1.00 2564 2565 270.00

13 อางเก็บนํ้าคลองดานใหม เกาะชาง

เกาะชาง 1,000 1.00 2564 2565 200.00

14 อางเก็บนํ้าคลองจันทิ ทากุม เมือง 14,000 20.00 2564 2565 800.00

15 โครงการเพ่ิมศักยภาพความจุ อางเก็บนํ้าดานชุมพล

- - 0.00 1.95 2564 2568 30.00

16 โครงการเพ่ิมศักยภาพความจุ อางเก็บนํ้าบานมะนาว

- - 0.00 0.30 2564 2568 30.00

17 อางเก็บนํ้าเขาวังปลา วัง

กระแจะ เมือง 5,820 1.35 2565 2565 80.00

18 อางเก็บนํ้าคลองสลักเพชร (เกาะชาง)

เกาะชางใต

เกาะชาง 1,000 1.00 2565 2565 300.00

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-7

Page 31: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

ตารางท่ี 4-3 แผนงานโครงการขนาดกลาง ระยะ 20 ป จังหวัดตราด (ตอ)

ท่ี โครงการ ตําบล อําเภอ พ้ืนท่ี

ชลประทาน (ไร)

ความจุ (ลาน

ลบ.ม)

ป กอสราง

ปแลวเสร็จ

วงเงิน (ลานบาท)

19 อางเก็บนํ้าคลองสน (เกาะชาง)

เกาะชาง

เกาะชาง 1,000 1.00 2565 2565 320.00

20 อางเก็บนํ้าวังตาสังข คลองใหญ

แหลมงอบ

8,000 30.00 2565 2567 700.00

รวม 275,843 188.80 7,277.90

ตารางท่ี 4-4 แผนงานโครงการขนาดเล็ก ระยะ 20 ป จังหวัดตราด

ท่ี โครงการ ตําบล อําเภอ พ้ืนท่ี

ชลประทาน (ไร)

ความจุ (ลาน

ลบ.ม)

ป กอสราง

ปแลวเสร็จ

วงเงิน (ลานบาท)

1 ฝายบานคลองปุก สะตอ เขาสมิง 0.00 0.77 2562 2562 30.00 2 ฝายบานตาพลาย สะตอ เขาสมิง 0.00 0.48 2562 2562 30.00

3 ฝายตรอกเกษร หนองบอน

บอไร 0.00 0.84 2562 2562 30.00

4 ฝายบานหนองบอน หนองบอน

บอไร 0.00 1.01 2562 2562 30.00

5 ระบสงนํ้าโครงการอางเก็บนํ้าวังปลาหมอ

เขาสมิง เขาสมิง 0.00 0.00 2562 2562 53.00

6 ฝายบานทุงกราด 2 สะตอ เขาสมิง 0.00 0.74 2563 2563 36.60 7 ฝายบานทุงกระบอก สะตอ เขาสมิง 0.00 4.653 2563 2563 35.00

8 ฝายบานมะนาว บอ

พลอย บอไร 0.00 0.00 2563 2563 12.00

9 ฝายบานฆอ วัง

ตะเคียน เขาสมิง 0.00 0.00 2563 2563 16.00

10 อาคารบังคับนํ้าบานหนองไมหอม 2

ชางทูน บอไร 0.00 0.00 2563 2563 15.00

11 ฝายบานตาพลาย 2 สะตอ เขาสมิง 0.00 0.00 2563 2563 15.00

12 อาคารบังคับนํ้าบานหนองมาตร

ชางทูน บอไร 0.00 0.71 2564 2564 20.00

13 ฝายบานนาซ็อก (เพ่ิมเติม) ซึ้ง ขลุง 0.00 1.00 2564 2564 30.00

14 ฝายคลองบอน หนองบอน

บอไร 0.00 1.79 2564 2564 35.00

15 ฝายคลองฉนาก บอ

พลอย บอไร 0.00 0.85 2564 2564 30.00

16 ระบบสงนํ้าฝายคลองจาว เกาะกูด เกาะกูด 0.00 0.10 2564 2564 45.00

17 ระบบทอสงนํ้าอางเก็บนํ้าเขาระกํา-หนองโสน

หนองโสน

เมือง 0.00 0.87 2564 2564 40.00

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-8

Page 32: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้าํระดับจังหวัด บทที่ 4 จังหวัดตราด แผนพัฒนาการชลประทานระดับจังหวัด

ตารางท่ี 4-4 แผนงานโครงการขนาดเล็ก ระยะ 20 ป จังหวัดตราด (ตอ)

ท่ี โครงการ ตําบล อําเภอ พ้ืนท่ี

ชลประทาน (ไร)

ความจุ (ลาน

ลบ.ม)

ป กอสราง

ปแลวเสร็จ

วงเงิน (ลานบาท)

18 ระบบสงนํ้าดวยแรงโนมถวงจากอางฯคลองโสน ไปยังแหลงนํ้าขนาดเล็ก

นนทรีย บอไร 0.00 0.56 2564 2564 400.00

19 ระบบทอสงนํ้าอางเก็บนํ้าเขาระกํา-บานหนองโสน

หนองโสน

เมือง 1,000 0.95 2564 2564 30.00

20 ฝายแกงชุมแสง สะตอ เขาสมิง 0.00 1.34 2565 2565 35.00

21 ฝายคลองยายก๋ีและระบบ สงนํ้า

เกาะกูด เกาะกูด 0.00 1.76 2565 2565 35.00

22 ฝายบานทุงกราด สะตอ เขาสมิง 0.00 1.12 2565 2565 38.00

23 ฝายบานหนองนางนอน หนองบอน

บอไร 0.00 0.82 2565 2565 25.00

รวม 1,000.00 20.36 1,065.60

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

4-9

Page 33: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้ําระดับจังหวัด บทที่ 5 จังหวัดตราด บทสรุป

บทที ่5

สรุปและขอเสนอแนะ

5.1 บทสรุป จังหวัดตราดมีพ้ืนท่ี 1,786,051 ไร เปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรม 924,827 ไร หรือประมาณรอยละ 51.79

ของพ้ืนท่ีจังหวัด โดยในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมดังกลาวมีการพัฒนาเปนพ้ืนท่ีชลประทานแลว 123,350 ไร หรือประมาณรอยละ 13.34 ของพ้ืนท่ีเกษตรกรรมท้ังหมด

โครงการพัฒนาแหลงน้ําท่ีมีศักยภาพตามแผนการพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ป (พ.ศ.2561 –

พ.ศ.2580) ท่ีอยูในแผนดําเนินการจํานวน 43 แหง เปนโครงการขนาดกลาง 20 แหง และโครงการขนาดเล็ก 23 แหง หากดําเนินการแลวเสร็จตามแผนท้ังหมดจะสามารถเก็บกักน้ําไดเพ่ิมอีก 209.16 ลานลูกบาศกเมตร และจะมีพ้ืนท่ีชลประทานเพ่ิมข้ึน 276,843 ไร รวมเปน 400,193 ไร ใชวงเงินรวม 8,343.50

ลานบาท โดยสามารถสรุปตามระยะดําเนินการไดดังนี้

1) โครงการตามแผนระยะสั้น (พ.ศ.2561 - 2565)

มีโครงการท่ีดําเนินการตามแผนระยะสั้น 43 โครงการ เปนโครงการขนาดกลาง 20 โครงการและโครงการขนาดเล็ก 23 โครงการ หากกอสรางแลวเสร็จจะสามารถเก็บกักน้ําไดเพ่ิมอีก 209.16 ลานลูกบาศกเมตร และเพ่ิมพ้ืนท่ีชลประทาน 276,843 ไร ใชเงินงบประมาณสําหรับโครงการในแผนระยะสั้น 8,343.50 ลานบาท

2) โครงการตามแผนระยะกลาง (พ.ศ.2565-2570)

จังหวัดตราดไมมีโครงการท่ีดําเนินการตามแผนระยะกลาง

3) โครงการตามแผนระยะยาว (พ.ศ.2571-2580)

จังหวัดตราดไมมีโครงการท่ีดําเนินการตามแผนระยะยาว

ตารางท่ี 5-1 ผลสัมฤทธิ์ของแผนหลักการพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ป จังหวัดตราด

พ้ืนท่ีจังหวัด (ไร) พ้ืนท่ีเกษตรกรรม

(ไร) พ้ืนท่ีชลประทาน

ปจจุบัน (ไร)

พ้ืนท่ีชลประทานท่ีเพ่ิมข้ึน

ตามแผนพัฒนาการชลประทาน

20 ป (ไร)

รวมพ้ืนท่ีชลประทาน

ท้ังหมด เม่ือสิ้นสุดแผน 20

ป (ไร) 1,786,051 924,827 123,350 276,843 400,193

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

5-1

Page 34: จังหวัดตราดopm.rid.go.th/backend/web/filemanager-uploads... · 1.1 สภาพภูมิประเทศ จังหวัดตราดเป นจังหวัดสุดท

โครงการจัดทําแผนหลักการพัฒนาลุมน้ําระดับจังหวัด บทที่ 5 จังหวัดตราด บทสรุป

5.2 ขอเสนอแนะ

ในรายละเอียดของแผนงานเปนรายโครงการนั้นมีความแตกตางกันในเรื่องของสถานภาพ ความพรอม ปญหาอุปสรรค แตกตางกันออกไป เชน บางโครงการมีความพรอมในเชิงเทคนิควิศวกรรมแตยังติดปญหาดานสังคม บางโครงการอาจเขาขายตองศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม หรือการขอใชพ้ืนท่ีสําหรับบางโครงการท่ีมีพ้ืนท่ีดําเนินการอยูในเขตอนุรักษตาง ๆ เชน ปาอนุรักษ เขตอุทยานแหงชาต ิเปนตน

แนวทางการขับเคลื่อนแผนหลักการพัฒนาการชลประทานระยะ 20 ป จําเปนตองผานกระบวนการสรางการรับรู สรางความเขาใจ และการมีสวนรวมของประชาชน รวมถึงการบูรณาการรวมกันทุกภาคสวน การวางแผนเตรียมความพรอมต้ังแตการศึกษา สํารวจ ออกแบบ จัดหาท่ีดิน ตองมีความสอดคลองตอเนื่อง การปรับแผนใหเหมาะสมกับสภาพการณหรือบริบทท่ีอาจเปลี่ยนแปลงในอนาคตสามารถดําเนินการได โดยควรคํานึงถึงเปาหมายท่ีไดวางไวเปนสําคัญ

สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

5-2