malaysia trade and investment handbook - thai laws trade and investment handbook.pdf · (federation...

126
A ĉ)?5:+Ċ:E-8:+-@! 23&9!+9):D-D=* ĮĭĬĭĺĩļıķĶ ķĮ ĵĩĴĩŁĻıĩ FEDERATION OF MALAYSIA ュョ。エヲエ、オチィチク・ s M

Upload: others

Post on 03-Feb-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

FEDERATION OF MALAYSIA

Malaysia

MALAYSIA

Page 2: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุนสหพันธรัฐมาเลเซีย

จัดทำโดยกรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย

Page 3: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

หนังสือชื่อ : คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซียชื่อผูแตง : กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชยปที่แตง : มกราคม 2555จำนวนที่พิมพ : 2,000 เลมจำนวนหนา : 128 หนาISBN : 978-616-265-028-4พิมพที่ : สำนักขาวพาณิชย กรมสงเสริมการสงออก 22/77 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. (662) 511 5066 - 77 ตอ 382, 384 โทรสาร (662) 513 6413

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000โทร. (662) 507 7999 โทรสาร (662) 507 7722, (662) 547 5657 - 8เว็บไซต : http://www.ditp.go.th

Page 4: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คำนำ

ขอมูลท่ีถูกตองทันสมัยเปนหน่ึงในปจจัยสำคัญของการดำเนินธุรกิจ กรมสงเสริมการสงออกจึงไดมอบหมายใหสำนักพัฒนาการตลาดระหวางประเทศ จัดทำหนังสือคูมือการคาและการลงทุนรายประเทศข้ึน เพ่ือใหนักธุรกิจ ผูสงออก และนักลงทุนไทยรวมถึงผูสนใจท่ัวไปไดมีโอกาสใชประโยชนจากหนังสือเลมน้ี อยางเต็มท่ี “คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย” ประกอบดวย สาระนารู เ ก่ียวกับทิศทางการคาและการลงทุนในสหพันธรั ฐมาเลเซีย ตลอดจนเกร็ดนารูเก่ียวกับธรรมเนียมปฏิบัติในการติดตอธุรกิจซ่ึงรวบรวมจาก สำนักสงเสริมการคาในตางประเทศ เพ่ิมเติมดวยขอมูลจากแหลงอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ โดยตรงเพ่ือใหไดเน้ือหาท่ีครบถวนสมบูรณ นำไปใชประกอบการตัดสินใจในการ ดำเนินธุรกิจในตางประเทศ และกำหนดกลยุทธในการดำเนินธุรกิจไดอยาง รูเทาทัน สงเสริมใหนักธุรกิจไทยสามารถใชประโยชนจากกฎระเบียบและ ขอตกลงทางการคาตางๆ ไดอยางคุมคา ทั้งยังเปนการเตรียมพรอมเพื่อรองรับกระแสการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการกาวสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) ในป 2558 ทายท่ีสุด ขอขอบคุณทุกฝายท่ีมีสวนเก่ียวของและสนับสนุนใหการ จัดทำหนังสือ “คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย” สำเร็จลุลวง ดวยดี

สำนักพัฒนาการตลาดระหวางประเทศกรมสงเสริมการสงออก

Page 5: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ
Page 6: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

สารบัญ

เร่ือง หนา

1. ขอมูลพ้ืนฐาน 1

1.1 สภาพภูมิประเทศ 1

1.2 สภาพภูมิอากาศ 1

1.3 เมืองหลวง/เมืองสำคัญ/เมืองทา 2

1.4 การแบงเขตการปกครอง 4

1.5 ระบบการปกครอง 5

1.6 ประชากร/สังคม/วัฒนธรรม 6

1.7 ภาษาราชการ 7

1.8 สกุลเงิน 7

1.9 เวลา 7

1.10 วันหยุดนักขัตฤกษ 7

1.11 เสนทางคมนาคม 8

1.12 ระบบการเงินการธนาคาร 14

2. เศรษฐกิจการคา 15 2.1 ภาวะเศรษฐกิจ 15

2.2 เคร่ืองช้ีวัดเศรษฐกิจสำคัญ 16

2.3 นโยบายดานเศรษฐกิจการคา 17

2.4 การคาระหวางประเทศ 20

2.5 การคากับประเทศไทย 21

2.6 กฎระเบียบการนำเขาสินคา 25

2.7 โอกาสทางการคาและปญหาอุปสรรค 27

2.8 ระบบโลจิสติกส การขนสงสินคาระหวางไทย-มาเลเซีย 29

2.9 ความตกลงความรวมมือไทยกับมาเลเซีย 32

Page 7: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

เร่ือง หนา

3. รายงานตลาด รายสินคา 34

3.1 ธุรกิจสปา 34

3.2 สินคาประเภทฮาลาล 37

3.3 สินคาประเภทยานยนต 45

3.4 สินคาประเภทอิเล็กทรอนิกส 55

3.5 สินคาประเภทส่ิงทอและเคร่ืองนุงหม 59

3.6 สินคาเคร่ืองหนังรองเทา 64

4. การลงทุน 68 4.1 การลงทุนจากตางประเทศ 68

4.2 สิ่งอำนวยความสะดวกพ้ืนฐาน 70

4.3 กฎระเบียบการลงทุน/นโยบายสงเสริมการลงทุน 72

4.4 ตนทุนการจัดต้ังธุรกิจ 75

4.5 ภาษี 93

4.6 หลักเกณฑการนำเงินกลับประเทศ 96

4.7 กฎหมายท่ีควรรู 97

5. ขอมูลอ่ืนๆท่ีจำเปนในการลงทุน 107

5.1 การจัดต้ังสำนักงานตัวแทน 107

5.2 ขอแนะนำอ่ืนๆ โดยท่ัวไป 109

6. คำถามท่ีพบบอยเก่ียวกับการคาและการลงทุน (FAQ) 113

7. หนวยงานติดตอสำคัญ 115 7.1 หนวยราชการไทย 115

7.2 รายช่ืออ่ืนๆ ที่เก่ียวของ/รานอาหารไทยในมาเลเซีย 116

8. บรรณาณุกรม 118

Page 8: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 1สส

สาธารณรัฐมาเลเซีย(Federation of Malaysia)

1. ขอมูลพ้ืนฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ เปนประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต แบงเปน 2 สวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น สวนแรกคือ คาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศใตติดกับสิงคโปร สวนที่สองคือ ทางเหนือของเกาะบอรเนียว มีพรมแดนทิศใต ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนลอมรอบประเทศบรูไน ภูมิประเทศบนแหลมมลายู เปน หนองบึงตามชายฝงและพ้ืนดินจะสูงข้ึน เปนลำดับ จนกลายเปนแนวเขาดานในของ ประเทศ โดยมีพื้นท่ีราบอยูระหวางแมน้ำสาย ตางๆ พ้ืนดินไมคอยอุดมสมบูรณนัก แต เหมาะสำหรับปลูกยางพาราและตนปาลม ดานในของประเทศจะมีพืชพันธุไมนานา ชนิดข้ึนตามบริเวณปาดงดิบ โดยเฉพาะใน แถบภูเขาซ่ึงมีความสูงระหวาง 150-2,207 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล มีความยาวของ ชายฝงจากเหนือ (ติดชายแดนไทย) ถึง ปลายแหลมประมาณ 804 กิโลเมตร ทาง ชายฝงตะวันตกมีชองแคบมะละกา แยกออกจากเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ความกวางของแหลมสวนท่ีกวางท่ีสุดประมาณ 330 กิโลเมตร ภูมิประเทศบนเกาะบอรเนียว เปนพ้ืนท่ีราบตามชายฝงและมีภูเขา เรียงรายอยูดานใน โดยมีความสูงต้ังแต 300-2,440 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ทางตอนเหนือของเกาะเปนแหลงน้ำมันและกาซธรรมชาติสำคัญ ความกวางจากชายฝงทะเลถึงอาณาเขตท่ีติดกับกะลิมันตันของอินโดนีเซียประมาณ 270 กิโลเมตร และชายฝงยาว 1,120 กิโลเมตร สวนอาณาเขตท่ีติดตอกับกะลิมันตัน มีความยาว 1,450 กิโลเมตร 1.2 สภาพภูมิอากาศ มาเลเซียอยูในเขตรอนช้ืน มีอุณหภูมิระหวาง 21-35oC ฝนตกชุก ตลอดป ปริมาณ น้ำฝนในซาบาหกับซาราวัคจะมากกวาบนแหลมมลายู ลมมรสุม

Page 9: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

2 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ตะวันตกเฉียงใตพัดผานต้ังแตเดือน เมษายน-ตุลาคม และลมมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือเดือน ตุลาคม-กุมภาพันธ

1.3 เมืองหลวง/เมืองสำคัญ/เมืองทาเมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur) เปนเมืองหลวงและศูนยกลาง เศรษฐกิจของประเทศ เปนเขตปกครองพิเศษอยูในรัฐสลังงอ (Selangor) พ้ืนท่ี ประมาณ 0.2 พันตร.กม. ประชากร 1.5 ลานคน เมืองราชการ เมืองปุตราจายา (Putrajaya)

เมืองสำคัญ/เมืองทา - สลังงอร (Selangor) เมืองหลวง ของรัฐสลังงอร คือ ชะฮฺอลัม (Shah Alam) มีพื้นที่ประมาณ 8.10 ตร.กม. มีประชากร ประมาณ 5.5 ลานคน ถือเปนรัฐท่ีมีความม่ังค่ัง มากที่สุด มีอาณาเขตติดกับกัวลาลัมเปอรและปุตราจายา ซ่ึงเปนเขตปกครองพิเศษท่ีเคยอยูภายใตการบริการของรัฐสลังงอรอุตสาหกรรมหลักของรัฐสลังงอร คือ อุตสาหกรรมการผลิต อาทิ รถยนต เคร่ืองใชไฟฟา เคมีภัณฑและ อุตสาหกรรมการบริการ สินคาเกษตรหลัก

ของรัฐ คือ มะเฟอง มะละกอ กลวย และ ปาลมน้ำมัน รัฐสลังงอรเปนศูยกลางของการคมนาคม เปนท่ีตั้งของสนามบิน KLIA และ LCCT (Air Asia Terminal) รวมถึงสนามแขงรถ F1 ดวย มีทาเรือ หลัก คือ ทาเรือกลัง (Port Klang) - ยะโฮร (Johor) มีพื้นที่ประมาณ 19.21 พัน ตร.กม. ต้ังอยูทางตอนใตของมาเลเซีย ติดพรหมแดนประเทศสิงคโปร เมืองหลวงคือ ยะโฮรบารู มีประชากรประมาณ 3.3 ลานคน อุตสาหกรรมสำคัญ ไดแก อุตสาหกรรมการทองเท่ียวและอสังหาริมทรัพย มีทาเรือสำคัญ คือ ทาเรือ Pasir Gudang ทาเรือ Tanjung Pelepas และทาเรือ Tanjung Langsat Port รัฐบาลมาเลเซีย กำหนดใหยะโฮรเปนรัฐในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทางตอนใต เรียกวา Iskandar Malaysia -ปนัง (Penang) มีพื้นที่ประมาณ 1.1 พันตร.กม. ประชากร 1.2 ลานคน เปนดินแดนท่ีรูจักกันในช่ือวา “ไขมุกตะวันออก” เน่ืองจากมีหาดทราย

Page 10: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 3สส

สวยงาม รีสอรทระดับมาตรฐานมากมาย ปนังเปนนครท่ีรวมเอาความพิเศษ ของซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเขาดวยกันอยางกลมกลืน เห็นไดจากอาคาร ตึกรามบานชองท่ีไดรับอิทธิพลการกอสรางสมัยอาณานิคมปะปนกับอาคาร สมัยใหม มี George Town เปนเมืองหลวงของรัฐอุตสาหกรรมสำคัญ ไดแก เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เซมิคอนดักเตอร และคอมพิวเตอร เปนตน - เคดาห (Kedah) พ้ืนท่ีประมาณ 9.4 พันตร.กม. เปนแหลง เพาะปลูกท่ีสำคัญของประเทศ จนไดรับการขนานนามวาเปน “อูขาวอูน้ำ” ของมาเลเซีย อีกทั้งยังมีทิวทัศนสวยงาม มีประชากร 1.6 ลานคน รัฐเคดาห เปน หน่ึงในบรรดารัฐเกาแกท่ีสุดของประเทศ มีการขุดพบโบราณวัตถุตามสถานท่ี ตางๆ เชน Bujang Valley, Gunung Jerai Foothill และภูเขา Alor Setar ที่ แสดงถึงอิทธิพลของฮินดูในคริสตศตวรรษท่ี 4 Alor Setar เปนเมืองหลวงของรัฐท่ีเต็มไปดวยอาคารเกาแก ซ่ึงยังคงสภาพเดิม แข็งแรง พรอมโบราณวัตถุตางๆ อีกทั้งยังเปน สถานท่ีเกิดของ ดร. มหาเธร โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีของมาเลเซีย ผลผลิตสำคัญ ของรัฐน้ี ไดแก สินคาเกษตร เคร่ืองใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส เคมีภัณฑ เคร่ืองจักร ผลิตภัณฑปโตรเลียม เปนตน - เปอรลิส (Perlis) มีพื้นที่ประมาณ 0.8 พันตร.กม. ประชากร 2 แสนคน อยูทาง เหนือสุดของมาเลเซีย มีอาณาเขตติดกับชายแดน ไทยดานจังหวัดสงขลาและสตูล รัฐเปอรลิส มี Kangar เปนเมืองหลวง สวนเมือง Arau เปนท่ีประทับของเช้ือพระวงศและองคประมุข ของรัฐ Kuala Perlis เปนเมืองทางเขาออกสูเกาะลังกาวี (Langkawi Island) ซ่ึงเปนแหลงทองเท่ียวและประมงท่ีนาสนใจ ปะดังเบซาร (Padand Besar) เปนเมืองชายแดนติดกับประเทศไทย เปนแหลงจำหนายสินคาท่ีมีชื่อเสียงและ ไดรับความนิยมมากท่ีสุด ผลผลิตสำคัญของรัฐ ไดแก ขาว ผลไม ผลิตภัณฑ จากสัตวน้ำ และผลิตภัณฑจากไม เปนตน - กลันตัน (Kelantan) พ้ืนท่ีประมาณ 14.9 พันตร.กม. อยูทาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายู มีพรมแดนติดกับไทยดาน ทิศเหนือ มีประชากร 1.4 ลานคน ลักษณะท่ัวไปของรัฐน้ีเปนหมูบานชาว ประมงท่ีเงียบสงบ มีชายหาดสวยงาม ไรนาเขียวชอุม และยามวางผูคนมัก นิยมเลนวาวและลูกขาง จนกลายเปนประเพณีนิยม ดังน้ันนักทองเท่ียวจะได พบการแสดงการเลน วาวยักษและลูกขางยักษ เสียงกลอง “Rebana Ubi” รวมถึงการแสดงหนังตะลุง “Wayang Kulit” ไดทุกแหง กลันตันจึงไดรับการ

Page 11: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

4 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ขนานนามวา “แหลงวัฒนธรรมมาเลย” มี Kota Bharu เปนเมืองหลวง ของรัฐ อุตสาหกรรมสำคัญไดแก เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สิ่งทอ เคมีภัณฑ และไมสัก เปนตน - เปรัค (Perak) มีพื้นที่ประมาณ 21 พันตร.กม. ประชากร 2 ลานคน Ipoh คือ เมืองหลวงของรัฐและมี Taiping เปนเมืองใหญ อุตสาหกรรมสำคัญคือ เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สิ่งทอ เคมีภัณฑ เคร่ืองจักร ยาง และ ผลิตภัณฑจากไม เปนตน - ซาราวัก (Sarawak) ตั้งอยูบนเกาะบอรเนียว ฝงตะวันออก ของมาเลเซีย มีพื้นที่ประมาณ 124.45 พัน ตร.กม. มีประชากรประมาณ 2.42 ลานคน เปนรัฐท่ีมีพื้นท่ีมากท่ีสุด เมืองหลงของรัฐซาบาฮ คือ กูชิง (Kuching) มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ SCORE (Sarawak Corridor of Renewable Energy) สงเสริมการพัฒนาในอุตสาหกรรมตางๆ อาทิ การทองเท่ียว น้ำมัน อลูมิเนียม เหล็ก แกว ประมง ปาลมน้ำมัน สินคาไม ปศุสัตวและการตอเรือ มีทาเรือหลัก คือ ทาเรือ Kuching และทาเรือ Sibu - ซาบาฮ (Sabah) ต้ังอยูบนเกาะบอรเนียว ฝงตะวันออกของมาเลเซีย มีพื้นที่ประมาณ 73.63 พัน ตร.กม. มีประชากรประมาณ 3.15 ลานคน เปน รัฐท่ีมีพื้นท่ีมากท่ีสุดเปนอันดับสอง เมืองหลงของรัฐซาบาฮ คือ โกตากีนาบาลู อุตสาหกรรมหลัก คือ สินคาไม ผลิตภัณฑจากไม อาหารทะเล ปาลมน้ำมัน และโกโก มีทาเรือ 7 แหง คือ ทาเรือ Kota Kinabalu ทาเรือ Sepanggar Bay Container ทาเรือ Sandakan ทาเรือ Tawau ทาเรือ Kudat ทาเรือ Kunak และทาเรือ Lahad Datu

1.4 การแบงเขตการปกครอง มาเลเซียแบงเขตการปกครองออกเปน 13 รัฐ และ 3 ดินแดนสหพันธ เปนดินแดนท่ีรัฐบาลกลางปกครอง เขตการปกครองตาง ๆ และชื่อเมืองหลวง ไดแก ดินแดนสหพันธ มาเลเซียตะวันตก ไดแก กัวลาลัมเปอร (กัวลาลัมเปอร)ปุตราจายา (ปุตราจายา) มาเลเซียตะวันออก ไดแก ลาบวน (วิกตอเรีย) รัฐ - มาเลเซียตะวันตก (คาบสมุทรมลายู)ไดแก กลันตัน (โกตาบารู) เกดะห (ไทรบุรี) (อลอรสตาร) ตรังกานู (กัวลาตรังกานู) เนกรีเซมบีลัน (สเรมบัน) ปะหัง (กวนตัน) ปะลิส (กางาร) ปนัง (จอรจทาวน) เประ (อี โปห) มะละกา (มะละกา) ยะโฮร (ยะโฮรบาหรู) สลังงอร (ชาหอาลัม) - มาเลเซียตะวันออก (เกาะบอรเนียวตอนเหนือ) ไดแก ซาบาห (โกตากินะบะลู) ซาราวัก (กูจิง)

Page 12: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 5สส

1.5 ระบบการปกครอง ระบบรัฐบาลของมาเลเซียมีท้ังรัฐบาลกลางหรือสหพันธ (Federal Government) และรัฐบาลแหงรัฐ (State Government) แตละรัฐมี สุลตานปกครอง และสุลตานรวมกันเลือกสมเด็จพระราชาธิบดี หรือ ยังดี เปอรตวน อากง (Yang di-pertuan Agong) เปนกษัตริยปกครองประเทศ โดย มีการผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันระหวางสุลตานท้ัง 9 รัฐ เพ่ือเปนประมุของคละ 5 ป (รัฐท่ีมีสุลตานเปนประมุข จำนวน 9 รัฐ ไดแก เปรัค ปาหัง สลังงอร เปอรลิส เคดาห เนกรีเซมบิลัน ยะโฮร กลันตัน และตรังกานู รัฐท่ีมีผูวาการรัฐเปนประมุข จำนวน 4 รัฐ ไดแก ปนัง มะละกา ซาราวัค และซาบาห) ปจจุบันสมเด็จ พระราชาธิบดีแหงมาเลเซียคือ Sultan Mizan Zainal Abidin ibni Al-Mar-hum จากรัฐตรังกานู (ดำรงตำแหนงต้ังแต 13 ธันวาคม 2549) การปกครองเปนแบบรัฐสภา (Parliament System) ประกอบดวย สภาผูแทนราษฎร (House of Representative) ที่สมาชิกมาจากการเลือกต้ัง และวุฒิสภา (Senate) ที่สมาชิกมาจากการแตงต้ัง อำนาจทางการเมืองข้ึนอยู กับสภาผูแทนราษฎรโครงสรางการปกครองของมาเลเซียแบงเปน 3 ฝาย ไดแก 1. ฝายนิติบัญญัติ ประกอบดวย 2 สภาคือ วุฒิสภา หรือสภาสูง (Senate หรือ Dewan Negara) จำนวน 70 ที่นั่ง มาจาก 2 สวนคือ สวนแรก มาจากการแตงต้ัง โดยนายกรัฐมนตรี จำนวน 44 ที่นั่ง และสวนที่สอง อีก 26 ที่นั่ง มาจาก การเลือกโดยสภานิติบัญญัติของท้ัง 13 รัฐ (State Legislatures) จำนวน รัฐละ 2 คน มีวาระ 6 ป สำหรับสภาผูแทนราษฎร (House of Representative หรือ Dewan Rakyat) มาจากการเลือกต้ังเขตละ 1 คน รวม 219 คน มีหนาที่พิจารณารางกฎหมายท่ีรัฐบาลหรือวุฒิสภาเปน ผูเสนอ ระยะเวลาการ ดำรงตำแหนง 5 ป สมาชิกสภาผูแทนราษฎรในปจจุบันแบงออกได ดังน้ี - พรรครวมรัฐบาล (Barisan Nasional : BN) ประกอบดวย สมาชิก สภาผูแทนราษฎรจำนวน 199 คน (รอยละ 91 ของจำนวนสมาชิก สภาผูแทนราษฎร) ประกอบดวยสมาชิกจากพรรคการเมืองตางๆ ทั้งสิ้น 14 พรรค รวมตัวกันเปนรัฐบาล พรรคการเมืองใหญท่ีสำคัญ เชน United Malays National Organization (UMNO) จำนวน 110 คน, Malaysian Chinese Association (MCA) จำนวน 31 คน, Parti Pesaka Bumiputra Bersatu (PBB) จำนวน 11 คน, Gerakan Rakyat Malaysia Party (PGRM) จำนวน 10 คน และ Malaysian India Congress (MIC) จำนวน 9 คน และพรรคอ่ืนๆ อีก 28 คน เปนตน - พรรคฝายคาน ประกอบดวยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจำนวน 20 คน จากพรรคการเมือง 4 พรรค คือ Democratic Action Party (DAP) จำนวน 12 คน, Parti Islam Se-Malaysia (PAS) จำนวน 6 คน, Keadilan จำนวน 1 คน และ Bebas จำนวน 1 คน

Page 13: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

6 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

2. ฝายบริหาร

ประกอบดวย 2 สวนคือ นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี - นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) เปนผูนำสูงสุดของฝายบริหารตาม ระบบรัฐสภา นายกรัฐมนตรีเปนหัวหนาพรรคการเมือง ที่สมาชิกไดรับเลือกเขามาในสภามากสุด หรืออาจเปนหัวหนาพรรคท่ีเปนแกนนำ ในสภาผูแทนราษฎร โดยประมุขของประเทศจะเปนผูแตงต้ัง นายกรัฐมนตรีคนปจจุบันคือ Y.A.B. DATO’SRI HJ. MOHD. NAJIB BIN TUN HAJI ABDUL RAZAK ดำรงตำแหนงในวันท่ี 3 เมษายน 2552 - คณะรัฐมนตรี (Cabinet) เปนกลุมผูกำหนดนโยบายอันมีนายก รัฐมนตรีเปนหัวหนา นายกรัฐมนตรีจะเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขามา ดำรงตำแหนงในกระทรวงตางๆ 3. ฝายตุลาการ อำนาจตุลาการใชระบบกฎหมายของอังกฤษคือ Common Law ยกเวนศาสนาอิสลามอยูภายใตระบบสหพันธ ทำใหอำนาจตุลาการมีความอิสระ มาก เพราะไมถูกควบคุมโดยฝายบริหารและนิติบัญญัติ

1.6 ประชากร/สังคม/วัฒนธรรมประชากร มาเลเซียมีประชากรประมาณ 28.326 ลานคน (31 ธ.ค. 2553) แบง เปน ชาวมลายู 14.072 ลานคน ( 49.68 %) จีน 6.465 ลานคน ( 22.82 %) ภูมิบุตรท่ีไมใชมลายู 3.038 ลานคน (10.73 %) อินเดีย 1.929 ลานคน (6.81 %) อื่นๆ 0.361 ลานคน ( 1.27 %) ผูที่ไมถือสัญชาติมาเลย 2.461 ลานคน (8.69 %) ประชากรของมาเลเซีย ผูชายมีอายุเฉลี่ย 71.9 ป ขณะท่ีผูหญิง มีอายุเฉลี่ย 76.4 ป อัตราเพ่ิมเฉล่ียของประชากร รอยละ 1.9 ประชากร ที่มีอายุไมเกิน 15 ป มีสัดสวนรอยละ 32.2 อายุ 15-64 ป รอยละ 63.4 และตั้งแต 65 ปขึ้นไป รอยละ 4.4 เปนประชากรในวัยแรงงานประมาณ 11 ลานคน หรือรอยละ 40 ของจำนวนประชากรท้ังหมด อยูในภาคเกษตรกรรม รอยละ 15.1 ภาคอุตสาหกรรม รอยละ 40.2 และภาคบริการ รอยละ 44.7 รายไดตอหัว 6,822 เหรียญสหรัฐฯ (ป 2553)

สังคมและวัฒนธรรม มาเลเซียประกอบดวยชนจากหลายเผาพันธุ (พหุสังคม) รวมกันอยู บนแหลมมลายูมากวา 1,000 ป ประกอบดวยเช้ือชาติใหญๆ 3 กลุม คือ ชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย อาศัยอยูบนแหลมมลายู สวนชนพ้ืนเมืองอ่ืนๆ เชน อิบัน (Ibans) สวนใหญอาศัยอยูในรัฐซาราวัค และคาดาซัน (Kadazans)

Page 14: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 7สส

อาศัยอยูในรัฐซาบาห ประชาชนมาเลเซียมีการนับถือศาสนาแตกตางกัน โดย ประมาณรอยละ 60.4 นับถือศาสนาอิสลาม รองลงมาไดแก ศาสนาพุทธ รอยละ 19.2 ศาสนาคริสต รอยละ 9.1 ศาสนาฮินดู รอยละ 6.3 และศาสนาอื่นๆ เชนศาสนาซิกข ลัทธิเตา ฯลฯ รอยละ 5

1.7 ภาษาราชการ ภาษาราชการไดแกภาษามาเลย (Bahasa Malayn) สำหรับภาษา อื่นที่ใชกันอยางแพรหลาย คือ ภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะในแวดวงธุรกิจ และ ภาษาจีน 1.8 สกุลเงิน หนวยเงินตรา ริงกิตมาเลเซีย อัตราแลกเปล่ียนท่ี 3.2 ริงกิต เทากับ 1 ดอลลารสหรัฐฯ และ 0.1014 ริงกิต เทากับ 1 บาท (แหลงท่ีมา : Bank Negara Malaysia อัตราเม่ือป 2553) 1.9 เวลา เวลา เร็วกวาประเทศไทย 1 ช่ัวโมง 1.10 วันหยุดนักขัตฤกษ วันหยุดสำคัญของมาเลเซีย แบงเปน วันหยุดประจำชาติ (National Holiday) กำหนดใหหยุด เหมือนกันท่ัวประเทศ และวันหยุดประจำรัฐ (State Holiday) ซ่ึงแตละรัฐกำหนดวันสำคัญไวแตกตางกัน นอกจากน้ี หากวันหยุดใดตรงกับวันอาทิตย กำหนดใหหยุดชดเชยในวันถัดไป สำหรับวันหยุดประจำชาติ ไดแก

Page 15: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

8 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

1 มกราคม วันข้ึนปใหม 10 มกราคม Awal Muharram (Maal Hijrah) 1 กุมภาพันธ Federal Territory Day 7 กุมภาพันธ วันตรุษจีน 20 มีนาคม วันประสูติทานศาสดาโมฮัมหมัด 1 พฤษภาคม วันแรงงานแหงชาติ 19 พฤษภาคม Vesak Day 7 มิถุนายน วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระราชาธิบดี 31 สิงหาคม วันชาติ 1-2 ตุลาคม Hari Raya Puasa 27 ตุลาคม Deepali 8 ธันวาคม Hari Raya Qurban 25 ธันวาคม วันคริสตมาส 29 ธันวาคม Awal Muharram (Maal Hijrah) สำหรับวันเกิดของประมุขในแตละรัฐนับเปนวันหยุดประจำรัฐน้ัน

1.11 เสนทางคมนาคม

มาเลเซียนับเปนประเทศหน่ึงท่ีมีระบบสาธารณูปโภคดีท่ีสุดของเอเชีย และมีผลอยางสำคัญตอความสำเร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจในชวงท่ีผานมา โครงสรางพ้ืนฐานสำคัญของมาเลเซีย สรุปไดดังน้ี 1. การคมนาคมทางถนน

มาเลเซียเปนประเทศท่ีมีระบบโครงขายถนนท่ีสมบูรณและกาวหนาท่ีสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในป 2552 มาเลเซียมีถนนลาดยาง มีความยาว 50,214.6 กิโลเมตร (รวมทางดวน 1,471.6 กิโลเมตร) ถนนไมลาดยาง มี ความยาว 15,942 กิโลเมตร รวมระยะทางท้ังส้ิน 66,156.6 กิโลเมตร มีทาง หลวงจากเหนือจรดใต จากชายแดนไทย ถึงสิงคโปรเปนระยะทาง 850 กิโลเมตร ถนนในมาเลเซียตะวันตกจะครบสมบูรณกวา มาเลเซียตะวันออก ถนนในมาเลเซียตะวันตก

1. ทางดวน แบงเปนสองเสนทางหลัก คือ (1.) เสนทางสายเหนือ – ใต มีระยะทางประมาณ 880 กิโลเมตร เร่ิมจากบูกิตกายูฮิตัม ผานจีรากุรุน บัตเตอรเวอรธ จักกัตเยอรอิโปห ตัมยุงมาลิน กัวลาลัมเปอร เซเรมปน อาเยอรฮิตัม เชอไน ยะโฮรบารู (2.) เสนทางสายตะวันออก - ตะวันตก มีระยะทางประมาณ 135 กิโลเมตร เร่ิมจากเมืองกริก รัฐเปรัคไปรัฐกลันตัน 2. ทางหลวงแผนดิน (Malaysian Federal Roads System) 3. ทางหลวงของรัฐตางๆ (Malaysian National Roads System)

Page 16: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 9สส

ถนนในมาเลเซียตะวันออก ( Sabah และ Sarawak) เร่ิมจาก Tawau, Merotai, Kalabakan, Sepulut, Nabawan, Keningau Tenom และ Sipitang

แผนภาพแสดงถนนในมาเลเซียตะวันตก

แผนภาพแสดงถนนในมาเลเซียตะวันออก

Page 17: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

10 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

2. การคมนาคมทางเรือ

รัฐบาลมาเลเซียมีการพัฒนาทาเรือเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ขนสงสินคาทางเรือ โครงการพัฒนาทาเรือของมาเลเซียสวนใหญแลวเสร็จต้ังแตป 2543 ซ่ึงชวยยกระดับประสิทธิภาพการใหบริการขนสงทางทะเลไดมากข้ึน ทำใหทาเรือของมาเลเซียสามารถรองรับการขนสงสินคาทางเรือไดมากถึง 280 ลานตัน เม่ือเทียบกับชวงป 2538 ซ่ึงขนสงไดเพียง 174 ลานตัน และยังมีโครงการขยายทาเรืออีกในอนาคต ปจจุบันมาเลเซียมีทาเรือนานาชาติท้ังส้ิน 7 แหงไดแก 1. Port Klang 2. Port of Tanjung Pelepas 3. Kuantan Port 4. Penang Port 5. Johor Port 6. Kemaman Port 7. Bintulu Port ทาเรือ 6 แหงแรกอยูท่ีแหลมมลายู มีเพียง Bintulu Port เทาน้ัน ที่อยูบนเกาะบอรเนียว ทั้งนี้ Port Klang และ Port of Tanjung Pelepas ไดรับการยอมรับวาเปน 1 ใน 10 ของทาเรือท่ีดีท่ีสุดในเอเชีย สำหรับรายละเอียด ของทาเรือท่ีสำคัญมีดังน้ี - Port Klang เปนทาเรือสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ต้ังอยูกึ่งกลางชายฝงทางตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ปริมาณสินคาท่ีขนสง ผานทาเรือแหงน้ีประมาณ 4.5 ลานตัน (TEUs) ตอป สูงเปนอันดับ 11 ของโลก มีทาเรือน้ำลึกท่ีสามารถรองรับเรือขนสงสินคา ขนาดใหญได และเปน จุดยุทธศาสตรในการขนสงทางทะเล เนื่องจากเปนทาเรือที่อยูระหวางชอง แคบมะละกา (Malacca Straits) นอกจากน้ี ยังมี Free Commercial Zone (FCZ) ซ่ึงเปนเขตพิเศษสำหรับการลดหยอนภาษีและคาธรรมเนียมตางๆ ในการ ขนถายสินคา ดวยปจจัยดานภูมิศาสตรเพราะเปนทาเรือท่ีเปนทางผานสำหรับ

Port Klang และ Port of Tanjung Pelepas ไดรับการ ยอมรับวาเปน 1 ใน 10 ของ ทาเรือที่ดีที่สุดในเอเชีย สำหรับ รายละเอียดของทาเรือท่ีสำคัญ มีดังนี้

Page 18: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 11สส

การเดินเรือขามจากมหาสมุทรอินเดียไปยังมหาสมุทรแอตแลนติก รัฐบาลจึง พยายามผลักดันให Port Klang เปนศูนยกลางขนถายสินคาของประเทศและ ของภูมิภาค (Hub Port) และคาดวาในป 2553 ทาเรือจะสามารถรองรับปริมาณ สินคาไดถึง 8.4 ลาน TEUs โดยมีความยาวของทาเทียบเรือ (Berth Length) รวม 16 กิโลเมตร และมีเครือขายเช่ือมโยงกับทาเรือปนัง (Penang Port) สำหรับ สินคาจากภาคใตของไทยใชบริการทาเรือแหงน้ีปละมากกวา 3 แสน TEUs - Port of Tanjung Pelepas (PTP) อยูทางตอนใตของประเทศติดกับสิงคโปร หางจากกรุงกัวลาลัมเปอรเพียง 40 กิโลเมตร เร่ิมกอสรางเม่ือป 2542 ปจจุบันมีทาเทียบเรือท้ังหมด 12 ทา สามารถรองรับการขนสงสินคาได 2.5 ลาน TEUs ตอป เปนทาเรือขนาดใหญอันดับท่ี 16 ของโลก รัฐบาลมี เปาหมายสงเสริมใหเปนศูนยกลางการขนสงทางทะเลในระดับภูมิภาคและระดับ โลก โดยมีสายการเดินเรือ เชน Mearsk Sealand และ Evergreen Marine Corporation เขามาเปนหุนสวนและยายฐานจากทาเรือสิงคโปรมาใชบริการ ของทาเรือแหงน้ี Port of Tanjung Pelepas มีจุดเดนเพราะต้ังอยูในชุมนุม ของเสนทางการเดินเรือหลักท่ีสำคัญ และจัดสรรพ้ืนท่ีเปนเขตอุตสาหกรรมและ กระจายสินคา โดยมีระบบการเช่ือมตอกับถนน ทางรถไฟ ทาอากาศยาน และ การขนสงทางน้ำท่ีมีประสิทธิภาพ - Kuantan Port มีอีกช่ือหน่ึงวา Kertih-Gebeng Corridor เปนทา เรือดานชายฝงตะวันออกของแหลมมลายูใชสำหรับการขนสงในอุตสาหกรรม ปโตรเคมี - Bintulu Port เปนทาเรือนานาชาติแหงเดียวบนเกาะบอรเนียว และเปนทาเรือสำหรับขนสงกาซธรรมชาติเหลวแหงแรกของประเทศ

3. การคมนาคมทางอากาศ

แผนภาพแสดงทาอากาศยานนานาชาติในมาเลเซียตะวันตก

Page 19: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

12 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

มาเลเซียมีทาอากาศยานนานาชาติท้ังหมด 5 แหง ไดแก 1) Kuala Lumpur International Airport อยูในรัฐสลังงอ บนแหลมมลายู 2) Penang International Airport อยูบนเกาะปนัง 3) Langkawi International Airport อยูบนเกาะลังกาวี 4) Kota Kinabalu International Airport อยูในรัฐซาบาห บนเกาะบอรเนียว 5) Kuching International Airport อยูในรัฐซาราวัค บนเกาะบอรเนียว สำหรับทาอากาศยาน Kuala Lumpur International Airport (KLIA) มีพื้นที่ 25,000 เอเคอร (6.25 หม่ืนไร) เปนทาอากาศยานแหงชาติที่ใหญท่ีสุดของมาเลเซีย อยูบริเวณเซปงในรัฐสลังงอ หางจากกัวลาลัมเปอรไปทางใตประมาณ 55 กิโลเมตร สามารถเดินทางดวยรถยนตบนทางหลวงพิเศษใชเวลาไมเกิน 1 ช่ัวโมง นอกจากน้ียังเปนศูนยกลางการบินในประเทศ มีสายการบินในประเทศรองรับ เชน Air Asia, Pelangi Air, Berjaya Air, Mofaz Air เร่ิมเปดดำเนินการเม่ือป 2541 รัฐบาลมีแผนใหทาอากาศยาน แหงน้ีสามารถขนสงผูโดยสารไดปละ 60 ลานคน และขนสงสินคาได 3 ลานตัน ภายในป 2563 และมีแผนจะขยายการขนสงผูโดยสารใหไดปละ 100 ลานคน และขนสงสินคาได 6 ลานตันในอนาคต นอกจากทาอากาศยานนานาชาติแลว ยังมีทาอากาศยานภายในประเทศอีก 16 แหง และสนามบินทางว่ิงส้ัน (STOL Ports) อีก 18 แหง

แผนภาพแสดงทาอากาศยานนานาชาติในมาเลเซียตะวันออก

Page 20: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 13สส

4. การคมนาคมทางรถไฟ

รถไฟในมาเลเซียตะวันตก มีสายหลัก 2 สาย คือ 1. สายชายฝงทะเลตะวันตก Singapore และ Padang Besar, Perlis (ชายแดนไทย) 2. สายชายฝงทะเลตะวันออก Gemas ใน Negeri Sembilan และ Tumpat in Kelantan รถไฟน้ียังมีสายยอย ๆ อีกหลายสาย เชน สายระหวาง Kuala Lumpur และ Port Klang, Batu Junction และ Batu Caves, Bukit Mertajam และ Butterworth, Tapah Road และ Teluk Intan, Kempas และ Tanjung Pelepas, Kempas และ Pasir Gudang, และ Pasir Mas และ Rantau Panjang. โครงขายรถไฟจะครอบคลุมทุกรัฐในสวนของมาเลเซียตะวันตกดวย ระยะทาง 1,699 กิโลเมตร ในสวนของมาเลเซียตะวันออกมีเฉพาะในรัฐซาบาห โดยรัฐซาบาหมีทางรถไฟยาว 134 กิโลเมตร เช่ือมระหวางเมือง Tanjung Aru เมือง Kinabalu และ เมือง Tenom เปนทางรถไฟสายเดียวบนเกาะบอรเนียว

แผนภาพแสดงโครงขายรถไฟระหวางเมือง และสายการเดินรถไฟ 2 สายหลักของมาเลเซีย

Page 21: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

14 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

1.12 ระบบการเงินการธนาคาร สถาบันการเงิน

สถาบันการเงินในมาเลเซียอยูภายใตการกำกับดูแลของ “Bank Negara Malaysia” ซ่ึงเปนธนาคารชาติ ทำหนาที่กำหนดนโยบายการเงิน นโยบาย อัตราแลกเปล่ียน รักษาเสถียรภาพและสงเสริมโครงสรางทางการเงินใหเขมแข็ง รวมท้ังเปนนายธนาคารใหกับรัฐบาลดวย สถาบันการเงินในมาเลเซียมีความ หลากหลายและจัดกลุมไมเหมือนประเทศไทย โดยอาจแบงออกได ดังน้ี- Commercial Banks - Development Banks - Islamic Banks - Merchant Banks - Discount Houses - Finance Companies- Money Brokers - Insurance Companies สำหรับธนาคารพาณิชย (Commercial Banks) มีทั้งสิ้น 34 แหง เปนธนาคารพาณิชยทองถ่ินจำนวน 10 แหง คือ 1) Affin Bank Bhd. 2) Alliance Bank Malaysia Bhd. 3) Am Bank (M) Bhd. 4) CIMB Bank Bhd. 5) EON Bank Bhd. 6) Hong Leong Bank Bhd. 7) Malayan Banking Bhd. 8) Public Bank Bhd. 9) RHB Bank Bhd. 10) Southern Bank Bhd.

สวนธนาคารพาณิชยตางชาติท่ีเขามาดำเนินกิจการในมาเลเซียแลว มีจำนวน 13 แหง โดยมีธนาคารจากประเทศไทยเพียงแหงเดียวคือ Bangkok Bank Bhd. รายช่ือธนาคารตางชาติในมาเลเซีย มีดังน้ี 1) Bangkok Bank Bhd. 2) Bank of America (M) Bhd. 3) Bank of China (M) Bhd. 4) Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ (M) Bhd. 5) ABN Amro Bank Bhd. 6) Citibank Bhd. 7) Deutsche Bank (M) Bhd. 8) HSBC Bank (M) Bhd. 9) JP Morgan Chase Bank Bhd. 10) Bank of Nova Scotia Bhd. 11) OCBC Bank (M) Bhd. 12) Standard Chartered Bank (M) Bhd. 13) United Overseas Bank (M) Bhd.

Page 22: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 15สส

นอกจากน้ี ยังมีธนาคารเพ่ือการลงทุน (Investment Banking) ที่ม ีลักษณะคลายบริษัทหลักทรัพยของไทยท่ีสำคัญคือ 1. Affin Investment Bank Bhd. 2. Alliance Investment Bank Bhd. 3. Am Investment Investment Bank Bhd. 4. Aseambankers Investment Bank Bhd. 5. CIMB Investment Bank Bhd. 6. HwangDBS Investment Bank Bhd. 7. KAF Investment Bank Bhd. 8. Kenanga Investment Bank Bhd. 9. MIDF Amanah Investment Bank Bhd. 10. MIMB Investment Bank Bhd. 11. OSK Investment Bank Bhd. 12. Public Investment Bank Bhd. 13. RHB Investment Bank Bhd. 14. Southern Investment Bank Bhd. สถาบันการเงินที่สำคัญของมาเลเซียอีกประเภทหนึ่งคือ ธนาคาร อิสลาม (Islamic Banks) ซ่ึงเร่ิมดำเนินการในมาเลเซียเม่ือเกือบ 50 ปที่ผานมา และมีการแยกประเภทออกจากธนาคารพาณิชยท่ัวไป โดยอยูภายใตกฎหมาย Islamic Banking Act (IBA) ซ่ึงมีผลบังคับใชเม่ือป 2526 สำหรับธนาคาร อิสลามที่สำคัญของมาเลเซียคือ 1) Affin Islamic Bank Bhd. 2) Am Islamic Bank Bhd. 3) Bank Islamic Malaysia Bhd. (เปนธนาคารอิสลามแหงแรกของ มาเลเซีย) 4) Bank Muamalat Malaysia Bhd. 5) CIMB Islamic Bank Bhd. 6) EONCAP Islamic Bank Bhd. 7) Hong Leong Islamic Bank Bhd. 8) RHB Islamic Bank Bhd.

2. เศรษฐกิจการคา2.1 ภาวะเศรษฐกิจ เศรษฐกิจประเทศมาเลเซียในป 2553 อัตราการเจริญเติบโตของ เศรษฐกิจมาเลเซีย วัดโดยผลิตภัณฑมมวลรวมในประเทศ (GDP) ของป 2553

Page 23: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

16 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

อยูที่ 238.0 และคาดการณวาในป 2554 GDP จะขยายตัวรอยละ 4.12 ข้ึน ไปเปน 247.8 โดยมีปจจัยสนับสนุนจากภาคการบริการ และภาคอุตสาหกรรมการผลิตท่ีขยายตัวดี ขณะท่ีทางฝงดานอุปสงคมีการบริโภคและการลงทุนของ ภาคเอกชนเปนตัวขับเคล่ือนเศรษฐกิจท่ีสำคัญ อัตราเงินเฟอ ดัชนีราคาสินคาผูบริโภคป 2553 ขยายตัวรอยละ 1.7 จากป 2552 และคาดการณวาในป 2554 ดัชนีราคาสินคาผูบริโภคจะขยาย ตัวอีก 2.8 ทั้งนี้ มีสาเหตุหลักจากราคาสินคาอาหารและเคร่ืองด่ืมท่ีปรับตัวสูง ข้ึน และคาใชจายจาการขนสงท่ีเพ่ิมสูงข้ึนจากการท่ีรัฐบาลเร่ิมลดการ susidy ราคาน้ำมันเม่ือกลางเดือนกันยายน 2553 และจากการท่ีเศรษฐกิจมาเลเซีย ไดฟนตัวข้ึน นอกจากน้ี มาเลเซียเร่ิมมีความเส่ียงจากอัตราเงินเฟอ ทำให ธนาคารแหงชาติมาเลเซีย (Bank Negara Malaysia – BNM) ไดปรับ อัตราดอกเบ้ียหลักเปน รอยละ 2.25 → รอยละ 2.5 → รอยละ 2.75 ในเดือนมีนาคม เดือนพฤษภาคม และเดือนกรกฎาคม 2553 ตามลำดับ ดานการคาระหวางประเทศ ในในป 2553 (มกราคม – ธันวาคม) การคาระหวางประเทศของมาเลเซียกับท่ัวโลก มีมูลคารวม 3.64 แสนลาน เหรียญสหรัฐฯ เปนการสงออก มูลคา 1.99 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ และ เปนการนำเขา มูลคา 1.65 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ มาเลเซียไดดุลการคา 34 หม่ืนลานเหรียญสหรัฐฯ โดยสินคาสงออกสำคัญของมาเลเซีย ไดแก เคร่ืองจักรไฟฟา น้ำมันดิบ เคร่ืองจักรกล น้ำมันพืช ยาง พลาสติก เปนตน ตลาดสงออกสำคัญ 5 อันดับแรกของมาเลเซีย (สัดสวน) คือ จีน (12.95%) สิงคโปร (12.67%) ญี่ปุน (11.2) สหรัฐฯ (8.2%) ไทยเปน ตลาดสงออกอันดับท่ี 5 ของมาเลเซีย (5.23%) สำหรับสินคานำเขาสำคัญของ มาเลเซีย ไดแก เคร่ืองจักรไฟฟา น้ำมันดิบ เคร่ืองจักรกล เหล็ก พลาสติก รถยนต เปนตน แหลงนำเขาสำคัญ 5 อันดับแรก (สัดสวน) คือ ญี่ปุน (12.58%) จีน (12.55%) สิงคโปร (11.41%) สหรัฐฯ (10.64%) ไทยเปนแหลงนำเขาอันดับท่ี 5 ของมาเลเซีย (6.23%) (ขอมูลเพ่ิมเติม:ท่ีมา www.statistics.gov.my, www.bnm.gov.my , www.bi.go.id, apecthai.org, www.ceicdata.com, www.gtis.com/gta, World Trade Atlas)

2.2 เคร่ืองช้ีวัดเศรษฐกิจสำคัญ

ที่มา : www.dfat.gov.au

Page 24: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 17สส

2.3 นโยบายดานเศรษฐกิจการคา นโยบายหลักในการปฏิรูปและพัฒนามาเลเซีย นายกรัฐมนตรีนาจิบได ริเร่ิมนโยบายการปฏิรูปและพัฒนาให มาเลเซีย กาวไปสูประเทศท่ีพัฒนาแลว (ใหมีรายไดมวลรวมประชาชาติ (Gross National Income-GNI) 15,000 ดอลลารสหรัฐตอคนตอป) ตาม Vision 2020 โดยมีแนวคิดและนโยบายเปน 4 เสาหลัก (pillars) ดังน้ี 1) One Malaysia, People First, Performance Now เปน แนวคิด (concept) เพ่ือสงเสริมความเปนเอกภาพของประเทศชาติ (national unity) การยอมรับชาวมาเลเซียตางเช้ือสาย (ethnic tolerance) และ รัฐบาลท่ีมีประสิทธิภาพ (efficient government) โดยจะสงเสริมคุณคา (value) 8 ประการในสังคมมาเลเซีย ไดแก (1) ความมานะบากบ่ัน (perse-verance) (2) การยอมรับ (acceptance) (3) การศึกษา (education) (4) ความซ่ือตรง (integrity) (5) ระบบสังคมท่ีเช่ือในการทำสำเร็จดวยตนเอง (meritocracy) (6) ความออนนอมถอมตน (humility) (7) ความจงรักภักดี (loyalty) (8) คานิยมในดานความเปนเลิศ (culture of excellence) 2) Government Transformation Program (GTP) เปนนโยบาย ปรับปรุงและปฏิรูปการทำงานและการใหบริการของภาครัฐบาลใหทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความตองการของประชาชน โดยกำหนดประสิทธิผลสำคัญระดับชาติ (National Key Result Areas – NKRA) 6 ประการคือ (1) ลดอาชญากรรม (2) ลดการชอราษฎรบังหลวง (3) ปรับปรุง ผลการศึกษาของนักเรียน (4) ยกระดับความเปนอยูของประชากรท่ีมี รายได ต่ำ (5) ปรับปรุงโครงสรางพ้ืนฐานในพ้ืนท่ีชนบท (6) ปรับปรุงระบบขนสงมวลชน ในเมืองใหญ โดยในแตละเปาหมาย หนวยงานท่ีเก่ียวของจะจัดทำตัวช้ีวัด (Key Performance Indicators – KPIs) และดำเนินโครงการตางๆ เพ่ือบรรลุเปาหมาย ทั้งนี้ รัฐบาล มาเลเซีย ไดจัดต้ัง Performance Management and Delivery Unit (PERMANDU) สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มาเลเซีย ใหเปนหนวยงานหลักในการติดตามการดำเนินการของหนวยงานท่ีเก่ียวของตางๆ ตามนโยบาย GTP 3) New Economic Model (NEM) และ Economic Transforma-tion Program (ETP) การปฏิรูปดานเศรษฐกิจประกอบไปดวยแนวคิดตนแบบ เศรษฐกิจใหม (New Economic Model – NEM) ซ่ึงเปนพ้ืนฐานสำหรับนโยบาย Economic Transformation Program (ETP) NEM เปนแนวคิดการพัฒนา ทางเศรษฐกิจซ่ึง นรม. นาจิบ ไดมอบหมายให National Economic Advisory Council (NEAC) เปนผูศึกษาและเสนอตอรัฐบาล โดย NEM มีจุดประสงคหลัก 3 ประการคือ การเพ่ิมรายได (high income) การกระจายรายไดและผล ประโยชนใหครอบคลุมทุกภาคสวน (inclusiveness) และการพัฒนาอยางย่ังยืน (sustainability) และกำหนดยุทธศาสตรการปฏิรูป (Strategic Reform

Page 25: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

18 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

Initiatives – SRIs) 8 ประการเพ่ือให เศรษฐกิจ มาเลเซีย บรรลุเปาหมายตาม NEM ไดแก (1) การผลักดันใหภาคเอกชนเปนผูขับเคล่ือนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Re-energising the private sector to lead growth) (2) การเพ่ิมคุณภาพของแรงงานชาว มาเลเซีย และลดการพ่ึงพาแรงงานตางชาติ (Developing a quality workforce and reducing dependency on foreign labour) (3) สงเสริมการแขงขันภายใน มาเลเซีย (Creating a competitive domestic economy) (4) สรางความแข็งแกรงใหระบบราชการ (Strength-ening the public sector) (5) การใหสิทธิพิเศษสำหรับผูดอยโอกาสท่ีโปรงใส และเปนมิตรกับระบบตลาด (Transparent and market-friendly affirma-tive action) (6) การสรางคลังความรูและพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน (Building the knowledge base and infrastructure) (7) สงเสริมปจจัยท่ีกอใหเกิด ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Enhance the sources of growth) และ (8) สงเสริมการเจริญเติบโตแบบย่ังยืน (Ensure sustainability of growth) ETP เปนนโยบายการปฏิรูปทางเศรษฐกิจท่ีมีแนวคิด NEM เปน รากฐาน โดยจะใช ยุทธศาสตรการปฏิรูป (SRIs) 8 ประการของ NEM เปนตัวชวยขับเคล่ือน (Enablers) และกำหนดภาคสวน ทางเศรษฐกิจท่ี สำคัญระดับชาติ (National Key Economic Areas – NKEA) ซ่ึงจะเปน ตัวขับเคล่ือนหลัก (Drivers) ในการพัฒนาและปฏิรูป เศรษฐกิจ มาเลเซีย โดยภายหลังการประกาศแนวคิด NEM เม่ือ 30 มี.ค. 2553 PERMANDU ไดจัด workshop กับภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชนเพ่ือกำหนด NKEA และตอมาไดจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (NKEA Labs) เพ่ือกำหนดรายละเอียดเบ้ืองตนเก่ียวกับโครงการพัฒนาตางๆ ในแตละ NKEA ซ่ึงไดแก (1) อุตสาหกรรมปาลมน้ำมัน (2) อุตสาหกรรมน้ำมันและ กาซธรรมชาติ (3) อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (4) เกษตรกรรม (5) การทองเท่ียว (6) การศึกษา (7) การบริการทางการแพทยและสาธารณสุข (8) การบริการธุรกิจ (business services) (9) การเงินและการธนาคารอิสลาม (10) การส่ือสาร (communication content infrastructure) (11) การคาปลีกและคาสง และ (12) การพัฒนาพ้ืนท่ี Greater Kuala Lumpur รมต. ประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและ CEO ของ PERMSNDU ไดประกาศวา ผลการทำ NKEA Labs ไดระบุ 131 โครงการเร่ิมตน (Entry Point Projects) 60 โอกาสทางธุรกิจ (Business Opportunities) สำหรับ ชวงป 2553-2563 มูลคาการลงทุนรวมประมาณ 444 พันลานดอลลารสหรัฐ โดยจะเปนการลงทุนจากภาคเอกชนรอยละ 92 (410 พันลานดอลลารสหรัฐ) และเปนการลงทุนจากภาครัฐบาลรอยละ 8 (34 พันลานดอลลารสหรัฐ) ทั้งนี้รอยละ 73 ของการลงทุนจะเปนการลงทุนภายในประเทศ และคาดวาจะ มีการจางงานเพ่ิมข้ึน 3.3 ลานตำแหนง ตัวอยางโครงการสำคัญภายใต ETP

Page 26: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 19สส

เชน การพัฒนาระบบ Mass Rapid Transit (MRT) สำหรับ Greater Kuala Lumpur และโครงการรถไฟความเร็วสูงระหวางสิงคโปร-กัวลาลัมเปอร 4) 10th Malaysia Plan (10MP) เปนแผนพัฒนาประเทศระยะเวลา 5 ป ระหวางป ค.ศ. 2011-2015 (พ.ศ. 2554-2558) โดยมีเปาหมาย หลักคือการพัฒนาให มาเลเซีย กาวไปสู high income country งบประมาณ 230 พันลานริงกิต โดยเปน งบประมาณ Physical Development 60% และเปน งบประมาณ Non-Physical Development 40% และสามารถแบง สัดสวนตามภาคสวนตางๆ ไดดังน้ี งบประมาณ ดานเศรษฐกิจ 55% งบประมาณ ดานสังคม 30% งบประมาณ ดานความม่ันคง 10% และ งบประมาณ บริหารจัดการท่ัวไป (general administration) 5% เปาหมายทางเศรษฐกิจ GDP ขยายตัวเฉล่ียปละ 6% GNI เพ่ิมเปน 12,139 ดอลลารสหรัฐ (38,845 ริงกิต) ตอคนตอปในป 2558 การลงทุนภาค เอกชน (Private Investment) ขยายตัวปละ 12.8% การบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption) ขยายตัวปละ 7.7% การลงทุนภาครัฐ (Public Investment) ขยายตัวปละ 5% การบริโภคภาครัฐ (Public Consumption) ขยายตัวปละ 4.8% การขาดดุลงบประมาณ (Budget Deficit) ลดลงใหเหลือ 2.8% ของ GDP ในป 2558 การสงออก ขยายตัวปละ 7.2% การนำเขา ขยายตัวปละ 8.6% ยุทธศาสตรหลัก (Strategic Thrust) (1) เปล่ียนแปลงการใหบริการของภาครัฐเพ่ือเปล่ียนแปลงมาเลเซีย (Transforming Government to transform Malaysia) – การปฏิรูประบบ ราชการโดยเนนหลักการสำคัญ 4 ประการคือ วัฒนธรรมสงเสริมความคิด สรางสรรคและนวัตกรรม ความรวดเร็วของระบบการตัดสินใจและการปฏิบัติ งาน ความคุมคา (value-for-money) และความซ่ือสัตย (2) สรางบรรยากาศท่ีสงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Creating the environment for unleashing economic growth) – โดยจะเนน การ สนับสนุนใหภาคเอกชนเปนผูผลักดันหลักของเศรษฐกิจ มาเลเซีย สนับสนุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดวยนวัตกรรม ปฏิรูปบทบาทของภาครัฐตอภาค เอกชน พัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) สงเสริมการแขงขันของ มาเลเซีย ในตลาดโลก พัฒนาระบบโครงสรางพ้ืนฐาน และเนนการพัฒนาพ้ืนท่ีและภาคสวนท่ีจะเปน engine of growth (ไดแก economic corridor ทั้ง 5 และ NKEA ทั้ง 12 สาขา) (3) กาวไปสูการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมแบบมีสวนรวม (Moving towards inclusive socio-economic development) – โดยจะเนน การยก ระดับฐานะและความเปนอยูของประชากรรอยละ 40 ที่มีรายไดต่ำ (bottom 40% households) ยกระดับการมีสวนรวมทางเศรษฐกิจของชาวภูมิบุตร

เนนการสนับสนุนใหภาค เอกชนเปนผูผลักดันหลักของ เศรษฐกิจ มาเลเซีย สนับสนุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดวยนวัตกรรม ปฏิรูปบทบาท ของภาค รั ฐต อภ าค เอกชน พัฒนาธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม (SMEs) สงเสริมการ แขงขันของ มาเลเซียในตลาดโลก พัฒนาระบบโครงสรางพ้ืนฐาน

Page 27: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

20 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

โดยยังคงเปาหมายใหชาวภูมิบุตรถือครองหุนสวนกิจการไมต่ำกวา 30% ใน ระดับมหภาค (30% Bumiputera corporate equity ownership at macro level) เรงพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานท่ีประชาชนทุกคนเขาถึงได และสงเสริม สังคมท่ีกาวหนาและมีสวนรวม (progressive and more inclusive) ตาม แนวคิด 1Malaysia (4) พัฒนาและรักษาทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพ (Developing and retaining first-World talent base) – โดยจะเนน การปฏิรูประบบการ ศึกษาเพ่ือปรับปรุงผลการเรียน การยกระดับฝมือแรงงานชาว มาเลเซีย เพ่ือ เพ่ิมโอกาสการไดรับการจางงาน และการปฏิรูปตลาดแรงงานเพ่ือให มาเลเซีย เปนประเทศท่ีมีรายไดสูง (5) พัฒนาสภาพแวดลอมซ่ึงชวยสงเสริมคุณภาพชีวิต (Building an environment that enhances quality of life) – โดยจะเนน การพัฒนา พ้ืนท่ีอยูอาศัยสำหรับประชาชนใหนาอยู การพัฒนาระบบขนสงมวลชนโดยยึด ความตองการของประชาชนเปนหลัก ปฏิรูประบบสาธารณสุขเพื่อยกระดับ คุณภาพและใหประชาชนทุกคนเขาถึงได โครงการเคหะสงเคราะหเพื่อให ประชาชนสามารถเขาถึงบานที่มีคุณภาพและสามารถเปนเจาของได การให บริการระบบสาธารณูปโภคที่มีประสิทธิภาพ ลดอาชญากรรมเพื่อใหชุมชน ปลอดภัยขึ้น และใหความสำคัญกับพื้นฐานสิ่งแวดลอม (environmental endowments) ของ มาเลเซีย

2.4 การคาระหวางประเทศ ในป 2010 (มกราคม – ธันวาคม) การคาระหวางประเทศของมาเลเซียกับท่ัวโลก มีมูลคารวม 3.64 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ เปนการสงออก มูลคา 1.99 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ และเปนการนำเขา มูลคา 1.65 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ มาเลเซียไดดุลการคา 34 หม่ืนลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาสงออกท่ีสำคัญ เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ปาลมน้ำมัน กาซธรรมชาติ เคมีภัณฑ น้ำมันเช้ือเพลิง น้ำมันดิบ เคร่ืองจักร ผลิตภัณฑ ที่ทำจากโลหะ สินคานำเขาท่ีสำคัญ ไดแก เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เคมีภัณฑ เคร่ืองจักรและอุปกรณ ผลิตภัณฑท่ีทำจากโลหะ น้ำมันเช้ือเพลิง เหล็กและ เหล็กกลา น้ำมันดิบ รถยนต ตลาดสงออกท่ีสำคัญ ไดแก สิงคโปร ญี่ปุน จีน สหรัฐฯ และไทย เปนอันดับ 5 ตลาดนำเขาท่ีสำคัญ ไดแก จีน สิงคโปร ญี่ปุน สหรัฐฯ อินโดนีเซีย และไทยเปนอันดับ 6

Page 28: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 21สส

2.5 การคากับประเทศไทย มูลคาการคารวม ในป 2553 การคารวมระหวางไทยกับมาเลเซียมีมูลคา 21,275.34 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซ่ึงไทยขาดดุลการคามาเลเซียมูลคา 142.17 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 84.41 เม่ือเทียบกับปท่ีผานมา สำหรับป 2554 การคาระหวางไทยกับมาเลซีย 7 เดือนแรก (ม.ค.-ก.ค.) มีมูลคา 14,531.86 ลานเหรียญสหรัฐฯ ไทยไดเปรียบดุลการคามาเลเซีย 78.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ

หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ

2552 2553 2553(ม.ค.-ก.ค.)

2554(ม.ค.-ก.ค.)

2552 2553 2553(ม.ค.-ก.ค.)

2554( ม . ค . -ก.ค.)

การคารวม 16,237.63 21,275.34 12,305.47 14,531.86 -17.31 31.02 47.08 18.09การสงออก 7,662.90 10,566.59 6,040.85 7,305.03 -22.68 37.8905 55.13 20.93การนำเขา 8,574.73 10,708.76 6,264.62 7,226.83 -11.84 24.89 40.06 15.36ดุลการคา -911.82 -142.17 -223.77 78.20 -594.32 84.41 61.33 594.32

การคา ลานเหรียญสหรัฐฯ การขยายตัว(%)

ที่มา: ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย

การสงออก ในป 2553 ไทยสงออกไปมาเลเซียมูลคา 10,566.59 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 37.89 เม่ือเทียบกับปกอนหนา สำหรับป 2554 ไทยสงออกไปยังมาเลเซีย 7 เดือนแรก (ม.ค.-ก.ค.) มีมูลคา 7,305.03 ลานเหรียญสหรัฐฯ ไทยไดเปรียบดุลการคาสิงคโปร 78.20 ลานเหรียญสหรัฐฯ

สินคาท่ีไทยสงออกไปยังมาเลเซีย 10 รายการแรก มูลคา อัตราเพ่ิมข้ึน/ลดลง และสวนแบงตลาด ดังน้ี สินคา มูลคา ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น/ลดลง %

2553 2553 2554 2553 2553 2554(ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.)

1. ยางพารา 1,280.7 704.8 934.6 64.53 78.01 32.602. เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบแผง

1,267.6 714.4 796.9 48.56 90.91 11.54

3. รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ 1,228.6 704.3 698.4 47.13 67.57 -0.844. น้ำมันสำเร็จรูป 935.0 595.0 499.0 47.66 113.17 -16.135. แผงวงจรไฟฟา 422.5 227.7 294.0 12.17 7.47 29.156. เคมีภัณฑ 336.8 194.4 250.9 25.96 23.87 29.107. ผลิตภัณฑยาง 376.9 222.1 229.0 36.08 58.52 3.108. เม็ดพลาสติก 257.0 145.2 207.7 41.47 50.59 43.009. เครื่องจักรกลและสวนประกอบ 278.3 161.8 185.4 42.33 54.20 14.5910. เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ 278.0 160.8 178.5 33.43 43.68 11.01รวม 10 รายการ 6,661.4 3,830.4 4,274.3 44.61 67.14 11.59อื่นๆ 3,905.2 2,210.4 3,030.7 27.77 37.95 37.11

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย

Page 29: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

22 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การนำเขา ในป 2553 ไทยนำเขาจากมาเลเซียมูลคา 10,708.76 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 24.89 เม่ือเทียบกับปท่ีผานมา สำหรับป 2554 ไทยนำเขาสินคาจากมาเลเซีย 7 เดือนแรก (ม.ค.-ก.ค.) มีมูลคา 7,226.83 ลานเหรียญสหรัฐฯ ไทยไดเปรียบดุลการคาสิงคโปร 78.20 ลานเหรียญสหรัฐฯ

สินคาท่ีมาเลเซียนำเขาจากไทย 10 รายการแรก มูลคา อัตราเพ่ิมข้ึน/ลดลง และสวนแบงตลาด ดังน้ี สินคา มูลคา ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น/ลดลง %

2553 2553 2554 2553 2553 2554

(ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.)1. น้ำมันดิบ 1,574.8 876.7 1,122.2 14.84 21.65 28.002. เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ

1,471.6 859.3 1,050.9 4.36 17.52 22.30

3. เคมีภัณฑ 751.8 448.0 593.0 43.47 71.33 32.384. สื่อบันทึกขอมูล 700.7 375.7 520.5 23.14 -0.09 38.525. เครื่องจักรไฟฟาและอุปกรณไฟฟา 965.4 579.3 501.1 13.38 38.45 -13.506. แผงวงจรไฟฟา 610.2 376.4 322.3 24.71 38.96 -14.387. เครื่องจักรกลและสวนประกอบ 448.7 239.4 282.5 11.49 41.09 18.008. เครื่องใชไฟฟาในบาน 397.6 203.4 241.4 102.53 108.28 18.709. พืชและผลิตภัณฑ 176.1 89.1 207.3 72.07 56.58 132.5810. เครื่องมือเครื่องใชเกี่ยวกับ วิทยาศาสตรการแพทย

345.6 215.6 202.5 66.10 131.48 -6.10

รวม 10 รายการ 7,442.5 4,262.9 5,043.6 21.52 33.38 18.31อื่นๆ 3,266.3 2,001.7 2,183.2 33.30 56.79 9.07รวมทั้งสิ้น 10,708.8 6,264.6 7,226.8 24.89 40.06 15.36

ที่มา : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย

Page 30: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 23สส

สถิติการคาชายแดนไทยกับ มาเลเซีย ป 2554 หนวย : ลานบาท

ป เดือน รวมมูลคา สงออก นำเขา ดุลการคา 2554 มกราคม 45,796.13 30,267.89 15,528.23 14,739.66 2554 กุมภาพันธ 45,280.37 31,994.47 13,285.90 18,708.57 2554 มีนาคม 55,460.54 38,725.24 16,736.62 21,988.62 2554 เมษายน 43,690.35 29,346.05 14,344.30 15,001.75 2554 พฤษภาคม 47,289.15 30,332.83 16,956.32 13,376.52 2554 มิถุนายน 48,434.42 30,678.78 17,755.63 12,923.15 2554 กรกฎาคม 50,930.29 33,678.16 17,252.13 16,426.02

สถิติการคาชายแดนไทยกับ มาเลเซีย ป 2553

หนวย : ลานบาท

ป เดือน รวมมูลคา สงออก นำเขา ดุลการคา 2553 มกราคม 40,579.99 25,091.25 15,488.73 9,602.52 2553 กุมภาพันธ 38,852.77 24,965.94 13,886.84 11,079.10 2553 มีนาคม 44,345.58 28,719.02 15,626.56 13,092.46 2553 เมษายน 34,479.44 18,548.84 15,930.60 2,618.25 2553 พฤษภาคม 43,932.12 27,378.88 16,553.24 10,825.63 2553 มิถุนายน 45,165.04 31,036.10 14,128.95 16,907.15 2553 กรกฎาคม 43,072.50 28,375.50 14,697.00 13,678.50 2553 สิงหาคม 44,353.31 29,641.80 14,711.50 14,930.30 2553 กันยายน 41,256.02 27,667.75 13,588.27 14,079.48 2553 ตุลาคม 41,605.15 26,192.96 15,412.18 10,780.78 2553 พฤศจิกายน 38,715.14 25,176.41 13,538.73 11,637.68 2553 ธันวาคม 41,240.29 27,614.74 13,625.55 13,989.19ผลรวมทั้งป 497,589.99 320,403.84 177,186.15 143,217.70

สถิติการคาชายแดนไทยกับ มาเลเซีย ป 2552

หนวย : ลานบาท

ป เดือน รวมมูลคา สงออก นำเขา ดุลการคา 2552 มกราคม 25,269.93 14,342.35 10,927.58 3,414.77 2552 กุมภาพันธ 28,436.34 16,748.19 11,688.15 5,060.04 2552 มีนาคม 30,804.91 16,803.57 14,001.34 2,802.23 2552 เมษายน 27,383.85 15,098.02 12,285.84 2,812.18 2552 พฤษภาคม 28,828.61 16,009.80 12,818.81 3,190.99 2552 มิถุนายน 30,732.90 17,242.14 13,490.76 3,751.39 2552 กรกฎาคม 32,948.45 19,030.66 13,917.78 5,112.88 2552 สิงหาคม 33,916.01 19,700.33 14,215.67 5,484.66 2552 กันยายน 34,469.62 20,871.63 13,597.99 7,273.63 2552 ตุลาคม 37,163.65 22,436.99 14,726.66 7,710.33 2552 พฤศจิกายน 36,817.91 23,078.33 13,739.58 9,338.75 2552 ธันวาคม 40,524.82 25,530.49 14,994.33 10,536.15ผลรวมทั้งป 387,296.99 226,892.49 160,404.50 66,487.99

ที่มา : กระทรวงพาณิชย

การคาชายแดนไทย มาเลเซีย ในป 2553 (ม.ค.-ธ.ค.) ไทยสงออกไป มาเลเซีย 320,403.84 ลานบาท ไทยนำเขาจากมาเลเซีย 177,186.15 ลานบาท โดยไทยไดเปรียบดุลการคา 143,217.70 ลานบาท สำหรับป 2554 (ม.ค.-ก.ค.) ไทยสงออกไปมาเลเซีย 225,023.42 ลานบาท ไทยนำเขาจากมาเลเซีย 111,859.13 ลานบาท โดยไทยไดเปรียบดุลการคา 113,164.29 ลานบาท

Page 31: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

24 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ภาพสะพานมิตรภาพไทย-มาเลเซีย

สถิติมูลคาการออกหนังสือรับรองแหลงกำเนิดสินคาแบบ D มูลคา : ลานเหรียญสหรัฐฯ

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2553 2554

(ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.)

อินโดนีเซีย

1,816.99

1,686.97

2,594.24

3,848.25

2,703.59

4,502.01

294.23 475.48

มาเลเซีย

1,269.60

1,362.71

1,849.79

2,464.64

2,198.34

3,026.40 223.74

229.85

เวียดนาม

975.28

1,234.19

1843.37 2,314.46

2,667.95

3,106.56

217.43

210.30

ฟลิปปนส

854.33

981.95

1,273.52

1,625.20

1,695.45

2,729.18 161.85

209.37

สิงคโปร

203.52

209.47

255.59

391.49

277.90

443.11

23.52

34.82

ลาว

21.68

23.20 29.39

45.57

64.86

91.03

7.45

8.47

พมา

1.41

3.06

9.35

23.00

20.02

19.89

0.76 2.06

กัมพูชา

0.20

0.42

0.36

10.07

34.25

86.44

3.85 9.43

บรูไน

2.64

6.81

9.10

11.93

8.02

10.79

0.34 0.96

รวมท้ังหมด 5,145.65 5,508.78 7,864.71 10,734.61 9,670.38

14,015.41 933.17 1,180.74

ที่มา : สำนักสิทธิประโยชนทางการคา กรมการคาตางประเทศ

Page 32: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 25สส

2.6 กฎระเบียบการนำเขาสินคา (กฎระเบียบตางๆ เปนกฎระเบียบท่ีออกโดยรัฐบาลกลาง จึงถือปฏิบัติเหมือนกันท่ัวท้ังประเทศ) 1) มาตรการสุขอนามัย - สินคาประเภท ผลิตภัณฑยา เวชภัณฑ อาหารเสริม ผลิตภัณฑ พ้ืนบาน เปนผลิตภัณฑท่ีตองมีเคร่ืองหมาย Meditag TM ยกเวนผลิตภัณฑดูแล ภายนอก (OTC : external personal care products) ที่ไมตองมีเคร่ืองหมาย Meditag TM - กรณีของผลไม เชน มะมวง ทุเรียน ลำไย ตองไดรับ Import Licenses จาก Food Safety and Quality Control Division, Ministry of Health โดยจะมีการตรวจสารพิษตามท่ีประกาศใน Malaysian Food Regulation 1985 ซ่ึงจะอิงมาตรฐาน Codex 2) โควตาภาษี (Tariff Quota : TRQs) - มาเลเซียกำหนดโควตาภาษีสำหรับสินคา 22 ชนิด แตละชนิด กำหนดโควตาแตกตางกันไปแลวแตทางการมาเลเซียจะทำความตกลงไวกับ ประเทศใด เชน ไทยและมาเลเซียไดมีขอตกลง AFTA ระหวางกัน ดังน้ัน จึงไมมีการเก็บภาษี แตในกรณีปากีสถาน มาเลเซียไดออกประกาศกำหนดโควตา สินคาไว 17 ชนิด ทั้งนี้ หนวยงานท่ีรับผิดชอบคือ กระทรวงการคาและอุตสาห-กรรมมาเลเซีย (MITI) หรืออาจตรวจสอบไดจากเว็บไซต www.miti.gov.my 3) Halal Certfication - หนวยงานท่ีรับผิดชอบคือ JABATAN KEMAJUAN ISLAM MALAYSIA (JAKIM) Aras 4-9 Blok D7, Kompleks D, Pusat Pentadbiran Kerajaan Persekutuan, 62519, W.P PUTRAJAYA, MALAYSIA Telephone : 03-8886 4000 Fax : 03-8889 2039 Email : [email protected] Website : http://www.islam.gov.my 4) ระเบียบการขออนุญาตนำเขา (Import Licenses) a. สินคาที่ตองมี Import Licenses ประกอบดวยสินคาประเภท ตางๆ ไดแก Food Products, Heavy Machineries and Spare-parts, Photocopy Machines, Compact Disc , Magnetic Tapes, Toner, Iron Steel, Chemical, Sodium sulphate, Safety Helmets and Cables มีข้ันตอนการขออนุญาต ทั้งนี้ ตรวจสอบรายละเอียดไดโดยตรงไดท่ี Ministry of International Trade & Industry (MITI) Trade Services Department Ground Floor, (Service Counter), Block 10

ผลิตภัณฑยา เวชภัณฑ อาหารเสริม ผลิตภัณฑพื้นบาน เปนผลิตภัณฑ ท่ีตองมีเคร่ือง หมาย Meditag TM ยกเวน ผลิตภัณฑดูแลภายนอก (OTC : external personal care products) ที่ไมตองมีเคร่ืองหมาย Meditag TM

Page 33: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

26 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

Government Offices Complex, Jalan Duta 50622 Kuala Lumpur Tel : 03-6203 3022 Fax : 03-6201 3012 Website : http://www.miti.gov.my - หนวยงานท่ีรับผิดชอบในการออกใบอนุญาตสำหรับสวนแพรพันธุ ของยางพารา/American Tropics/โกโก ปาลมน้ำมัน มะพราว จากประเทศ ท่ีมีแมลงศัตรูพืชอันตราย มันสำปะหลัง / กลวย / ชา/ ออย / กาแฟ / ขาวเปลือก / เมล็ดพันธุไมปา และอื่นๆ คือ Ministry of Agriculture and Agro-based In-dustry โดยจะตองเปนไปตามขอกำหนดท่ีปรากฏใน Plant Quarantine Act 1976 และ Plant Quarantine Regulation 1981 b. ในการขอใบอนุญาตนำเขารถยนต(Import Licenses) ทางการ มาเลเซียมิไดกำหนดวาผูนำเขาจะตองมีประวัติการสงออกหรือไม แตไดกำหนด ใหผูยื่นขอ Import License จะตองเปนนิติบุคคล 4 ประเภท ดังน้ี 1. บริษัทท่ีมี APs (Approved Permit) สำหรับรถยนตสำเร็จรูป (Completed Built Up : CBU) 2. บริษัทท่ีเปน Franchisee ของรถยนตสำหรับรูป (CBU) ที่จะนำ เขาน้ัน 3. บริษัทผูประกอบรถยนตทองถิ่นซึ่งนำเขาชิ้นสวน (Complete Knocked Down) เขาประกอบในประเทศมาเลเซีย 4. บริษัทท่ีนำเขารถยนตประเภทอ่ืนๆ ไดแก รถโบราณอายุมากกวา 25 ป รถยนตท่ีนำเขามาเปนการช่ัวคราวเพ่ือการวิจัยและพัฒนา การจัดนิทรรศการ การแขงกรังปรีซ การบริจาคเพื่อการกุศล และรถยนตของคณะรัฐมนตรี หนวยงานภาครัฐ รวมตลอดถึงหนวยงาน NGOs 5) การกำหนดสัดสวนการถือหุนในธุรกิจบริการ a. มีการกำหนดสัดสวนการถือหุนของตางชาติในธุรกิจบริการโดยมี การกำหนดสัดสวนแตกตางกัน แลวแตประเภทของธุรกิจบริการ ดังน้ี 1. Basic Telecommunication ไดแก บริการโทรศัพทสาธารณ กำหนดใหผูถือหุนตางชาติถือหุนไดไมเกินรอยละ 30 ทำใหไมจูงใจใหธุรกิจ บริการของตางชาติเขาแขงขันกับบริการโทรศัพทของรัฐ คือ Telekom Malaysia 2. Distribution Services, including Direct Selling กำหนด ใหธุรกิจท่ีถือหุนโดยธุรกิจตางชาติตองมีเงินลงทุนไมต่ำกวา 5 ลานริงกิตและ ตองกันหุนรอยละ 30 ใหแกผูถือหุนภูมิบุตร ขณะท่ีบริษัททองถ่ินสามารถลงทุนโดยมีเงินลงทุนข้ันต่ำ 1.5 ลานริงกิต นอกจากน้ี ยังกำหนด Local Content ของสินคาท่ีอยูบน Shelf ของหางสรรพสินคา(กรณีเปน Distributive Trade Services) วาตองมีสินคาทองถ่ินไมต่ำกวารอยละ 30

Page 34: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 27สส

3. Legal Services ทนายความ (License Lawyers) จะตองเปน ชาวมาเลยหรือเปนผูมีถ่ินฐานถาวรในมาเลเซียและมีความเช่ียวชาญภาษามาเลย และสำเร็จการศึกษาทางดานนิติศาสตรในมาเลเซียหรือไดรับเนติบัณฑิตจาก อังกฤษ การใหคำปรึกษาทางคดี หรือการรางสัญญาโดยไมไดเปน License Lawyers ถือเปนความผิดทางอาญา 4. Architecture Services บริษัทตางชาติสามารถรวมทุน (Joint Venture)กับชาวมาเลยในกิจการออกแบบทางสถาปตยไดแตตองรับความเห็นชอบจาก Board of Architects แตสถาปนิกตางชาติไมสามารถออกแบบโครงการใดๆ ได แตอาจสถานะเปนผูจัดการ หรือพนักงานของบริษัทฯ ได 5. Engineering Services วิศวกรตางชาติอาจไดรับใบอนุญาต (License Board of Engineer) เปนการช่ัวคราวจาก Board of Engineer ได กรณีท่ีบริษัทรวมลงทุนชาวมาเลเซียแจงกับ Board of Engineer ไมสามารถหา วิศวกรมาเลเซียท่ีเหมาะสมกับงานได อยางไรก็ตามการย่ืนแบบเสนอโครงการ จะตองเสนอโดยวิศวกรมาเลเซียเทาน้ัน 6. Accounting and Taxation Services ธุรกิจใหบริการทางบัญชี และภาษีอากรตางชาติอาจดำเนินการไดภายใตบริษัทตัวแทน (Affiliates) โดย นักบัญชีที่ไดขึ้นทะเบียนกับ Malaysia institute of Accountant : MIA) และไดรับใบอนุญาต (License) จากกระทรวงการคลัง นักบัญชีที่มีคุณสมบัต ิสามารถข้ึนทะเบียนกับ MIA ไดจะตองเปนชาวมาเลเซียหรือผูมีถิ่นฐานถาวรในมาเลเซีย สำเร็จการศึกษาทางดานบัญชีท่ีไดรับการรับรองจากประเทศในเครือ จักรภพอังกฤษ (Commonwealth) 2.7 โอกาสทางการคาและปญหาอุปสรรค จากภาวะเศรษฐกิจของมาเลเซียท่ีหลายฝายคาดการณตรงกันวา จะ ยังคงขยายตัวสูงอยางตอเน่ือง ขณะท่ีสถานการณทางการเมืองก็มีเสถียรภาพ มั่นคง แตดวยเหตุท่ีมาเลเซียเร่ิมขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบ รวมถึงความ สามารถดานการตลาดในหลายสาขาธุรกิจ ขณะท่ีดานเทคโนโลยีท้ังมาเลเซีย และไทยมีความชำนาญตางกันจึงเปนโอกาสท่ีนาสนใจสำหรับนักลงทุนสองฝายจะรวมมือกันไดอุตสาหกรรมท่ีมาเลเซียมีศักยภาพสูงในการเขามาลงทุนในประเทศไทย ไดแก สาขาอิเล็กทรอนิกสและเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ช้ินสวนยานยนต การแปรรูปยางพารา และปาลมน้ำมัน ซ่ึงอาจกลาวไดวา มาเลเซียมีเทคโนโลยีสูงกวาไทย แตไทยมีขอไดเปรียบดานวัตถุดิบ แรงงาน และทำเลที่ตั้งที่อยูใกลตลาดใหญคือ จีน อยางไรก็ตาม จากการสำรวจความคิดเห็นของนักลงทุนมาเลเซียสวนหน่ึง พบวาปญหาของมาเลเซียในการลงทุนในประเทศไทยคือ ดานภาษา เน่ืองจากแรงงานไทยสวนใหญไมรูภาษาอังกฤษ นอกจากน้ี นักลงทุนยังมีความรูเก่ียวกับประเทศไทยนอยมาก นักลงทุนไมทราบ

มา เล เซี ย เ ร่ิ มข าด แคลน แรงงานและวัตถุดิบ รวมถึงความ สามารถดานการตลาดในหลาย สาขาธุรกิจ ขณะท่ีดานเทคโนโลยี ทั้ ง ม า เ ล เซี ย แ ล ะ ไ ทย มี คว าม ชำนาญตางกันจึงเปนโอกาส ที่นาสนใจสำหรับนักลงทุนสอง ฝายจะรวมมือกันได

‘‘

Page 35: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

28 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ขอมูลเก่ียวกับเปาหมายหรือทิศทางท่ีชัดเจนของอุตสาหกรรมน้ันๆ ของไทย การหาผูลงทุนท่ีมีศักยภาพ รวมถึงข้ันตอนในการลงทุนและการขอสงเสริมการลงทุน สวนอุตสาหกรรมท่ีไทยมีศักยภาพเขาไปลงทุนในมาเลเซียไดแก - การแปรรูปสินคาเกษตรและอาหาร โดยเฉพาะสินคาฮาลาล เพ่ือ สงออกไปจำหนายยังตางประเทศ นับวามีลูทางที่ดี เน่ืองจากไทยเปนแหลงผลิตอาหารท่ีสำคัญของโลก ขณะท่ีประชากรมุสลิมท่ัวโลกมีประมาณ 1,800 ลานคน หรือรอยละ 25 ของประชากรโลก ซ่ึงมีการบริโภคอาหารฮาลาลเปนมูลคากวา 2 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ ตอป - ภัตตาคารและรานอาหารไทย เปนอีกธุรกิจหน่ึงท่ีตลาดยังเปด กวางสำหรับนักลงทุนไทย เน่ืองจากชาวมาเลเซียกวา 20 ลานคน คุนเคยและ ช่ืนชอบอาหารไทย รวมถึงรานอาหารไทยก็ยังมีไมมาก อยางไรก็ตาม ในอนาคต รัฐบาลมาเลเซียมีนโยบายใหรานอาหารท่ีชาวตางชาติเปนเจาของกิจการตอง รวมทุนกับชาวมาเลเซีย รวมถึงตองมีเงินทุนข้ันต่ำ 2.6 แสนดอลลารสหรัฐฯ แมนโยบายใหมยังไมมีผลบังคับใช แตผูประกอบการท่ีตองการลงทุนในธุรกิจน้ี จำเปนตองติดตามอยางใกลชิด - ธุรกิจทองเท่ียว เน่ืองจากไทยและมาเลเซียมีพรมแดนติดกัน และ ชาวมาเลเซียนิยมเดินทางเขามาทองเท่ียวในประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดทาง ภาคใต จนทำใหชาวมาเลเซียเปนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางเขามาใน ประเทศไทยสูงสุด โดยมีสัดสวนกวารอยละ 10 ของจำนวนนักทองเท่ียวตางชาติ ทั้งหมด แสดงถึงโอกาสทางธุรกิจของไทยท้ังในดานบริการทองเท่ียว และกิจการ เก่ียวเน่ือง สำหรับป 2553 ชาวมาเลเซียเดินทางเขามาในประเทศไทยรวม 2,058,956 ลานคน เพ่ิมข้ึนจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 12.92

ตาราง : จำนวนนักทองเท่ียวมาเลเซียท่ีเดินทางมาประเทศไทย ป 2548-53 2548 2549 2550 2551 2552 2553

จำนวน (คน) 1,373,946 1,591,328 1,540,080 1,805,332 1,757,813 2,058,956

+, - % -2.2 19.8 -2.43 12.38 -2.63 12.92

สัดสวนตอนักทองเที่ยวตางชาติ ทั้งหมด (%)

11.9 11.5 10.56 17.22 12.63 17.13

ที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

Page 36: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 29สส

- การกอสราง แผนพัฒนาเศรษฐกิจของมาเลเซียฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2549-53) มีโครงการสรางสาธารณูปโภคมากมาย เพ่ือรองรับการขยายตัวของ เศรษฐกิจในอนาคต จึงเปนโอกาสใหผูรับเหมา กอสรางของไทยท่ีจะขยายการลงทุนในมาเลเซียไมวาจะเปนการประมูลโครงการโดยตรง หรือการรับชวงตอ (Sub-Contract) - อุตสาหกรรมการผลิตตางๆ เพ่ือปอนใหกับผูผลิตสินคาในมาเลเซีย ทั้งในรูปของการรับจางผลิตหรือจัดหาวัตถุดิบให อันจะนำไปสูการดำเนินธุรกิจรวมกันในอนาคต สำหรับปญหาสำคัญของนักลงทุนไทยในมาเลเซีย จากการสำรวจพบ วาแรงงานไรฝมือในมาเลเซียคอนขางหายาก สวนใหญเปนแรงงานจากประเทศ เพ่ือนบาน เชน พมา หรือบังกลาเทศ ดวยเหตุท่ีมาเลเซียประกอบดวยชนหลาย เผา ที่มีวัฒนธรรมแตกตางกัน มีฝมือและความต้ังใจในการเรียนรูงานแตกตาง กันมาก ขณะท่ีกฎหมายของมาเลเซียคอนขางเอ้ือประโยชนใหแรงงาน การ บริหารงานบุคคล จึงเปนสิ่งทาทายและตองเขาใจกฎหมายแรงงานอยางดี การศึกษากฎหมาย การคัดเลือกผูรวมทุนท่ีดี และการเดินทางไปสำรวจลูทาง การลงทุนดวยตนเอง เปนเงื่อนไขจำเปนสำหรับการลงทุนในตางประเทศ ทั้งหมด รวมถึงในมาเลเซียดวย

2.8 ระบบโลจิสติกส การขนสงสินคาระหวางไทย – มาเลเซียชองทางการกระจายสินคาไทยในมาเลเซีย การจัดจำหนายและการกระจายตัวของสินคาไทย ในมาเลเซียตาม ดานศุลกากรในจังหวัดตางๆ เชน ยางพารา, สัตวน้ำ, อาหารทะเลกระปองแปรรูป, ผักสด, ผลไม, ปลาปน, สินคาเบ็ดเตล็ด, ขนสัตว, รถยนต, เคร่ืองอิเล็กทรอนิคส, เส้ือผาสำเร็จรูป, สายเคเบ้ิล, อิฐ และไมแปรรูป ฯลฯ มีการสงออกทางรถยนต และรถไฟ

ดานการคาและเสนทาง ประเทศไทยมีแนวชายแดนติดตอกับมาเลเซีย เปนระยะทางยาว ประมาณ 647 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอคาขายกับประเทศมาเลเซีย รวม 5 จังหวัด ไดแก จังหวัดสงขลา จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล และจังหวัดปตตานี (ไมมีชายแดนติดตอกับตางประเทศ)

ดานศุลกากรท่ีควบคุมดูแลการคาชายแดนไทย - มาเลเซีย ปจจุบันไทยมีดานศุลกากรท่ีควบคุม ดูแลการคาชายแดนไทย กับ ประเทศมาเลเซียจำนวน 11 ดาน ไดแก

ปญ ห า ส ำ คัญ ขอ ง นั ก ลงทุนไทยในมาเลเซีย จากการ สำรวจพบวาแรงงานไรฝ มือ ในมา เล เซี ยค อนข า งหายาก ส ว น ใ หญ เ ป น แ ร ง ง า นจ า ก ประเทศเพื่อนบาน เชน พมา หรือ บังกลาเทศ ดวยเหตุที่มาเลเซีย ประกอบดวยชนหลายเผา ที่มี วัฒนธรรมแตกตางกัน มีฝมือ แล ะความ ต้ัง ใจ ในการ เรียนรู งานแตกตางกันมาก

Page 37: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

30 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

1. ดานศุลกากรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 2. ดานศุลกากรปาดังเบซาร อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 3. ดานศุลกากรสงขลา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา 4. ดานศุลกากรนราธิวาส อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 5. ดานศุลกากรตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส 6. ดานศุลกากรสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส 7. ดานศุลกากรเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา 8. ดานศุลกากรสตูล อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล 9. ดานศุลกากรปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล 10. ดานศุลกากรวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล 11. ดานศุลกากรปตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปตตานี (หมายเหตุ : ไมรวมดานศุลกากรทาอากาศยาน)

คาขนสงสินคาจากประเทศไทยไปยังมาเลเซีย

ทางรถยนต ไทย : ดานสะเดา จ.สงขลา - มาเลเซีย : ดานปาดังเบซารตาราง ระยะทาง ระยะเวลา และประมาณการคาขนสงจากไทย (ดานสะเดา) ไปยังมาเลเซีย (ปาดังเบซาร)

เสนทาง ระยะทาง (กม.)

ระยะ เวลา(ชม.)

ประมาณการคาขนสงราคา/คอนเทนเนอร20 ฟุต (บาท)

ประมาณการคาขนสงราคา/คอนเทนเนอร40 ฟุต (บาท)

BANGKOK-KUALA LAMPUR 1,600 72 35,000 40,000

KUALA LAMPUR-BANGKOK 1,600 72 35,000 40,000

BANGKOK-PENANG 1,400 48 32,000 39,000

PENANG-BANGKOK 1,400 48 32,000 39,000

หมายเหตุThe above rate quoted including the following charges.

Forwarding in Malaysia and Thailand.-

Handling charges at B.K. Hitam,Malaysia-

The above rate quoted excluding the following charges.Government Taxes & Duty in Malaysia and Thailand in case import shipment.-

Goods intransit insurance coverage. The insurance service will be charged 0.35% -

of value in commercial invoice plus 110%( if any )Stuffing / Un-stuffing container at factory.-

Page 38: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 31สส

ตาราง คาขนสงจากทาเรือกรุงเทพฯ(BKK) ไปยังทาเรือ Penang ( PEN ) ทาเรือ Port Klang (PKG) และทาเรือ Pasir Gudang (PGU)

เสนทาง BKK - PEN BKK - PKG BKK - PGUตู 20’ STD USD. 450 USD. 360 USD. 480ตู 40’ STD USD. 750 USD. 650 USD. 800LCL USD. 30 per RT** USD. 15 per RT** USD. 30 per RT**วันเดินทาง ทุกวันพฤหัสฯ,อาทิตย ทุกวันอังคาร ทุกวันพฤหัสฯ,อาทิตยระยะเวลา ประมาณ 10 วัน ประมาณ 4 วัน ประมาณ 10 วัน

หมายเหตุ – การขนสงทางเรือ มีสายเรือ มากมาย ราคาที่ระบุเปนราคาโดยเฉลี่ย รวมทั้งระยะเวลาการขนสง

ทางรถไฟ การขนสงทางรถไฟจากสถานีลาดกระบัง - กรุงเทพฯ ไป มาเลเซีย ตาราง คาขนสงจากลาดกระบัง (LKR) ไปยังทาเรือ Penang ( PEN ) ทาเรือ Port Klang (PKG) และ ทาเรือ Kuala Lampur (KUL)

เสนทาง LKR - PEN LKR - PKG LKR - KULตู 20’ STD USD. 480 USD. 480 USD. 480ตู 40’ STD USD. 780 USD. 780 USD. 780วันเดินทาง ทุกวันพุธ ทุกวันพุธ ทุกวันพุธระยะเวลา ประมาณ 5-7 วัน ประมาณ 5-7 วัน ประมาณ 5-7 วัน

ทางอากาศ คาขนสงทางอากาศจากกรุงเทพฯ ไปมาเลเซีย ตาราง คาขนสง ระยะเวลา จากสนามบินสุวรรณภูมิไปยังสนามบินประเทศมาเลเซีย

ปลายทาง สนามบินKuala Lampur

(KUL)

สนามบิน Penang

(PEN)

สนามบิน Kuching

(KCH)ขั้นต่ำ (Minimum) THB. 700 THB. 700 THB. 700 - 45 Kgs THB. 40 /kg THB. 30 /kg THB. 102 /kg+45 Kgs THB. 28 /kg THB. 20 /kg THB. 63 /kg+100 Kgs THB. 25 /kg THB. 20 /kg THB. 62 /kg+500 Kgs THB. 24 /kg THB. 20 /kg THB. 61 /kg+1000 Kgs THB. 24 /kg THB. 20 /kg THB. 60 /kgสายการบิน THAI AIRWAY THAI AIRWAY MALAYSIA AIRLINEความถี่ของเที่ยวบิน (Frequency) ทุกวัน ทุกวัน ทุกวัน ระยะเวลาขนสง (Transit time) 1 วัน 1 วัน 1 วัน

หมายเหต ุ– กรณีสินคาหนักตั้งแต 45 กก. เปนตนไป สายการบินจะเก็บ คาน้ำมัน (Fuel Surcharges : FSC ) และ คาเสี่ยงภัย ( Security Surcharges: SSC ) อัตราจะขึ้นอยูกับประกาศของแตละสายการบิน ซึ่งจะออกมาทุกๆเดือน ณ ปจจุบัน FSC =THB. 12 /kg และ SSC= THB. 2 /kg.

ทางเรือ จากทาเรือกรุงเทพไปมาเลเซีย

Page 39: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

32 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

2.9 ความตกลงและความรวมมือระหวางไทยกับมาเลเซีย

เขตเศรษฐกิจอินโดนีเซีย - มาเลเซีย – ไทย (Indonesia-Malaysia - Thailand Growth Triangle : IMT-GT) เขตเศรษฐกิจอินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไทย เร่ิมตนในป 2536 หลัง จากท่ีผูนำท้ัง 3 ประเทศเห็นชอบใหมีความรวมมือทางเศรษฐกิจเพ่ือพัฒนา เขตเศรษฐกิจ 3 ประเทศ ปจจุบัน IMT-GT ครอบคลุมพ้ืนท่ีดังน้ี อินโดนีเซีย10 จังหวัด ไดแก อาเจห บังกา-เบลิตุง เบงกูลู แจมบี ลัมปุง สุมาตราเหนือ เรียว เรียวไอสแลนด สุมาตราใต สุมาตราตะวันตก มาเลเซีย 8 รัฐ ไดแก เคดาห กลันตัน มะละกา เนกริเซมบิเลิน ปนัง เปรัค เปอรลิส และสลังงอ ไทย 14 จังหวัด คือ สงขลา ยะลา ปตตานี นราธิวาส สตูล ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช ชุมพร สุราษฎรธานี ระนอง ภูเก็ต พังงา และกระบ่ี ความรวมมือดังกลาวมีวัตถุประสงคเพ่ือสรางความสัมพันธทาง เศรษฐกิจระหวาง 3 ประเทศ ใหมีการใชทรัพยากรรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด โดยเนนความรวมมือทางดานการผลิต การสงเสริม การลงทุน และการถายทอดเทคโนโลยี เพ่ือเสริมสรางขีดความสามารถในการ แขงขันในพ้ืนท่ี IMT-GT โดยมีแผนยุทธศาสตรและภารกิจหลัก ดังน้ี

แผนยุทธศาสตร IMT-GT Roadmap ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2550-54) ประกอบดวยยุทธศาสตรหลัก 5 ประการคือ 1. ยุทธศาสตรสงเสริมการคาและการลงทุน ทั้งภายในและระหวาง พ้ืนท่ี IMT-GT และระหวางพ้ืนท่ี IMT-GT กับภายนอก ดังน้ี - อำนวยความสะดวกดานการคาและการลงทุนขามแดน - สงเสริมการคาและการลงทุนระหวางกัน - รวบรวมและเผยแพรขอมูลดานเศรษฐกิจและธุรกิจ 2. ยุทธศาสตรสงเสริมภาคเกษตร อุตสาหกรรม และการทองเท่ียว ไดแก - การเกษตร (รวมท้ังประมง ปศุสัตว และปาไม) และเกษตรแปรรูป - การทองเท่ียว 3. ยุทธศาสตรเสริมสรางความเช่ือมโยงทางดานโครงสรางพ้ืนฐานเพ่ือ บูรณาการดานพ้ืนท่ี IMT-GT เขาดวยกัน ไดแก - เช่ือมโยงดานการขนสง (ถนน รถไฟ ขนสงทางทะเล ทาอากาศยาน) - สื่อสารโทรคมนาคม - พลังงาน 4. ยุทธศาสตรใหความสำคัญตอประเด็นความรวมมือท่ีเช่ือมโยงใน ความรวมมือทุกดาน ไดแก

Page 40: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 33สส

- พัฒนาทรัพยากรมนุษย และการเคล่ือนยายแรงงาน - จัดการดานส่ิงแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ 5. ยุทธศาสตรเสริมสรางการจัดการดานสถาบันและกลไกความรวมมือในพ้ืนท่ี IMT-GT ไดแก - จัดการดานสถาบันภายใตกรอบ IMT-GT Roadmap - ขยายการเขาไปมีสวนรวมภายในกลุม IMT-GT - ดำเนินการรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน

บทบาทและภารกิจหลักของสถาบันภายใตกรอบ IMT-GT ในการ

ดำเนินการตาม IMT-GT Roadmap

1. ประชุมสุดยอดผูนำ IMT-GT (Leaders’ Summit) - เปนองคกรสูงสุดในการตัดสินใจของกรอบ IMT-GT - กำหนดเปาหมายหลัก และทิศทางความรวมมือตามกรอบ IMT-GT 2. ประชุมระดับรัฐมนตรี (Ministers’ Meeting : MM) - เปนหนวยประสานงานดานการกำหนดทิศทาง และเปนองค ประกอบการตัดสินใจของกรอบ IMT-GT - ทำหนาที่รายงานความกาวหนาการดำเนินการตามกรอบ IMT-GT Roadmap 3. ประชุมระดับเจาหนาท่ีอาวุโส (Senior Officers’ Meeting : SOM) - เปนองคกรประสานงานของแผนงาน IMT-GT โดยรายงานตอท่ี ประชุมระดับรัฐมนตรี - จัดเตรียมกรอบความกาวหนา IMT-GT Roadmap ตอท่ี ประชุมรัฐมนตรี - เสนอแนวนโยบาย หรือประเด็นท่ีควรดำเนินการตอองคกรระดับท่ีสูงกวา 4. คณะทำงาน (Working Group) ทำหนาที่ประสานงานอำนวยความ สะดวก และใหความรวมมือในแตละสาขาความรวมมือ 5. ศูนยการประสานงานอำนวยความสะดวก ติดตามผล และอื่นๆ (Coordination and Monitoring Center : CMC) ทำหนาที่ประสานงาน ระหวางท่ีประชุมระดับรัฐมนตรี/ ท่ีประชุมระดับเจาหนาท่ีอาวุโสกับสถาบันอ่ืนๆ ของ IMT-GT รวมท้ังพันธมิตรจากภายนอก 6. ฝายเลขานุการระดับชาติ (National Secretariats) ทำหนาที ่รวมดำเนินการ ติดตอประสานงานระดับภายใน และภายนอกประเทศ รวมท้ัง ติดตามโครงการในพ้ืนท่ี IMT-GT

Page 41: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

34 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

7. สภาธุรกิจ IMT-GT (Joint Business Council : JBC) เปนผูประสานงานภาครัฐกับเอกชน และเสนอโครงการความรวมมือภาคเอกชน 8. ที่ประชุมระดับผูวาและรัฐมนตรี (Governors and Chief Minis-ters Forum) เปนผูประสานงานสภาธุรกิจ IMT-GT รวมท้ังสนับสนุนสงเสริม โครงการในพ้ืนท่ี IMT-GT

3. รายงานตลาดรายสินคา 3.1 ธุรกิจสปาในมาเลเซีย 1. ภาพรวมของธุรกิจสปา ธุรกิจสปาของมาเลเซียมีอัตราการเจริญเติบโตในอัตรารอยละ 16 นับ จากป 2548 จนถึงปจจุบันโดยมีจำนวนผูใชบริการเพ่ิมข้ึนจาก 420,000 คน ในป 2548 เปนกวา 1,500,000 คนในปจจุบัน และคาดการณวาอัตราการ ขยายตัวจะเทากับรอยละ 8 ไปจนถึงป 2563 โดยจะมีมูลคาตลาดสูงถึง 8,300 ลานบาท (ท่ีมา : Euromonitor ) ธุรกิจสปาในมาเลเซียในปจจุบันมี 170 แหง สามารถทำรายไดในป 2552 เทากับ 3,570 ลานบาท มีผูใชบริการ 1,092,000 คน ในจำนวนน้ีรอยละ 55 เปนชาวมาเลเซีย ที่เหลือรอยละ 45 เปนนักทองเท่ียวชาวตางประเทศ ดังน้ันจึงมีกิจการสปาลักษณะ Day Spa เปดข้ึนมากท่ัวคาบสมุทรมลายู รวม ถึงรานนวดเล็กๆในชุมชนตางๆ สงผลใหมีการแขงขันทางธุรกิจในระดับสูง และ ตลาดกลายเปนของผูบริโภคท่ีสามารถเลือกใชบริการไดตามความประสงคท้ัง การบริการและคาบริการ

2. กฎระเบียบ/ขอกำหนดและข้ันตอนในการจัดต้ังธุรกิจ นักลงทุนจะตองดำเนินการใน 2 สวน คือ 2.1 การจดทะเบียนบริษัทในมาเลเซีย นักธุรกิจไทยสามารถดำเนิน จดทะเบียนต้ังบริษัทไดท่ี สำนักงานทะเบียนธุรกิจของมาเลเซีย (Common Commission Of Malaysia or Suruhanjaya Syarikat Malaysia) ซ่ึงต้ังอยูท่ี 2nd Floor, Putra Place, 100 Jalan Putra, Kuala Lumpur. 2.2 เมื่อไดดำเนินการจดทะเบียนตั้งบริษัทแลวจะตองขอใบอนุญาต จากหนวยงานระดับทองถ่ินทองท่ี(City Council or State Local Authorities) เพ่ือขอใบอนุญาตการใชสถานท่ีและติดต้ังปายสถานประกอบการ (Premise & Signboard License) หากเปนธุรกิจจำหนายอาหารดวยก็ตองขอใบอนุญาต Certificate of Food Premises Registration หากเปนธุรกิจสปาเพียงอยาง เดียวก็ตองขอใบอนุญาต Entertainment Activities and Premise Permit

ธุรกิจสปาของมาเลเซียมี อัตราการเจริญเติบโตในอัตรา รอยละ 16 นับจากป 2548 จน ถึงปจ จุ บัน โดย มีจำนวนผู ใช บริการเพ่ิมข้ึนจาก 420,000 คน ในป 2548 เปนกวา 1,500,000 คนในปจจุบัน และคาดการณวา อัตราการขยายตัวจ ะ เท า กับ รอยละ 8 ไปจนถึงป 2563 โดย จะมีมูลคาตลาดสูงถึง 8,300 ลานบาท

Page 42: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 35สส

3. การนำพนักงานสปาเขามาทำงานมาเลเซีย

การนำพนักงานสปา (Spa Therapist) เขามาทำงานในมาเลเซีย ธุรกิจสปาถือเปนสาขาอาชีพท่ีขาดแคลน และแรงงานสปาท่ีเปนคนไทยก็กำลัง เปนท่ีตองการอยางตอเน่ืองในมาเลเซีย อยางไรก็ตาม ไดมีปญหาการลักลอบ เขาไปประกอบอาชีพแฝงเรนเพ่ือใหบริการทางเพศเพ่ิมมากข้ึน ทำใหกระทรวง สาธารณสุขและสมาคมกายภาพบำบัดของมาเลเซีย (Malaysian Society for Complementary Therapists: MSCT) ไดกำหนดคุณสมบัติใหผูเขามา ทำงานในอาชีพน้ีตองผานหลักสูตรการนวด หากเปนแรงงานไทยตองผานหลักสูตรการนวดแผนไทยอยางนอย 372 ช่ัวโมง และตองผานการทดสอบมาตรฐาน ฝมือแหงชาติสาขานวดแผนไทยระดับท่ี 2 จากกรมพัฒนาฝมือแรงงานของไทย ซ่ึงมีผลกระทบตอแรงงานไทยท่ีทำงานดานน้ีอยูกอนแลวกรมพัฒนาฝมือ แรงงาน รวมกับสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน ภาค 12 จังหวัดสงขลา เพ่ือทดสอบ มาตรฐานฝมือแรงงาน สาขาการแพทยแผนไทย

4. รูปแบบลักษณะของสปาในมาเลเซีย รูปแบบลักษณะ สปาจำแนกได 5 ประเภท คือ 1) Destination Spa เปนสปาท่ีเนนการรักษาความงามและสุขภาพ ลดความตึงเครียด ซ่ึงจะมีอุปกรณอำนวยความสะดวกดานฟตเนส มีกิจกรรม ตางๆ และโปรแกรมลดความอวนเขามาเสริม 2) Hotel/Resort Spa เปนสปาท่ีอยูในโรงแรม หรือ Resort เนน การใหบริการสปาและนวดรักษาความงามและสุขภาพ 3) Day Spa เปนสปาใหบริการระยะส้ัน ไมมีท่ีพัก ใหบริการสปาและนวดเพ่ือผอนคลายความเครียด และการเสริมความงาม 4) Family Spa เปนสปาใหบริการสปาและเสริมความงาม (Salon & Spa) ใหแกบุคคลท้ังหมดในครอบครัวท่ีเดินทางออกไปตากอากาศ 5) Medical Spa เปนสปาใหบริการกอนและหลังการทำศัลยกรรม มีเคร่ืองอำนวยความสะดวกในการรักษาความงามและสุขภาพมีแพทยให คำแนะนำและตรวจรางกาย นอกจากพนักงานสปา 5. หนวยงานสงเสริมธุรกิจสปาในมาเลเซีย 1) การทองเท่ียวมาเลเซีย หนวยงานของภาครัฐของมาเลเซีย ที่ใหการสงเสริมและสนับสนุนเปน พิเศษเพ่ือจัดใหมาเลเซียเปนศูนยกลางแหงการบริการสปาและใหนักทองเท่ียวจับจายใชสอยดานธุรกิจบริการในมาเลเซียใหยิ่งมากข้ึน โดยการผนวกการใหบริการสปาและการรักษาสุขภาพรวมกับการเดินทางทองเท่ียวสูมาเลเซีย

กระทรวงสาธารณสุขและ สมาคมกายภาพบำ บัดของ มาเลเซีย (Malaysian Society for Complementary Therapists: MSCT ไดกำหนดคุณสมบัติให ผู เขามาทำงานในอาชีพน้ีตอง ผานหลักสูตรการนวด

Page 43: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

36 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

2) The Association of Malaysian Spas : AMSPA

จัดต้ังข้ึนเม่ือป 2547 ดวยการรวมตัวของกลุมผูบริหารสมาคมโรงแรม ผูประกอบการดานสปา และธุรกิจท่ีเก่ียวเน่ืองรวม 30 ราย รวมกันปรึกษาหารือ และกอต้ังสมาคมสปามาเลเซียข้ึนเพ่ือเปนปากเปนเสียงใหแกผูประกอบการ สปา โดยในปจจุบัน AMSPA เปนหน่ึงในสมาชิก 18 ชาติใน The Asia Pacific Spa and Wellness Council รวมท้ังทำงานอยางใกลชิดรวมกับภาครัฐในการ สนับสนุนสงเสริมกิจการของมาเลเซีย ตลอดจนประสานใกลชิดกับสมาคมสปา ในภูมิภาคตางๆ ดวย

6. สปาไทยในมาเลเซีย สปาไทยในมาเลเซีย มีหลายแหง แตท่ีเปนท่ีรูจักแพรหลาย คือ Mandara Spa ปจจุบันมีสาขา 9 แหง โดยต้ังอยูบนคาบสมุทรมาลายู 6 แหง และบนเกาะบอรเนียว 3 แหง 7. ปญหาอุปสรรค 1) ปญหาดานการส่ือสาร ซ่ึงภาษาท่ีใชโดยท่ัวไปคือ ภาษามาเลย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน 2) ปญหาคาครองชีพท่ีมีอัตราสูงถึง 2 เทาของอัตราคาครองชีพใน ประเทศไทย 3) การขออนุญาตนำเขาแรงงานดานสปา(Spa Therapist) ของ มาเลเซียในปจจุบันเทาท่ีไดทราบจากสมาคมสปามาเลเซีย (AMSPA) ในปจจุบัน ไมอนุญาตใหนำเขา ยกเวนแตกรณีทดแทนแรงงานที่เดินทางกลับทำใหผู ประกอบการหลายรายตองจางแรงงานทองถ่ินซ่ึงมีคาตอบแทนสูง และทักษะ สูแรงงานไทยไมได หรือเล่ียงโดยวิธีเปดเปน Training Centre และแจงกับทาง การมาเลเซียวาแรงงานเหลาน้ันเปนครูฝก เปนตน

8. แนวโนม ธุรกิจสปาในมาเลเซียมีแนวโนมขยายตัวตอไป แมวาประเทศคูแขง สำคัญดานธุรกิจสปา คือ ไทย อินโดนีเซีย และสิงคโปร แตทางการมาเลเซีย คาดการณวาแนวโนมการขยายตัวมาจากจำนวนนักทองเท่ียวท่ีเพ่ิมข้ึนทุกป ประกอบกับมาเลเซียมีการใหบริการสปาหลากหลายรูปแบบและครบวงจร ทั้ง สปาแบบบาหลี สปาไทย รวมถึง Medical Spa จะเปนส่ิงเอ้ืออำนวยใหลูกคา กลับมาใชบริการอยางตอเน่ือง ไมวาจะเปนลูกคาในประเทศหรือชาวตางชาติ 9. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ 1) ธุรกิจสปาในมาเลเซียมีการลงทุนท่ีคอนขางสูง เน่ืองจากคาเชาท่ี

Page 44: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 37สส

ดินและอาคารมีราคาแพง และมีกฎระเบียบและข้ันตอนท่ีเขมงวด ธุรกิจสปาท่ีมาลงทุนสวนใหญจะเปนบริษัทใหญมีเงินทุนสูงและเปดกิจการหลายสาขาใน เขตธุรกิจและเขตทองเท่ียว สำหรับธุรกิจสปาขนาดเล็กซ่ึงจะเปนธุรกิจวงการ เสริมสวยรวมสปาท่ีเปดเปนรานเล็กๆตามศูนยการคาชานเมืองและใหบริการผูบริโภคภายในประเทศเปนสวนใหญ 2) สินคาผลิตภัณฑสปาของไทยมีศักยภาพสูง แตมาเลเซียมีประชากร รอยละ 60 เปนคนมุสลิมผลิตภัณฑท่ีใชรวมถึงสถานท่ีใหบริการก็ควรจะยึดหลักศาสนาอิสลามดวย โดยอาจศึกษาเร่ืองสปาฮาลาลเพ่ิมเติมไดจากคณะกรรมการอิสลามแหงประเทศไทย

3.2 สินคาฮาลาลในมาเลเซีย

ตลาดสินคาอาหารในประเทศมาเลเซีย

ปจจุบันมาเลเซียมีประชากร 28.33 ลานคน ประกอบดวยหลาย เช้ือชาติ ไดแก ชาวมาเลย 49.68%, ชาวจีน 22.82%, ชาวอินเดีย 6.81%, อื่นๆ 20.69% และศาสนาอิสลามคือ ศาสนาประจำชาติของประเทศมาเลเซีย ภาษามาเลย เปนภาษาประจำชาติและภาษาราชการซ่ึงเปนภาษา ของคนสวนใหญ สวนภาษาอังกฤษ จีนทองถ่ิน ภาษาจีน เปนภาษาท่ีใช กวางขวางรองลงมา ในหมูชาวมาเลเซียเช้ือสายจีน กวางตุง ฮกเก้ียน แตจิ๋ว และจีนกลาง) และทมิฬ เปนภาษาท่ีใชในการติดตอธุรกิจ ดังน้ัน โดยสวนใหญแลวประเทศมาเลเซียมีประชากรนับถือศาสนา อิสลามเปนสวนใหญ อาหารท่ีมีเคร่ืองหมายฮาลาลจึงมีความจำเปนตอประเทศ นี้มาก อาหารท่ีมุสลิมหรือท่ีไมใชมุสลิมสามารถรับประทานไดน้ันจะตองเปน อาหารท่ีฮาลาลและมีเคร่ืองหมายฮาลาลแสดงไว

ความหมายของอาหารฮาลาล

อาหารฮาลาล หมายถึง อาหารหรือผลิตภัณฑเก่ียวกับอาหารซ่ึงผลิต ข้ึนถูกตองตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม มุสลิมสามารถบริโภคได โดยคำนึง ถึงความสะอาด มีคุณคาตามหลักโภชนาการ

ขอกำหนดในการผลิตอาหารฮาลาล

1. วัตถุดิบ กระบวนการผลิต การบรรจุ การรักษาจะตองฮาลาล ทุกข้ันตอน 2. สถานท่ีผลิตอาหารฮาลาลจะตองไมปะปนกับการผลิตอาหารท่ีหะรอม (หามมุสลิมบริโภค) ในทุกข้ันตอนต้ังแตการเตรียม การผลิต กระบวนการผลิต และการเก็บรักษา 3. เคร่ืองจักร เคร่ืองมือหรืออุปกรณท่ีใชในการเตรียมการผลิต กระบวน

ประเทศมาเลเซียมีประชากร นับถือศาสนาอิสลามเปนสวนใหญ อาหารท่ีมีเคร่ืองหมายฮาลาล จึงมีความจำเปนตอประเทศน้ีมาก อาหารท่ีมุสลิมหรือท่ีไมใชมุสลิม สามารถรับประทานไดน้ันจะตอง เปนอาหารท่ีฮาลาลและมีเคร่ือง หมายฮาลาลแสดงไว

Page 45: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

38 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การผลิต การขนสงและการเก็บรักษาจะตองสะอาดตามหลักการของศาสนา อิสลาม 4. เน้ือสัตว พืช เคร่ืองด่ืมท่ีไมอนุญาตใหนำมาประกอบเปนอาหาร ฮาลาล สุกร สุนัข หมูปา งู ลิง สัตวกินเน้ือเปนอาหารและมีเล็บ เชน สิงโต เสือ หมี เปนตน และสัตวอ่ืนท่ีมีลักษณะคลายกัน 1. สัตวมีพิษ สัตวนำโรค เชน ตะขาบ แมลงปอง หนู เปนตน 2. สัตวท่ีนารังเกียจ เชน หนอน แมลงวัน เหา เปนตน 3. สัตวท่ีมีพิษและเปนอันตรายทุกชนิด 4. สัตวท่ีไมอนุญาตใหฆาตามหลักการศาสนาอิสลาม เชน ผึ้ง มด นกหัวขวาน 5. สัตวท่ีมีลักษณะเชนเดียวกับ ลา 6. สัตวอ่ืนๆท่ีไมไดเชือดตามหลักการของอิสลาม 7. พืชท่ีมีพิษและเปนอันตรายทุกชนิด 8. เคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล หรือมีสวนประกอบท่ีเปนอันตรายและมีพิษ 5. วิธีการเชือดหรือฆาสัตว 1. คนเชือดตองเปนมุสลิมและมีความรูเก่ียวกับการเชือดสัตวตาม หลักศาสนา 2. เปนสัตวท่ีอิสลามกำหนดใหเชือดได 3. เปนสัตวท่ียังมีชีวิตอยูขณะท่ีเชือด 4. ขณะเชือดตองใหหัวของสัตวหันไปทางกิบลัต (สำหรับประเทศไทย คือทิศตะวันตก) 5. ผูเชือดตองกลาววา “บิสมิ้ลลาห” (ดวยพระนามของอัลลอฮ) กอนลงมือเชือด 6. มีดที่ใชเชือดตองคมและตองเชือดจนเสร็จส้ินโดยไมดึงมือออก 7. การเชือดตองใหหลอดลมและเสนเลือดดำท่ีคอหอยสัตวขาด

ความแตกตางของอาหารฮาลาลกับอาหารท่ัวไป อาหารฮาลาล คือ อาหารท่ีสะอาด ปราศจากนายิสนายิส หมายถึง สิ่งสกปรกปฏิกูลและอ่ืน ๆ เปนท่ีรังเกียจโดยบทบัญญัติศาสนา กำหนดไว นายิสท่ีสำคัญท่ีอยู 7 ชนิด คือ 1. สุนัขและสุกร 2. สุรา ของมึนเมา และแอลกอฮอล 3. ซากสัตว หมายถึง สัตวที่ตายโดยไมไดเชือดตามหลักการอิสลาม ยกเวน ปลาและต๊ักแตน

Page 46: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 39สส

4. เลือดท่ีหล่ังริน น้ำเหลือง น้ำหนอง ยกเวนอวัยวะท่ีคลายเลือดแต ไมใชเลือด เชน ตับ และ มาม 5. ปสสาวะ อุจจาระ และอาเจียน ของมนุษยและสัตว 6. สวนที่แยกออกจากสัตวขณะท่ีสัตวน้ันยังมชีวิตยกเวนผมและขน 7. นมสัตวท่ีเน้ือของมันไมอนุมัติใหรับประทาน เชน นมลา นมแมว นมสุกร นมสุนัข ซ่ึงถือเสมือนเน้ือของสัตวเหลาน้ัน จึงจัดเปนนายิส

โอกาสทางการตลาด - ขนาดของตลาด มาเลเซียมีประชากร 28.33 ลานคน ประกอบดวยหลายเช้ือชาติ ไดแก ชาวมลายูรอยละ 49.68 ชาวจีน รอยละ 22.82 และชาวอินเดียรอยละ 6.81 และเช้ือชาติอ่ืนๆ รอยละ 20.69 มีรายไดเฉล่ียตอหัว 6,882 เหรียญสหรัฐฯ ในปจจุบัน มาเลเซียมีการสงออกสินคาฮาลาลไปยังกลุมประเทศ มุสลิม 57 ประเทศ คิดเปนมูลคากวา 3,700 ลานริงกิต ภายใตเคร่ืองหมาย ของ Department of Islam Development (JAKIM) ของมาเลเซีย - กลุมผูบริโภคเปาหมาย ตลาดมาเลเซียเปนตลาดท่ีมีความหลากหลายของกลุมผูบริโภคเน่ืองจากประชากรในประเทศน้ีมีหลายชนชาติซึ่งไดแก ชาวมาเลย อินเดีย และ จีน ชาวตางชาติท่ีอาศัยและทำงานในมาเลเซีย ก็เปนอีกกลุมเปาหมายหน่ึง - พฤติกรรมผูบริโภค ผูบริโภคชาวมาเลเซียเร่ิมเปดกวางและยอมรับพฤติกรรมการบริโภค แบบตะวันตกมากข้ึน โดยเฉพาะ ความนิยมบริโภคอาหารนอกบาน เชน รานอาหารแบบ Fast Food ไดแก Kentucky Fried Chicken, Mc-Donald, Star Buck รานอาหารญ่ีปุน รานอาหารเกาหลี รานอาหารไทย รวมถึงธุรกิจบริการอ่ืนๆ ไดแก รานเสริมความงาม ธุรกิจบริการสปา เปนตน - ขอมูลเก่ียวกับผูนำเขา/ผูกระจายสินคา สินคาฮาลาลสวนใหญแลวจะกระจายไดตามชองทาง ดังน้ี 1. ผูนำเขาของมาเลเซียขายสินคาใหกับรานคาปลีก (Retailer) และ ผูบริโภคโดยตรง 2. ผูนำเขาของมาเลเซียกระจายสินคาไปยังผูคาสงหรือผูจัดจำหนาย และรานคาสงหรือผูจัดจำหนาย กระจายสินคาตอไปยัง ธุรกิจสปา ภัตตาคาร และศูนยการคา กอนถึงผูบริโภคตอไป - ขอเสนอแนะเก่ียวกับชองทางการตลาดท่ีเหมาะสมกับสินคาไทยและวิธีการเขาถึงชองทางการตลาด สินคาฮาลาลของไทยในตลาดมาเลเซียยังมีโอกาสสูงเน่ืองจากสินคา และบริการของไทยไทยเปนที่นิยมของชาวมาเลเซีย จากการที่อาหารไทยมี

ในปจจุบัน มาเลเซียมีการ สงออกสินคาฮาลาลไปยังกลุม ประเทศมุสลิม 57 ประเทศ คิดเปน มูลคากวา 3,700 ลานริงกิต ภายใตเคร่ืองหมายของ Depart- ment of Ilam Development (JAKIM) ของมาเลเซีย

Page 47: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

40 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ลักษณะคลายอาหารพ้ืนเมือง ธุรกิจบริการ เชน สปาของไทยมีความสุภาพ เปนกันเองและเปนท่ีนิยมและเขากับวิถีชีวิตของผูคนท่ีเร่ิมจะเปดกวางตอ วัฒนธรรมนานาชาติมากข้ึน อยางไรก็ตาม มาเลเซียยังไมยอมรับเคร่ืองหมายฮาลาลของหลาย ประเทศรวมท้ังเคร่ืองหมายฮาลาลของไทย ถึงแมวาผูประกอบการไทยจะสามารถ สงสินคาเขามาจำหนายในมาเลเซียได แตควรสรางความม่ันใจแกผูบริโภคชาว มาเลยท่ีเปนมุสลิมโดยการขอใหมีการรับรองเคร่ืองหมายฮาลาลจากหนวยงานของมาเลเซีย คือ Department Of Islam Development Malaysia (JAKIM) อีกคร้ังหน่ึง

ขั้นตอนในการนำเขาและกฎระเบียบท่ีเก่ียวของ - ขั้นตอนการนำเขาสินคาและผลิตภัณฑฮาลาล

หนวยงานใหการรับรองดานฮาลาลของมาเลเซีย Department Of Islam Development Malaysia (JAKIM) จะตรวจสอบต้ังแตขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบจนถึงมือผูบริโภค(From farm to table) กรณีท่ีมีการผลิตและแปรรูป ในมาเลเซีย เชน กรณีของบริษัทเจริญโภคภัณฑ จำกัดมหาชนซึ่งเขามาตั้ง โรงเล้ียง โรงเชือดและแปรรูปผลิตภัณฑ กรณีท่ีเปนการนำเขาจะตองประสานงาน กับกรมปศุสัตวของมาเลเซียจะสงผูเช่ียวชาญเขาไปรับรอง (Verified) โรงงานในประเทศไทยกอนการนำเขาประเทศมาเลเซีย

ม า เ ล เซี ย ยั ง ไม ยอม รั บ เคร่ืองหมายฮาลาลของหลาย ปร ะ เทศรวม ท้ัง เค ร่ืองหมาย ฮาลาลของไทย ถึงแมวาผู ประกอบการไทยจะสามารถสง สินคาเขามาจำหนายในมาเลเซีย ได แตควรสรางความมั่นใจแก ผูบริโภคชาวมาเลยท่ีเปนมุสลิม โดยการขอใหมีการรับรองเคร่ือง หมายฮาลาลจากหนวยงานของ มาเลเซีย คือ Department Of Islam Development Malaysia (JAKIM)

Page 48: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 41สส

- การติดเครื่องหมายฮาลาล ขั้นตอนการขอเครื่องหมายฮาลาลในจาก Department Of Islam Development Malaysia (JAKIM) ขั้นตอนและวิธีการขอเคร่ืองหมายฮาลาล - ขอแบบฟอรม SPH1 จาก Department Of Islam Development Malaysia ที่ Putra Jaya - กรอกรายละเอียดลงในใบ SPH1 แลวสงกลับไปท่ี Department Of Islam Development Malaysia การตรวจสอบ - คาใชจายในการขอมีเคร่ืองหมายฮาลาล (ดังแนบ) ตองทำการจาย กอนการตรวจสอบจะเกิดข้ึน - คาใชจายอ่ืนๆท่ีเก่ียวของกับการดำเนินการตรวจสอบเปนหนาท่ีของ ผูประกอบการ เชน คาใชจายในการเดินทางไปตรวจสอบ เปนตน - คณะกรรมการ หรือผูท่ีเก่ียวของทำการตรวจสอบเก่ียวกับกระบวน การผลิต วัตถุดิบ การเก็บรักษา และความสะอาดของโรงงานหรือสถาน ประกอบการ

กรณีที่ผลิตภัณฑผานการพิจารณา - ทางสำนักงานจะออกเคร่ืองหมายฮาลาลใหหลังจากการตรวจสอบพบวาอาหารน้ันถูกตองตามหลักของศาสนาอิสลาม หนังสือรับรองการใชเคร่ืองหมายฮาลาลจะมีอายุ 6 เดือน ถึง 3 ป ข้ึนอยูกับผลิตภัณฑหรือสินคาน้ัน

ภาพเคร่ืองหมายฮาลาลของมาเลเซีย

ผูสมัครท่ีมีสิทธ์ิท่ีจะย่ืนขอการรับรองฮาลาลประเภทดังตอไปน้ี • ผูผลิต • ผูจัดจำหนายตัวแทนจำหนาย • ผูผลิตรับจาง(Sub contract) • ผูบรรจุหีบหอ (Packer) • สถานท่ีจำหนายอาหาร • โรงเชือด

Page 49: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

42 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ตาราง : อัตราการคิดคาบริการสำหรับผูผลิตสินคาฮาลาลอุตสาหกรรม อัตรา ขนาดเล็ก 100 ริงกิต / ปวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME) 400 ริงกิต/ปอุตสาหกรรมขามชาติ 700 ริงกิต/ป

ตาราง : การจำแนกขนาดอุตสาหกรรมอุตสาหกรรม คุณสมบัติขนาดเล็ก มูลคาการขายประจำป 500,000 ริงกิต

พนักงาน 50 คน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME) มูลคาการขายประจำป 500,000 –

25,000,000 ริงกิตพนักงานไมเกิน 150 คน

อุตสาหกรรมขามชาติ ทั่วโลกและมีเครือขายในบางประเทศ มูลคาการขายประจำปมากกวา25,000,000 ริงกิต พนักงานมากกวา 150 คน

ตาราง : ขนาดของโรงฆาสัตวขนาดของอาคารสถานท่ี คุณสมบัติ

ขนาดเล็ก

- ไก / วัน (<2000 ตัว)

- แพะ / วัน (<500 ตัว)

- โค / วัน (<50 ตัว)

SME

- ไก / วัน (2000 – 3000 ตัว)

- แพะ / วัน (500-700 ตัว)

- โค/ วัน (50 – 100 ตัว)

ใหญ

- ไก / วัน (> 3000 ตัว)

- แพะ/ วัน (> 700 ตัว)

- โค / วัน (> 100 ตัว)

ตาราง: คาใชจายตอหนึ่งโรงเชือด

สถานท่ี อัตรา (RM)

เล็ก 100 ริงกิต/ป

SME 400 ริงกิต/ป

ใหญ 700 ริงกิต/ป

Page 50: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 43สส

ขอมูลอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลในประเทศมาเลเซีย ประเทศมาเลเซียเปนประเทศท่ีมีการนำเขาอาหารสุทธิ (Net Food Importer) โดยในป 2552 มาเลเซีย มีการนำเขาสินคาอาหาร 26,770 ลานริงกิต (8,840 ลานเหรียญสหรัฐฯ) และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉลี่ย รอยละ 5 ตอป

การสงออกอาหารแปรรูปและเคร่ืองด่ืม (Processed Food and Bever-age) ในชวงท่ีผานมา มาเลเซียมีมูลคาการสงออกอาหารและเคร่ืองด่ืมไป ตางประเทศลดลง เน่ืองจากประสบปญหาขอจำกัดทางการคากับประเทศคูคา เชน ประเทศในกลุมประเทศ ทำใหมาเลเซียตองจำหนายสินคาในราคาท่ีต่ำลง อาหารแปรรูปท่ีสงออก ไดแก โกโกและผลิตภัณฑจากโกโก อาหาร ทำจากธัญพืชและแปง โดยมีประเทศท่ีสงออกสำคัญ ไดแก สิงคโปร (รอยละ 16) สหรัฐอเมริกา(รอยละ 9.4) และอินโดนีเซีย(รอยละ 6.8)

การนำเขาอาหารแปรรูป (Processed Food) ของประเทศมาเลเซีย ในชวงท่ีผานมา มาเลเซียนำเขาอาหารแปรรูปจากตางประเทศเพ่ิม ข้ึนมาโดยตลอด อาหารแปรรูปท่ีนำเขา ไดแก ผลิตภัณฑจากนม น้ำตาล และของหวานทำจากน้ำตาล ผักและผลไมแปรรูป โดยนำเขาจากประเทศตางๆ ที่สำคัญ ไดแก ออสเตรเลีย (รอยละ 16.1) บราซิล (รอยละ 12.9) นิวซีแลนด (รอยละ 11.9)

Page 51: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

44 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การนำเขาสินคาอาหารประเภทตางๆจากประเทศไทย(มูลคา/ ประเภทสินคา )

Page 52: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 45สส

ขอเสนอแนะ - ตลาดมาเลเซียเปนอีกตลาดหน่ึงท่ีนาสนใจนอกเหนือจากตลาดยุโรป และอเมริกา โดยเฉพาะในเร่ืองของระยะทางท่ีใกลทำใหตนทุนการขนสงต่ำลง และวัฒนธรรมการบริโภคท่ีคลายกับประเทศไทย อยางไรก็ตามการต้ังราคาขาย ในมาเลเซียก็มีความสำคัญ เนื่องจากมีผูนำเขาสินคาและบริการหลายราย สนใจสินคาไทยแตไมสามารถสั่งซื้อไดเนื่องจากมีการตั้งราคาที่สูงมาก ดังนั้น ผูประกอบการไทยท่ีสนใจตลาดน้ีควรมีการต้ังราคาสินคาท่ีเหมาะสม - ผูประกอบการไทยไทยควรหาโอกาสเขามาชมงานแสดงสินคาฮาลาล ของมาเลเซีย (MIHAS) โดยในปท่ีผานมามีผูเขารวมงานจากท่ัวโลก 527 รายจาก 32 ประเทศ มีผูชมงานสินคาฮาลาล ต้ังแตยารักษาโรคไปจนถึงเคร่ืองสำอางและการดูแลสุขภาพ รวมถึงการลงทุนของธนาคารอิสลาม 35,386 คน จาก 59 ประเทศ โดยงานมีมูลคาการซ้ือขายภายในงานไดถึง 710 ลานบาท และ มีมูลการการส่ังซ้ือภายหลังงานสูงถึง 11,000 ลานบาท ในปน้ี งานแสดง สินคาฮาลาลชองมาเลเซีย(MIHAS 2011) กำหนดจัดระหวางวันท่ี 6 - 9 เมษายน 2554 ณ กรุงกัวลาลัมเปอรโดยมีกลุมผูผลิตสินคาฮาลาลจากท่ัวโลกรวมถึง ประเทศไทยเขารวมงาน เพ่ือสรางแบรนดสินคาไทยฮาลาลบนเวทีระดับโลก

3.3 สินคายานยนตและช้ินสวนในประเทศมาเลเซีย ความเปนมาของอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศมาเลเซีย อุตสาหกรรมรถยนตในมาเลเซียไดเริ่มตนขึ้นในป 2503 ซึ่งกอน ทศวรรษดังกลาวน้ัน รถยนตโดยสวนใหญท่ีใชภายในประเทศมาจากการนำเขา CBU :Complete Built-up (การนำเขารถยนตท้ังคัน) ทั้งสิ้น ในป 2506 รัฐบาล มาเลเซียเร่ิมสนับสนุนและกอต้ังอุตสาหกรรมยานยนตข้ึนมา โดยมีนโยบายใน การสนับสนุนการผลิตช้ินสวนและสวนประกอบรถยนต ซ่ึงไดประกาศใชนโยบาย ดังกลาวเม่ือ เดือน พฤษภาคม ป 2507 และมีการจัดต้ังโรงงานประกอบรถยนต ข้ึนหลังจากป 2503 เปนตนมา เพ่ือความพรอมทางดานแรงงานและทดแทน การนำเขารถยนต โดยการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตในประเทศและสนับสนุน ใหมีการใชรถยนตท่ีผลิตในประเทศอีกดวย อีกทั้งยังจะมีการจัดเก็บภาษีนำเขาและเสนอระบบอัตราภาษีสำหรับการนำเขา CBU ในป 2540 โรงงานประกอบรถยนตท้ัง 6 แหงไดเร่ิมตนทำการผลิตรถยนต โรงงานประกอบรถยนตจะมีการรวมทุนระหวางบริษัทผูผลิตรถยนตในยุโรป (European Automobile manufacturers) และหุนสวนในพ้ืนท่ีซึ่งเปน Distributor อยูกอนแลว โดยบริษัท Swedish Motor Assemblies ไดประกอบรถยนตใหแก Volvo, บริษัท Asia Automobile Industries Sdn.Bhd. ประกอบรถยนตใหแก Peugeot และ Mazda และ Tan Chong Motors ไดประกอบรถยนตใหแก Nisson และ Datsun โดยการนำเขาในรูปแบบ CKD (Complete Knock Downed) เพ่ือปอนเขาสูโรงงานประกอบรถยนต

ผู ปร ะกอบการ ไทย ไทย ควรหาโอกาสเขามาชมงานแสดง สิ นค า ฮ าล าลของม า เ ล เซี ย (MIHAS) โดยในปท่ีผานมามีผูเขา รวมงานจากท่ัวโลก 527 ราย จาก 32 ประเทศ มีผูชมงานสินคา ฮาลาล ต้ังแตยารักษาโรคไปจน ถึงเคร่ืองสำอางและการดูแล สุขภาพ

Page 53: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

46 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

มาเลเซียไดเร่ิมตนโครงการรถยนตแหงชาติ (National Car) หรือ Perusahaan Automobile National (Proton) บริษัท โปรตอน โฮลดิ้งส เบอรฮาด กอต้ังข้ึนเม่ือ 28 กรกฎาคม 2546 เน่ืองจากบริษัท โปรตอน กรุป มีความตองการท่ีจะบริหารการลงทุนตางๆ ภายใตรูปแบบของบริษัทแมท่ีเขาไป ถือหุนในบริษัทอ่ืนๆ ทั้งนี้ บริษัท Perusahaan Otomobil Nasional Sdn Bhd. เปนบริษัทในเครือแหงแรกไดเปดดำเนินการในวันท่ี 7 พฤษภาคม 2526 และไดเปดตัวรถยนตรุนแรกท่ีม่ีชื่อวา “Saga” ในวันท่ี 9 กรกฎาคม 2528 นับ จากน้ันมาโปรตอนไดกาวจากการเปนผูผลิตยานยนตภายในประเทศไปสูการ เปนผูผลิตท่ีสามารถออกแบบ และผลิตรถยนตรุนตางๆ ไดเอง อาทิ Waja Gen.2 และ Savvy เปนตน เพ่ือตอบสนองความตองการในตลาดท่ีแตกตางกันออกไป นอกเหนือจากการรุกตลาดภายในประเทศแลว โปรตอนยังสงออกรถยนตใหกับตลาดหลักอ่ืนๆ อีก 4 แหง ไดแก อาเซียน ตะวันออกกลาง สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย อีกทั้งยังไดพัฒนาเคร่ืองยนตรุน Campro ที่เปนเอกสิทธ์ิ เฉพาะของโปรตอนรวมกับ โลตัส กรุป ประเทศอังกฤษอีกดวย ผูผลิตรถยนตแหงชาติแหงท่ีสอง Perodua ไดตั้งโรงงานผลิตท่ีเมือง Serendah ที่รัฐเซอรลังงอหไดเปดตัวคร้ังแรกในป 2527 รถยนต Perodua เปนรถท่ีขายดีลำดับท่ีสองของรถยนตน่ังในมาเลเซีย โครงสรางทางอุตสาหกรรมรถยนตและช้ินสวนยานยนต ยอดขายรถยนตใหมของมาเลเซียทำสถิติสูงสุดในป 2553 ที่ 605,156 คัน เพ่ิมข้ึน 12.7% จากยอดขายในป 2552 โดยในป 2553 ยอดขายรถยนตน่ัง สวนบุคคลคิดเปนสัดสวน 90% ของยอดขายรถยนตใหมท้ังหมดในมาเลเซีย ซ่ึงเปนตลาดรถยนตนั่งรายใหญสุดในภูมิภาค โดยยอดขายรถยนตของบริษัท Perodua ซ่ึงเปนผูผลิตรถยนตทองถ่ินและมีบริษัท ไดฮัทสุ มอเตอร ของญ่ีปุน

เปนผูถือหุนใหญ ยังครองสวนแบงการ ตลาดสูงสุดกวา 31.2% ที่ 188,641 คัน ในป 2552 และ Perodua ผลิตเฉพาะ รถยนตน่ังสวนบุคคลสวนบริษัทโปรตอน ซ่ึงเปนผูผลิตทองถ่ินอีกราย มีสวนแบง การตลาดเปนอันดับสอง ดานยอดขาย รถยนตตางชาติ โตโยตา มอรเตอร คอรป ของญ่ีปุนมีสวนแบงการตลาดสูงสุดท่ี 15% ตามมาดวย บริษัท ฮอนดา มอเตอร และ บริษัท นิสสัน มอเตอร ตามลำดับ

ในป 2553 ยอดขายรถยนต

น่ังสวนบุคคลคิดเปนสัดสวน 90%

ของยอดขายรถยนตใหมท้ังหมด

ในมาเลเซีย ซึ่งเปนตลาดรถยนต

นั่งรายใหญสุดในภูมิภาค

Page 54: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 47สส

อุตสาหกรรมช้ินสวนยานยนต อุตสาหกรรมช้ินสวนยานยนตของมาเลเซีย มีการจางงาน 21,713 คน มีผูผลิต 690 ราย รอยละ 75 เปนบริษัทสัญชาติมาเลเซีย ในจำนวนน้ีเปนบริษัท ที่ผลิตช้ินสวนปอนใหกับโรงงานประกอบรถยนตโปรตอน (Proton Vendors) 226 ราย ผลิตช้ินสวนปอนใหกับโรงงานประกอบรถยนตเปอโรดัว (Perrodua Vendors) 160 ราย ผลิตช้ินสวนรถยนตกวา 6,000 รายการ ไดแก พวงมาลัย แกนพวงมาลัย กันชน เบรก หมอน้ำ โชคอัพและคลัชท เปนตน ผูประกอบการจากตางประเทศประกอบดวยโรงงานขนาดใหญ (1st Tier) 32 ราย เปนผูผลิตช้ินสวน OEM สงใหแกโรงงานประกอบรถยนตของตางชาติ ไดแก Delphi Automotive Systems, Siemens, Bosch, Denso (M) Sdn. Bhd., Nippon Wiper Blade (M) Sdn. Bhd., TRW Automotive เปนตน

การผลิตรถยนตของมาเลเซีย ความตองการซ้ือรถยนตในประเทศเปนปจจัย กำหนดการผลิตรถยนตในประเทศมาเลเซีย ในชวงป 2551 มาเลเซียผลิตรถยนตไดท้ังส้ิน 530,810 คัน เพ่ิมข้ึนรอยละ 16.79 จากป 2550 ที่มีการผลิต 441,678 คัน ในป 2552 (ม.ค.-ก.ย.) มาเลเซียผลิตร ถยนตไดท้ังส้ิน 356,490 คัน ลดลงรอยละ 4.35 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของป 2551 ซ่ึงมียอดการผลิต 375,843 คัน เน่ืองจากประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจใน ชวงตนป 2552

ตาราง : แสดง Manufacture of PassengerCars(units) ของมาเลเซีย

Malaysia : Manufacture of Passenger Cars (units)ประเภทรถยนต ป 2553 ป 2552

อัตราการเติบโตคัน เปอรเซ็นต

รถยนตแหงชาติ

(National Cars)

543,594 คัน(สวนแบงรอยละ 63.70)

486,342 คัน(สวนแบงรอยละ 62.56)

57,252 11.8

รถยนตตางชาติ(Non-national Cars)

61,562 คัน(สวนแบงรอยละ 36.30)

50,563 คัน(สวนแบงรอยละ 37.44)

10,999 21.8

รวมทั้งหมด 605,156 คัน 441,678 คัน 68,251 12.7Source : Malaysian Automotive Association : MAA

Page 55: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

48 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ภาพรวมทางการตลาด

มาเลเซียมีประชากรประมาณ 27 ลานคน แตมีอัตราสวน รถยนต : ประชากร เทากับ 1 : 5 เน่ืองจากธนาคารและสถาบันการเงินมีนโยบายดอกเบ้ีย ต่ำและระยะเวลาผอนท่ียาว ซ่ึงสงผลใหมีความตองการซ้ือรถยนตเปนจำนวน มากและทำใหอุตสาหกรรมยานยนตเติบโตอยางรวดเร็ว ดังน้ัน ตลาดยานยนตมาเลเซียจึงเปนตลาดท่ีนาสนใจอยางมากสำหรับผูผลิตตางชาติ โดยคาดวาในป 2553 อุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจะเผชิญกับการแขงขันอยางสูงจากผู นำเขาตางชาติ เน่ืองจากราคารถยนตนำเขามีราคาถูกลงอยางมากจากการปฏิบัติ ตามกฎของ AFTA ที่มีการเก็บภาษีรถยนตนำเขาเปนศูนย เม่ือพิจารณาการ ผลิตและประกอบช้ินสวนรถยนตในประเทศไทยจะพบวาไทยไดเปรียบท้ังดาน ราคาและคุณภาพ มาเลเซียมีอัตราการเติบโตของยอดจำหนายรถยนตน่ังสวนบุคคล (Passenger Car) เปนอันดับหน่ึงในอาเซียน ซ่ึงคิดเปนรอยละ 37 ของ ยอดจำหนายในอาเซียนโดย อินโดนีเซียเปนอันดับสอง และ ไทยอันดับสาม สำหรับยอดขายรถยนตเพ่ือการพาณิชย มาเลเซียมีอัตราการเติบโต ของยอดขายรถยนตเพ่ือการพาณิชย (Commercial Vehicle) เปนอันดับ 5 ในอาเซียน โดยมีประเทศไทยเปนอันดับหน่ึง อินโดนีเซียอันดับสอง ฟลิปปนส อันดับสาม และ เวียดนามอันดับส่ี

ปริมาณการผลิตรถยนตของมาเลเซีย หนวย : คันป รถเกง. รถบรรทุก รถขับเคลื่อนสี่ลอ รถตู รวม

2547 364,852 75,384 31,739 - 471,9752548 422,225 95,662 45,623 - 563,5102549 377,952 96,545 28,551 - 503,0482550 403,245 38,433 - - 441,6782551 484,512 46,298 - - 530,8102552 407,044 63,757 10,475 5,106 486,3422553 414,539 107,714 15,416 5,925 543,594

Source : Malaysian Automotive Association : MAA

ตาราง : แสดง Production of Passenger Cars & Commercial Vehicle (units) ของมาเลเซีย

ตาราง : แสดงยอดจำหนายและปริมาณการผลิตรถยนตของมาเลเซียปริมาณการผลิตรถยนตและยอดจำหนายของมาเลเซีย หนวย : คัน

ป ยอดจำหนาย ปริมาณการผลิต

2547 487,605 471,9752548 552,316 563,5102549 490,768 503,0482550 487,176 441,6782551 548,115 530,8102552 489,269 536,9052553 567,715 605,156

Source : Malaysian Automotive Association : MAA

อุตสาหกรรมยานยนตใน ประเทศจะเผชิญกับการแขงขัน อยางสูงจากผูนำเขาตางชาติ เน่ืองจากราคารถยนตนำเขามี

ราคาถูกลงอยางมากจากการ

ปฏิบัติตามกฎของ AFTA ท่ีมี

การเก็บภาษีรถยนตนำเขาเปน

ศูนย เม่ือพิจารณาการผลิตและ

ประกอบช้ินสวนรถยนตในประเทศ

ไทยจะพบวาไทยไดเปรียบท้ังดาน

ราคาและคุณภาพ

Page 56: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 49สส

โครงสรางอัตราภาษีรถยนตของมาเลเซีย ภาษีสรรพสามิต

รถยนตนำเขาสำเร็จรูป (Completely Built Up : CBU) และนำเขา ช้ินสวนเขามาประกอบในประเทศ ของมาเลเซียจำแนกเปนรถยนตน่ังอยูระหวาง อัตรารอยละ 75 – 105 ของราคานำเขา CIF รถอเนกประสงค/รถตู รอยละ 60 – 105 รถขับเคล่ือน 4 ลอ รอยละ 65 – 105 และรถจักรยานยนต รอยละ 20-30 มีดังรายละเอียดดังตอไปน้ี

ตาราง : แสดงอัตราภาษีสรรพสามิตของมาเลเซียExcise Duty on Imported Vehicles (CBU) and Locally Assembled Vehicles(CKD)

ASEAN (CEPT) Non-ASEAN (MFN)

Type/Engine Capacity From From

22.3.20 6 22.3.2006

Passenger Car

1800 75% 75%

> 1800 - 2000 80% 80%

> 2000 - 2500 90% 90%

> 2500 - 3000 105% 105%

> 3000 *105% *105%

*with effect from 1 January 2007

MPV/Van

1500 60% 60%

> 1500 - 1800 65% 65%

> 1800 - 2000 75% 75%

> 2000 - 2500 90% 90%

> 2500 - 3000 105% 105%

> 3000 *105% *105%

*with effect from 1 January 2007

4WD

1800 65% 65%

> 1800 - 2000 75% 75%

> 2000 - 2500 90% 90%

> 2500 - 3000 105% 105%

> 3000 *105% *105%

*with effect from 1 January 2007

<_

<_

<_

<_

<_<_

<_

<_

<_<_

<_

<_

Page 57: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

50 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

<_

<_

<_

<_

<_

<_

ASEAN (CEPT) Non-ASEAN (MFN)

Type/Engine Capacity From From

22.3.20 6 22.3.2006

Motorcycle

150 20% 20%

> 150 - 200 30% 30%

> 200 - 250 *30% *30%

> 250 - 500 *30% *30%

> 500 - 800 *30% *30%

> 800 *30% *30%

*with effect from 1 January 2007

ภาษีนำเขารถยนต Completed Knocked Down : CKD

ภาษีนำเขาช้ินสวนรถยนต (Completely Knocked Down : CKD)เขามาประกอบในประเทศ ของมาเลเซียจำแนกเปน รถยนตน่ัง รถอเนกประสงค/รถตู รถขับเคล่ือน 4 ลอ และรถจักรยานยนต สำหรับประเทศในอาเซียนเทากับ ศูนย แตตองเสียภาษีขาย(Sale Tax) รอยละ 10 สำหรับนอกกลุมประเทศอาเซียน เสียภาษีนำเขารอยละ 0 – 10 และ เสียภาษีขาย(Sale Tax) รอยละ 10 มีดังรายละเอียดดังตอไปน้ี

ตารางที่ : แสดงอัตราภาษีนำเขาและภาษีขายของมาเลเซีย Import Duty on (CKD) Vehicles for Locally Assembled Vehicles

Type/Engine Capacity ASEAN (CEPT) Non-ASEAN (MFN)

From 22.3.2006 From 22.3.2006

Import Sales Import Sales

Duty Ta uty Tax

Passenger Car

1800 0% 10% 10% 10%

> 1800 - 2000 0% 10% 10% 10%

> 2000 - 2500 0% 10% 10% 10%

> 2500 - 3000 0% 10% 10% 10%

> 3000 0% 10% 10% 10%

<_

<_

<_

Page 58: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 51สส

Type/Engine Capacity ASEAN (CEPT) Non-ASEAN (MFN)

From 22.3.2006 From 22.3.2006

Import Sales Import Sales

Duty Ta uty Tax

MPV/Van

1500 0% 10% 0% 10%

> 1500 - 1800 0% 10% 10% 10%

> 1800 - 2000 0% 10% 10% 10%

> 2000 - 2500 0% 10% 10% 10%

> 2500 - 3000 0% 10% 10% 10%

> 3000 0% 10% 10% 10%

4WD

1800 0% 10% 10% 10%

> 1800 - 2000 0% 10% 10% 10%

> 2000 - 2500 0% 10% 10% 10%

> 2500 - 3000 0% 10% 10% 10%

> 3000 0% 10% 10% 10%

Motorcycle

150 0% 0% 0% 0%

> 150 - 200 0% 0% 0% 0%

> 200 - 250 0% 10% 5% 10%

> 250 - 500 0% 10% 5% 10%

> 500 - 800 0% 10% 10% 10%

> 800 0% 10% 10% 10%

ภาษีนำเขารถยนตสำเร็จรูป Completely Built Up : CBU ภาษีนำเขาช้ินสวนรถยนต (Completely Built Up : CBU) ของประเทศมาเลเซีย จำแนกเปนรถยนตน่ัง รถอเนกประสงค/รถตู รถขับเคล่ือน 4 ลอ และรถจักรยานยนต สำหรับประเทศในกลุมอาเซียนเทากับรอยละ 5 (ภายหลังวันท่ี 1 มกราคม 2553 ภาษีเทากับ 0) เสียภาษีขาย (Sale Tax) รอยละ 10 สำหรับนอกกลุมประเทศอาเซียน เสียภาษีนำเขารอยละ 30 และ เสียภาษีขาย(Sale Tax) รอยละ 10 มีดังรายละเอียดดังตอไปน้ี

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

Page 59: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

52 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ตาราง : แสดงอัตราภาษีนำเขาและภาษีขายของมาเลเซีย

Import Duty on Imported (CBU) Vehicles

Type/Engine Capacity ASEAN (CEPT) Non-ASEAN (MFN)

From 22.3.2006 From 22.3.2006

Import Sales Import Sales

Duty Tax Duty Tax

Passenger Car

1800 5% 10% 30% 10%

> 1800 - 2000 5% 10% 30% 10%

> 2000 - 2500 5% 10% 30% 10%

> 2500 - 3000 5% 10% 30% 10%

> 3000 5% 10% 30% 10%

MPV/Van

1500 5% 10% 30% 10%

> 1500 - 1800 5% 10% 30% 10%

> 1800 - 2000 5% 10% 30% 10%

> 2000 - 2500 5% 10% 30% 10%

> 2500 - 3000 5% 10% 30% 10%

> 3000 5% 10% 30% 10%

4WD

1800 5% 10% 30% 10%

> 1800 - 2000 5% 10% 30% 10%

> 2000 - 2500 5% 10% 30% 10%

> 2500 - 3000 5% 10% 30% 10%

> 3000 5% 10% 30% 10%

Motorcycle

150 5% 0% 20% 0%

> 150 - 200 5% 0% 30% 0%

> 200 - 250 5% 10% 30% 10%

> 250 - 500 5% 10% 30% 10%

> 500 - 800 5% 10% 30% 10%

> 800 5% 10% 30% 10%

Source : Malaysian Automotive Association : MAA

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

<_

Page 60: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 53สส

นโยบายรถยนตแหงชาติ(National Automotive Policy)

รัฐบาลมาเลเซียมีการสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตอยางตอเน่ือง มาเลเซียเช่ือวาการท่ีประเทศมีภาคอุตสาหกรรมยานยนตท่ีแข็งแกรงจะชวยในดานแรงงาน เทคโนโลยี และความมีชื่อเสียง โดยในขณะน้ี Proton และ Per-odua ซ่ึงเปนรถยนตประจำชาติ ไดครอบครองตลาดรถยนตของมาเลเซียเปนสวนใหญ

การบังคับเก็บภาษีสรรพสามิต

นับแตป 2547 เปนตนมา รัฐบาลมาเลเซียไดบังคับเก็บภาษีสรรพสามิต รถยนตทุกชนิด ทั้งนี้เปนความต้ังใจของรัฐบาลมาเลเซียในการเตรียมรองรับการ สูญเสียรายไดจากภาษีการนำเขารถยนตท่ีเคยเก็บไดกอนท่ีจะมีการเปดการคา เสรีตามขอตกลงอาฟตาในป 2553 รายละเอียดของภาษีนำเขารถยนตและภาษีสรรพสามิตรถยนต ชนิด CBU (Completely Built Up)

การบังคับเก็บภาษีการขาย

ภาษีการขายยังคงอัตราเดิมท่ีรอยละ 10 สำหรับ นอกจากน้ีผูนำเขา จะตองขอใบอนุญาตนำเขาจาก Ministry of International Trade and Industry ระบบการนำเขารถยนตของมาเลเซียโดยการใช Approved

Permit (AP)

มาเลเซียยังคงบังคับใชระบบใบอนุญาตการนำเขารถยนต หรือ Approved Permit (AP) ตอไป แมมีการเรียกรองใหยกเลิกหลังมาเลเซียเปดเสรีรถยนตตามขอตกลงเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตาในวันท่ี 1 มกราคม 2553 ที่ผานมา มาเลเซียนำระบบ AP เพื่อการนำเขารถยนตในป 2513 โดยมี เปาหมายเพ่ือชวยเหลือบริษัทตัวแทนจำหนายชาวภูมิบุตรประสบความ สำเร็จในภาคธุรกิจการจัดจำหนายรถยนตภายในประเทศ เพราะถาหากไมให อภิสิทธิ์พิเศษ ชาวภูมิบุตรไมสามารถแขงขันกับบริษัทจำหนายรถยนตชาว มาเลเซียเช้ือสายจีนได ใบอนุญาตนำเขารถยนต AP แบงเปน 2 ประเภท คือ ใบอนุญาต ประเภท Open AP และFranchise AP โดยกำหนดให Open AP สำหรับ นำเขารถยนตใชแลว(รถบรรทุก รถน่ังสวนบุคคล รถจักรยานยนต) จะตออายุ ใหถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2558 สวน Franchise AP จะตออายุใหถึงป 2563 โดยจะตองเสียคาธรรมเนียมคันละ 10,000 ริงกิต (ประมาณ 100,000 บาท)

มา เล เซีย ยังคงบังคับ ใช ระบบใบอนุญาตการนำเขารถยนต หรือ Approved Permit (AP) ตอไป แมมีการเรียกรองใหยกเลิก หลังมาเลเซีย เปด เสรีรถยนต ตามขอตกลงเขตการค า เสรี อา เซี ยนห รืออาฟต า ใน วัน ท่ี 1 มกราคม 2553 ที่ผานมา

Page 61: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

54 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ผูผลิตรถยนตตางชาติในมาเลเซีย นอกจากจะมีผูผลิตและผูประกอบช้ินสวนรถยนตของมาเลเซีย ไดแก Proton และ Perodua ซ่ึงเปนผูผลิตรถยนตแหงชาติ (National Passenger Cars) แลว ยังมีผูผลิตรายใหญอ่ืนๆ ซ่ึงทำการผลิตและประกอบช้ินสวนรถยนต จากตางชาติ (Non-National Passenger Cars) ซ่ึงถือไดวาเปนคูแขงขันทาง การตลาดท่ีสำคัญของ Proton และ Perodua ดังตอไปน้ี

ตาราง : แสดงรายชื่อ/ที่อยู และ ยี่หอ ของบริษัทผูผลิตและผูประกอบช้ินสวนรถยนตของมาเลเซีย บริษัท ที่อยู ยี่หอKinabalu Motor Assembly Sdn. Bhd. Locked Bag 36, 88991 Kota Kinabalu,

SabahTel: (6088) 422762Fax: (6088) 422758

Suzuki, Isuzu, Pacific (c)

Associated Motor Ind. (M) Sdn. Bhd. Jalan Sesiku 15/2,40000 Shah Alam,SelangorTel: (603) 559 1601 Fax: (603) 559 6962

Ford, BMW, Mazda (P), Jeep, LandRover, Suzuki, Scania (c)

Assembly Services Sdn. Bhd. Persiaran Selangor40000 Shah Alam,SelangorTel: (603) 5519 1901Fax: (603) 5519 3971

Toyota, Daihatsu (p), Hino (c)

Asia Automobile Industries Sdn. Bhd. Lot 9, Jalan 219,Petaling Jaya,SelangorTel: (603) 7950 4528Fax: (603) 7956 8090

Mercedes , Mazda (c)

Swedish Motor Assemblies Sdn. Bhd. Jalan Bicu 15/6 Section 1540000 Shah Alam, SelangorTel: (603) 5519 1421Fax: (603) 5519 3509

Volvo, Suzuki, Daihatsu

Tan Chong Motor Assemblies Sdn. Bhd. 249, Jalan Segambut,51200 Kuala LumpurTel: (603) 6257 1577Fax: (603) 6251 5511

Nissan, Renault, Audi, Subaru, Daewoo (p), Volkswagen

Oriental Assemblers Sdn. Bhd. Batu 2, Jalan TampoiP.O Box 204, 80720 Johor Tel: (607) 236 1400 Fax: (607) 237 2166

Honda, Peugeot, Mercedes

Page 62: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 55สส

Automotive Manufacturers (M) Sdn. Bhd.

Peramujaya Industrial Area, Locked Bag 7, 26607 PahangTel: (609) 426 9702Fax: (609) 426 9870

Citroen (p), TATA, Isuzu, Mitsubishi (c)

Perusahaan Otomobil Nasional Bhd. Hicom Industrial Estate, Batu 3, Shah Alam, SelangorTel: (603) 5191 1055Fax: (603) 5191 1252

Proton (p)

Perusahaan Otomobil Kedua Sdn. Bhd. Lot 1896 Sungai Choh, Mikum Serendah, 48009 , SelangorTel: (603) 6092 8888Fax: (603) 6091 5697

Perodua

Industri Otomotif Komersial (M) Sdn. Bhd

3652/3653, Lorong Selasih 2/3, Taman Selasih 09000 Kulim, KedahTel: (604) 491 5898Fax: (604) 491 4798

Manufactures light commercial trucks & assembles Renault (c), ITAL (C), BMC (C).

Malaysian Truck & Bus Sdn. Bhd. Level 3, Wisma HICOM 2 Jalan U1/8, Off Persiaran Kerjaya (Glenmarie), 40000 Shah Alam, SelangorTel: (603) 2052 8488Fax: (603) 2052 8489

Truck & Bus

Notes: (c) – Commercial vehicle; (p) – passenger vehicle

Source: The Federation of Engineering and Motor Parts Traders’ Association, Malay

บริษัท ที่อยู ยี่หอ

3.4 สินคาอิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟาในมาเลเซีย มาเลเซีย เปนประเทศท่ีมีการพัฒนาเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในชวง 40 ปที่ผานมา โดยเปล่ียนจากประเทศท่ีผลิตและสงออกพืชผลเกษตรและสินคา ข้ันปฐม มาเปนการผลิตและสงออกสินคาอุตสาหกรรม ที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ทั้งนี้เนื่องจากมาเลเซียมีแรงงานท่ีมีคุณภาพ มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ใหทันสมัย และรัฐบาลสงเสริมบรรยากาศในการลงทุน ปจจุบันมาเลเซียเปน แหลงผลิตใหกับบรรษัทขามชาติท้ังจากสหรัฐฯ ญี่ปุน ยุโรป ไตหวัน และเกาหลี รวมถึงผูประกอบการในประเทศตางก็เรงยกระดับการผลิตใหสามารถแขงขันไดใน ตลาดโลก สำหรับสาขาการผลิตในมาเลเซียท่ีนาสนใจ ไดแก อิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟา

Page 63: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

56 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

อุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวยกลุม อุตสาหกรรมท่ีสำคัญ ไดแก 1) กลุมผลิตภัณฑโทรคมนาคม 2) กลุมผลิตภัณฑคอมพิวเตอร 3) กลุมช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส 4) กลุมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน 5) กลุมอุตสาหกรรมซอฟแวร โดยท้ัง 5 กลุมอุตสาหกรรมมีความเช่ือมโยงกันและกัน และมีกลุม อุตสาหกรรมสนับสนุนเปนพ้ืนฐานในการเติบโตในระยะยาว 1) กลุมผลิตภัณฑโทรคมนาคม เปนอุตสาหกรรมท่ีตองใชเทคโนโลยีในการผลิตสูง ที่ผานมาการผลิต ในประเทศมักจะผลิตอุปกรณสื่อสารที่ใชเทคโนโลยีไมซับซอน หรือเปนการนำเขาช้ินสวนจากตางประเทศ เพ่ือประกอบในโรงงานท่ีเปนฐานการผลิตใน ประเทศไทย ไดแก เคร่ืองรับโทรทัศน เคร่ืองโทรสาร จานดาวเทียม และ ช้ินสวนเคร่ืองรับโทรศัพท 2) กลุมผลิตภัณฑคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ เปนอุตสาหกรรมท่ีตองใชเงินลงทุนสูง ใชเทคโนโลยีการผลิตสูงและ ทันสมัย เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีเปนไปอยางรวดเร็วมาก การผลิต สวนใหญจะผลิตช้ินสวน อุปกรณและสวนประกอบ หรือนำเขาช้ินสวนเพ่ือ ประกอบเปนผลิตภัณฑสำเร็จรูปแลวสงออก โดยตองพ่ึงพาวัตถุดิบและช้ินสวนจากตางประเทศกวารอยละ 70 – 80 และใชเทคโนโลยีจากบริษัทแมท่ีเขามารวมทุน ผลิตภัณฑท่ีสำคัญ ไดแก ช้ินสวนคอมพิวเตอร Hard Disk Drive และ Magnetic tape 3) กลุมอุตสาหกรรมช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส สวนใหญเปนการผลิตท่ีเนนใช แรงงาน (Labour Intensive) เปนสำคัญ และจะเปนลักษณะรวมทุนกับตาง ประเทศ (Joint Venture) ในรูปของบริษัทขามชาติ (Multi – National) บริษัทในเครือ (Subsidiary) และผูรับชวงการผลิต (Subcontracting) ทั้งนี้ ลูกคาสวนใหญ คือ ลูกคาตางชาติ ปจจุบันอุตสาหกรรมช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส ตองพ่ึงพาการนำเขาวัตถุดิบจากตางประเทศ ไดแก IC PCB Resistor Capacitor Batter และ Coil ซ่ึงผลิตเพ่ือการสงออกเปนสวนใหญ 4) กลุมอุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน เปนอุตสาหกรรมท่ีมีการผลิตมานาน ผูผลิตมีการพัฒนาขีดความ สามารถทางเทคโนโลยีการออกแบบ และมีความสามารถในการผลิตช้ินสวน สวนประกอบและผลิตภัณฑสำเร็จรูป ทำใหเครื่องใชภายในบานที่ผลิตมีรูป

Page 64: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 57สส

แบบสวยงาม คุณภาพดี การผลิตเคร่ืองใชภายในบาน มีความเช่ือมโยงกับ อุตสาหกรรมในประเทศสูง โดยปจจุบันมีการใชชิ้นสวนในประเทศเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ และนำเขาวัสดุและวัตถุดิบพ้ืนฐาน เชน เหล็ก อลูมิเนียม ทองแดง พลาสติก เคมีภัณฑ เพ่ือผลิตช้ินสวนและสวนประกอบ แลวนำมาประกอบเปนผลิตภัณฑ สำเร็จรูป ผลิตภัณฑท่ีสำคัญ ไดแก เคร่ืองปรับอากาศ เคร่ืองรับโทรทัศน 5) กลุมอุตสาหกรรมซอฟตแวร ในปจจุบันอุตสาหกรรมซอฟตแวรเขามามีบทบาทท่ีสำคัญอยางย่ิง เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งทางดาน ฮารดแวร เทคโนโลยีเน้ือหาสาระท่ีเปนส่ือผสม (Multimedia) เทคโนโลยี โทรคมนาคมรวมถึงเทคโนโลยีซอฟตแวรดวย อีกทั้งหนวยงานตางๆ ไดมีการ ลงทุนพัฒนาระบบคอมพิวเตอรขนาดใหญที ่มีมูลคาสูงมาก ทำใหตลาด ซอฟตแวรภายในประเทศมีขนาดใหญเพียงพอ และมีการพัฒนาการใชเทคโนโลยี ท่ีทันสมัยเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟตแวรในระยะส้ันๆ ผลิตภัณฑ ที่สำคัญของอุตสาหกรรมซอฟตแวร 6) กลุมอุตสาหกรรมสนับสนุน อุตสาหกรรมสนับสนุนเปนอุตสาหกรรมพ้ืนฐานในการผลิตของอุตสา- หกรรมตางๆ ไดแก อุตสาหกรรมแมพิมพ ช้ินสวนโลหะ ช้ินสวนพลาสติก ฯลฯ โดยมีกระบวนการผลิตท่ีสำคัญ ไดแก การปม ข้ึนรูป การชุบเคลือบผิวโลหะ งานเคร่ืองมือกล การหลอ การเช่ือม การฉีดพลาสติก และ การข้ึนรูปยาง ซ่ึงการผลิตช้ินสวนแตละชนิดจะมีการใชเทคโนโลยีการออกแบบและเทคโนโลยีการผลิตท่ีแตกตางกัน โดยเทคโนโลยีดาน DIE/MOLD เปนหัวใจสำคัญของการผลิตช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส มาเลเซียนับเปนหน่ึงในประเทศผูสงออกผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกส รายใหญของโลก มีจำนวนบริษัทเก่ียวของในอุตสาหกรรมน้ีกวา 1,000 บริษัท จำแนกไดดังน้ี

- Semiconductor 50 บริษัท - Passive Components 170 บริษัท - Display Devices 15 บริษัท - Computers 161 บริษัท - Telecommunications Equipment 54 บริษัท - Consumer Electronics 144 บริษัท - อื่นๆ > >600 บริษัท

Page 65: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

58 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

สภาพอุตสาหกรรมในปจจุบัน การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจำกัด (SWOT ANALYSIS) จุดแข็ง (Strengh) 1. แรงงานมาเลเซีย มีความชำนาญเปนพิเศษในดานงานท่ีตองอาศัย ความละเอียด และประณีต ซ่ึงเหมาะสมกับความตองการของอุตสาหกรรม เคร่ืองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 2. ไดมีการกำหนดหลักเกณฑท่ีเอ้ือประโยชนแกการผลิตเพ่ือการสงออก โดยยกเวนอากรขาเขาวัตถุดิบเฉพาะสวนท่ีนำเขามาผลิตเพ่ือการสงออก 3. ประเทศมาเลเซียเปนฐานการผลิตเพ่ือการสงออกของสหรัฐอเมริกา สิงคโปรและญ่ีปุน 4. ประเทศมาเลเซียไดมีการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสมาเปนเวลานานและไดดำเนินการอยางตอเน่ือง 5. บุคลากรมีความรูดานความรูภาษาตางประเทศ 6. มีปริมาณแรงงานท่ีมีทักษะเพียงพอและไมมีปญหาการหยุดงานและ เรียกรองคาจางข้ันต่ำ 7. มีอุตสาหกรรมสนับสนุนเพียงพอ และใกลแหลงผลิตอุปกรณใน เอเชีย 8. โครงสรางพ้ืนฐานดี เชน ระบบคมนาคมขนสง การส่ือสาร ระบบ โลจิสติกสท่ีไดมาตรฐาน

จุดออน (Weakness) 1. การพัฒนาคนในระดับผูบริหาร ชางและแรงงาน ปรับตัวไมทันตอ อุตสาหกรรมหรือเทคโนโลยีท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว 2. การลงทุนสูง เน่ืองจากอัตราดอกเบ้ียคอนขางสูง ผูผลิตรายยอย จึงประสบปญหาขาดแคลนเงินทุน อีกทั้งยังยากตอการหาแหลงเงินทุน 3. การลงทุนสวนใหญเปนในสวนของการรับจางประกอบและทดสอบ ผลิตภัณฑเทาน้ัน ทำใหแรงงานขาดการพัฒนาฝมือ เปนตน 4. อำนาจการซื้อในประเทศไมแนนอน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง 5. ผลิตภัณฑมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วท้ังดานเทคโนโลยีและ พัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ

โอกาส (Opportunity) 1. กฎเกณฑทางการคาของ WTO ที่สนับสนุนใหเกิดการคาเสรี และ ลดการกีดกันทางการคาดานภาษีจะทำใหการสงออกอุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟา

Page 66: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 59สส

และอิเล็กทรอนิกสมีแนวโนมดีขึ้น 2. เปาหมายทางการตลาดของกลุมผูผลิตสินคาประเภทเคร่ืองใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสสูกลุมประเทศยุโรป อเมริกา และตลาดใหมอ่ืนๆมีมากข้ึน 3. มีโอกาสดึงนักลงทุนจากตางชาติเขามาลงทุนเพ่ิมข้ึน เน่ืองจาก นโยบายของรัฐบาลใหการสนับสนุน

อุปสรรค (Threat) 1. การเปดเสรีทางการคา ทำใหสินคาจากตางประเทศเขามาแขงขัน ไดเสรีมากข้ึน 2. เทคโนโลยีและรูปแบบผลิตภัณฑเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ตองใช การลงทุนสูง ทำใหมีความเส่ียงสูง 3. มาตรฐานผลิตภัณฑและการรับรองมาตรฐานของมาเลเซียไมสอดคลองกับมาตรฐานสากล 4. รัฐบาลต้ังงบประมาณขาดดุลในป 2552 ทำใหขาดงบประมาณ ในการใหการสนับสนุนตอเนื่องจากภาครัฐ ตลอดจนความรวมมือของภาค อุตสาหกรรม 3.5 สินคาส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมในมาเลเซีย มาเลเซียถือเปนประเทศท่ีมีการสงออกส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมสุทธิ (Net Exporter of Textile & Clothing) โดยในป 2554 มีการสงออกราว 1.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวรอยละ 11.17 การนำเขาราว 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวรอยละ 25.31 รัฐบาลมาเลเซียไดกำหนดใหสินคาตนน้ำจนถึงปลายน้ำ ไดแก การผลิตเสนใยธรรมชาติและสังเคราะห (Natural and Synthetic Yarn and Fiber) ผาทอและผาถัก (Woven and Knitted) การยอม และการพิมพผา (Bleaching, Dyeing and Print-ing) เส้ือผาสำเร็จรูป(Made-up garments) เคหะส่ิงทอ(Home Textile) ของอุตสาหกรรมส่ิงทอ 10 รายการเปนสินคาท่ีอยูในรายการสงเสริมการลงทุน ตาม พรบ.สงเสริมการลงทุน ค.ศ. 1986 ของมาเลเซีย และจะไดรับการ พิจารณาใหไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีในสถานะผูบุกเบิก (Pioneer Status) หรือ การยกเวนภาษีลงทุน สินคา 10 รายการ คือ 1. Natural or man-made fibers 2. Yarn of natural or man-made fibers 3. Woven fabrics 4. Finished knitted fabrics 5. Finishing of fabrics such as bleaching, dyeing and printing 6. Knitwear 7. Skiwear or winter outerwear

Page 67: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

60 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

8. Non-woven products 9. Elastic webbings 10. Textile hose piping ท่ีมา: http://www.mida.gov.my

อุตสาหกรรมส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมมาเลเซียไดเติบโตอยางมากใน ชวง 3 ทศวรรษท่ีผานมา โดยมีโรงงานผลิตท่ีไดรับอนุญาต(Licensed Facto-ry) จำนวน 662 โรง มูลคาการลงทุนรวม 8,300 ลานริงกิต(ประมาณ 83,000 ลานบาท) สามารถสรางงานได 68,264 ตำแหนง โดยอุตสาหกรรมน้ีมีพัฒนา การอยางตอเน่ืองและครบวงจรเร่ิมต้ังแตการผลิตเสนใยโพลิเมอรหรือเสนใย ประดิษฐ การปนดาย การทอ การถัก การยอม การพิมพ การตัดเย็บเคร่ืองแตงกาย รวมถึงการผลิตเคหะส่ิงทออ่ืน ๆ เชน ผามาน ผาปูโตะ ผาปูที่นอน ผาหม พรมปูพื้น รวมถึงผาท่ีใชในอุตสาหกรรมตางๆ เชน ผากันความรอนสำหรับพนัก งานดับเพลิง ผาสะทอนแสงสำหรับจราจร และชุดเคร่ืองแบบของพนักงานใน อุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมัน เปนตน สินคาส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมของมาเลเซียไดรับการยอมรับในตลาด ตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เกาหลี และสิงคโปร ประเภทสินคาไดแก เส้ือแจกเก็ต เส้ือคลุมยาว (overcoats) กระโปรง เส้ือยืด เส้ือสตรี กางเกง ชุดช้ันใน ผาพันคอ หมวก ทั้งหมวกปก และหมวกแก็ป นอกจากน้ีมาเลเซียยังรับผลิตสินคาใหกับบริษัทแบรนดระดับโลก เชน Adidas, Alain Delon, Bill Blass, BUM, Equipments, Calvin Klein, Champion, Dunlop, Gap, Guess, Gucci, JC Penney, Nike, Pierre Balmain, Pierre Cardin, Polo, Ralph Lauren, Timberland, Umbro, Van Heusen, Yves St. Laurent (YSL) กลยุทธในการพัฒนาธุรกิจส่ิงทอมาเลเซีย คือ การมุงไปสูการผลิต สินคาคุณภาพระดับพรีเม่ียมดวยราคาท่ีเหมาะสมสูตลาดโลก โดยผูผลิตส่ิงทอ และเคร่ืองนุงหมของมาเลเซีย ไดใหความสำคัญอยางตอเน่ืองในการเพ่ิมผลผลิตเชิงรุกและพัฒนาตราสินคา(Brand Name) ใหเปนท่ีรูจักในตลาดโลก มีการรวม หุนกับตางชาติลงทุนดานเคร่ืองจักรอัตโนมัติและการทำวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ปจจุบันมาเลเซียมีตราสินคาในตลาด ตางประเทศ ไดแก Ankku, Padini, PDI, Seed, Donna Knits, Sub Zero, Somerset Bay และ East India Company พยายามท่ีจะจับตลาดระดับกลาง ในประเทศ และมีตราระดับทองถ่ิน เชน John Masters, British India และ Padini จุดเดนของตราสินคาคือเนนคุณภาพและรูปลักษณการออกแบบ ทั้ง ยังไดสรางความแตกตางจากคูแขงโดยเนนท่ีความปลอดภัยและสรางความ นาเช่ือถือ โดยควบคุมคุณภาพการผลิตดวยการใชเคร่ืองจักรอัตโนมัติควบคุม

กลยุทธในการพัฒนาธุรกิจ สิ่งทอมาเลเซีย คือ การมุงไปสู การผลิตสินคาคุณภาพระดับ

พรีเม่ียมดวยราคาท่ี เหมาะสม

สูตลาดโลก โดยผูผลิตส่ิงทอ

และเคร่ืองนุงหมของมาเลเซีย ไดใหความสำคัญอยางตอเน่ือง ในการเพ่ิมผลผลิตเชิงรุกและ พัฒนาตราสินคา (Brand Name) ใหเปนท่ีรูจักในตลาดโลก

‘‘

Page 68: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 61สส

โดยคอมพิวเตอรสามารถลดระยะเวลาการผลิตและการสงมอบสินคาสามารถ ปรับการผลิตใหสอดคลองกับเวลาและความตองการของลูกคาและสงมอบของตรงตามเวลา

การสงออกสิ่งทอและเครื่องนุงหมของมาเลเซีย

หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ

รหัส ปที่สงออก 2550 2551 2552 2553 2552-53

HS ชนิดของสิ่งทอ (มค-ก.ค.) % Growth

50 ผาไหมและเสนไหม 0.686 0.648 0.769 1.181 128.52

51 ผาขนแกะ 64.925 54.820 44.158 21.692 -35.37

52 ผาฝายและดาย 136.108 163.164 137.106 111.678 49.27

53 ผาจากเสนใยพืชอื่นๆ 2.169 2.629 5.129 3.027 8.78

54 Manmade Filament 607.192 589.731 576.336 381.516 20.18

55 Manmade Fiber 206.334 225.685 188.259 148.182 49.30

56 ผาสักหลาด 133.901 143.075 130.393 90.078 25.35

57 พรมปูพื้น 39.452 26.122 16.340 11.399 23.63

58 ผาปก ผาลูกไม 23.522 28.682 23.892 17.476 27.80

59 ผาเคลือบน้ำยา 35.830 47.810 42.183 29.849 26.85

60 ผาถัก 142.981 189.579 135.573 79.006 -3.95

61 เสื้อผาถักสำเร็จรูป 872.302 885.106 644.0.15 356.991 -3.13

62 เสื้อผาสำเร็จรูป 529.901 578.596 383.924 214.084 -6.89

63 สิ่งทออื่นๆ 110.297 122.277 99.951 71.817 28.07

รวมมูลคาสงออก 2,905.600 3,057.924 1,784.013 1,537.976 11.17

ที่มา : World Trade Atlas

Page 69: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

62 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การนำเขาสิ่งทอและเคร่ืองนุงหมของมาเลเซีย

หนวย : ลานเหรียญสหรัฐฯ

รหัส ปที่นำเขา 2550 2551 2552 2553 2552-53

HS ชนิดของสิ่งทอ (มค-ก.ค.) % Growth

50 ผาไหมและเสนไหม 13.808 18.876 14.922 10.978 6.06

51 ผาขนแกะ 56.476 48.906 23.100 19.034 33.00

52 ผาฝายและดาย 313.708 289.485 281.474 211.582 42.03

53 ผาปาน/ลินิน 5.857 4.413 5.775 4.814 36.97

54 Manmade Filament 227.710 224.397 185.330 134.499 25.98

55 Manmade Fiber 192.503 156.653 121.830 95.176 36.45

56 ผาสักหลาด 77.432 80.674 78.069 61.677 44.05

57 พรมปูพื้น 37.085 42.940 28.486 22.049 40.47

58 ผาปก ผาลูกไม 35.184 34.080 30.221 23.185 43.49

59 ผาเคลือบน้ำยา 90.970 91.308 87.774 66.443 45.46

60 ผาถัก 180.331 187.832 132.840 85.699 7.19

61 เสื้อผาถักสำเร็จรูป 162.877 180.919 119.385 69.881 4.45

62 เสื้อผาสำเร็จรูป 203.315 237.050 153.826 93.372 3.50

63 สิ่งทออื่นๆ 148.364 172.863 162.246 97.893 16.54

รวมมูลคานำเขา 1,745.620 1,770.396 1,425.278 996.282 25.31

ที่มา : World Trade Atlas

Page 70: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 63สส

สำหรับประเทศไทย ตลาดสงออกส่ิงทอและเคร่ืองนุงหมในป 2553 รายใหญ ดังน้ี - สหรัฐฯ 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ (สัดสวนรอยละ20.32) - สหภาพยุโรป 920 ลานเหรียญสหรัฐฯ (สัดสวนรอยละ 18.66) - อาเซียน 850 ลานเหรียญสหรัฐฯ (สัดสวนรอยละ 17.17) - ญี่ปุน 335 ลานเหรียญสหรัฐฯ (สัดสวนรอยละ 6.69) - จีน 243 ลานเหรียญสหรัฐฯ (สัดสวนรอยละ4.86) แมวารัฐบาลมาเลเซียจะสงเสริมการผลิตวัตถุดิบ แตก็ยังไมเพียงพอ ตอความตองการ หรือบางสวนที่ผลิตไดยังมีคุณภาพไมเพียงพอที่จะใชผลิต สินคาปลายน้ำเพ่ือการสงออก ทำใหตองนำเขาวัตถุดิบเพ่ือผลิตเส้ือผา เคร่ือง นุงหมในข้ันตอนสุดทาย ซ่ึงไทยนับเปนแหลงนำเขาท่ีสำคัญ เน่ืองจากมีขอได เปรียบหลายประการ อาทิ ดานขอตกลงเขตการคาเสรีอาเซียนท่ีกำหนดใหปรับ ลดภาษีนำเขาสินคาประเทศสมาชิกเหลือรอยละ 0 มีผลบังคับในชวง 1 มกราคม 2553 นอกจากนี้การมีชายแดนติดตอกัน ทำใหมีความสะดวกรวดเร็วในการสงมอบสินคา และตนทุนการขนสงสินคาต่ำกวาประเทศอ่ืน ประการสำคัญคือคุณภาพสินคาของไทยอยูใน ระดับมาตรฐานเปนท่ียอมรับของตลาดโลก โอกาสในการสงวัตถุดิบหรือพัฒนาความรวมมือ ในสินคาข้ันปลายน้ำตางๆรวมกันยังมีโอกาส อีกมาก ในป 2553 ประเทศมาเลเซียนำเขา สินคาสิ่งทอและเคร่ืองนุงหมของไทยเปน มูลคา ราว 98 ลานเหรียญสหรัฐฯ (สัดสวนรอยละ 1.93) จัดเปนอันดับ 4 สำหรับตลาดอาเซียน รองจากเวียดนาม อินโดนีเซีย และพมา สินคาที่มาเลเซียนำเขา จากไทย ไดแก สินคากลางน้ำตางๆ อาทิ เสนดาย ผาฝาย ผาใยสังเคราะห ผาสักหลาด ผาเคลือบน้ำยาผาถัก ผาหม ผาปูที่นอน เปนตน กลยุทธการเจาะตลาด และขยายตลาด มาเลเซียมีการ จัดงาน Malaysia-International Fashion Week เปนประจำ ทุกปในชวงเดือนพฤศจิกายน ผูสงออกของไทยอาจเดินทางเขา มาเขารวมงานหรือเขาชมงานเพ่ือศึกษาตลาดและแนวโนมของ สินคาเสื่อผาเคร่ืองนุงหมในมาเลเซีย หรืออาจจัดคณะผูแทนการคา เขามาเจรจาการคาในชวงเวลาดังกลาว

แมว า รัฐบาลมาเลเซียจะ

สงเสริมการผลิตวัตถุดิบ แตก็

ยัง ไม เพียงพอตอความตอง

การหรือบางสวนท่ีผลิตไดยัง

มี คุณภาพไม เพียงพอท่ีจ ะ ใช

ผลิตสินค าปลายน้ำ เพ่ือการ

สงออก ทำใหตองนำเขาวัตถุดิบ

เพื่อผลิตเสื้อผา เครื่องนุงหม

ในขั้นตอนสุดทาย ซึ่งไทยนับเปน แหลงนำเขาที่สำคัญ

Page 71: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

64 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

3.6 สินคาเคร่ืองหนังรองเทา

อุตสาหกรรมรองเทาในมาเลเซียมี จำนวนผูผลิตประมาณ 1,000 ราย จางคนงาน 30,000 คน สวนใหญตั้งอยูในรัฐเปรัค รัฐสลังงอ และปนัง กำลังการผลิตรองเทาปละ 70 ลานคู สินคาที่ผลิตมีตั้งแตรองเทานิรภัยใชใน อุตสาหกรรม จนถึงรองเทากีฬา และรองเทาแฟช่ันช้ันสูง โดยสามารถสรางแบรนด ของตนไดสำเร็จ เชน DR. CARDIN, CROCODILE, JOHN BIRD, และ LARRIE นอกจากน้ีผูผลิตหลายรายผลิตสินคาลิขสิทธ์ิใหกับแบรนดดังระหวางประเทศ เชน CAMEL, HUSH PUPPIES, SCHOLL, PUMA, NIKE, และ LA GEAR สำหรับอุตสาหกรรมเคร่ืองหนังในมาเลเซีย จะเนนการผลิตสินคาท่ีมี มูลคาเพ่ิมมากข้ึน โดยอาศัยการเขามาของตราสินคาท่ีมีชื่อเสียง และผลิตสินคา ที่มีคุณภาพสูง ในกลุมสินคาชนช้ันนำ ตัวอยางเชน ผูผลิตสายนาิกาทำจาก หนังของนาิกาช้ันนำ ซ่ึงไดขยายฐานสินคามาผลิตสินคาเคร่ืองหนังราคาแพง ก็ไดเขามาทำตลาดในมาเลเซียต้ังแตป 2552 และมีแนวโนมวาจะมีบริษัทตาง

Page 72: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 65สส

ประเทศเปดตัวสูตลาดมาเลเซียอยางตอเน่ือง ทำใหสวนแบงทางการตลาดของ บริษัทผูผลิตภายในประเทศลดลง กลยุทธการแขงขันจึงเปล่ียนมาใชวัสดุคุณภาพ สูงข้ึน เพ่ือปกปองอุตสาหกรรมในประเทศ รัฐบาลมาเลเซียไดตั้งกำแพงภาษีนำเขาไวท่ีรอยละ 30ในชวงท่ีผานมา บวกกับภาษีขายอีก รอยละ 10 แตปจจุบันเพ่ือใหเปนไปตามยุทธศาสตรสงเสริมภาคการทองเท่ียวใหมีการจับจายใชสอย ในมาเลเซียมากข้ึน จึงไดลดภาษีนำเขาลง โดยเฉพาะมาตรการดานภาษีเขตการคาเสรีอาเซียนท่ีอัตราภาษีนำเขาเปนศูนย ซ่ึงไดประกาศใชเม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2553 การบริโภคในประเทศมาเลเซีย ผูบริโภคสวนใหญท่ีระดับรายไดไมสูงนัก จะบริโภคสินคาท่ีผลิตใน ประเทศและสินคาท่ีนำเขาจากประเทศจีน โดยสงไปรานคาสงและคาปลีก สูมือ ผูบริโภค สินคาเครื่องหนังและรองเทาจากจีนมีคาแรงต่ำและมุงไปที่ตลาด ประชากรท่ัวไป อยางไรก็ดี รองเทาและเคร่ืองหนังราคาถูกก็มีขอเสีย คือ คุณภาพต่ำกวามาตรฐานที่ผลิตในมาเลเซียกลาวคือ มีผูบริโภคพบวารองเทา หลุดขาดออกจากกันเม่ือสงมาถึงมาเลเซีย เน่ืองจากสภาพอากาศท่ีรอนช้ืนของ มาเลเซีย ผูบริโภคในวัยทำงานท่ีมีรายไดสูง รวมถึงกลุมนักทองเท่ียวตางประเทศ สวนใหญนิยมรองเทาและเคร่ืองหนังท่ีมีตราสัญลักษณ (Brand name) นำเขาจากตางประเทศและเขามาทำการตลาดในมาเลเซีย มักเปนสินคาท่ีมีราคาแพง เชน รองเทาจากอิตาลี ไดแก Rotelli, Roberta, Di Camerino, Geox, F.Ili Torresin, Damiani, Bruno Premi, Everest, Flecs, Gradus, Ciano, Andrea Cammelli เปนตน พฤติกรรมผูบริโภค คนมาเลเซียมีรสนิยมรวมกันในเร่ืองสี สตรีทำงานสวนใหญชอบหนัง น้ำหนักเบาสีดำ สีกรมทา และสีน้ำตาล บุรุษชอบสีดำ และสีน้ำตาล ดานรูปทรง สตรีผูบริหารนิยมรองเทาหุมสนหนากวาง อยางไรก็ดี รสนิยมในประเทศก็เปล่ียนแปลงตามแนวโนมในตางประเทศเชนกัน การสงออกและนำเขาสินคาเคร่ืองหนังและรองเทาของ มาเลเซีย

การสงออก ในชวงท่ีผานมาประเทศมาเลเซียมีการสงออก - เคร่ืองหนัง สงออกลดลงกวา 43 ลานเหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกท่ีประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ และประสบปญหา

ผูบริ โภคในวัยทำงานท่ีมี

รายไดสูง รวมถึงกลุมนักทอง

เท่ียวตางประเทศสวนใหญนิยม

รองเทาและเคร่ืองหนังท่ีมีตรา

สัญลักษณ (Brand name) นำเขา

จากตางประเทศและเขามาทำการ

ตลาดในมาเลเซีย มักเปนสินคาท่ี

มีราคาแพง

Page 73: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

66 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การแขงขันท่ีสูงจากประเทศอ่ืนๆ สำหรับสินคาท่ีสงออกไดแก กระเปาเดินทาง กระเปาเอกสาร กระเปาใสสตางค ฯลฯ ประเทศท่ีสงออก 5 อันดับแรก ไดแก สิงคโปร สหรัฐอเมริกา ไทย อินโดนีเซีย และซาอุดิอาระเบีย - รองเทา สงออกเพ่ิมข้ึนกวา รอยละ 3 โดยมีมูลคาสงบออกกวา 200 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาที่สงออกไดแก รองเทาพลาสติก รองเทาหนัง รองเทาผาใบ ฯลฯ ประเทศท่ีสงออก 5 อันดับแรก ไดแก สิงคโปร บราซิล สหราชอาณาจักร เม็กซิโก และเวเนซูเอลา การนำเขา ในชวงท่ีผานมาประเทศมาเลเซียมีการนำเขา - เคร่ืองหนัง นำเขา ลดลงประมาณ รอยละ 6 โดย หรือราว 148 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาที่นำเขา ไดแก กระเปาเดินทาง สวนประกอบสำหรับ ผลิตเคร่ืองหนัง ฯลฯ ประเทศนำเขา 5 อันดับแรก ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา อิตาลี ฮองกง และญี่ปุน - รองเทา นำเขาเพ่ิมข้ึนประมาณ รอยละ 2 หรือราว 182 ลานเหรียญสหรัฐฯ สินคาที่นำเขา ไดแก รองเทาหนัง รองเทายาง รองเทาผาใบ ฯลฯ ประเทศนำเขา 5 อันดับแรก ไดแก จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย อินเดีย และฮองกง

ชองทางการกระจายสินคา

สินคาสวนใหญแลวจะกระจายไดตามชองทาง ดังน้ี - ผูนำเขาของมาเลเซียขายสินคาใหกับรานคาปลีก (Retailer) และ ผูบริโภคโดยตรง - ผูนำเขาของมาเลเซียกระจายสินคาไปยังผูคาสงหรือผูจัดจำหนาย และ รานคาสงหรือ ผูจัดจำหนาย กระจายสินคาตอไปยัง รานสะดวกซ้ือ Hyper-market และศูนยการคา กอนถึงผูบริโภคตอไป

Page 74: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 67สส

โอกาสของสินคาไทยเคร่ืองหนังและรองเทาในมาเลเซีย สินคาหนังและผลิตภัณฑหนังฟอกของไทยไดรับการพัฒนาอยาง ตอเนื่อง ทำใหผูผลิตสินคาเครื่องหนังจากกลุมประเทศอาเซียนโดยเฉพาะ มาเลเซีย อินโดนีเซียและเวียดนาม นำเขาหนังฟอกสำเร็จ จากไทยเพ่ือไปตัดเย็บ เปนสินคาสำเร็จรูปสงออกไปขายตางประเทศ โดยไทยสงออกหนังฟอกและ หนังอัดมาประเทศมาเลเซียเพ่ือแปรรูปเปนผลิตภัณฑหนังประเภทตาง ๆ เชน ถุงมือหนัง เคร่ืองแตงกาย เข็มขัดหนัง เคร่ืองใชในการเดินทาง กระเปาเดินทาง กระเปาถือ กระเปาสตางค สำหรับรองเทาของไทยก็มีปจจัยท่ีทำใหไดเปรียบ ทางการแขงขัน เชน การใชเคมีภัณฑท่ีถูกตองตามกำหนด การออกแบบสินคา และคุณภาพสินคาเปนท่ียอมรับ

สำหรับรองเทาของไทยก็

มีป จ จัย ท่ีทำ ให ได เป รียบทาง

การแขงขัน เชน การใชเคมีภัณฑ

ที่ถูกตองตามกำหนด การออก

แบบสินคา และคุณภาพสินคาเปน

ที่ยอมรับ

‘‘

Page 75: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

68 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

มูลคาการสงออกเคร่ืองหนังและรองเทาของไทยไปมาเลเซียมี ดังน้ี - การสงออกหนังและผลิตภัณฑหนังฟอกและหนังอัดของไทยไป มาเลเซียในป 2552 มีมูลคา12.10 ลานเหรียญสหรัฐฯลดลงรอยละ 26.03 เม่ือเทียบกับป 2551 ที่มีมูลคา 16.40 ลานเหรียญสหรัฐฯ สำหรับป 2553 การสงออกมีมูลคา 20.70 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 70.39 เม่ือ เทียบกับชวงเดียวกันของป 2552 - สงออกรองเทาของไทยไปมาเลเซียในป 2552 มีมูลคา 4.57 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 16.90 เม่ือเทียบกับป 2551 ที่มีมูลคา 3.91 ลานเหรียญสหรัฐฯ สำหรับป 2553 (ม.ค.-พ.ย.) การสงออกมีมูลคา 4.51 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 8.32 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของป 2552

4. การลงทุน (อุตสาหกรรมการผลิตนักลงทุนไทยสามารถลงทุนได 100%)4.1 การลงทุนระหวางประเทศ หากพิจารณาเฉพาะในสวนของเงินลงทุนจากตางประเทศท่ีไหลเขา มาเลเซีย จากสถิติของ Bank Negara Malaysia ซ่ึงเปนธนาคารชาติ พบวา เงินลงทุนของตางชาติท่ีไหลเขามาเลเซียในชวง 9 เดือนแรกป 2550 ชะลอ ตัวลงจากปกอน ดวยเงินลงทุนรวม 6.9 พันลานดอลลารสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึน จากปกอนรอยละ 20 โดยเปนเงินทุนไหลเขาจากสิงคโปรสูงสุดมูลคา 2.2 พันลานดอลลารสหรัฐฯ หรือมากกวารอยละ 30 ของเงินลงทุนตางชาติท้ังหมด ของมาเลเซีย รองลงมาคือ สหรัฐฯ 672.1 ลานดอลลารสหรัฐฯ อังกฤษ 562.3 ลานดอลลารสหรัฐฯ ออสเตรเลีย 548.6 ลานดอลลารสหรัฐฯ สวนไทยประมาณ 62 ลานดอลลารสหรัฐฯ แตเม่ือพิจารณาเงินลงทุนสะสมต้ังแตป 2543 พบวา เปนเงินลงทุนจากสหรัฐฯ สูงสุดถึง 13.9 พันลานดอลลารสหรัฐฯ แตเงิน ลงทุนจากสหรัฐฯ ก็มีแนวโนมลดลงตามลำดับ รองลงมาไดแก สิงคโปร

9.7 พันลานดอลลารสหรัฐฯ ญี่ปุน 9.4 พันลานดอลลารสหรัฐฯ สวนไทยอยูอันดับ 17 สำหรับโครงการของไทยท่ีไดรับอนุมัติ ลงทุนในมาเลเซียเปนการลงทุนในอุตสาหกรรม อาหารมากท่ีสุด รองลงมา ไดแก อุปกรณการ ขนสง และเหล็กโครงสราง กลุมบริษัทไทยท่ีเขา ไปลงทุนในมาเลเซียแลว เชน เครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัทไทย-ซัมมิท เครือซีเมนตไทย กลุม บริษัทสามารถ และรานอาหารไทย Sea Cui-sine

Page 76: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 69สส

ตารางแสดง เงินลงทุนของตางชาติที่ไหลเขามาเลเซียป 2543-50 (9M)

หนวย : ลานดอลลารสหรัฐฯ

2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 (9M) รวม

1. สหรัฐฯ 3,644.4 4,154.8 2,089.4 1,253.9 501.0 759.9 838.8 672.1 13,914.3 2. สิงคโปร 459.6 1,174.1 1,479.8 1,644.5 794.9 1,045.2 822.0 2,244.3 9,664.4 3. ญี่ปุน 950.7 1,398.6 1,091.2 1,232.8 673.2 545.8 3,052.2 431.4 9,375.9 4. เบอรมิวดา 316.8 711.1 1,513.0 649.8 662.5 1,760.9 592.2 379.0 6,585.3 5. ฮองกง 473.2 92.1 107.1 728.5 464.9 308.9 376.5 295.8 2,847.0 6. เยอรมนี 889.0 101.1 108.1 111.0 299.1 420.6 473.1 239.3 2,641.3 7. อังกฤษ 220.0 178.1 178.7 155.1 193.7 248.8 205.3 562.3 1,942.0 8. เนเธอรแลนด 189.3 203.1 111.3 40.8 61.4 148.5 230.7 188.9 1,174.0 9. แคนาดา 46.1 7.5 78.4 29.1 138.7 213.1 337.4 170.7 1,021.0 10. ออสเตรเลีย 28.1 25.8 15.1 22.9 37.8 44.6 148.0 548.6 870.9 11. มอริเทียส 11.1 0.7 5.1 0.8 1.9 525.8 132.6 25.6 703.6 12. ไตหวัน 68.3 26.7 32.3 30.2 80.4 68.6 44.9 32.7 384.1 13. เวียดนาม 0.9 0.2 8.6 58.6 51.7 60.7 105.9 58.2 344.8 14. ซาอุดีอาระเบีย 6.3 11.4 5.3 213.1 3.8 2.1 58.8 0.0 300.8 15. เดนมารก 141.4 6.5 20.7 18.2 40.4 42.8 6.5 0.0 276.5 16. สวิตเซอรแลนด 45.1 7.1 7.7 35.6 18.7 55.7 59.1 37.1 266.1 17. ไทย 2.9 2.8 12.4 13.1 14.4 53.6 47.4 62.0 208.6 18. เบลเยี่ยม 59.8 98.2 8.3 7.1 6.7 20.9 10.0 0.0 211.0 19. ฝรั่งเศส 10.2 60.5 20.2 6.1 13.6 29.6 45.2 0.0 185.4 20. อินโดนีเซีย 13.6 5.7 21.8 16.5 19.1 35.1 19.2 13.6 144.6

อื่นๆ 139.5 1,463.2 119.6 83.1 206.5 349.9 842.8 962.4 4,167.0

รวม 7,737.0 9,753.8 7,064.0 6,372.1 4,297.6 6,750.2 8,450.9 6,925.6 57,351.2

+, - % - 26.1 -27.6 -9.8 -32.6 57.1 25.2 20.0 -

ท่ีมา : Bank Negara Malaysia

ตารางแสดง โครงการท่ีไดรับอนุมัติลงทุนในมาเลเซีย ป 2549-50 (10M)

2549 2550 (10M) โครงการใหม ขยายเพิ่ม รวม โครงการใหม ขยายเพิ่ม รวม

จำนวนโครงการ (รวม) 653 424 1,077.0 505 275 780

เงินลงทุนรวม (ลานUS$) 7,997.4 4,534.8 12,532.2 6,440.4 6,816.4 13,256.6

- เงินลงทุนในประเทศ 5,491.4 1,529.1 7,020.5 3,013.3 2,815.8 5,829.0

- เงินลงทุนจากตางประเทศ 2,506.0 3,005.7 5,511.7 3,427.1 4,000.6 7,427.6ที่มา : Malaysian Industrial Development Authority หมายเหตุ : ป 2549 อัตราแลกเปลี่ยน 3.67 ริงกิตตอดอลลารสหรัฐฯ

Page 77: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

70 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

แตเม่ือพิจารณามูลคาโครงการลงทุนท่ีไดรับอนุมัติจาก Malaysian Industrial Development Authority (MIDA) ซ่ึงทำหนาท่ีคลายสำนักงาน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนของไทย พบวาในชวง 10 เดือนแรกป 2550 มีจำนวนโครงการท่ีไดรับอนุมัติลงทุนท้ังส้ิน 780 โครงการ เงินลงทุนรวม 13,257 ลานดอลลารสหรัฐฯ แบงเปนเงินลงทุนในประเทศ 5,829 ลานดอลลารสหรัฐฯ และเงินลงทุนจากตางประเทศ 7,428 ลานดอลลารสหรัฐฯ ประเภทกิจการที่มีเงินลงทุนสูงสุดไดแก กลุมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส และเคร่ืองใชไฟฟา มีจำนวน 125 โครงการ ดวยเงินลงทุนรวม 3,962 ลานดอลลารสหรัฐฯ เปนเงินลงทุนของตางชาติถึง 3,601 ลานดอลลารสหรัฐฯ รองลงมา ไดแก ปโตรเลียมและปโตรเคมี มีจำนวนเพียง 13 โครงการ แตเงินลงทุนสูงถึง 3,225 ลานดอลลารสหรัฐฯ แตเม่ือพิจารณามูลคาโครงการลงทุนท่ีไดรับอนุมัติจาก Malaysian Industrial Development Authority (MIDA) ซ่ึงทำหนาท่ีคลายสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนของไทย พบวาในชวง 10 เดือนแรกป 2550 มีจำนวนโครงการท่ีไดรับอนุมัติลงทุนท้ังส้ิน 780 โครงการ เงินลงทุนรวม 13,257 ลานดอลลารสหรัฐฯ แบงเปนเงินลงทุนในประเทศ 5,829 ลานดอลลารสหรัฐฯ และเงินลงทุนจากตางประเทศ 7,428 ลานดอลลารสหรัฐฯ ประเภทกิจการท่ีมีเงินลงทุนสูงสุดไดแก กลุมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส และ เคร่ืองใชไฟฟา มีจำนวน 125 โครงการ ดวยเงินลงทุนรวม 3,962 ลานดอลลารสหรัฐฯ เปนเงินลงทุนของตางชาติถึง 3,601 ลานดอลลารสหรัฐฯ รองลงมา ไดแก ปโตรเลียมและปโตรเคมี มีจำนวนเพียง 13 โครงการ แตเงินลงทุนสูงถึง 3,225 ลานดอลลารสหรัฐฯ ประเทศผูลงทุนท่ีสำคัญ (ม.ค.-ธ.ค. 2553) สหรัฐฯ ญี่ปุน ฮองกง สิงคโปร เยอรมัน ไทยเปนอันดับท่ี 11

4.2 ส่ิงอำนวยความสะดวกพ้ืนฐานโทรคมนาคม มาเลเซียมีโครงสรางระบบโทรคมนาคมท้ังสายโทรศัพทและ ดาวเทียม เพ่ือใชในการส่ือสารท้ังภายในและระหวางประเทศ จำนวนผูใช โทรศัพทพื้นฐาน มีกวา 5 ลานเคร่ือง โทรศัพทเคล่ือนท่ีกวา 20 ลานเคร่ือง คิดเปนสัดสวนรอยละ 84 ของจำนวนประชากรท้ังหมด สูงเปนอันดับ 2 ของ ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต รองจากสิงคโปร และผูใชอินเทอรเน็ตกวา 14 ลานคน มีผูใหบริการอินเทอรเน็ต (Internet Service Providers : ISPs) 6 ราย โดยผูใหบริการอินเทอรเน็ตหลัก ไดแก - TMNet มีสวนแบงตลาดรอยละ58 - Jaring มีสวนแบงตลาดรอยละ23

ประเภทกิจการท่ีมีเงินลงทุน

สูงสุดไดแก กลุมอุตสาหกรรม

อิเล็กทรอนิกส และเคร่ืองใชไฟฟา

มีจำนวน 125 โครงการ ดวยเงิน

ลงทุนรวม 3,962 ลานดอลลาร

สหรัฐฯ เปนเงินลงทุนของตางชาติ

ถึง 3,601 ลานดอลลารสหรัฐฯ

รองลงมา ไดแก ปโตรเลียมและ

ปโตรเคมี มีจำนวนเพียง 13

โครงการ แตเงินลงทุนสูงถึง

3,225 ลานดอลลารสหรัฐฯ

Page 78: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 71สส

บริษัท เทเลคอม มาเลเซีย (TM) เปนบริษัทส่ือสารโทรคมนาคม รายใหญและเปนผูนำดานการสื่อสารในเอเชีย ใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทเคล่ือนท่ี และบรอดแบนด โดย TM เปนบริษัทจดทะเบียนรายใหญ ที่สุดแหงหน่ึงในมาเลเซีย มูลคาลงทุน 1 หม่ืนลานดอลลารสหรัฐฯ รายได หลักมาจาก 9 ประเทศในเอเชีย ไดแก อินโดนีเซีย สิงคโปร กัมพูชา ไทย บังกลาเทศ ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา และอิหราน บริหารงานโดยบริษัท เทเลคอม มาเลเซีย อินเตอรเนช่ันแนล มาเลเซียมีการใชเคเบิลโทรคมนาคม เช่ือมตอระหวางภูมิภาคเอเชียและอเมริกาเหนือและใชงานเกือบเต็มกำลังแลว เครือขายดานโทรคมนาคมของมาเลเซียพัฒนารวดเร็วมาก ดวย เทคโนโลยีของระบบดิจิตอล เสนใยนำแสง WiMAX ทำใหการใหบริการระบบ โทรคมนาคมมีประสิทธิภาพสูง คณะกรรมการกำกับกิจการโทรคมนาคมของ มาเลเซียอนุญาตผูใหบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง WiMAX จำนวน 4 ราย ไดแก Bizsurf, MIB Comm, Redtone-CNX Broadband และ Asias-pace Dotcom บริษัทเหลาน้ีคาดวาจะลงทุนรวม 85.7 ลานดอลลารสหรัฐฯ ในชวงเวลา 3 ปแรกของการเปดใหบริการ ที่สำคัญรัฐบาลมีเปาหมายใหสราง เครือขายความเร็วสูง หรืออินเทอรเน็ตบรอดแบนดครอบคลุมรอยละ 75 ของ ประชากรท่ัวประเทศใหไดภายในป 2553 นอกจากน้ี รัฐบาลยังจัดต้ัง “ไซเบอรจายา (Cyberjaya)” ซ่ึงกลาว ไดวาเมืองแหงโลกไซเบอร อยูทางใตของกรุงกัวลาลัมเปอรและทางทิศตะวันตก ของเขตปุตราจายา ตามโครงการ “Multimedia Super Lorridor” (MSC) เพื่อพัฒนาใหเปนศูนยกลางดานเทคโนโลยีระดับสูง มีการติดตั้งโครงขาย โทรคมนาคมท่ีทันสมัยระดับโลก และสงเสริมการลงทุนดาน Multimedia การคนควาและวิจัย (R&D Centers) ปจจุบันมีสำนักงานใหญดานปฏิบัติการ ของบริษัทจากท่ัวโลกท่ีเขามาต้ังฐานการผลิตหรือทำการคาในมาเลเซีย

ไฟฟา

จากขอมูลของทางการพบวา ครัวเรือนของมาเลเซียฝงแหลมมลายู มีไฟฟาใชครบทุกครัวเรือน ขณะท่ีในรัฐซาบาหมีไฟฟาใชประมาณรอยละ 75 และซาราวัค ประมาณรอยละ 80 ของครัวเรือน ตามลำดับ มาเลเซียมีกำลัง การผลิตไฟฟาท้ังส้ิน 14 กิกะวัตต (GW) โดยรอยละ 86 เปนการผลิตไฟฟา พลังงานความรอน อีกรอยละ 14 เปนการผลิตไฟฟาจากพลังน้ำ รัฐบาลได ลงทุนกวา 9.7 พันลานดอลลารสหรัฐฯ เพ่ือตอบสนองความตองการใชไฟฟาท่ี เพ่ิมข้ึน บริษัทท่ีผลิตกระแสไฟฟาใหกับประชาชนในฝงแหลมมลายูคือ Tenaga Nasional Berhad (TNB) ผลิตไฟฟาโดยใชพลังงานไอน้ำ และใชเทคโนโลยีการ ผลิตไฟฟาท่ีทันสมัยท่ีสุดในภูมิภาค สามารถผลิตไฟฟาไดอยางตอเน่ืองและมี เสถียรภาพ ขณะท่ีทางเกาะบอรเนียวคือ บริษัท Sabah Electricity Sdn.Bhd.

รัฐบาลยังจัดต้ัง “ไซเบอร จายา (Cyberjaya)” ซึ่งกลาวได วาเมืองแหงโลกไซเบอร อยูทางใต ของกรุงกัวลาลัมเปอรและทาง ทิศตะวันตกของเขตปุตราจายา ตามโครงการ “Multimedia Super Lorridor” (MSC) เพ่ือพัฒนาให เปนศูนยกลางดาน เทคโนโลยี ระดับสูง มีการติดต้ังโครงขาย โทรคมนาคมท่ีทันสมัยระดับโลก

Page 79: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

72 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

(SESB) และบริษัท Sarawak Electricity Supply Corporation (SESCO) ผลิตไฟฟาใหกับประชาชนในรัฐซาบาหและซาราวัค ปจจุบันมาเลเซียมีการใชเช้ือเพลิงแบบผสมผสาน โดยใชกาซธรรมชาติ รอยละ 79 และถานหินรอยละ 21 ทั้งนี้ มาเลเซียพยายามเปล่ียน โครงสราง การผลิตไฟฟา จากการพ่ึงพากาซธรรมชาติมาใชถานหินมากข้ึน โดยมีเปาหมาย ลดการใชเช้ือเพลิงกาซธรรมชาติเหลือเพียงรอยละ 20 ภายในป 2563 อีกทั้ง จะสรางโรงไฟฟาพลังงานถานหินถึงปละ 19 ลานตันภายในป 2553 บริษัท การไฟฟาแหงชาติมาเลเซีย (TNB) ไดกอสรางโรงไฟฟาถานหินแมนจุงขนาด กำลังผลิต 2,100 เมกะวัตต ที่รัฐเปรัค ทางฝงตะวันตกของประเทศมาเลเซีย นับเปนโรงไฟฟาแหงใหมลาสุดของมาเลเซีย เพ่ือหลีกเล่ียงปญหาอุปสรรคใน การจัดหาพ้ืนท่ีในการกอสรางโรงไฟฟาบนแผนดินใหญ โดยมีการถมทะเลสราง เกาะเทียมข้ึนมาช่ือ “เกาะแมนจุง” มีพื้นที่ประมาณ 830 เอเคอร เพ่ือใช กอสรางโรงไฟฟา ลานเก็บถานหิน และสถานีลำเลียงถานหิน ปจจุบันสถานี แหงน้ีจัดเปนสถานีขนสงถานหินขนาดใหญ และทันสมัยท่ีสุดในภูมิภาคอาเซียน ประกอบดวยทาเรือท่ีมีน้ำลึก 20 เมตร สามารถรองรับเรือบรรทุกถานหิน ขนาด 1.8 แสนตัน สามารถลำเลียงถานหินไดสูงถึง 6 เมตร และหากมีความตองการถานหินเพ่ิม ก็สามารถขนถายไดปริมาณสูงกวา 25 เมตร นอกจากน้ี ยังมีโรงไฟฟาถานหิน ทีจี บิน ขนาดกำลังผลิต 2,100 เมกะวัตต และโรงไฟฟาจิหมาว อีก 1,400 เมกะวัตต ซ่ึงสรางเสร็จในป 2553 อีกดวย รัฐบาลมาเลเซียมีโครงการเช่ือมตอสถานีไฟฟาบนเกาะบอรเนียวกับฝงมลายูเขาดวยกันดวยสายเคเบิลใตทะเล รวมระยะทางประมาณ 700 กม. มูลคา 2,500 ลานดอลลารสหรัฐฯ แลวเสร็จภายในป 2555 ซ่ึงหากดำเนินการ เสร็จจะสามารถสงกระแสไฟฟาได 5,000 กิโลวัตต โดยจะนำไฟฟาจากพลังน้ำมาใชตามนโยบายของรัฐบาล ที่ตองการกระจายแหลงพลังงานไปสูพลังงานรูปแบบอื่น ที่สามารถนำกลับมาใชใหมได

น้ำประปา สำหรับการผลิตน้ำประปาอยูในความรับผิดชอบของแตละรัฐ น้ำประปาที่ผลิตไดมีความสะอาดภายใตมาตรฐานของ World Health Organization (WHO) ซึ่งตนทุนคาน้ำจะแตกตางกันไปในแตละรัฐ

4.3 กฎระเบียบการลงทุน/นโยบายสงเสริมการลงทุนสิทธิประโยชนในการลงทุน หนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบดานการลงทุนคือ Malaysian Industrial Development Authority (MIDA) ซ่ึงเปนหนวยงานภายใตการกำกับของ Ministry of Trade and Industry (MITI) กิจการท่ีรัฐบาลใหการสงเสริมการ

เ พ่ื อ ห ลี ก เ ล่ี ย ง ป ญ ห า

อุปสรรคในการจัดหาพ้ืนท่ี ใน

ก า ร ก อ ส ร า ง โ ร ง ไฟฟ า บ น

แผนดินใหญ โดยมีการถมทะเล

ส ร า ง เ ก า ะ เ ที ย ม ข้ึ น ม า ช่ื อ

“เกาะแมนจุง” มีพ้ืนท่ีประมาณ

830 เอเคอร เพ่ือใชกอสราง

โรงไฟฟา ลานเก็บถานหิน และ

สถานีลำเลียงถานหิน ปจจุบัน

สถานีแหงน้ีจัดเปนสถานีขนสง

ถานหินขนาดใหญ และทันสมัย

ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน

Page 80: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 73สส

ลงทุนจะมีการใหสิทธิประโยชนทั้งโดยตรงและโดยออม ภายใตกฎหมายที่ สำคัญไดแก Promotion of Investments Act 1986, Income Tax Act 1967, Customs Act 1967, Sales Tax Act 1972, Excise Act 1976 และ Free Zones Act 1990 ซ่ึงกฎหมายเหลาน้ีครอบคลุมท้ังภาคอุตสาหกรรม การเกษตร การบริการ และการทองเท่ียว ทั้งนี้ สิทธิประโยชนหลักตามกฎหมาย สงเสริมการลงทุน อาจจำแนกไดเปน 2 ลักษณะคือ “Pioneer Status” และ “Investment Tax Allowance (ITA)” ซ่ึงนักลงทุนสามารถเลือกอยางใด อยาง หนึ่งที่เห็นวาเปนประโยชนที่สุดได เชน หากการลงทุนนั้นตองเนนการซื้อ เครื่องจักรหรือโรงงาน อาจเลือกสิทธิประโยชนแบบที่สองไดและไมมีการ แบงแยกระหวางนักลงทุนตางชาติและนักลงทุนทองถ่ิน

Pioneer Status

บริษัทท่ียื่นขอสิทธิประโยชนในกลุม Pioneer Status จะไดรับ ยกเวนภาษีเงินได บางสวนเปนเวลา 5 ป นับจากวันท่ีเร่ิมการผลิต (วันท่ีเร่ิม การผลิตนับจากวันท่ีใชกำลังการผลิตเกิน รอยละ 30 ของกำลังการผลิตรวม) โดยนำรายไดเพียงรอยละ 30 ของเงินไดสุทธิ (Statutory Income) หรือเงินไดท่ีไดรับหลังจากหักคาใชจายและคาลดหยอนตางๆแลวมาใชเปนฐานในการคำนวณภาษีเงินไดในอัตราปกติสำหรับการลงทุนในเขตท่ีรัฐบาลสงเสริมพิเศษ เชน ซาราวัค ซาบาห กลันตัน ตรังกานู ปาหัง และยะโฮร จะไดรับการยกเวน ภาษีเงินไดท้ังหมดเปนเวลา 5 ป ทั้งนี้จะตองย่ืนขอรับสงเสริมการลงทุนกอน วันท่ี 31 ธันวาคม 2553

Investment Tax Allowance (ITA)

บริษัทท่ียื่นขอสิทธิประโยชนในกลุม Investment Tax Allowance (ITA) สามารถนำคาใชจายในการซ้ือสินคาทุน เชน โรงงาน เคร่ืองจักร และ อุปกรณตางๆ ตามเง่ือนไขของ MIDA มาหักลดหยอนไดรอยละ 60 ของ คาใชจายดังกลาว กอนนำไปคำนวณภาษีเงินไดในอัตราปกติ แตตองไมเกิน รอยละ 70 ของเงินไดสุทธิ (Statutory Income) ในปน้ัน เปนเวลา 5 ป นับ จากวันท่ีคาใชจายน้ันเกิดข้ึน สวนที่เหลือจึงจะนำมาคำนวณเพ่ือชำระภาษีใน อัตราปกติ ทั้งนี้ คาใชจายสวนท่ียังมิไดนำมาหักลดหยอนในปนั้น สามารถยก ไปหักลดหยอนในปถัดไปไดจนกวาจะเต็มจำนวน สำหรับการลงทุนในเขตท่ี รัฐบาลสงเสริมพิเศษ เชน รัฐซาราวัค ซาบาห กลันตัน ตรังกานู ปาหัง และยะโฮร สามารถนำคาใชจายซ้ือสินคาทุนดังกลาวมาหักลดหยอนไดเต็มจำนวนและได สูงสุดถึงรอยละ 100 ของเงินไดสุทธิ (Statutory Income) ในปน้ัน เปนเวลา 5 ป ทั้งนี้จะตองย่ืนขอรับสงเสริมการลงทุนกอนวันท่ี 31 ธันวาคม 2553 นอก เหนือจากสิทธิประโยชนท่ีนักลงทุนจะไดรับจากกรณี Pioneer Status และ

Page 81: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

74 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

Investment Tax Allowance แลว รัฐบาลมาเลเซียยังใหสิทธิประโยชน เพ่ิมเติมสำหรับอุตสาหกรรมท่ีตองการสนับสนุนเปนพิเศษ ซ่ึงมีหลายสาขาใน ทุกภาคการผลิต แตท่ีสำคัญไดแก - ภาคอุตสาหกรรม โครงการลงทุนท่ีใชเทคโนโลยีขั้นสูง (High Tech-nology) โครงการลงทุนท่ีเปนยุทธศาสตรของประเทศ โครงการลงทุนท่ีสราง ความเช่ือมโยงภาคอุตสาหกรรมตางๆ (Industrial Linkage Programme : ILP) การผลิตสวนประกอบและช้ินสวนยานยนต รวมท้ัง ธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมท่ีไดรับสงเสริม เปนตน โดยจะไดรับยกเวนภาษีเงินไดท้ังหมดเปน เวลา 5 ป และการนำเขาสินคาทุนสามารถนำมาหักคาใชจายไดรอยละ 60 (แต ถาอยูในเขตท่ีรัฐบาลสงเสริมพิเศษสามารถนำมาหักคาใชจายไดท้ังหมด เปนเวลา 5 ป) สำหรับการผลิตเคร่ืองจักรเฉพาะแบบ จะไดรับการยกเวน ภาษีเงินไดและคาใชจายในการนำเขาสินคาทุนท้ังหมด เปนเวลา 5 ป สวนการ ผลิตเคร่ืองจักรหนัก ไดรับลดหยอนภาษีเงินไดรอยละ 70 ของอัตราปกติ (สำหรับการลงทุนในเขตท่ีรัฐบาลสงเสริมพิเศษจะไดรับยกเวนภาษีเงินได ทั้งหมด) เปนเวลา 5 ป และการนำเขาสินคาทุนสามารถนำมาหักคาใชจาย ไดรอยละ 60 (สำหรับการลงทุนในเขตที่รัฐบาลสงเสริมพิเศษ สามารถ หักคาใชจายไดท้ังหมด) เปนเวลา 5 ป - ภาคเกษตร การผลิตและแปรรูปอาหารท่ีเปนโครงการใหมและท่ี เปนการขยายการลงทุนเพ่ิมเติม โครงการผลิตอาหารฮาลาล การทำฟารมเล้ียง สัตวปกท่ีทันสมัย การปลูกไมยางพารา การสงออกอาหาร ผลไม และดอกไม เปนตน ไดรับยกเวนภาษีเงินไดบางสวน โดยนำเงินไดเพียงรอยละ 30 ของ เงินไดท้ังหมดมาคำนวณภาษี เปนเวลา 5 ป นับจากวันท่ีมีผลผลิตออกจำหนาย สวนการลงทุนในเขตท่ีรัฐบาลสงเสริมพิเศษ ไดรับยกเวนภาษีเงินไดท้ังหมดเปน เวลา 5 ป - ทองเท่ียว โรงแรมหรือโครงการทองเท่ียวท่ีอยูในพ้ืนท่ีสงเสริมพิเศษ มีสวน ลดคาใชจายโฆษณาและประชาสัมพันธการทองเท่ียวในตางประเทศ การ ยกเวนภาษีบางรายการใหกับบริษัททองเท่ียวท่ีนำนักทองเท่ียวตางชาติเขา ประเทศมากกวา 500 คน การยกเวนภาษีใหกับธุรกิจจัดการประชุมและการ แสดงสินคา เปนตน นอกจากน้ี ยังมีสิทธิประโยชนที่เปนรายละเอียดปลีกยอยจำแนกตาม ประเภทธุรกิจภายใตเง่ือนไขตางๆ อีกมากมาย เชน การลงทุนดานการวิจัย และพัฒนา (R&D) การลงทุนในเขต Multimedia Super Corridor (MSC) โครงการลงทุนดานการส่ือสารและสารสนเทศ (ICT) การลงทุนดานการเดินเรือ และการขนสง ซ่ึงสามารถขอขอมูลเพ่ิมเติมไดจาก MIDA ทั้งนี้นักลงทุนไทย สามารถถือหุนได 100% และสามารถนำรายไดออกจากประเทศไดอยางเสรี

Page 82: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 75สส

4.4 ตนทุนการจัดต้ังธุรกิจตนทุนการประกอบธุรกิจในประเทศมาเลเซีย การทำการคา การลงทุนในประเทศมาเลเซีย มีตนทุนสำคัญที่นักธุรกิจ ควรคำนึงถึง คาใชจายพ้ืนฐานท่ีควรศึกษาเบ้ืองตนมี 8 ดาน ดังน้ี 1. ดานการจดทะเบียนเปดกิจการ 2. ดานคาเชาพ้ืนท่ีสำนักงาน 3. ดานคาท่ีดินและโรงงาน 4. ดานคาใชจายเก่ียวกับภาษีประเภทตาง ๆ 5. ดานคาบริหารจัดการบุคลากร 6. ดานคาสาธารณูปโภค 7. ดานคาใชจายในการใชชีวิตในมาเลเซีย 8. ดานคาขนสงสินคา

1. ดานการจดทะเบียนเปดกิจการ การขอจัดต้ังกิจการตองจายคาจองช่ือกิจการและคาจดทะเบียนกิจการ ตามอัตราดังตอไปน้ี

ที่มา: Companies Commission of Malaysia (SSM) เขาถึงจาก www.ssm.com.my

ตารางที่ 1 คาธรรมเนียมในการจดทะเบียนเปดกิจการ

Page 83: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

76 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

คาธรรมเนียมสำหรับบริการจัดการธุรกิจ กฎหมายมาเลเซีย กำหนดใหบริษัทจำกัด ในมาเลเซียตองจางบริษัท จัดการธุรกิจอยางนอย 1 บริษัททำหนาท่ีเปนบริษัทเลขานุการ (secretarial services) ที่ใหบริการและใหคำปรึกษาในการดูแลจัดการบริษัทใหปฏิบัติตาม กฎหมายเก่ียวกับบริษัทของมาเลเซีย บริษัทท่ีใหบริการจัดการในการขอเปด กิจการหรือการจัดการงานสำนักงานมีคาธรรมเนียมโดยประมาณ ดังน้ี

นอกจากน้ี อัตราคาธรรมเนียมสำหรับบริษัทท่ีจดทะเบียนเปนบริษัท จำกัด และบริษัทมหาชน มีภาระท่ีตองจายคาธรรมเนียมรายเดือนตอผูใหบริการ และทนายความแตกตางกันในอัตรา ดังน้ี

ตารางที่ 2 คาธรรมเนียมรายเดือนท่ีตองจายใหผูบริการและทนายความ

Page 84: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 77สส

2. ดานคาเชาพ้ืนท่ีสำนักงาน

อัตราคาเชาพ้ืนท่ีสำนักงานในตารางดานลางน้ี คิดคำนวณจากพ้ืนท่ี 1 ตารางเมตร หรือ 10.76 ตารางฟุต ตอเดือนรวม คาบริการ ซ่ึงเปนประมาณ การคาเชาพ้ืนฐาน ในพ้ืนท่ีธุรกิจแยกตามรัฐ ดังน้ี

ตารางที่ 3 อัตราคาเชาพื้นที่สำนักงาน/ตารางเมตร/เดือน

หมายเหตุ ดูแผนภาพทำเลที่ตั้งไดที่ http://www.mida.gov.my

ภาพอาคารปโตนัส (ตึกแฝด) : หางสรรพสินคา และอาคารสำนักงาน ในกรุงกัวลาลัมเปอร

Page 85: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

78 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

3. ดานคาท่ีดินและโรงงาน คาท่ีดินโดยประมาณการรวมการชำระภาษีท่ีดิน (Quit rent) มีอัตรา แตกตางกันไปตามรัฐตาง ๆ และภาษีประเมินท่ีดิน (Assessment tax) ที่หนวยงานราชการประเมินตามมูลคาคาเชารายปจากนักลงทุนชาวตางชาติ มีดังน้ี

ตารางที่ 4 คาใชจายเก่ียวกับท่ีดินและท่ีต้ังโรงงานแยกตามรัฐสำคัญ

Page 86: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 79สส

หมายเหตุ อักษรยอ: m² = ตารางเมตร และ per ha. = ตอ 1 เฮคเตอรมาตราสวน: 1 เอเคอร = 4,046.86 ตารางเมตร 1 เฮคเตอร = 10,000 ตารางเมตร และ 1 ตารางเมตร = 10.76 ตารางฟุต

Page 87: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

80 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

โรงงานสำเร็จรูป ราคาโรงงานสำเร็จรูป มีราคาขายหรือเชาตอตารางฟุต ดังน้ี

ที่มา: www.midf.com.my

ท่ีมา: www.midf.com.my

ตารางที่ 5 คาเชาโรงงานสำเร็จรูป

Page 88: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 81สส

3. ดานคาใชจายเก่ียวกับภาษีประเภทตาง ๆ

โดยท่ัวไป บริษัทและบุคคลท่ีมีรายไดท่ีเกิดข้ึน ในขณะอยูในประเทศ มาเลเซียจากบริษัทท่ีอยูในและนอกมาเลเซีย มีหนาที่ตองเสียภาษีใหรัฐบาล มาเลเซียตามประเภทของภาษีท่ีเก่ียวของ ดังน้ี

การหักภาษี ณ ท่ีจาย

ผูที่ไมมีถิ่นพำนักระยะยาวในมาเลเซียจะตองหักภาษี ณ ที่จายสำหรับรายได ดังตอไปน้ีรายการ อัตราภาษี

รายไดพิเศษบางประเภท (รายไดจากการใหใชสังหาริมทรัพย การใหบริการวิชาการ บริการติดตั้งเครื่องจักร เครื่องใชในโรงงาน เปนตน)

10%

ดอกเบี้ย 15%คาธรรมเนียม (Royalty) 10%การชำระเงินตามสัญญาแกผูรับเหมา 10%การชำระเงินตามสัญญาแกลูกจาง 3%

รายไดอื่น ๆ เชน คอมมิชชั่น คาธรรมเนียมการรับประกัน คาธรรมเนียมการ เปนตัวแทน คานายหนา คาธรรมเนียมการแนะนำ ฯลฯ

10%

ที่มา: www.hasil.org.my

Page 89: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

82 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ภาษีการขาย (Sales Tax)

สินคาท่ีผานกระบวนการผลิตท้ังท่ีเปนสินคานำเขาหรือท่ีผลิตในประเทศ มาเลเซียบางประเภทตองเสียภาษีการขายตามกฎหมายภาษีการขายป 1972 โดยท่ัวไป สินคาสวนใหญมีอัตราภาษีรอยละ 5-10 ยกเวนสวนผสม อาหารท่ีมีและไมมีองคประกอบของแอลกอฮอล (พวกท่ีอยูนอกหมวด 33.02) ที่ใชในการผลิตเคร่ืองด่ืม ซ่ึงตองเสียภาษีนำเขาตามรหัส 2106.90.490 ใน อัตราภาษีรอยละ 20 นอกจากน้ี ภาษีการขายน้ำมันเช้ือเพลิงและสินคาจากน้ำมันเช้ือเพลิง จะมีอัตราภาษีเฉพาะอยาง ภาษีอากรสรรพสามิต

ภาษีอากรสรรพสามิตเก็บจากสินคาท่ีผลิตภายในประเทศหรือสินคานำเขาตามกฎหมายภาษีสรรพสามิต ป 1976 ตามรายการท่ีระบุในคำส่ังภาษีสรรพสามิต 2004 ประกอบดวยสินคา ดังน้ี

ภาพรถยนตยี่หอโปรตอน (รถแบรนดมาเลเซีย)

ที่มา: www.customs.gov.myหมายเหตุ *รถยนตแบงเปนรถยนตนั่งสวนบุคคล (Passenger car และรถยนต นั่งอเนกประสงค (MPV/VAN)

Page 90: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 83สส

ภาษีการบริการ ภาษีการบริการ เก็บจากการใหบริการท่ีตองเสียภาษีจากบุคคลท่ีตองชำระภาษี เชน ทนายความ วิศวกร สถาปนิก นักสำรวจ ที่ปรึกษา บริษัทโฆษณา โรงพยาบาลเอกชน บริษัทประกันภัย บริษัทส่ือสาร โรงแรมและภัตตาคาร

4. คาลดหยอนการลงทุน ประเทศมาเลเซียกำหนดใหมีการลดหยอนการเสียภาษีตอคาใชจาย ในการลงทุนบางประเภท โดยแบงคาลดหยอนเปน 2 ประเภท คือ ก. คาลดหยอนเม่ือเร่ิมดำเนินการซ่ึงใหหักคาลดหยอนไดคร้ังเดียว

ที่มา: www.hasil.org.my

5. ดานทรัพยากรบุคคล หากกิจการตองมีบุคลากรชวยทำงานในดานตาง ๆ อัตราเงินเดือน คาจางสำหรับบุคลากรแตละระดับหรือหนาท่ี มีดังน้ี อัตราคาจาง เงินเดือนสำหรับผูบริหารในภาคการผลิต เงินเดือนเฉล่ียมาตรฐาน สำหรับผูบริหารในภาคการผลิตมีอัตราดังน้ี ผูจัดการระดับอาวุโส (Senior Managers) RM 10,251 ผูบริหารระดับสูง (Top Executives) RM 20,752 อัตราเงินเดือนโดยเฉล่ียข้ันต่ำสุดและข้ันสูงสุดของบางตำแหนง ดังน้ี

Page 91: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

84 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ตาราง ประมาณการอัตราเงินเดือนของบุคลากรระดับริหารดานตาง ๆ

ที่มา: www.mef.org.my

Page 92: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 85สส

Page 93: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

86 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ตาราง ประมาณการอัตราเงินเดือนของบุคลากรท่ิมิใชฝายบริหาร

เงินเดือนสำหรับผูที่ไมมีตำแหนงผูบริหารในภาคการผลิตเงินเดือนของพนักงานท่ีใชทักษะในภาคการผลิต โดยเฉล่ีย ดังน้ี

สำหรับแรงงานไมมีทักษะ RM 803 (US$221)

สำหรับแรงงานก่ึงมีทักษะ RM 1,243 (US$331)

สำหรับแรงงานมีทักษะ/ชางมีฝมือ RM 1,639 (US$474)

Page 94: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 87สส

6. ดานคาสาธารณูปโภค คาใชจายดานสาธารณูปโภค ประกอบดวย คาไฟฟา น้ำประปา คาแกส คาน้ำมัน และคาขนสง

อัตราคาไฟฟา ผูใหบริการกระแสไฟฟาในพ้ืนท่ีแหลมมลายูคือ Tenaga Nasional Berhad (TNB) อัตราคาไฟฟาในพ้ืนท่ีแหลมมลายู มีดังน้ี ก. คาธรรมเนียมสำหรับธุรกิจ (Commercial tariffs) ไดแก บริษัท รานคา และโรงแรม

ที่มา: www.tnb.com.my

Page 95: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

88 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ที่มา: www.tnb.com.my

ข. อัตราคาไฟฟาสำหรับโรงงาน

Page 96: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 89สส

สำหรับลูกคาประเภทอุตสาหกรรมซ่ึงมีคาไฟฟารวมสูงกวา 5% ของ คาใชจายท้ังหมดของอุตสาหกรรมสามารถขอใชคาธรรมเนียมพิเศษสำหรับ อุตสาหกรรมได

อัตราคาน้ำ

รัฐบาลแตละรัฐในมาเลเซียมีหนาท่ีรับผิดชอบการพัฒนา การดำเนินการ และการซอมบำรุงระบบน้ำเพื่อสาธารณูปโภคในรัฐของตนเอง หนวยงานที่ ดูแลเรื่องน้ำ ไดแก Public Works Department, Water Supply Department, Water Supply Board, และ Water Supply company อัตราคาน้ำแยกตามพ้ืนท่ีในราคาตอลูกบาศกเมตร มีดังน้ี

หมายเหตุ ตองการดูคาน้ำในรายรัฐสามารถดูรายละเอียดไดที่ www.ktak.gov.my

Page 97: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

90 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

คาแกสและน้ำมัน

อัตราคาแกสและน้ำมันมีการเปล่ียนแปลงราคาเปนไปตามแตละ เง่ือนไขของสัญญาและสภาวะทางการตลาดของน้ำมันดิบ ขอมูลสวนน้ีเปนขอมูลพื้นฐานเพ่ือใชอางอิงเบ้ืองตนเทาน้ัน

คาขนสง

สมาคมการขนสงคอนเทนเนอรแหงมาเลเซีย: Container Hauliers Association of Malaysia) ไดนำเสนออัตราคาขนสงคอนเทนเนอร ประกอบ ดวยคาขนสง คาผานทางดวนหรือทางพิเศษ และคาผันผวนของราคาน้ำมัน (Fuel adjustment factor: FAF) มีรายละเอียด ดังน้ีคาขนสงทางทะเล

ที่มา: www.petronas.com.my

ตนทาง: ทาเรือ Port Klang (North Port)

Page 98: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 91สส

คาขนสงทางทะเลมีรายละเอียด ดังน้ี จากทาเรือ Port Klang ไปยัง :

ที่มา: www.misc.com.my และ www.westportsmalaysia.com

Page 99: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

92 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ข. คาอัตราผูชวยงานบานและคนขับรถสวนตัว กรณีเชาบานพัก ตองมีแมบานและคนขับรถ ประมาณการเงินเดือน ของแมบานและคนขับรถมี ดังน้ี

ง. คาบัตรโดยสารเครื่องบินในประเทศ ในกรณีท่ีตองเดินทางโดยสายการบินไปยังเมืองตาง ๆ คาบัตรโดยสาร เคร่ืองบินในประเทศจากกัวลาลัมเปอรไปสถานท่ีอ่ืน ๆ ในมาเลเซียมีอัตราคา โดยสาร ดังน้ี

7. ดานคาใชจายในการใชชีวิตในมาเลเซีย ก. คาโรงแรม สมาคมโรงแรมแหงมาเลเซีย (Malaysian Association of Hotels) ไดรวบรวบขอมูลเบ้ืองตน เก่ียวกับอัตราคาโรงแรม ดังน้ี

Page 100: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 93สส

ที่มา: www.mas.com.my

4.5 ภาษี 1. ภาษีอากร รายไดท่ีบุคคลหรือนิติบุคคลไดรับจากการดำเนินงานในมาเลเซีย จะตองนำมาคำนวณเพ่ือเสียภาษีเงินได สำหรับแหลงรายไดท่ีตองนำมาคำนวณ ภาษี ไดแก - กำไรจากการคาหรือการดำเนินธุรกิจ - คาจางและเงินเดือน - การจายเงินปนผล และดอกเบ้ีย - คาเชาและเงินสวนแบง - บำเหน็จบำนาญ เบ้ียรายป และเงินไดอ่ืนๆ - กำไรอ่ืนๆ สำหรับรายไดท่ีเกิดข้ึนนอกประเทศมาเลเซียไมตองนำมาคำนวณ ภาษี ยกเวนนิติบุคคลในธุรกิจธนาคาร ประกันภัย การขนสงทางทะเลและ ทางอากาศ ตองนำรายไดท่ีเกิดจากนอกประเทศมาคำนวณภาษีดวย ทั้งนี้ รายได ดังกลาวสามารถนำมาหักลดหยอนตามรายละเอียดท่ีระบุไวใน Income Tax Act 1967 กอนท่ีจะนำมาคำนวณภาษี 2. ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัททองถ่ินและบริษัทตางชาติท่ีมีรายไดจากการดำเนินธุรกิจใน มาเลเซียตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล ซ่ึงในป 2551 รัฐบาลไดปรับลดอัตรา ภาษีเงินไดนิติบุคคลลงเหลือรอยละ 26 และป 2552 ลดลงเหลือรอยละ 25 จากป 2550 ที่เก็บในอัตรารอยละ 27 ยกเวนในธุรกิจปโตรเคมีขั้นตน เสียภาษี ในอัตรารอยละ 38 3. ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา บุคคลผูมีรายไดท่ีเกิดข้ึนในมาเลเซียตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา โดยชาวตางชาติใหคำนวณภาษีเฉพาะรายไดที่เกิดขึ้นในมาเลเซียเทานั้นซึ่ง

Page 101: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

94 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

อัตราท่ีจัดเก็บข้ึนอยูกับระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในมาเลเซียตามท่ีระบุไวใน Income Tax Act 1967 แตโดยทั่วไป ชาวตางชาติท่ีอยูในมาเลเซียเกินกวา 182 วัน จะ เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในอัตราเดียวกับคนทองถ่ิน สวนชาวตางชาติท่ีอาศัยอยูในมาเลเซียไมถึง 182 วัน ตองเสียภาษี ในอัตรารอยละ 28 โดยไมมีสิทธิหักคาลดหยอน แตอาจไดสวนลดคาธรรมเนียมที่ตองจายใหกับรัฐบาลในกรณีท่ีมีใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) สำหรับอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของมาเลเซีย เปนอัตราภาษีแบบ กาวหนาต้ังแตรอยละ 0-28 แตสามารถหักลดหยอนไดดังรายละเอียดในตาราง 4. ภาษีการขายสินคา (Sales Tax) ภาษีการขาย (Sales Tax) เปนภาษีท่ีเก็บจากการผลิตหรือการนำเขาในอัตรารอยละ 10 ยกเวน สินคาอุปโภคบริโภคและวัสดุกอสรางบางรายการเก็บในอัตรารอยละ 5 หรือไมเก็บเลย เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล รอยละ 20 บุหร่ี รอยละ 25 สินคาเกี่ยวกับการทองเท่ียวและกีฬา หนังสือ หนังสือพิมพ รวมท้ัง ผูประกอบการท่ีมียอดขายต่ำกวา 1 แสนริงกิตตอปไมตองเสียภาษีการขาย นอกจากน้ี ยังมีรายละเอียดของภาษีการขายอ่ืนๆ ซ่ึงระบุอยูในกฎหมาย Sales Tax Act 1972

กฎหมายเก่ียวกับสรรพากร ในการทำธุรกิจ เม่ือนักธุรกิจมีรายไดในมาเลเซีย จะตองศึกษาระบบ ภาษีประเภทตาง ๆ เพ่ือจะไดวางแผนการเสียภาษีลวงหนา

รายไดที่ตองเสียภาษี รายไดท่ีบุคคลหรือนิติบุคคลไดรับจากการดำเนินงานในมาเลเซีย จะตอง นำมาคำนวณเพ่ือเสียภาษีเงินไดสำหรับแหลงรายไดท่ีตองนำมาคำนวณภาษี ไดแก - กำไรจากการคาหรือการดำเนินธุรกิจ - คาจางและเงินเดือน - การจายเงินปนผล และดอกเบ้ีย - คาเชาและเงินสวนแบง - บำเหน็จบำนาญ เบ้ียรายป และเงินไดอ่ืนๆ - กำไรอ่ืน ๆ สำหรับรายไดท่ีเกิดข้ึนนอกประเทศมาเลเซียไมตองนำมาคำนวณ ภาษี ยกเวนนิติบุคคลในธุรกิจธนาคาร ประกันภัย การขนสงทางทะเลและ ทางอากาศ ตองนำรายไดท่ีเกิดจากนอกประเทศมาคำนวณภาษีดวย ทั้งนี้ รายได ดังกลาวสามารถนำมาหักลดหยอนตามรายละเอียดท่ีระบุไวใน Income Tax Act 1967 กอนท่ีจะนำมาคำนวณ

Page 102: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 95สส

ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัททองถ่ินและบริษัทตางชาติท่ีมีรายไดจากการดำเนินธุรกิจใน มาเลเซีย ตองเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล ซ่ึงในป 2552 รัฐบาลมาเลเซียไดปรับ ลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลลงเหลือรอยละ 25 และป 2552 ยกเวนในธุรกิจ ปโตรเคมีขั้นตน เสียภาษีในอัตรารอยละ 38

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา บุคคลผูมีรายไดท่ีเกิดข้ึนในมาเลเซียตองเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา โดยชาวตางชาติใหคำนวณ ภาษีเฉพาะรายไดท่ีเกิดข้ึนในมาเลเซียเทาน้ัน ซ่ึง อัตราท่ีจัดเก็บข้ึนอยูกับระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในมาเลเซียตามท่ีระบุ ไวใน Income Tax Act 1967 โดยท่ัวไป ชาวตางชาติท่ีอยูในมาเลเซียเกินกวา 182 วัน จะเสียภาษี เงินไดบุคคลธรรมดาในอัตราเดียวกับคนทองถ่ิน สวนชาวตางชาติท่ีอาศัยอยูใน มาเลเซียไมถึง 182 วัน ตองเสียภาษีในอัตรารอยละ 27 โดยไมมีสิทธิหักคา ลดหยอน แตอาจไดสวนลดคาธรรมเนียมที่ตองจายใหกับรัฐบาลในกรณีที่มี ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) สำหรับอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของมาเลเซีย เปนอัตราภาษี แบบกาวหนาต้ังแตรอยละ 0-27 แตสามารถหักลดหยอนไดตามสถานะของแตละบุคคล

คาลดหยอนสำหรับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดารายการลดหยอน ริงกิตผูมีเงินได 8,000ลดหยอนเพิ่มเติม – กรณีพิการ 6,000คูสมรส 3,000ลดหยอนเพิ่มเติมสำหรับคูสมรส – กรณีพิการ 3,500คารักษาพยาบาลสำหรับบิดา - มารดา 5,000คารักษาพยาบาลสำหรับผูมีเงินได คูสมรส หรือบุตรสำหรับโรครายแรง (รวมคาตรวจสุขภาพจำนวน 500 ริงกิต)

5,000

คาใชจายสำหรับอุปกรณชวยพยุงสำหรับผูมีเงินได คูสมรส บุตร หรือ บิดา-มารดา ที่พิการ 5,000คาเลี้ยงดูบุตรที่ยังไมสมรส • บุตรอายุต่ำกวา 18 ป 1,000 • บุตรพิการ 5,000 • บุตรอายุสูงกวา 18 ป (กำลังศึกษาในชั้นอุดมศึกษา) 4,000คาเบี้ยประกันชีวิต หรือ เงินสะสมเขากองทุนที่ไดรับการ เห็นชอบ 6,000คาเบี้ยประกันเพื่อประโยชนทางการศึกษาหรือการรักษาพยาบาล 3,000เงินจายสมทบเขากองทุนสำรองเลี้ยงชีพของลูกจางตามระบบ EPF Annuity Scheme 1,000คาใชจายในการฝกอบรมทักษะ หรือคุณวุฒิทางดานกฎหมาย การบัญชี ทางเทคนิค ทางอุตสาหกรรม หรือทางเทคโนโลยี เพิ่มเติมดาน การเงินอิสลาม ตั้งแตปประเมินภาษี 2007

5,000

คาซื้อหนังสือ จุลสารและวารสาร หรือสิ่งพิมพอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกัน (ยกเวนหนังสือพิมพ) เร่ิมจากปประเมินภาษี 2007

1,000

คาซื้อคอมพิวเตอร ทุก 3 ป เร่ิมจากปประเมินภาษี 2007 3,000

ที่มา: http://www.boi.go.th/thai/asean/Malaysia/capt5_n.html

Page 103: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

96 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ภาษีหัก ณ ท่ีจาย (Withholding Tax) ชาวตางชาติ จะถูกหักภาษี ณ ที่จาย รอยละ 10 จากรายไดเฉพาะ คือ • รายไดจากการใชสิทธิในทรัพยสิน การติดต้ังเคร่ืองมือเคร่ืองจักร หรืออุปกรณอ่ืน ๆ • รายไดจากการเปนท่ีปรึกษาดานการจัดการและเทคนิค • รายไดจากคาเชา หรือขอตกลงในการจัดการอสังหาริมทรัพย ในป 2551-2555 มีการยกเวนการหักภาษี ณ ที่จาย จากรายไดของผูเช่ียวชาญชาวตางชาติท่ีใหการฝกอบรมทางเทคนิคในบางสาขา ภาษีการขายสินคา (Sales Tax) ภาษีการขาย (Sales Tax) เปนภาษีท่ีเก็บจากยอดขายสินคาท่ีผลิต หรือการนำเขา ธุรกิจจะตองเสียภาษีการขายในอัตรารอยละ 10 ยกเวนรายการ สินคาหรือกิจการท่ีมีเง่ือนไขตอไปน้ี

ภาษีการขายสินคา

รายการสินคา อัตราภาษีสินคาอุปโภคบริโภคและวัสดุกอสราง รอยละ 5 หรือไมเก็บเครื่องดื่มแอลกอฮอล รอยละ 20บุหรี่ รอยละ 25สินคาเกี่ยวกับการทองเที่ยวและกีฬาหนังสือ หนังสือพิมพ

ผูประกอบการที่มียอดขายต่ำกวา 1 แสนริงกิตตอป

ไมตองเสียภาษี

หมายเหตุ รายละเอียดของภาษีการขายอื่น ๆ ระบุอยูในกฎหมาย Sales Tax Act 1972

อนุสัญญาวาดวยภาษีซอน รัฐบาลไทยและมาเลเซีย ไดทำความตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษี ซอนและการปองกันการเล่ียงภาษีการรัษฎากรในสวนท่ีเก่ียวกับการเก็บภาษี จากเงินได มีผลบังคับใชเม่ือ วันท่ี 2 กุมภาพันธ 2526 ภาษีท่ีอยูในขอบขาย ไดแก ภาษีเงินไดและภาษีกำไรสวนเกิน ภาษีเงินไดเพ่ิมเติมซ่ึงก็คือภาษีกำไร จากดีบุกภาษีการพัฒนาและภาษีกำไรจากการทำไมและภาษีเงินไดปโตรเลียม 4.6 หลักเกณฑการนำเงินกลับประเทศ ประเทศมาเลเซียไมไดมีระเบียบ กฎเกณฑ ขอบังคับในการนำเงินออก นอกประเทศ ดังน้ันผูประกอบการท่ีเดินทางไปลงทุนในมาเลเซีย จึงสามารถนำเงินกลับประเทศไดท้ังหมด

รัฐบาล ไทยแล ะมา เล เซีย

ไดทำความตกลงเพ่ือการเวน

การเก็บภาษีซอนและการปอง

กันการเล่ียงภาษีการรัษฎากร

ในสวนท่ี เ ก่ียวกับการเก็บภาษี

จากเงินได มีผลบังคับใชเม่ือ วันท่ี

2 กุมภาพันธ 2526 ภาษีที่อยู

ในขอบขาย ไดแก ภาษีเงินไดและ

ภาษีกำไรสวนเกิน

Page 104: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 97สส

4.7 อ่ืนๆ กฎหมายท่ีควรรู การทำธุรกิจในประเทศมาเลเซียควรท่ีนักธุรกิจจะตองศึกษากฎหมาย ตาง ๆ ที่เก่ียวของใหรอบคอบและถ่ีถวน ทั้งนี้ควรจะมีทนายความท่ีเช่ียวชาญ ในการดานกฎหมายคอยใหคำแนะนำ เพ่ือจะไดวางแผนการทำธุรกิจใหเหมาะสม มีประสิทธิภาพ กฎหมายท่ีควรรูประกอบดวย กฎหมายภูมิบุตร กฎหมาย ลิขสิทธ์ิ กฎหมายแรงงานและการนำคนตางชาติเขาไปทำงานในมาเลเซีย กฎหมาย เก่ียวกับสรรพากร อนุสัญญาวาดวยภาษีซอน

กฏหมายภูมิบุตร หรือ ภูมิปุตรา (Bumiputra) “Bumiputera” เปนภาษามาเลย แปลวา คนถ่ิน หรือผูท่ีมีถิ่นกำเนิด มีชาติพันธุดั้งเดิม ในทางราชการหมายถึง ชาวมาเลยหรือชาวมลายูเดิมท่ีนับ ถือศาสนาอิสลามและชนพ้ืนเมืองเดิมเชน Orang Asli ที่อาศัยอยูในรัฐ ซาบาหและซาราวัค กฎหมายน้ีรัฐจะใหความสำคัญตอการปกปองสิทธิและผลประโยชนของชาวมาเลยและชนเผาเดิม โดยบัญญัติในรัฐธรรมนูญใหศาสนา อิสลามเปนศาสนาประจำชาติ และผูที ่นับถือศาสนาอิสลามจะมีสิทธิพิเศษ เพราะรัฐบาลถือวาคนมาเลยคือเจาของประเทศแหงน้ีและมีเช้ือสายเปนบุตร แหงแผนดินน้ี กรณีการประกอบกิจการของคนตางชาติ มีเง่ือนไขเก่ียวกับ “ภูมิบุตร” ดังน้ี 1) ตองมีสัดสวนผูถือหุนภูมิบุตรเปนจำนวนรอยละ 30 ในโครงสราง ผูถือหุนของบริษัท 2) ตองต้ังภูมิบุตรเปนกรรมการ/หรือคณะกรรมการของบริษัท 3) ตองจางพนักงานในทุกระดับรวมถึงระดับบริหารที่สะทอนสวน ประกอบทางเช้ือชาติของประชากรมาเลเซีย อยางไรก็ตามรัฐบาลปจจุบันไดผอนคลายกฎน้ีลงมาโดยให ชาวตางชาติ สามารถถือหุนในกิจการได 100 % ในบางกิจการ

กฎหมายลิขสิทธ์ิ มาเลเซียเปนสมาชิกของ The World Intellectual Property Organization (WIPO) เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2532 และเปนสมาชิกใน The Paris Convention 1883 เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2532 The Berne Convention 1886 เม่ือวันท่ี 1 ตุลาคม 2533 รวมท้ังไดลงนามในความตกลง WTO TRIPS เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2538 ในป 2543 มาเลเซียไดแกไขกฎหมาย The Copy-right Act, The Patents Act และ The Trade Marks Act รวมถึงกฎหมายเร่ือง Layout designs of integrated circuits และ Geographical Indication

Page 105: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

98 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

เพ่ือใหสอดคลองกับขอผูกพันใน TRIPS นอกจากน้ียังมีกฎหมาย The Optical Discs Act 2000 เพ่ือควบคุมผูผลิตผลงานลิขสิทธ์ิและปราบปรามการปลอม แปลงสินคา ลิขสิทธ์ิ หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเดียวของผูสรางสรรคในการใชประโยชน จากงานสรางสรรคของตนเอง งานท่ีมีลิขสิทธ์ิ มีดังน้ี งานวรรณกรรม นาฏกรรม ดนตรีกรรม ศิลปกรรม โสตทัศนวัสดุ งานภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียงแพรภาพ โปรแกรมคอมพิวเตอร สิ่งตอไปน้ีไมถือวาเปนงานลิขสิทธ์ิ - ขาวประจำวันหรือขอเท็จจริงท่ีตามลักษณะของมันแลวเปนเพียงแคขาว - คำพิพากษา คำส่ัง คำตัดสิน และรายงานของเจาหนาท่ีรัฐบาล - ความคิด ข้ันตอน กรรมวิธีทฤษฎีทางคณิตศาสตร

มาตรการคุมครอง ณ จุดนำเขา – สงออก* 1. มาตรการคุมครองทางศุลกากร ณ จุดนำเขา – สงออก* เจาของลิขสิทธ์ิตองรองขอตอ Copyright Controller เก่ียวกับสินคา ที่ตองสงสัยวาละเมิดงานอันมีเจาของลิขสิทธ์ิจะตองทำหนังสือแจงเก่ียวกับ งานอันมีลิขสิทธ์ิแตละช้ิน เม่ือมีการประกาศวาสินคาน้ันเปนสำเนาท่ีเปนละเมิด เจาของลิขสิทธ์ิอาจทำหนังสือแจงอีกฉบับหน่ึงเพ่ือคัดคานการนำเขาสินคาท่ี ตองหามเขามายังประเทศมาเลเซีย ซึ่งเจาของลิขสิทธิ์จะตองมีการวางหลัก ประกันเปนจำนวนเงินตามท่ี Copyright Controller กำหนด ไมมีกำหนดเวลา สำหรับการกักกันสินคา

* แกไขเพิ่มเติมเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2547

ประเภทลิขสิทธิ์ อายุความคุมครอง

1. งานวรรณกรรม งานนาฏกรรม งานดนตรีกรรม งานศิลปกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร2. งานโสตทัศนวัสดุ งานภาพยนตร

3. งานสิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียงแพรภาพ4. งานอันมีลิขสิทธิ์ของรัฐ หนวยงานของรัฐ หรือขององคกร ระหวางประเทศ

ตลอดอายุของผูสรางสรรค และ 50 ป ภายหลังจากที่ผูสรางสรรคถึงแกกรรม

50 ป นับจากวันเริ่มตนปปฏิทินที่งานนั้นเผยแพรเปนครั้งแรก50 ป นับจากวันเริ่มตนของปปฏิทินถัดจากปซึ่งงานดังกลาวไดเผยแพรเปนครั้งแรก50 ป นับจากวันเริ่มตนของปปฏิทินถัดจากปซึ่งงานดังกลาวไดเผยแพรเปนครั้งแรก

อายุความคุมครอง ตารางท่ี ประเภทลิขสิทธิ์และอายุความคุมครอง

Page 106: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 99สส

2. การเสนอเอกสารพิสูจนความเปนเจาของลิขสิทธ์ิ คำรองขอดังกลาวจะตองย่ืนมาพรอมกับเอกสารพิสูจนความเปนเจา ของลิขสิทธิ์ในงานนั้น พรอมดวยขอมูลที่เกี่ยวของกับสำเนางานที่เปนการ ละเมิด และตองมีการชำระคาธรรมเนียมเปนจำนวน 100 ริงกิต (ประมาณ 26 ดอลลารสหรัฐ) เจาหนาท่ีศุลกากรจะทำการยึด และกักกันสำเนาของงาน ที่ละเมิด และเจาของลิขสิทธ์ิจะตองชวยเหลือCopyright Controller ในการ จำแนกสินคาท่ีเปนละเมิด เอกสารท่ีใชพิสูจนความเปนเจาของลิขสิทธ์ิ ไดแก ตัวอยางของงาน อันมีลิขสิทธ์ิ ประกอบกับคำอางสิทธิท่ีชอบดวยกฎหมาย หรือคำใหการเปนลาย ลักษณอักษร

3. คาธรรมเนียมราชการสำหรับการยื่นคำขอ* 100 ริงกิต (26 ดอลลารสหรัฐ) การกระทำการของเจาหนาท่ีศุลกากรตอสินคาท่ีมีการละเมิด* สินคาท่ีไดยึดไวจะถูกนำไปทำลาย บทลงโทษ ผูกระทำการละเมิดจะไดรับโทษจำคุกและโทษปรับตามอัตราท่ี กฎหมายกำหนดไวในพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ ต้ังแตวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 บุคคลใดท่ีถูกตัดสินวากระทำการ ละเมิดลิขสิทธิ์ตองรับโทษเพ่ิมข้ึนจากเดิม คือ ตองระวางโทษปรับต้ังแต 200 ริงกิต ถึง 20,000 ริงกิต ตอหน่ึงสำเนางานท่ีละเมิดงานอันมีลิขสิทธ์ิ การกระทำ ความผิดในคร้ังตอไปตองระวางโทษปรับ ต้ังแต 4,000 ริงกิต ถึง 40,000 ริงกิต ตอหนึ่งสำเนาที่ละเมิดงานอันมีลิขสิทธิ์ สวนอัตราโทษจำคุกนั้นไมมีการ เปล่ียนแปลง บุคคลใดท่ีถูกตัดสินวากระทำความผิดฐานทำข้ึน หรือมีไวในครอบครองซ่ึงส่ิงประดิษฐ (Contrivance) ที่ใช หรือเจตนาจะใชเพ่ือวัตถุประสงคในการทำสำเนางานท่ีเปนการละเมิดตองระวางโทษปรับต้ังแต 4,000 ริงกิต ถึง 40,000 ริงกิต ตอหน่ึงสำเนางานท่ีละเมิดงานอันมีลิขสิทธ์ิ สำหรับการกระทำความผิดในคร้ังตอไปตองระวางโทษปรับต้ังแต 8,000 ริงกิต ถึง 80,000 ริงกิต ตอส่ิงประดิษฐแตละอยาง สวนอัตราโทษจำคุกน้ันไมมีการเปล่ียนแปลง สำหรับการกระทำความผิดท่ีมีการใชหรือกอใหเกิดวิธีการใดท่ีนำ เทคโนโลยีมาใชในการกระทำความผิดได ไมวาจะเปนการ โยกยาย หรือ เปล่ียนแปลงขอมูลเก่ียวกับการจัดการสิทธิทางอิเล็กทรอนิกสโดยไมไดรับอนุญาต

* แกไขเพิ่มเติมเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2547

Page 107: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

100 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

และจำหนายจายแจก นำเขามาเพ่ือแจกจาย หรือเผยแพรสูสาธารณชนโดยไม ไดรับอนุญาต บุคคลใดท่ีถูกตัดสินวากระทำความผิดดังกลาวตองระวางโทษ จำคุกไมเกิน 5 ป และสำหรับการกระทำความผิดคร้ังตอไปจะตองระวางโทษ จำคุกไมเกิน 10 ป สวนอัตราโทษปรับน้ันไมมีการเปล่ียนแปลง บุคคลใดท่ีถูกตัดสินวากระทำความผิดภายใตพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2530 หรือประกาศอ่ืนใดท่ีออกตามความในพระราชบัญญัติดังกลาวท่ีไมไดมีกำหนดอัตราโทษไวเปนพิเศษ ตองระวางรับโทษปรับต้ังแต 10,000 ริงกิต ถึง 50,000 ริงกิต หรือจำคุกไมเกิน 5 ป หรือท้ังจำท้ังปรับ กฎหมายแรงงานกฎหมายท่ีเก่ียวของกับแรงงาน มีดังน้ี 1. พ.ร.บ. แรงงาน (Akta pekerjaan) 2. พ.ร.บ. สหภาพแรงงาน (Akta Kesatuan Sekerja) 3. พ.ร.บ. แรงงานเด็กและวัยรุน (Akta Pekerjaan Kanak- kanak dan orang Muda) 4. พ.ร.บ. ประกันสังคมแรงงาน (Akta Keselamatan Sosial peker-ja) 5. พ.ร.บ. ประกันคนงาน (Akta Pampasan pekerja / Workmen’s Compensation Act) 6. พ.ร.บ. ความสัมพันธทางอุตสาหกรรม (Akta Perhubungan pe-rusahaan) 7. พ.ร.บ. โรงงานและเคร่ืองจักร (Akta Kilang dan Jentera

กฎหมายการจางงาน ป 1955 (พ.ศ. 2498) เปนกฎหมายหลักเก่ียว กับแรงงานของมาเลเซีย มีขอบังคับบางเร่ืองในการจางงานท่ีนักธุรกิจควรให ความสำคัญ ดังน้ี อัตราคาจาง หมายถึง คาจางท่ีนายจางตองจายแกคนงานในวันตอไปนี้ 1. ทำงานลวงเวลา 2. ทำงานในวันหยุด (Cuti Umum) 3. ทำงานในวันหยุด (Hari Rehat) 4. ลาปวย 5. ลาคลอด 6. ลาประจำป

Page 108: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 101สส

ก. เง่ือนไขข้ันต่ำสำหรับการจางงานและไดรับคาจาง เง่ือนไขข้ันต่ำสำหรับการจางงานและไดรับคาจาง

ข. จำนวนวันลาประจำปขั้นต่ำแบบไดรับคาจางสำหรับลูกจาง

ค. การลาปวยและจำนวนวันลาปวยแบบไดรับคาจาง พนักงานหรือ คนงานท่ีมีสิทธิลาปวยตอปได 14 - 22 วัน โดยไดรับ คาจางตามเง่ือนไขของระยะเวลาการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตองไดรับการตรวจจาก 1. นายแพทยที่นายจางจดทะเบียนไวหรือ 2. ในกรณีไมอาจพบนายแพทยท่ีนายจางจดทะเบียนไว ดวยเหตุจาก เวลา ระยะทาง พนักงาน/คนงานสามารถพบนายแพทยใด ๆ ก็ได 3. ทันตแพทย คาใชจายจากการรักษาหรือการตรวจทางนายจางจะ เปนผูรับผิดชอบ

Page 109: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

102 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การสงเคราะหตามกฎหมาย กฎหมายมาเลเซียบังคับใหตองมีการสงเคราะหลูกจางชาวมาเลเซีย ตามกฎหมายกองทุนสำรองเล้ียงชีพลูกจาง ป 1991 (Employment Provident Fund : EPF) ดังน้ี - นายจางสมทบเขากองทุนฯ รอยละ 12 ของคาจางรายเดือน - ลูกจางสมทบเขากองทุนฯ รอยละ 11 ของคาจางรายเดือน

ท้ังน้ีไมไดบังคับการสงเคราะหลูกจางชาวตางชาติ แตนายจางสามารถ เลือกท่ีจะสงเคราะหหรือไมสงเคราะหก็ได โดยอาจปรับใชอัตราการเก็บเงินเขากองทุน ดังน้ี

จำนวนวันลาปวยข้ันต่ำแบบไดรับคาจางสำหรับลูกจางตอ 1ปปฏิทิน

ที่มา: www.kwsp.gov.my

Page 110: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 103สส

การเลิกจาง

นายจางสามารถยุติสัญญาจางได โดยแจงตอลูกจางในกรณีดังน้ี 1. เมื่อลูกจางขาดทักษะในการทำงาน ไมวาจะเกิดจากฝมือความ สามารถ 2. เม่ือลูกจางขาดคุณสมบัติ แจงคุณวุฒิไมตรงกับความจริง 3. เม่ือลูกจางมีปญหาสุขภาพ การกระทำความผิด ลูกจางสามารถถูกยกเลิกสัญญาไดเม่ือ 1. นอนในขณะปฏิบัติหนาท่ี 2. ประมาทขณะปฏิบัติหนาท่ี 3. ขโมยทรัพยสินของนายจางหรือคนงานอ่ืน 4. เมาขณะปฏิบัติหนาท่ี 5. ไมปฏิบัติตามคำส่ังท่ีถูกตองของนายจาง การแจงประกาศยกเลิกสัญญาจาง 1. ตองแจงลวงหนา 4 สัปดาหในกรณีคนงานทำงานนอยกวา 2 สัปดาหนับแตการแจงประกาศ 2. ตองแจงลวงหนา 6 สัปดาห ในกรณีคนงานทำงาน 2 ป หรือ มากกวาแตไมเกิน 5 ป นับแตแจงประกาศ 3. ตองแจงลวงหนา 8 สัปดาห ในกรณีคนงานทำงาน 5 ป หรือ มากกวา นอกจากน้ีนายจางสามารถท่ีจะดำเนินการตอไปน้ีได 1. ยกเลิกสัญญาจางโดยไมแจงประกาศ 2. ลดข้ันของคนงาน 3. ลงโทษสถานเบาตามท่ีเห็นสมควร

การประกันคนงาน

ใน พ.ร.บ. ประกันคนงาน (Akta Pampasan pekerja / Workmen’s

Page 111: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

104 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

Compensation Act) กำหนดไววา เพ่ือเปนการปองกันการเกิดอุบัติเหตุ ขณะท่ีทำงาน ลูกจางจะตองทำกรมธรรมประกันตัวเอง อันจะไดรับคาทดแทน เม่ือเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน นอกจากน้ี จะตองมีการจัดทำกองทุนเงินสะสม (Kumpulan Wang Sempanan /Provident Fund) คลายกองทุนประกันสังคมของไทย โดยนาย จางตองออกเงินสมทบกองทุนดังกลาว

การนำเขาคนงานตางชาติไปทำงานในประเทศมาเลเซีย ในกรณีท่ีธุรกิจตองการนำคนงานไทย หรือคนสัญชาติอ่ืน เขาไปทำงาน ในประเทศมาเลเซีย จะตองปฏิบัติตามข้ันตอนตาง ๆ 6 ข้ันตอน เพ่ือใหถูกตอง ตามกฎหมายดังน้ี 1. นายจางจะตองขอโควตาจำนวนคนงานตางชาติจากกระทรวง มหาดไทยของมาเลเซีย (Ministry of Home Affairs) 2. จัดหาคนงานตามโควตาท่ีไดรับ ซ่ึงสามารถขอความชวยเหลือผานสำนักงานแรงงานในมาเลเซียได 3. จัดทำ Calling Visa เมื่อไดคนงานตามจำนวนที่ตองการ นำ หลักฐานของคนงานซ่ึงประกอบดวย หนังสือเดินทางและใบรับรองแพทย ไปขอ Calling Visa ที่สำนักงานตรวจคนเขาเมืองมาเลเซีย 4. ทำสัญญาจางและรับรอง เม่ือได Calling Visa แลว นายจางจะ ตองทำสัญญาจางกับคนงานซ่ึงถือเปนลูกจาง จากน้ันใหนำสัญญามาใหสำนักงานแรงงานในมาเลเซียรับรอง 5. การขอวีซาช่ัวคราว ลูกจางจะตองนำ Calling Visa และสัญญาที่รับรองแลวไปขอวีซาช่ัวคราว 3 เดือน (Single Entry) ที่สถานทูตหรือสถาน กงสุลมาเลเซียในประเทศไทย 6. การขอทำใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) นายจางจะตอง ดำเนินการขอทำใบอนุญาตทำงานใหลูกจาง ซ่ึงจะตองทำภายในเวลาท่ีไดรับ อนุญาตใหอยูในประเทศมาเลเซีย (3 เดือน) การทำใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) นายจางท่ีจะจางคนงานตางชาติ มีหนาที่จะตองทำใบอนุญาตทำงาน ใหกับลูกจาง โดยจะตองนำเอกสารไปย่ืนท่ีสำนักงานตรวจคนเขาเมือง ประเทศ มาเลเซีย ดังตอไปน้ี 1. หนังสือเดินทางของลูกจาง 2. ใบตรวจโรคจากสถานพยาบาล 3. รูปถายขนาดเดียวกับในพาสปอรต (ประมาณ 1 นิ้วคร่ึง) 4. สัญญาการจางงาน

Page 112: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 105สส

อายุของใบอนุญาตทำงาน ใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) โดยท่ัวไปมีอายุ 1 ป (ยกเวนอาชีพทำงานในรานอาหารประเภทตมยำ ซ่ึงมีอายุ 3 เดือน และ 1 ป) คาใชจายในการจัดทำใบอนุญาตทำงาน คาทำใบอนุญาตทำงานในประเทศมาเลเซีย จะแตกตางกันตามอาชีพ ที่ขออนุญาต ประกอบดวย คาภาษี คาตรวจสุขภาพ คาออกใบอนุญาต คาประกันสุขภาพ คามัดจำรับรองความปลอดภัย

ขอควรระวัง 1. ไมควรใหลูกจางทำงานในระหวางทำใบอนุญาต เพราะจะมีผลเทากับทำงานโดยไมไดรับอนุญาต 2. ในกรณีท่ีไดรับอนุญาตใหทำงานแลว นายจางและลูกจางจะตอง คอยตรวจสอบระยะเวลาอยูเสมอ อยาใหเกินกำหนดท่ีไดรับอนุญาต และควร ตออายุใบอนุญาตกอนจะถึงกำหนด หรือหากเกินกำหนดจะตองเดินทางกลับ ประเทศไทยกอนแลวจึงกลับเขาไปใหม

ตารางที่ คาใชจายในการขอใบอนุญาตทำงานประเภทตาง ๆ ในมาเลเซียภาคประกอบการ คาภาษีนำแรงงาน คาตรวจสุขภาพโดย คาออกใบอนุญาต คามัดจำรับรอง รวมคาใชจาย

ตางชาติ (Levy) FOMEMA ทำงาน ความปลอดภัย ทั้งสิ้น

(Work Permit)

การเกษตร

- ชาย 360.00 ริงกิต/คน 180.00 ริงกิต 10.00 ริงกิต 250.00 ริงกิต 800.00 ริงกิต

- หญิง 190.00 ริงกิต 810.00 ริงกิต

การเพาะปลูก

- ชาย 540.00 ริงกิต/คน 180.00 ริงกิต 10.00 ริงกิต 250.00 ริงกิต 980.00 ริงกิต

- หญิง 190.00 ริงกิต 990.00 ริงกิต

อุตสาหกรรม

- ชาย 1,200.00 ริงกิต/คน 180.00 ริงกิต 10.00 ริงกิต 250.00 ริงกิต 1640.00 ริงกิต

- หญิง 190.00 ริงกิต 1650.00 ริงกิต

กอสราง

- ชาย 1,200.00ริงกิต/คน 180.00 ริงกิต 10.00 ริงกิต 250.00 ริงกิต 1640.00 ริงกิต

- หญิง 190.00 ริงกิต 1650.00 ริงกิต

บริการ*

- ชาย 1,800.00 ริงกิต/คน 180.00 ริงกิต 10.00 ริงกิต 250.00 ริงกิต 2240.00 ริงกิต

- หญิง 190.00 ริงกิต 2250.00 ริงกิต

Page 113: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

106 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

บทลงโทษเก่ียวกับการเขามาทำงานโดยไมมีใบอนุญาตทำงาน หรือการเขา เมืองโดยไมถูกกฎหมาย 1. การเขาไปทำงานในประเทศมาเลเซีย ในทุกอาชีพและทุกประเภท จะตองไดรับอนุญาตใหทำงาน (Work Permit) โดยจะประทับการอนุญาตให ทำงานในหนังสือเดินทาง (พาสปอรต) ซ่ึงหากถูกตรวจพบวา เขามาทำงานโดย ไมมีใบอนุญาตทำงาน จะถูกจับกุมและดำเนินคดีในขอหาใชวีซาหรือเขาเมืองผิด ประเภท มีโทษดังน้ี ก. จำคุกไมเกิน 5 ป ข. ปรับตามระยะเวลาของโทษ คือ 6 เดือน -1 ป เสียคาปรับ 2,100 ริงกิต มากวา 2 ป-6 ป เสียคาปรับ 3,000 ริงกิต (สูงสุด) หรือท้ังจำท้ังปรับ และถูกสงตัวกลับประเทศไทยภายหลังพนโทษ 2. การเขาเมืองโดยไมถูกกฎหมาย มีโทษดังน้ี ก. ผูเขาเมืองไมถูกกฎหมาย ปรับ 10,000 ริงกิต /จำคุก 5 ป หรือท้ังจำท้ังปรับ และถูกเฆ่ียน 6 คร้ัง ข. นายจางที่รับคนงานตางดาวผิดกฎหมาย 1-5 คน ปรับ 10,000-50,000 ริงกิต จำคุก 1 ปตอลูกจาง 1 คน หรือท้ังจำท้ังปรับ ค. นายจางที่รับคนงานตางดาวผิดกฎหมาย มากกวา-5 คน ถูกเฆ่ียน และจำคุก 5 ป ง. เจาของอาคารท่ีอนุญาตใหผูเขาเมืองผิดกฎหมายพักอาศัย ปรับ/จำคุก จ. ผูปกปองหรือใหความคุมครองผูเขาเมืองผิดกฎหมาย ปรับ และ จำคุกและถูกเฆ่ียน 6 คร้ัง - Over stay ปรับวันละ 30-50 ริงกิต และกักกัน รอสงกลับ นโยบายการเลิกจางแรงงานตางชาติ จากผลกระทบดานวิกฤติเศรษฐกิจ ทำใหรัฐบาลมาเลเซียตองออก มาตรการการปรับดวยคือ การระงับการนำเขาแรงงานตางชาติ เพื่อสงวน ตำแหนงงานใหชาวมาเลเซีย โดยใชมาตรการตาง ๆ ตามมา ดังน้ี 1. งดในการออกใบอนุญาตทำงานใหมใหแกแรงงานตางชาติ ยกเวน ภาคการกอสราง 2. ไมตออายุใบอนุญาตทำงานท่ีหมดอายุ 3. นำแนวทางการฝกอบรมแรงงาน (Induction Course) มาใช โดย แรงงานทุกคนตองผานการอบรม รัฐบาลมาเลเซียจึงจะออกใบอนุญาตเขาเมือง (Calling Visa) มีผลบังคับใชวันท่ี 15 เมษายน 2552 4. มีแนวคิดจะข้ึนคาภาษีแรงงานตางชาติ (Levy) อีก 1 เทา ในทุกสาขา

จากผลกระทบดานวิกฤติ

เศรษฐกิจ ทำใหรัฐบาลมาเลเซีย

ตองออกมาตรการการปรับดัวย

คือ การระงับการนำเขาแรงงาน

ตางชาติ เพ่ือสงวนตำแหนงงาน

ใหชาวมาเลเซีย

‘‘

Page 114: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 107สส

ยกเวน ภาคการเพาะปลูก ภาคกอสราง และภาคบริการเฉพาะตำแหนงแมบาน (ในขณะน้ี ยังไมประกาศใหมีผลบังคับใช) 5. กวดขันจับกุมแรงงานตางชาติท่ีเขาเมืองผิดกฎหมาย ปรับ และ สงกลับประเทศ 6. มีมาตรการจูงใจและบังคับนายจางใหรับแรงงานทองถ่ิน เห็นไดวา กฎหมายท่ีนำเสนอมาขางตนเปนเพียงสวนหน่ึงท่ีเก่ียวของ โดยตรงตอการดำเนินธุรกิจหลักเทาน้ัน แตยังมีกฎหมายอ่ืนๆ อีกที่จะตองเขามา เก่ียวของกับการทำธุรกิจท่ีนักธุรกิจสนใจ จึงควรท่ีจะตองศึกษา หาความรูหรือ สอบถามจากผูมีประสบการณ ในการทำธุรกิจท่ีคลายกันเพ่ือสรางความเขาใจ เบ้ืองตนกอน 5. ขอมูลอ่ืนๆท่ีจำเปนในการลงทุน5.1 การจัดต้ังสำนักงานตัวแทน ขั้นตอนการลงทุนในมาเลเซีย ผูลงทุนจำเปนตองศึกษาประเภทกิจการหรือธุรกิจท่ีสนใจในมาเลเซีย จากเอกสารการ ศึกษาดูงาน รวมถึงการรับคำปรึกษาจากบริษัทท่ีปรึกษา และ นำขอมูลจากการศึกษามาประมวลความเปน ไปไดของโครงการ (Feasibility Study) หลังจากน้ัน ผูลงทุนควรตัดสินใจวาจะลงทุนเองท้ังหมด หรือจะรวม ลงทุนกับทองถ่ิน แลวจัดทำรายงานขอเสนอโครงการ (Proposal) พรอม หลักฐานการลงทุนมาย่ืนตอ MIDA เพ่ือขอรับสงเสริมการลงทุน MIDA จะ ใชเวลาในการพิจารณาไมเกิน 3 เดือน เม่ือไดรับอนุมัติตองย่ืน Form A 13 เพ่ือจดทะเบียนช่ือบริษัทท่ี The Companies Commission of Malaysia (CCM) ซ่ึง CCM จะใชเวลาในการพิจารณาประมาณ 12 วัน หลังผานการอนุมัติจาก CCM ผูลงทุนจะตองจัดทำตราบริษัท และสงออกสารให CCM ออกใบรับรอง เพ่ือนำมาจดทะเบียนกับ Income Tax Department, Employment Provident Fund และ Social Security Organization ตอไป (ข้ันตอน การดำเนินการจัดต้ังบริษัทโปรดดูแผนภูมิ)

Page 115: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

108 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

Page 116: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 109สส

5.2 ขอแนะนำอ่ืนๆ โดยท่ัวไป นักธุรกิจไทยท่ีตองการเดินทางเขาประเทศมาเลเซียดวยตนเอง โดยไมผานบริษัททัวร สามารถทำไดโดยเตรียมความพรอม และความเขาใจ ในดานตาง ๆ เชน เอกสารการเขาประเทศ สิ่งของตองหามตองสำแดง คาใชจาย ในการเขา-ออก สนามบิน การส่ือสาร การโทรศัพท ดานพาหนะในการเดินทางการเดินทางจากประเทศไทยไปยังประเทศมาเลเซีย สามารถเลือกเดินทางได 3 ทาง คือ รถไฟ เคร่ืองบิน และ รถยนต ทางรถไฟ การเดินทางโดยรถไฟจะใชเวลามากกวารถยนตและเคร่ืองบิน สามารถข้ึนรถไฟ ได 2 แหง • จากกรุงเทพ มีขบวนรถดวนพิเศษ (ระหวางประเทศ) ขบวนท่ี 35 กรุงเทพ-บัตเตอรเวอรธ เปนรถช้ันท่ี 2 นั่ง และรถนอนปรับอากาศ ออกจากกรุงเทพ 14.45 น. ถึงสถานีบัตเตอรเวอรธ ประมาณ 12.00 น. (เวลาทองถ่ินมาเลเซีย) จากน้ันตอรถไฟหรือรถยนต ท่ีสถานี บัตเตอรเวิธต เพ่ือไปสถานท่ีตางๆ ในประเทศมาเลเซียหรือไปยังประเทศสิงคโปร Keretapi Tanah Melayu (KTM) เปนรถไฟประจำชาติมาเลเซีย สามารถตรวจสอบตารางเดินรถ ซ้ือต๋ัวรถไฟออนไลนไดจาก เวปไซด www.ktmb.com.my หรือโทร (603) 2267 1200 • จากหาดใหญ มีรถไฟมาเลเซีย เรียกวา “Ekpress Langkawi” สายหาดใหญ - บัตเตอรเวอรธ ออกจากสถานีหาดใหญทุกวันเวลา 14.20 น. ถึงสถานี บัตเตอรเวอรธ ประมาณ 20.30 น. (เวลาทองถ่ินมาเลเซีย) จากน้ันออกจากสถานี บัตเตอรเวอรธ 21.00 น. ถึงสถานี Sentral Kula Lumpur ประมาณ 5.00 น. วันรุงข้ึน ทางเคร่ืองบิน สายการบินท่ีบินตรงจากประเทศไทยโดยออกจากสนามบินสุวรรณภูมิ ไปสนามบินแหงชาติกัวลาลัมเปอร มีหลายสายการบิน เชน สายการบินมาเลเซีย แอรเอเซีย การบินไทย ออลนิปปอนแอรเวย และลุฟทฮันซา สายการบินท่ีบินตรงจากประเทศไทยโดยออกจากสนามบินสุวรรณภูมิ ไปสนามบินปนัง ไดแก การบินไทย แอรเอเซีย และลุฟทฮันซา สายการบินท่ีบินระหวางภูเก็ตหรือเกาะสมุย กับสนามบิน Subang ซ่ึง ต้ังอยูทางทิศตะวันตกของกัวลาลัมเปอร คือ Firefly, Malaysian Airlines, Air Asia, Berjaya Air ผูเดินทางสามารถเดินทางจากสนามบินนานาชาติกัวลาลัมเปอรไป

Page 117: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

110 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

ยังศูนยกลางเมืองกัวลาลัมเปอรโดยรถไฟดวน (Express Rail Link: ERL) ใชเวลาเดินทาง 30 นาทีจากสนามบิน ทางรถยนต

ผูเดินทางสามารถเดินทางโดยรถยนต หรือขับรถยนตผานดานตรวจ คนเขาเมืองแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย 6 ดาน คือ

ในการผานดานประเทศไทยโดยนำรถยนตออกไปดวย มีเอกสารดังน้ี

1. แบบฟอรมออกนอกประเทศท่ีประทับตราโดยตำรวจตรวจคนเขา เมือง 2. หนังสือเดินทางท่ีมีอายุเกิน 6 เดือน 3. สำเนาทะเบียนรถยนตภาษาไทย 4. บัตรประจำตัวประชาชนเพ่ือใชขอนำรถยนตออกนอกประเทศไทย 5. ใบขับข่ีสากลหรือใบรับรองใบขับข่ีเปนภาษาอังกฤษ 6. ใบแปลสำเนาทะเบียนรถยนตเปนภาษาอังกฤษจากกรมการขนสง ทางบก 7. สติ๊กเกอรทะเบียนสากลสำหรับรถยนตซึ่งขอรับทะเบียนไดจาก กรมการขนสงทางบก 8. ประกันภัยรถยนตตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ ซ่ึงสามารถขอทำประกันภัยไดบริเวณชายแดนฝงไทย 9. แบบฟอรมแจงการนำยานพาหนะเขามาเลเซีย (International Circulation Permit: ICP) 10. ทำประกันภัยของมาเลเซีย ซ่ึงสามารถทำไดบริเวณดานเขาเมือง คาเบ้ียประกันภัยข้ึนอยูกับขนาดซีซีของรถ แลวนำหลักฐานการประกันภัยไปยื่นขอรับปายวงกลมจากเจาหนาท่ีตำรวจมาเลเซียเพ่ือติดหนารถท่ีจะขับเขา มาเลเซียอยางถูกกฎหมาย

เดินทางเขามาเลเซีย ดานตรวจคนเขาเมือง เวลาทำการ

1. Bukit Kayu Hitam รัฐเคดาห อ. สะเดา จ. สงขลา 06.00-24.00 น.

2. Padang Besar รัฐเปอรลิส อ. สะเดา สงขลา 06.00-22.00 น.

3. Wang Kelian รัฐเปอรลิส อ. ควนโดน จ. สตูล 06.00-18.00 น.

4. Rantau Panjang รัฐกลันตัน อ. สุไหงโกลก จ. นราธิวาส 06.00-22.00 น.

5. Pangkalan Kubur รัฐกลันตัน อ. สุไหงโกลก จ. นราธิวาส 06.00-18.00 น.

6. Bukit Berapit, Kroh รัฐเปรัค อ. เบตง จ. ยะลา 06.00-18.00 น.

Page 118: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 111สส

นอกจากน้ัน สำหรับผูท่ีตองการเดินทางไปปนัง สามารถใชบริการรถตู โดยสารจากอำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เดินทางไปปนังไดทุกวัน ใชเวลา เดินทางประมาณ 3 ช่ัวโมง

ดานเอกสารสำหรับการเขาประเทศมาเลเซีย การเดินทางเขาประเทศมาเลเซีย สำหรับคนไทยไมตองมีวีซา แตตองมีหนังสือเดินทางหรือเอกสารท่ีใชแทนหนังสือเดินทางท่ีมีอายุเกินกวา 6 เดือน นับจนถึงวันสุดทายท่ีมีความประสงคจะอยู หรือใชเอกสารผานแดน (Border Pass) สำหรับบุคคลสัญชาติไทยท่ีมีภูมิลำเนาอยูใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต (นราธิวาส ปตตานี ยะลา สงขลา และสตูล) เอกสารแบบฟอรมในสวนของมาเลเซีย 1. แบบฟอรมการเดินทางเขาเมือง (Disembarkation Form) 2. แบบฟอรมแจงการถือครองเงิน (Travelers Declaration Form - TDF) ผูถือหนังสือเดินทางไทยสามารถเดินทางไปประเทศมาเลเซียเพ่ือการ ทองเท่ียว หรือเพ่ือการติดตอธุรกิจไดโดยไมตองขอรับการตรวจลงตรา และ สามารถพำนักอยูไดเปนเวลา 30 วัน หากตองการพำนักเกิน 1 เดือน ตองขอรับ การตรวจลงตรากอนเดินทางเขามาเลเซีย ยกเวนบุคคลสัญชาติสิงคโปรและบรูไน โดยสามารถขอรับการตรวจลงตราไดท่ี

สถานเอกอัครราชทูตมาเลเซียประจำประเทศไทย เลขท่ี 33-35 ถนนสาทร เขตทุงมหาเมฆ กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 679-2190-9 โทรสาร 679-2208 เวลาทำการ วันจันทร-ศุกร เวลา 08.30-12.00 น. และ 13.00-16.00 น. สถานกงสุลใหญมาเลเซีย ณ จังหวัดสงขลา เลขท่ี 4 ถนนสุขุม จังหวัดสงขลา โทรศัพท 074-311062 โทรสาร 074-324004 เวลาทำการ วันจันทร - ศุกร เวลา 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.00 น. ส่ิงของตองหาม ตองสำแดง หามนำเขายาเสพติด และหามนำเขา อาวุธปน กระสุน อุปกรณขุดเจาะ และนิตยสารหรือวัสดุใด ๆ ที่เปนภาพอนาจาร รัฐบาลมาเลเซียกำหนดโทษสูงสุด ถึงประหารชีวิตไวสำหรับบุคคลท่ีมียาเสพติดหรืออาวุธไวในครอบครอง

Page 119: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

112 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

กฎระเบียบเก่ียวกับเงินตรา ผูเดินทางเขา-ออกประเทศมาเลเซียตองสำแดงรายการเก่ียวกับ จำนวนเงินซ่ึงมีอยูในขณะเดินทาง โดยผูเดินทางเขาหรือออกจากมาเลเซียได รับอนุญาตใหนำเงินเขาหรือนำออกจากมาเลเซียไดไมเกินคนละ 10,000 เหรียญสหรัฐฯ หากผูเดินทางประสงคจะนำเงินตราตางประเทศ (เงินสด และ เช็คเดินทาง) ออกนอกประเทศมาเลเซียเปนจำนวนเกินกวาจำนวนเงินท่ีกำหนด ผูเดินทางสามารถขออนุญาตไดท่ี Director of Exchange Control Development Bank Negara Malaysia Jalan Dato’Onn 50480 Kuala Lumpur โทรศัพท (603) 291-6473, 292-8736, 298-8044 ตอ 8052 / 8194 / 8276 โทรสาร (603) 293-7732

ขอควรระวัง สำหรับการเดินทางในประเทศมาเลเซีย 1. ชาวมาเลเซียโดยเฉพาะสตรีสวนใหญ นิยมแตงกายดวยชุดประจำ ศาสนาอิสลาม สตรีชาวมาเลเซียจะมีผาคลุมศีรษะและนุงหมมิดชิด นักธุรกิจ ที่เดินทางไปติดตอธุรกิจควรตองระมัดระวังเร่ืองการแตงกายในการพบปะทาง ธุรกิจ สำหรับสตรีตองติดตอราชการหรือธุรกิจ ควรแตงกายสุภาพ กระโปรงยาว คลุมเขา 2. ไมควรรับฝากส่ิงของจากผูอ่ืน 3. ควรจดจำหรือพกพาหมายเลขโทรศัพทและที่อยูของสถานเอก อัครราชทูตหรือสถานกงสุลไทยในตางประเทศเพ่ือขอความชวยเหลือในกรณี ฉุกเฉิน 4. เก็บหนังสือเดินทางไวกับตัว และควรถายสำเนาเก็บไว 1 ชุด 5. ควรตรวจสอบประเภทวีซาที่ไดรับใหถูกตองตรงกับวัตถุประสงค ของการเดินทาง เชน เดินทางไปทำงานตองใชวีซาทำงาน (Work permit) 6. ผูที ่จะเดินทางไปพำนักเปนระยะเวลานานควรแจงใหญาติหรือ บุคคลในครอบครัวทราบดวย

แหลงขอมูลการเรียนรูภาษามาเลเซีย ภาษาประจำชาติมาเลเซีย คือ ภาษามาเลย (Bahasa Malayn) ชาวมาเลเซียสวนใหญสามารถพูดได 2-3 ภาษา คือภาษามาเลยหรือภาษามลายู ภาษาทองถ่ิน (ซ่ึงอาจเปนภาษาทมิฬ ภาษาฮกเก้ียน หรือภาษากวางตุง) และภาษาอังกฤษ เว็บไซตท่ีใหขอมูลเก่ียวกับการเรียนภาษามีตัวอยาง ดังน้ี

Page 120: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 113สส

6. คำถามท่ีพบบอยเก่ียวกับการคาและการลงทุน (FAQ) Q1: สินคานำเขาท่ีสำคัญของประเทศมาเลเซีย ไดแกสินคาประเภทใดA1: สินค านำเขาท่ีสำคัญของประเทศมาเลเซีย ไดแก สินคาประเภทไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส เคมีภัณฑ เคร่ืองจักรและอุปกรณ ผลิตภัณฑท่ีทำจากโลหะ น้ำมันเช้ือเพลิง เหล็กและเหล็กกลา น้ำมันดิบ และรถยนต โดยสินคาสำคัญที่ไทยสงออกไปมาเลเซีย ไดแก ยางพารา รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ เคร่ืองคอมพิวเตอร น้ำมันสำเร็จรูป แผงวงจรไฟฟา ผลิตภัณฑยาง เคมีภัณฑ เปนตน

Q2: สินคาประเภทใด ท่ีตองขออนุญาตนำเขา (Import Licenses) A2: สินคา Food Products, Heavy Machines and Spare-parts, Photo-copy Machines, Compact Disc, Magnetic Tapes, Toner, Iron Steel, Chemical, Sodium sulphate, Safety Helmets and Cables ทั้งนี้ ตรวจสอบรายละเอียดเพ่ิมเติมไดท่ี Ministry of International Trade & Industry (MITI) ( Website : http://www.miti.gov.my )

Q3: ปญหา และอุปสรรคหลักของการสงออกสินคาฮาลาลจากประเทศไทย

ไปมาเลเซีย และวิธีแกไข A3: ถึงแมวาสินคาฮาลาลของไทยในตลาดมาเลเซียยังมีโอกาสสูง เน่ืองจาก สินคาและบริการของไทยเปนท่ีนิยมของชาวมาเลเซีย อยางไรก็ตาม มาเลเซียยัง ไมยอมรับเครื่องหมายฮาลาลของหลายประเทศ รวมทั้งเครื่องหมายฮาลาล ของไทย ดังน้ัน ถึงแมวาผูประกอบการไทยจะสามารถสงสินคาเขามาจำหนาย ในมาเลเซียได แตควรสรางความม่ันใจแกผูบริโภคชาวมาเลยท่ีเปนมุสลิมโดย

ท่ี ประเภทขอมูล เว็บไซต

1. ภาษามาเลย www.geocities.com/anizalin/anizpage.html

2. ขายหนังสือมาเลย www.mudah.my/

3. หนังสือและซีดีรอมภาษามาเลย www.multilingualbooks.com/malay.html www.bahasa-malaysia-simple-fun.com/learn-bahasa-malaysia.html

4. ภาษามาเลย online www.omniglot.com/writing/malay.htm www.langkawi-beaches.com/learn-malay-language.html http://pgoh13.free.fr/malay_course1.php

5. สถาบันสอนภาษามาเลย www.syl.com/travel/languageschoolsinmalaysiaroundup.html

ที่มา: www.ambkulalumpur.um.dk/en/menu www.nationsonline.org/oneworld/malaysia.htm

Page 121: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

114 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

การขอใหมีการรับรองเครื่องหมายฮาลาลจากหนวยงานของมาเลเซีย คือ Department Of Islam Development Malaysia (JAKIM) อีกคร้ังหน่ึง

Q4: การเดินทาง ไปยังมาเลเซีย สามารถทำไดกี่ชองทางA4: การเดินทาง และขนสงสินคาจากไทย ไปยังมาเลเซีย สามารถทำไดผาน 3 ชองทาง ไดแก ทางรถไฟ เคร่ืองบิน และ รถยนต ทางรถไฟ การเดินทางโดยรถไฟจะใชเวลามากกวารถยนตและเคร่ืองบิน สามารถ ข้ึนรถไฟ ได 2 แหง คือ 1) จากกรุงเทพฯ จะมีขบวนรถดวนพิเศษ (ระหวาง ประเทศ) ขบวนท่ี 35 กรุงเทพ-บัตเตอรเวอรธ 2) จากหาดใหญ มีรถไฟมาเลเซีย เรียกวา “Ekpress Langkawi” สายหาดใหญ – บัตเตอรเวอรธ ทางเคร่ืองบิน สายการบินท่ีบินตรงจากประเทศไทยโดยออกจากสนามบินสุวรรณภูมิ ไปสนามบินแหงชาติกัวลาลัมเปอร มีหลายสายการบิน เชน สายการบินมาเลเซีย แอรเอเซีย การบินไทย ออลนิปปอนแอรเวย และลุฟทฮันซา ทั้งนี้ ผูเดินทาง สามารถเดินทางจากสนามบินนานาชาติกัวลาลัมเปอรไปยังศูนยกลางเมืองกัวลาลัมเปอรโดยรถไฟดวน (Express Rail Link: ERL) ใชเวลาเดินทาง 30 นาทีจากสนามบินทางรถยนต ผูเดินทางสามารถเดินทางโดยรถยนต หรือขับรถยนตผานดานตรวจคนเขาเมืองแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย 6 ดาน ซ่ึงเช่ือมตอกับ 4 จังหวัดของไทย ดังน้ี 1) อ. สะเดา จ. สงขลา 2) อ. ควนโดน จ. สตูล 3) อ. สุไหงโกลก จ. นราธิวาส 4) อ. เบตง จ. ยะลา

Q5: มาเลเซียมีสิทธิประโยชนพิเศษอะไร ใหกับนักลงทุนหรือไมA5: หนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบดานการลงทุนคือ Malaysian Industrial Development Authority (MIDA) ซ่ึงเปนหนวยงานภายใตการกำกับของ Ministry of Trade and Industry (MITI) กิจการท่ีรัฐบาลใหการสงเสริมการ ลงทุนจะมีการใหสิทธิประโยชนทั้งโดยตรงและโดยออม ภายใตกฎหมายที่ สำคัญไดแก Promotion of Investments Act 1986, Income Tax Act 1967, Customs Act 1967, Sales Tax Act 1972, Excise Act 1976 และ Free Zones Act 1990 ซ่ึงกฎหมายเหลาน้ีครอบคลุมท้ังภาค อุตสาหกรรม การเกษตร การบริการ และการทองเท่ียว ทั้งนี้ สิทธิประโยชน หลักตามกฎหมายสงเสริมการลงทุน อาจจำแนกไดเปน 2 ลักษณะคือ “Pioneer Status” และ “Investment Tax Allowance (ITA)” ซ่ึง นักลงทุนสามารถเลือกอยางใด อยางหน่ึงท่ีเห็นวาเปนประโยชนท่ีสุดได เชน หากการลงทุนน้ันตองเนนการซ้ือเคร่ืองจักรหรือโรงงาน อาจเลือกสิทธิประโยชน แบบ Investment Tax นอกจากนี้สิทธิประโยชนเหลานี้ไมมีการแบงแยก ระหวางนักลงทุนตางชาติและนักลงทุนทองถ่ิน

Page 122: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 115สส

7. หนวยงานติดตอสำคัญ 7.1 หนวยราชการไทย หนวยราชการไทย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร 206 Jalan Ampang 50450 Kuala Lumpur Tel. (60-3) 2148-8222, 2148-8350 Fax. (60-3) 2148-6527, 2148-6615 E-mail : [email protected]

สำนักงานสงเสริมการคาระหวางประเทศ (Office of Commercial Affairs) 206 Jalan Ampang, 50450 Kuala Lumpur Tel. (603) 248-6573 Fax. (603) 248-9819

สำนักงานแรงงานในประเทศมาเลเซีย (Office of Labour Affairs Royal Thai Embassy) 206 Jalan Ampang, 50450 Kuala Lumpur Tel. (603) 2145-5868, (603) 2145-6004 Fax. (603) 2142-7000 E-mail : [email protected]

หนวยราชการไทย ณ รัฐอ่ืนๆ สถานกงสุลใหญ ณ เมืองปนัง Royal Thai Consulate General, Penang No. 1 Jalan Tunku Abdul Rahman, 10350 Penang Tel. (04) 226-8029 เวลาทำการ วันจันทร - วันศุกร 09.00-12.00 น. และ 14.00-16.30 น.

สถานกงสุลใหญ ณ เมืองโกตาบารู Royal Thai Consulate General, Kota Bharu No. 4426 Jalan Pengkalan Chepa, 15400 Kota Bharu, Kelantan Tel. (09) 544-5266, 744-5934, 743-0640 วันอาทิตย-วันพฤหัสบดี (หยุดวันศุกร-เสาร)

Page 123: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

116 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

7.2 รายช่ืออ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ/รานอาหารไทยในมาเลเซีย ธนาคาร

Bangkok Bank Berhad 105, Jalan Tun H S Lee 50000 Kuala Lumpur Tel : 03-21737200, 21737333 (Direct Line) Fax : 03-21737280, 20314260 สายการบิน

Thai Airways International Public Co., Ltd. 30th Floor, Wisma Goldhill 67, Jalan Raja Chulan 50200 Kuala Lumpur Tel : 03-20346888 Fax : 03-20346893 รานอาหารไทย (Thai Select)

Amarin Heavenly Thai Restaurant Lot S045 , Level 2 , Mid Valley Megamall 59200 Kula Lumpur Tel : 60-329383187 Fax : 60-329383137

Bangkok Expresso

L1-08-09 , Level 1 , The Weld , No.76 , Jalan Raja Chulan 50200 Kula Lumpur Tel : 60-321662708 Fax : 60-321662710

Bangkok Jam Thai Restaurant & Bar

GL-10 , BB Park , Plaza Low Yat , 7 , Jalan 1/77 Off Jalan Bukit Bintang 55100 Kula Lumpur Tel : 60-321423449 Fax : 60-321423481

Page 124: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย 117สส

Bangkok Jazz

Lot B1 , Chulan Square , 92 Jalan Raja Chulan 50200 Kula Lumpur Tel : 60-321458708 Fax : 60-321458710 Basil

Lot G10 , Ground Floor, Bangsar Village, No.1, Jalan Te lawi Satu , Bangsar Baru 59100 Kuala Lumpur Tel : 60-322878708 Fax : 60-322878710

Siam Square

Lot S03-102 , Level 3, Time Square, No.1, Jalan Imbi 55100 Kuala Lumpur Tel : 60-321421078 Fax : 60-321421076

Absolute Thai

Ikano Power Centre G20 , Ground Floor No.2 , Jalan PJU 7/2 , Mutiara Damansara Petaling Jaya 47800 Selango Tel : 60-377298708 Fax : 60-377296710 Actually Thai

Lot 0B-1D , Oasis Boulevard, Sunway Pyramid, No.3, Jalan PJS 11/15 Bandar Sunway, Petaling Jaya 46150 Selango Tel : 60-374919428 Fax : 60-374919438

Alisara thai cuisine

No.1 Jalan Perdana Taman Puchong Perdana 47100 Selango Tel : 60-80624205

Page 125: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ

118 คูมือ การคาและการลงทุน สหพันธรัฐมาเลเซีย

Good Evening Bangkok

Lot G343A , Ground Floor, 1 Utama Shopping Centre, Lebuh Bandar Utama,Petaling Jaya 47800 SelangoTel : 60-377278708Fax : 60-377278710

Just Thai

LG351 Lower Ground Floor 1 Utama Shopping Centre Petaling Jaya 47800 SelangoTel : 60-377294708Fax : 60-377294710

บรรณานุกรม

สำนักงานสงเสริมการคาระหวางประเทศ ณ กรุงกัวลาลัมเปอรกรมเจรจาการคาระหวางประเทศธนาคารโลกธนาคารแหงประเทศไทยสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI)http://www.statistics.gov.myhttp://www.bnm.gov.myhttp://www.bi.go.idhttp://www.apecthai.orghttp://www.ceicdata.comhppt://www.gtis.com/gta

Page 126: Malaysia Trade and Investment Handbook - Thai Laws Trade and Investment Handbook.pdf · (Federation of Malaysia) 1. ข อมูลพื้นฐาน 1.1 สภาพภูมิประเทศ