กลศาสตร์วิศวกรรม (engineering mechanics) · 3....

21

Upload: others

Post on 31-Jan-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก
Page 2: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics)

โดย เอกชัย รัตนโน

สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ © พ.ศ. 2560 โดย เอกชัย รัตนโนห้ามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ท�าซ�า้ จัดพิมพ์ หรือกระท�าอื่นใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ เพื่อเผยแพร่ในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงค์ใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาต

ขอมลูทางบรรณานกุรมของหอสมดุแหงชาติเอกชยั รตันโน. กลศาสตร์วศิวกรรม. -- กรงุเทพฯ : ซีเอด็ยเูคช่ัน, 2560. 1. กลศาสตร์ประยกุต์. I. ชื่อเรื่อง. 620.1

Barcode (e-book) : 9786160830633

ผลิตและจัดจ�ำหนำยโดย

1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000

หากมีค�าแนะน�าหรือติชม สามารถติดตอไดที่ [email protected]

Page 3: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

ในกรณีที่ตองการซื้อเปนจํานวนมาก เพื่อใชในการสอน การฝกอบรม การสงเสริมการขาย หรือเปนของขวัญพิเศษ เปนตน กรุณาติดตอสอบถามราคาพิเศษไดที่ ฝา่ยขาย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2739-8222 โทรสาร 0-2739-8359

หากมีคาํแนะนําหรือติชม สามารถติดต่อได้ท่ี [email protected]

กลศาสตรวิ์ศวกรรม (Engineering Mechanics) โดย เอกชัย รัตนโน

ราคา 220 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทยตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 โดย เอกชัย รัตนโน หามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ทําซ้ํา จัดพิมพ หรือกระทําอ่ืนใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ ไมวาสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้ เพื่อเผยแพรในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงคใดๆ นอกจากจะไดรับอนุญาต

4 1 0 - 5 0 6 - 2 8 8 0 0 6 6 7 8 9 5 4 3 2 1 0

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห่งชาติ เอกชัย รัตนโน. กลศาสตรวิศวกรรม. -- กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. 288 หนา 1. กลศาสตรประยกุต. I. ชื่อเรื่อง. 620.1 ISBN : 978-616-08-2970-5

จดัพมิพแ์ละจดัจาํหน่ายโดย

เลขท่ี 1858/87-90 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 0-2739-8000

พิมพท่ี บริษัท ส.เอเซียเพรส (1989) จํากัด เลขท่ี 143, 145 ซอยรามคําแหง 42 แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท 0-2732-3101-6 นายสุวัฒน ปยธนาพงษ ผูพิมพผูโฆษณา พ.ศ. 2560

 

3100-0101 กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics) 3-0-3

จุดประสงครายวิชา เพ่ือให 1. เขาใจหลักสถิตยศาสตร การใชเวกเตอรชวยในการคํานวณแรงในโครงสรางและชิ้นสวน

เครื่องจักรกล 2. สามารถวิเคราะหแรงในโครงสรางและชิ้นสวนเครื่องจักรกล หาคุณสมบัติของรูปทรง

เรขาคณิตที่เกี่ยวกับสถิตยศาสตร และสามารถแกปญหาสถิตยศาสตรวิศวกรรมที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาชีพ

3. มีเจตคติที่ดีในการสืบคนความรู และใชเหตุผลทางวิทยาศาสตรในการแกปญหา มีความละเอียดรอบคอบและตระหนักถึงความปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการคํานวณแรง โมเมนตบนระนาบปริภูมิโดยใชเวกเตอรและ

เครื่องคํานวณชวย 2. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการวิเคราะหแรงในชิ้นสวนโครงสรางและชิ้นสวนเครื่องกล 3. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการคํานวณเกี่ยวกับแรงกระจายและสถิตยศาสตรของไหล 4. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการหาจุดศูนยถวง จุดเซนทรอยด และคาโมเมนตความเฉ่ือยของ

รูปทรงเรขาคณิต 5. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการคํานวณเกี่ยวกับแรงเสียดทานในเครื่องจักรกล

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการแกปญหาโจทยทางวิศวกรรมโดยใชหลักสถิตยศาสตรและเวกเตอรชวย

เกี่ยวกับระบบของแรง ชนิดของแรง โมเมนตและแรงคูควบ สมดุล แผนภาพวัตถุอิสระ โครงสรางและหลักการวิเคราะหเบื้องตน แรงกระจาย สถิตยศาสตรของไหล จุดศูนยถวง เซนทรอยด โมเมนตความเฉื่อยและความเสียดทาน การแกปญหาโจทยสถิตยศาสตรวิศวกรรมที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาชีพ

Page 4: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

คํานํา 5

 

 

หนังสือ กลศาสตรวิศวกรรม รหัสวิชา 3100 - 0101 เลมนี้ ผูเขียนไดเรียบเรียงขึ้นตามเนื้อหาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาอุตสาหกรรม แบงเนื้อหาออกเปน 8 บท ไดแก กลศาสตร แรง โมเมนต สมดุลของแรง จุดศูนยถวงและจุดเซนทรอยด โมเมนตความเฉื่อย สมดุลของโครงสรางและเครื่องจักรกล และความเสียดทาน ซึ่งผูเขียนไดกระชับขอความบรรยายเนนส่ือความหมายทางรูปภาพและสูตรเพื่อใหอานเขาใจงาย ตลอดจนเนื้อหาที่ไมสูงมาก จึงเหมาะอยางยิ่งกับผูเริ่มตนเรียนรูหลักการทางสถิตยศาสตร

สําหรับทุกๆ ตัวอักษรและทุกๆ ลายเสนรูปภาพในหนังสือเลมนี้ ลวนเกิดจากการอบรมส่ังสอนของ บิดา มารดา และการถายทอดความรูจากครูบาอาจารยของผูเขียน ตลอดจนผูแตงตําราสถิตยศาสตรทุกเลมที่ไดอางอิงไวในบรรณาณุกรม คุณความดีที่เกิดขึ้นจากหนังสือเลมนี้ลวนเกิดจากบุคคลดังกลาวทั้งส้ินจึงขอมอบใหแดทุกทานทั้งหมด สวนความผิดพลาดหรือขอบกพรอง ผูเขียนยินดีนอมรับไว และจะพัฒนาปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งขึ้นในการจัดพิมพครั้งตอไป

[email protected]

Page 5: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

สารบญั 7

บทท่ี 1 กลศาสตร __________________________________________________ 11 1.1 กลศาสตร (Mechanics) ................................................................................................ 12 1.2 แนวคิดพื้นฐานสถิตยศาสตร (Statics Basic of Concepts) ............................................... 13 1.3 ระบบหนวยและการวัด (Unit System and Measurement) ............................................... 14 1.4 คําอุปสรรค (Prefixes) .................................................................................................. 17 1.5 เลขนัยสําคัญ (Significant Figures) ............................................................................... 18 1.6 กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน (Newton’s Laws of Motion) ................................................ 19 1.7 กฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) ................................................................... 20 1.8 น้ําหนัก (Weight) ......................................................................................................... 20 สรุปบทเรียน ......................................................................................................................... 23 แบบฝกหัดบทที่ 1 ................................................................................................................. 24

บทท่ี 2 แรง _______________________________________________________ 27 2.1 แรง (Force) ................................................................................................................. 28 2.2 สเกลารและเวกเตอร (Scalar and Vector) ...................................................................... 28 2.3 การดําเนินการของเวกเตอรเบื้องตน (Vector Operatio Basic) ........................................ 29 2.4 กฎของไซนและโคไซน (Law of Sine and Cosine) ......................................................... 32 2.5 เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก (Cartesian System of Vector) ............................................... 35 2.6 เวกเตอรหนึ่งหนวย (Unit Vector) ................................................................................ 41 2.7 เวกเตอรบอกตําแหนง (Position Vector) ....................................................................... 47 2.8 การคูณเวกเตอรดวยเวกเตอรผลลัพธเปนปริมาณสเกลาร (Dot Product) ...................... 51 2.9 ผลลัพธของระบบแรงหลายแรง (System of Force Resultants) ........................................ 56 สรุปบทเรียน ......................................................................................................................... 67 แบบฝกหัดบทที่ 2 ................................................................................................................. 71

Page 6: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

8 กลศาสตร์วิศวกรรม

บทท่ี 3 โมเมนต ____________________________________________________ 91 3.1 โมเมนต (Moment) ...................................................................................................... 92 3.2 การคูณเวกเตอรดวยเวกเตอรผลลัพธเปนปริมาณเวกเตอร (Cross Product) .................. 94 3.3 โมเมนตของแรงโดยเวกเตอร (Moment of Force-Vector) .............................................. 97 3.4 โมเมนตของแรงรอบแกนระบุ (Moment of Force About a Specified Axis) .................... 102 3.5 โมเมนตของแรงคูควบ (Moment of Force a Couple) .................................................... 106 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 110 แบบฝกหัดบทที่ 3 ............................................................................................................... 113

บทท่ี 4 สมดุลของแรง _____________________________________________ 125 4.1 สมดุล (Equilibrium) ................................................................................................... 126 4.2 สมดุลของระบบแรงในระนาบ (Coplanar Force Systems Equilibrium) ........................... 126 4.3 สมดุลของระบบแรงใน 3 มิติ (Three-Dimensional Force Systems Equilibrium) ............. 130 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 137 แบบฝกหัดบทที่ 4 ............................................................................................................... 138

บทท่ี 5 จุดศูนยถวงและจุดเซนทรอยด _______________________________ 145 5.1 จุดศูนยถวงและจุดเซนทรอยด (Center of Gravity and Centroid) .................................. 146 5.2 วัตถุประกอบ (Composite Bodies) ............................................................................... 156 5.3 ทฤษฎีของ Pappus (Theorems of Pappus) ................................................................... 160 5.4 แรงดันของไหล (Fluid Pressure) ................................................................................. 162 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 166 แบบฝกหัดบทที่ 5 ............................................................................................................... 168

บทท่ี 6 โมเมนตความเฉื่อย _________________________________________ 177 6.1 โมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia) ..................................................................... 178 6.2 โมเมนตความเฉื่อยพื้นที่ประกอบ (Moment of Inertia for Composite Area) .................. 185 6.3 ผลคูณความเฉื่อยของพื้นท่ี (Product of Inertia of Areas) ............................................. 188

สารบญั 9

6.4 โมเมนตความเฉื่อยของพื้นท่ีรอบแกนทีห่มุนเอียง (Moment of Inertia for an Area about Inclined Axes) ................................................... 192

สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 199 แบบฝกหัดบทที่ 6 ............................................................................................................... 201

บทท่ี 7 สมดุลของโครงสรางและเครื่องจักรกล ________________________ 207 7.1 โครงขอหมนุ (Truss) .................................................................................................. 208 7.2 วิธีจุดตอ (Method of Joints) ....................................................................................... 216 7.3 วิธีภาคตัด (Method of Section) .................................................................................. 222 7.4 โครงสรางเครื่องจักรกล (Machines) ............................................................................ 225 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 230 แบบฝกหัดบทที่ 7 ............................................................................................................... 233

บทท่ี 8 ความเสียดทาน ____________________________________________ 237 8.1 ความเสียดทาน (Friction) .......................................................................................... 238 8.2 ความเสียดทานแหง (Dry Friction) ............................................................................. 238 8.3 ลิ่ม (Wedges) ............................................................................................................. 242 8.4 สกรูเกลียวส่ีเหลี่ยมจัตุรัส (Square-Threaded Screws) ................................................... 244 8.5 สายพานแบน (Flat Belts) .......................................................................................... 247 8.6 แรงเสียดทานในเจอรนัลแบริง่ (Frictional Forces on Journal Bearings) ......................... 249 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 252 แบบฝกหัดบทที่ 8 ............................................................................................................... 254

เฉลยแบบฝกหัด ____________________________________________________ 259 ภาคผนวก ก. คณิตศาสตร (Mathematical) _____________________________ 275 ภาคผนวก ข. ระบบหนวย (Unit Systems) ______________________________ 281 ภาคผนวก ค. คุณสมบัติทางเรขาคณิตของเสนและองคประกอบของพ้ืนท่ี __ 285 บรรณานุกรม ______________________________________________________ 287

Page 7: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

8 กลศาสตร์วิศวกรรม

บทท่ี 3 โมเมนต ____________________________________________________ 91 3.1 โมเมนต (Moment) ...................................................................................................... 92 3.2 การคูณเวกเตอรดวยเวกเตอรผลลัพธเปนปริมาณเวกเตอร (Cross Product) .................. 94 3.3 โมเมนตของแรงโดยเวกเตอร (Moment of Force-Vector) .............................................. 97 3.4 โมเมนตของแรงรอบแกนระบุ (Moment of Force About a Specified Axis) .................... 102 3.5 โมเมนตของแรงคูควบ (Moment of Force a Couple) .................................................... 106 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 110 แบบฝกหัดบทที่ 3 ............................................................................................................... 113

บทท่ี 4 สมดุลของแรง _____________________________________________ 125 4.1 สมดุล (Equilibrium) ................................................................................................... 126 4.2 สมดุลของระบบแรงในระนาบ (Coplanar Force Systems Equilibrium) ........................... 126 4.3 สมดุลของระบบแรงใน 3 มิติ (Three-Dimensional Force Systems Equilibrium) ............. 130 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 137 แบบฝกหัดบทที่ 4 ............................................................................................................... 138

บทท่ี 5 จุดศูนยถวงและจุดเซนทรอยด _______________________________ 145 5.1 จุดศูนยถวงและจุดเซนทรอยด (Center of Gravity and Centroid) .................................. 146 5.2 วัตถุประกอบ (Composite Bodies) ............................................................................... 156 5.3 ทฤษฎีของ Pappus (Theorems of Pappus) ................................................................... 160 5.4 แรงดันของไหล (Fluid Pressure) ................................................................................. 162 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 166 แบบฝกหัดบทที่ 5 ............................................................................................................... 168

บทท่ี 6 โมเมนตความเฉื่อย _________________________________________ 177 6.1 โมเมนตความเฉื่อย (Moment of Inertia) ..................................................................... 178 6.2 โมเมนตความเฉื่อยพื้นที่ประกอบ (Moment of Inertia for Composite Area) .................. 185 6.3 ผลคูณความเฉื่อยของพื้นท่ี (Product of Inertia of Areas) ............................................. 188

สารบญั 9

6.4 โมเมนตความเฉื่อยของพื้นที่รอบแกนทีห่มุนเอียง (Moment of Inertia for an Area about Inclined Axes) ................................................... 192

สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 199 แบบฝกหัดบทที่ 6 ............................................................................................................... 201

บทท่ี 7 สมดุลของโครงสรางและเครื่องจักรกล ________________________ 207 7.1 โครงขอหมนุ (Truss) .................................................................................................. 208 7.2 วิธีจุดตอ (Method of Joints) ....................................................................................... 216 7.3 วิธีภาคตัด (Method of Section) .................................................................................. 222 7.4 โครงสรางเครื่องจักรกล (Machines) ............................................................................ 225 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 230 แบบฝกหัดบทที่ 7 ............................................................................................................... 233

บทท่ี 8 ความเสียดทาน ____________________________________________ 237 8.1 ความเสียดทาน (Friction) .......................................................................................... 238 8.2 ความเสียดทานแหง (Dry Friction) ............................................................................. 238 8.3 ลิ่ม (Wedges) ............................................................................................................. 242 8.4 สกรูเกลียวส่ีเหลี่ยมจัตุรัส (Square-Threaded Screws) ................................................... 244 8.5 สายพานแบน (Flat Belts) .......................................................................................... 247 8.6 แรงเสียดทานในเจอรนัลแบริง่ (Frictional Forces on Journal Bearings) ......................... 249 สรุปบทเรียน ....................................................................................................................... 252 แบบฝกหัดบทที่ 8 ............................................................................................................... 254

เฉลยแบบฝกหัด ____________________________________________________ 259 ภาคผนวก ก. คณิตศาสตร (Mathematical) _____________________________ 275 ภาคผนวก ข. ระบบหนวย (Unit Systems) ______________________________ 281 ภาคผนวก ค. คุณสมบัติทางเรขาคณิตของเสนและองคประกอบของพ้ืนท่ี __ 285 บรรณานุกรม ______________________________________________________ 287

Page 8: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

บทที่ 1 กลศาสตร์ 11

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ในการออกแบบ ผลิต หรือกอสรางงานทางวิศวกรรม เชน เครื่องใชในชีวิตประจําวัน อุปกรณ-เครื่องมือทางการแพทยบางอยาง ชิ้นสวนรถยนต ชิ้นสวนเครื่องมือกลตางๆ โครงสรางของอาคาร อาคารสูง เขื่อนกักเก็บน้ํา สิ่งเหลานี้ลวนแตตองใชความรูความเชี่ยวชาญของวิศวกรที่มีความเขาใจอยางลึกซึ้งตอศาสตรดานวิทยาศาสตร-ฟสิกส โดยสามารถสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้นมาใชวิ เคราะหหาพฤติกรรม คํานวณหาคาแรงที่เกิดข้ึนกับชิ้นสวนตางๆ ไดอยางถูกตอง ซึ่งในการเริ่มตนการเรียนรูกอนที่จะเปนวิศวกรนั้น วิชาทางวิศวกรรมอันดับแรกที่จะตองทําความเขาใจคือ กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics)

1.1 กลศาสตร (Mechanics) 1.2 แนวคิดพื้นฐานสถิตยศาสตร (Statics Basic of Concepts) 1.3 ระบบหนวยและการวัด (Unit System and Measurement) 1.4 คําอุปสรรค (Prefixes) 1.5 เลขนัยสําคัญ (Significant Figures) 1.6 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s laws of Motion) 1.7 กฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) 1.8 น้ําหนัก (Weight)

                 

Page 9: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

บทที่ 1 กลศาสตร์ 11

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ในการออกแบบ ผลิต หรือกอสรางงานทางวิศวกรรม เชน เครื่องใชในชีวิตประจําวัน อุปกรณ-เครื่องมือทางการแพทยบางอยาง ชิ้นสวนรถยนต ชิ้นสวนเครื่องมือกลตางๆ โครงสรางของอาคาร อาคารสูง เขื่อนกักเก็บน้ํา สิ่งเหลานี้ลวนแตตองใชความรูความเชี่ยวชาญของวิศวกรที่มีความเขาใจอยางลึกซึ้งตอศาสตรดานวิทยาศาสตร-ฟสิกส โดยสามารถสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้นมาใชวิ เคราะหหาพฤติกรรม คํานวณหาคาแรงที่เกิดข้ึนกับชิ้นสวนตางๆ ไดอยางถูกตอง ซึ่งในการเริ่มตนการเรียนรูกอนที่จะเปนวิศวกรนั้น วิชาทางวิศวกรรมอันดับแรกที่จะตองทําความเขาใจคือ กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics)

1.1 กลศาสตร (Mechanics) 1.2 แนวคิดพื้นฐานสถิตยศาสตร (Statics Basic of Concepts) 1.3 ระบบหนวยและการวัด (Unit System and Measurement) 1.4 คําอุปสรรค (Prefixes) 1.5 เลขนัยสําคัญ (Significant Figures) 1.6 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s laws of Motion) 1.7 กฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) 1.8 น้ําหนัก (Weight)

                 

กลศาสตร์ (Mechanics) 1

Page 10: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

12 กลศาสตร์วิศวกรรม

1.1 กลศาสตร (Mechanics) กลศาสตร (Mechanics) เปนแขนงหนึ่งของสาขาวิชาวิทยาศาสตร-ฟสิกส มีเนื้อหาเกี่ยวของกับ

เรื่องของแรงท่ีกระทํากับวัตถุ และผลของวัตถุที่เกิดขึ้นจากแรงกระทํานั้น โดยที่วัตถุนั้นอาจอยูในสภาวะหยุดนิ่งหรือสภาวะเคลื่อนที่ หลักการและทฤษฎีตางๆ ในเนื้อหาวิชากลศาสตรจะมุงแกปญหางานทางดานวิศวกรรม กรณีที่ตองการคาดคะเน การผลิต หรือการออกแบบเกี่ยวกับรูปรางของวัตถุ ชิ้นงาน หรือชิ้นสวนโครงสราง ซึ่งมักจะมีปริมาณที่ไมทราบคาเกิดขึ้นเสมอ การวิเคราะหปญหาทําโดยสรางรูปหรือแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้นมา แลวใชหลักการทางคณิตศาสตร-ฟสิกสเขียนคาตางๆ ใหอยูในรูปของสมการ ทําการแกปญหาโดยคํานวณหาปริมาณที่ไมทราบคาเหลานั้นออกมา ซึ่งจะเปนผลลัพธนําไปสูการแกปญหาของงานวิศวกรรมไดทั้งระบบ ตัวอยางการนําหลักการกลศาสตรไปใช เชน ในงานวิศวกรรมโยธาจะใชคํานวณหาแรงท่ีเกิดจากน้ําหนักบรรทุกตางๆ ที่มากระทํากับชิ้นสวนของอาคารหรือส่ิงกอสราง ในงานวิศวกรรมเครื่องกลจะใชคํานวณหาแรงภายในของชิ้นสวนของเครื่องจักรกลที่เกิดจากการรับภาระงานของเครื่องจักรนั้น เปนตน

ประวัติของวิชากลศาสตรไดมีการศึกษากันมาอยางยาวนานเทาที่มีหลักฐานการบันทึกได จะเริ่มตนในสมัยกรีกโบราณเมื่อ 400 ปกอนคริสตกาล (ประมาณป พ.ศ. 135-144) อารคีมีดิส (Archimedes) นักวิทยาศาสตรและนักคณิตศาสตรไดคนพบหลักการของคาน คานดีด คานงัด ลูกรอก และหลักการลอยตัว ซึ่งอารคีมีดิสไดรับการยกยองวาเปนผูวางรากฐานของวิชากลศาสตร

ป ค.ศ. 1564-1642 (ประมาณป พ.ศ. 2107-2185) กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) ไดทําการทดลองการตกของวัตถุที่มีมวลแตกตางกัน ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการศึกษากลศาสตรดานพลศาสตร (Dynamics) ตอมาในชวงป ค.ศ. 1642-1727 (ประมาณป พ.ศ. 2185-2270) เซอรไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ไดต้ังกฎของนิวตันเก่ียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ และกฎของแรงโนมถวง ซึ่งถือไดวาเปนพื้นฐานของกลศาสตรสมัยใหม (Modern Statics) นอกจากนี้ ยังไดมีนักวิทยาศาสตรรุนตอมาไดคนพบหลักการใหมๆ เกิดขึ้นอีกมากมาย เชน เลโอนารโด ดาวินซี (Leonardo da Vinci), วารียอง (Varignon), ลาแกรง (Lagrange) และลาปลาส (Laplace) เปนตน

บทที่ 1 กลศาสตร์ 13

รูปที่ 1.1 อารคีมีดิส (Archimedes) นักวิทยาศาสตรและนกัคณิตศาสตรที่ยิ่งใหญที่สุดในสมยักรีกโบราณ

ที่มา : http://tenfizz.com/wp-content/uploads/2017/03/Archimedes.jpg

จากที่กลาวมาวิชากลศาสตรสามารถแบงออกเปนหลักการใหญๆ ได 2 หลักการคือ

1. หลักการทางสถิตยศาสตร (Statics Principles) คือการศึกษาเกี่ยวกับแรงหรือระบบของแรงที่มากระทํากับวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) โดยวัตถุนั้นจะอยูภายใตสภาวะสมดุล ไมมีการเคลื่อนที่

2. หลักการทางพลศาสตร (Dynamics Principles) คือการศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยวัตถุนั้นอยูภายใตการกระทําของแรงหรือระบบของแรง

หนังสือวิชา กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics) เลมนี้ จะอธิบายเฉพาะในหลักการทางสถิตยศาสตร (Statics) ซึ่งมีบทบาทสําคัญตอการศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรทุกสาขา โดยจะเปนพื้นฐานตอการเรียนในเนื้อหาวิชาที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหและการออกแบบ (Analysis and Design) เชน การวิเคราะหแรงในโครงสรางอาคาร การวิเคราะหแรงในเครื่องจักรกล การคาดคะเนรูปรางวัสดุ การออกแบบหนาตัดวัสดุ การสราง-ผลิตชิ้นสวนโครงสราง ชิ้นสวนวัสดุ ชิ้นสวนเครื่องมือกล และการออกแบบเครื่องจักร เปนตน

1.2 แนวคิดพื้นฐานสถิตยศาสตร (Statics Basic of Concepts) เพื่อใหการทําความเขาใจในเนื้อ หาทฤษฎี และหลักการตางๆ งายขึ้น ในเบื้องตนจะตองมี

ความเขาใจตอแนวคิดพื้นฐานทางสถิตยศาสตร (Basic Statics of Concepts) ซึ่งมีอยูดวยกัน 3 แนวคิด ดังนี้

Page 11: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

12 กลศาสตร์วิศวกรรม

1.1 กลศาสตร (Mechanics) กลศาสตร (Mechanics) เปนแขนงหนึ่งของสาขาวิชาวิทยาศาสตร-ฟสิกส มีเนื้อหาเกี่ยวของกับ

เรื่องของแรงท่ีกระทํากับวัตถุ และผลของวัตถุที่เกิดขึ้นจากแรงกระทํานั้น โดยที่วัตถุนั้นอาจอยูในสภาวะหยุดนิ่งหรือสภาวะเคล่ือนที่ หลักการและทฤษฎีตางๆ ในเนื้อหาวิชากลศาสตรจะมุงแกปญหางานทางดานวิศวกรรม กรณีที่ตองการคาดคะเน การผลิต หรือการออกแบบเกี่ยวกับรูปรางของวัตถุ ชิ้นงาน หรือชิ้นสวนโครงสราง ซึ่งมักจะมีปริมาณที่ไมทราบคาเกิดขึ้นเสมอ การวิเคราะหปญหาทําโดยสรางรูปหรือแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้นมา แลวใชหลักการทางคณิตศาสตร-ฟสิกสเขียนคาตางๆ ใหอยูในรูปของสมการ ทําการแกปญหาโดยคํานวณหาปริมาณที่ไมทราบคาเหลานั้นออกมา ซึ่งจะเปนผลลัพธนําไปสูการแกปญหาของงานวิศวกรรมไดทั้งระบบ ตัวอยางการนําหลักการกลศาสตรไปใช เชน ในงานวิศวกรรมโยธาจะใชคํานวณหาแรงท่ีเกิดจากน้ําหนักบรรทุกตางๆ ที่มากระทํากับชิ้นสวนของอาคารหรือส่ิงกอสราง ในงานวิศวกรรมเครื่องกลจะใชคํานวณหาแรงภายในของชิ้นสวนของเครื่องจักรกลที่เกิดจากการรับภาระงานของเครื่องจักรนั้น เปนตน

ประวัติของวิชากลศาสตรไดมีการศึกษากันมาอยางยาวนานเทาที่มีหลักฐานการบันทึกได จะเริ่มตนในสมัยกรีกโบราณเมื่อ 400 ปกอนคริสตกาล (ประมาณป พ.ศ. 135-144) อารคีมีดิส (Archimedes) นักวิทยาศาสตรและนักคณิตศาสตรไดคนพบหลักการของคาน คานดีด คานงัด ลูกรอก และหลักการลอยตัว ซึ่งอารคีมีดิสไดรับการยกยองวาเปนผูวางรากฐานของวิชากลศาสตร

ป ค.ศ. 1564-1642 (ประมาณป พ.ศ. 2107-2185) กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei) ไดทําการทดลองการตกของวัตถุที่มีมวลแตกตางกัน ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการศึกษากลศาสตรดานพลศาสตร (Dynamics) ตอมาในชวงป ค.ศ. 1642-1727 (ประมาณป พ.ศ. 2185-2270) เซอรไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ไดต้ังกฎของนิวตันเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ และกฎของแรงโนมถวง ซึ่งถือไดวาเปนพื้นฐานของกลศาสตรสมัยใหม (Modern Statics) นอกจากนี้ ยังไดมีนักวิทยาศาสตรรุนตอมาไดคนพบหลักการใหมๆ เกิดขึ้นอีกมากมาย เชน เลโอนารโด ดาวินซี (Leonardo da Vinci), วารียอง (Varignon), ลาแกรง (Lagrange) และลาปลาส (Laplace) เปนตน

บทที่ 1 กลศาสตร์ 13

รูปที่ 1.1 อารคีมีดิส (Archimedes) นักวิทยาศาสตรและนกัคณิตศาสตรที่ยิ่งใหญที่สุดในสมยักรีกโบราณ

ที่มา : http://tenfizz.com/wp-content/uploads/2017/03/Archimedes.jpg

จากที่กลาวมาวิชากลศาสตรสามารถแบงออกเปนหลักการใหญๆ ได 2 หลักการคือ

1. หลักการทางสถิตยศาสตร (Statics Principles) คือการศึกษาเกี่ยวกับแรงหรือระบบของแรงที่มากระทํากับวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) โดยวัตถุนั้นจะอยูภายใตสภาวะสมดุล ไมมีการเคลื่อนที่

2. หลักการทางพลศาสตร (Dynamics Principles) คือการศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยวัตถุนั้นอยูภายใตการกระทําของแรงหรือระบบของแรง

หนังสือวิชา กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics) เลมนี้ จะอธิบายเฉพาะในหลักการทางสถิตยศาสตร (Statics) ซึ่งมีบทบาทสําคัญตอการศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรทุกสาขา โดยจะเปนพื้นฐานตอการเรียนในเนื้อหาวิชาที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหและการออกแบบ (Analysis and Design) เชน การวิเคราะหแรงในโครงสรางอาคาร การวิเคราะหแรงในเครื่องจักรกล การคาดคะเนรูปรางวัสดุ การออกแบบหนาตัดวัสดุ การสราง-ผลิตชิ้นสวนโครงสราง ชิ้นสวนวัสดุ ชิ้นสวนเครื่องมือกล และการออกแบบเครื่องจักร เปนตน

1.2 แนวคิดพื้นฐานสถิตยศาสตร (Statics Basic of Concepts) เพื่อใหการทําความเขาใจในเนื้อ หาทฤษฎี และหลักการตางๆ งายขึ้น ในเบื้องตนจะตองมี

ความเขาใจตอแนวคิดพื้นฐานทางสถิตยศาสตร (Basic Statics of Concepts) ซึ่งมีอยูดวยกัน 3 แนวคิด ดังนี้

Page 12: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

14 กลศาสตร์วิศวกรรม

1. อนุภาค (Particle) คือแนวความคิดเกี่ยวกับวัตถุที่มีขนาดเขาใกลศูนย มีขนาดเล็กมาก ถาขนาดของวัตถุไมเกี่ยวของกับตําแหนงและการเคลื่อนที่อาจถือไดวา วัตถุนั้นคืออนุภาค

2. วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) คือแนวความคิดเกี่ยวกับวัตถุที่ไมเกิดการเปลี่ยนรูปหรือเสียรูปไปจากเดิม ไมวาจะมีแรงหรือวัตถุอื่นใดมากระทํา ซึ่งในความเปนจริงอาจมีความเปนไปไดนอยมาก เพราะวัตถุโดยสวนใหญเมื่อมีแรงหรือมีวัตถุอื่นมากระทําจะตองมีการเปลี่ยนรูปหรือเสียรูป แตในทางกลศาสตร ถาวัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนรูปหรือเสียรูปนอยมากเม่ือเทียบกับรูปเดิม อาจถือไดวาวัตถุนั้นเปนวัตถุแข็งเกร็งได

3. อวกาศ (Space) คือแนวความคิดเกี่ยวกับอาณาเขตหรืออาณาบริเวณรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งสามารถบอกพิกัดหรือตําแหนงของวัตถุไดโดยการวัดเชิงเสนและเชิงมุมที่สัมพัทธกับระบบแกนกําเนิดโคออรดิเนต (Coordinate System)

1.3 ระบบหนวยและการวัด (Unit System and Measurement) ระบบหนวยและการวัดปริมาณตางๆ ที่ใชกันมาในตอนเริ่มตนจะมีดวยกันอยู 2 ระบบคือ ระบบ

เมตริก CGS (Centimetre-Gram-Second System) และ MKS (Meter-Kilogram-Second) ของประเทศ ฝรั่งเศส และระบบอังกฤษ (FPS) แตระบบหนวยดังกลาวยังสรางความสับสนในการส่ือสารกันระหวางประเทศอยู ดังนั้นในป ค.ศ. 1960 (ประมาณป พ.ศ. 2503) กลุมประเทศอุตสาหกรรมไดรวมประชุมพัฒนาระบบหนวยที่ใชวัดปริมาณขึ้นมาใหม โดยเรียกซื่อวา ระบบหนวยวัดระหวางประเทศ (International System of Units) หรือเรียกอยางยอวา ระบบเอสไอ (SI Unite)

ระบบเอสไอสรางจากหนวยวัดปริมาณหลัก และใชระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือวาเปนระบบการวัดที่ใชแพรหลายที่สุดในโลกทั้งในชีวิตประจําวันและทางวิทยาศาสตร โดยระบบเอสไอดังกลาวไดรับการพัฒนามาจากระบบหนวยเมตร-กิโลกรัม-วินาที (Meter-Kilogram-Second; MKS) และไดปรับเปลี่ยนนิยามรวมถึงเพิ่มลดหนวยฐานเอสไอมาตลอดตามการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดมากขึ้น หนวยวัดปริมาณหลักที่ใชในกลศาสตร ดังแสดงในตารางที่ 1.1

บทที่ 1 กลศาสตร์ 15

ตารางที่ 1.1 หนวยวัดปริมาณหลักที่ใชในกลศาสตร

ปริมาณ (Quantity)

ระบบหนวย SIหนวย สัญลักษณ

ความยาว (Length) เมตร mเวลา (Time) วินาที sมวล (Mass) กิโลกรัม kgแรง (Force) นิวตัน N

ความยาว (Length) มีหนวยเปนเมตร (m) เดิมไดถูกกําหนดใหเทากับหนึ่งในสิบลานของระยะทางจากเสนศูนยสูตรไปยังขั้วโลกเหนือ ตามเสนเมริเดียน (Meridian) ที่ผานกรุงปารีส ปจจุบันกําหนดให 1 เมตร เทากับ 1 650 763.73 เทา ของความยาวคล่ืนของรังสีของอะตอมคริปตัน-68 ความยาวนั้นใชสําหรับวัดปริมาณระยะทางเพื่อบอกพิกัดของตําแหนงใดๆ ในอาณาบริเวณหนึ่ง หรืออาจใชเพื่อวัดขนาดหรือระยะหางระหวางวัตถุกับวัตถุหรือวัตถุกับพิกัด

เวลา (Time) มีหนวยเปนวินาที (s) ถูกกําหนดให 1 วินาที เทากับ 9 192 631 770 เทาของคาบ (Period) การแผรังสีที่สอดคลองกับการเปล่ียนแปลงระดับชั้นพลังงานไฮเปอรไฟนสองระดับของสภาวะมูลฐานของอะตอมซีเซียม-133 เวลานั้นจะใชวัดชวงเหตุการณหนึ่งๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะเก่ียวของกับกฎของการเคลื่อนที่ซึ่งใชในการศึกษาดานหลักการพลศาสตร

มวลสาร (Mass) มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg) ซึ่งถูกกําหนดใหเทากับมวลสารของทรงกระบอกที่ทําดวยโลหะผสมแพลตินัมอิริเดียม (Platinum-iridium Cylinder) โดยไดเก็บรักษาไวที่สํานักงานชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (International Bureau of Weights and Measures) ประเทศฝรั่งเศส และไดมีการจําลองทรงกระบอกนี้เก็บไวที่สํานักงานมาตรฐานนานาชาติ (National Bureau of Standards) ในสหรัฐอเมริกา เพื่อใชเปนมวลสารมาตรฐานในการวัดภายในประเทศ มวลสารนั้นจะใชวัดปริมาณของสสารท่ีมีอยูในวัตถุ จะมีความสัมพันธกับคาแรงโนมถวงและความตานทานตอความเรง

แรง (Force) มีหนวยเปนนิวตัน (N) ในระบบหนวย SI Unit นิยามไดวา “แรง 1 นิวตัน เทากับแรงที่ทําใหมวลสาร 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเรง 1 เมตรตอวินาที2 ” แตในระบบอังกฤษหรืออาจเรียกวา FPS Units หนวยของแรงคือ ปอนด โดยนิยามไดวา “แรง 1 ปอนด เทากับแรงที่ทําใหมวลสาร 1 ปอนด เคลื่อนที่ดวยความเรง 32.2 ฟุตตอวินาที2 ”

Page 13: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

14 กลศาสตร์วิศวกรรม

1. อนุภาค (Particle) คือแนวความคิดเกี่ยวกับวัตถุที่มีขนาดเขาใกลศูนย มีขนาดเล็กมาก ถาขนาดของวัตถุไมเกี่ยวของกับตําแหนงและการเคลื่อนที่อาจถือไดวา วัตถุนั้นคืออนุภาค

2. วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid Body) คือแนวความคิดเกี่ยวกับวัตถุที่ไมเกิดการเปลี่ยนรูปหรือเสียรูปไปจากเดิม ไมวาจะมีแรงหรือวัตถุอื่นใดมากระทํา ซึ่งในความเปนจริงอาจมีความเปนไปไดนอยมาก เพราะวัตถุโดยสวนใหญเม่ือมีแรงหรือมีวัตถุอื่นมากระทําจะตองมีการเปลี่ยนรูปหรือเสียรูป แตในทางกลศาสตร ถาวัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนรูปหรือเสียรูปนอยมากเม่ือเทียบกับรูปเดิม อาจถือไดวาวัตถุนั้นเปนวัตถุแข็งเกร็งได

3. อวกาศ (Space) คือแนวความคิดเกี่ยวกับอาณาเขตหรืออาณาบริเวณรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งสามารถบอกพิกัดหรือตําแหนงของวัตถุไดโดยการวัดเชิงเสนและเชิงมุมที่สัมพัทธกับระบบแกนกําเนิดโคออรดิเนต (Coordinate System)

1.3 ระบบหนวยและการวัด (Unit System and Measurement) ระบบหนวยและการวัดปริมาณตางๆ ที่ใชกันมาในตอนเริ่มตนจะมีดวยกันอยู 2 ระบบคือ ระบบ

เมตริก CGS (Centimetre-Gram-Second System) และ MKS (Meter-Kilogram-Second) ของประเทศ ฝรั่งเศส และระบบอังกฤษ (FPS) แตระบบหนวยดังกลาวยังสรางความสับสนในการส่ือสารกันระหวางประเทศอยู ดังนั้นในป ค.ศ. 1960 (ประมาณป พ.ศ. 2503) กลุมประเทศอุตสาหกรรมไดรวมประชุมพัฒนาระบบหนวยที่ใชวัดปริมาณขึ้นมาใหม โดยเรียกซื่อวา ระบบหนวยวัดระหวางประเทศ (International System of Units) หรือเรียกอยางยอวา ระบบเอสไอ (SI Unite)

ระบบเอสไอสรางจากหนวยวัดปริมาณหลัก และใชระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือวาเปนระบบการวัดที่ใชแพรหลายที่สุดในโลกทั้งในชีวิตประจําวันและทางวิทยาศาสตร โดยระบบเอสไอดังกลาวไดรับการพัฒนามาจากระบบหนวยเมตร-กิโลกรัม-วินาที (Meter-Kilogram-Second; MKS) และไดปรับเปลี่ยนนิยามรวมถึงเพิ่มลดหนวยฐานเอสไอมาตลอดตามการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความเที่ยงตรงในการวัดมากขึ้น หนวยวัดปริมาณหลักที่ใชในกลศาสตร ดังแสดงในตารางที่ 1.1

บทที่ 1 กลศาสตร์ 15

ตารางที่ 1.1 หนวยวัดปริมาณหลักที่ใชในกลศาสตร

ปริมาณ (Quantity)

ระบบหนวย SIหนวย สัญลักษณ

ความยาว (Length) เมตร mเวลา (Time) วินาที sมวล (Mass) กิโลกรัม kgแรง (Force) นิวตัน N

ความยาว (Length) มีหนวยเปนเมตร (m) เดิมไดถูกกําหนดใหเทากับหนึ่งในสิบลานของระยะทางจากเสนศูนยสูตรไปยังขั้วโลกเหนือ ตามเสนเมริเดียน (Meridian) ที่ผานกรุงปารีส ปจจุบันกําหนดให 1 เมตร เทากับ 1 650 763.73 เทา ของความยาวคล่ืนของรังสีของอะตอมคริปตัน-68 ความยาวนั้นใชสําหรับวัดปริมาณระยะทางเพื่อบอกพิกัดของตําแหนงใดๆ ในอาณาบริเวณหนึ่ง หรืออาจใชเพื่อวัดขนาดหรือระยะหางระหวางวัตถุกับวัตถุหรือวัตถุกับพิกัด

เวลา (Time) มีหนวยเปนวินาที (s) ถูกกําหนดให 1 วินาที เทากับ 9 192 631 770 เทาของคาบ (Period) การแผรังสีที่สอดคลองกับการเปล่ียนแปลงระดับชั้นพลังงานไฮเปอรไฟนสองระดับของสภาวะมูลฐานของอะตอมซีเซียม-133 เวลานั้นจะใชวัดชวงเหตุการณหนึ่งๆ ที่เกิดขึ้น โดยจะเก่ียวของกับกฎของการเคลื่อนที่ซึ่งใชในการศึกษาดานหลักการพลศาสตร

มวลสาร (Mass) มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg) ซึ่งถูกกําหนดใหเทากับมวลสารของทรงกระบอกที่ทําดวยโลหะผสมแพลตินัมอิริเดียม (Platinum-iridium Cylinder) โดยไดเก็บรักษาไวที่สํานักงานชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (International Bureau of Weights and Measures) ประเทศฝรั่งเศส และไดมีการจําลองทรงกระบอกนี้เก็บไวที่สํานักงานมาตรฐานนานาชาติ (National Bureau of Standards) ในสหรัฐอเมริกา เพื่อใชเปนมวลสารมาตรฐานในการวัดภายในประเทศ มวลสารนั้นจะใชวัดปริมาณของสสารท่ีมีอยูในวัตถุ จะมีความสัมพันธกับคาแรงโนมถวงและความตานทานตอความเรง

แรง (Force) มีหนวยเปนนิวตัน (N) ในระบบหนวย SI Unit นิยามไดวา “แรง 1 นิวตัน เทากับแรงที่ทําใหมวลสาร 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเรง 1 เมตรตอวินาที2 ” แตในระบบอังกฤษหรืออาจเรียกวา FPS Units หนวยของแรงคือ ปอนด โดยนิยามไดวา “แรง 1 ปอนด เทากับแรงที่ทําใหมวลสาร 1 ปอนด เคลื่อนที่ดวยความเรง 32.2 ฟุตตอวินาท2ี ”

Page 14: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

16 กลศาสตร์วิศวกรรม

1.3.1 หนวยของการวัดมุม หนวยในการวัดมุมของสวนโคงในวงกลมจะมีหนวยเปน เรเดียน (Radian) สัญลักษณ “rad”

พิจารณารูปที่ 1.2 แสดงรูปวงกลม ซึ่งมีมุมภายในเทากับ rad2 ดังนั้นครึ่งวงกลมจะมีมุมภายในเทากับ rad มุม 1 rad (อานวา 1 เรเดียน) จะเทากับขนาดของมุมที่วัดจากจุดศูนยกลางวงกลมท่ีกางออกตามสวนโคง โดยท่ีสวนโคงนั้นจะตองมีความยาวเทากับคารัศมีของวงกลม หรืออาจใชหนวยการวัดมุมเปนหนวย องศา (Degree) ซึ่งเขียนในสัญลักษณ “ ° ” โดยคาความสัมพันธกันระหวางการวัดมุมหนวยเปนเรเดียนกับหนวยองศา แสดงไดดังนี้

จากมุมภายในวงกลม 360rad2

2360rad1

180rad1

โดยที่ 180rad

หรือ rad180

1

รูปที่ 1.2

การวัดมุมในระนาบ 3 มิติ หรือที่เรียกวา มุมตัน จะใชหนวยการวัดเปน สเตอเรเดียน (Steradian) สัญลักษณ “1 sr” โดยที่มุม 1 sr วัดไดจากจุดศูนยกลางของทรงกลมมีรัศมี r ที่วาดไปบนพื้นผิวของทรงกลมเอง ใหเกิดเปนรูปทรงกรวยมีพื้นที่ผิวที่ฐานเทากับ r2

ความยาวสวนโคง1 rad2¶ rad

OO ความยาวรัศมี

บทที่ 1 กลศาสตร์ 17

1.3.2 กฎการใชระบบหนวย SI ในการเขียนปริมาณหนวยระบบ SI Unit มีขอกําหนด ดังนี้ 1. สัญลักษณของระบบหนวยจะเขียนดวยอักษรโรมันตัวปกติ ไมมีชองวางระหวางสัญลักษณ

และตองมีจํานวนปริมาณอยูขางหนาเสมอ เชน ปริมาณความยาว 1 กิโลเมตร เขียนแทนดวย 1 km ไมใช 1 mk

2. สัญลักษณของระบบหนวยจะถือความหมายเชิงคณิตศาสตร ไมใชตัวยอ จึงไมลงทายดวยจุดมหัพภาค “ . ” เชน ปริมาณมวลน้ําหนัก 10 กิโลกรัม เขียนแทนดวย 10 kg ไมใช 10 kg. ยกเวน ปริมาณนั้นจะเปนคําทายของภาษาอังกฤษ

3. ปริมาณท่ีมีจํานวน ใหเขียนเปนกลุม กลุมละ 3 ตําแหนง ทั้งที่อยูสวนหนาและสวนหลังของจุดทศนิยมโดยไมตองใสเครื่องหมายใดๆ เชน ปริมาณความยาวหนึ่งลานหกแสนหาหมื่นหาสิบหาจุดศูนยสองแปดหน่ึงเมตร เขียนแทนดวย 1 650 055.028 1 m ไมใช 1,650,055.0281 m ยกเวน ปริมาณท่ีอยูในการดําเนินการทางคณิตศาสตร ใหเขียนชิดกันได

4. ปริมาณที่คูณกัน สัญลักษณจะเปนหนวยอนุพันธ ใหเขียนดวยเครื่องหมายจุดกลาง “ ” เชน 5 นิวตันเมตร เขียนแทนดวย mN5 หรือ 5 N-m ไมใช 5 N m

5. ปริมาณท่ีหารกัน สัญลักษณจะเปนหนวยอนุพันธ ใหเขียนดวยเครื่องหมายทับ “ / ” หรือเขียนดวยเลขยกกําลังติดลบ โดยใหใชเครื่องหมายทับไดเพียงครั้งเดียว เชน สองเมตรตอวินาทีกําลังสอง เขียนแทนดวย 2sm2 หรือ -2sm2 หรือ -2sm2 ไมใช s/s/m2

1.4 คําอุปสรรค (Prefixes) ในหนวยวัดปริมาณหลักที่มีคามากๆ หรือมีคานอยๆ จะใชคําอุปสรรคหรือสวนที่ใชเติมหนา

ปริมาณเพื่อทําใหหนวยใหญขึ้นหรือทําใหหนวยเล็กลง คําอุปสรรคที่นิยมใชในการคํานวณทางกลศาสตรแสดงในตารางที่ 1.2

ตารางที่ 1.2 คําอุปสรรคทีใ่ชในกลศาสตร

ปริมาณ (Quantity)

ตัวคูณ(Exponential Form)

คําอุปสรรค(Prefix)

สัญลักษณ (SI Symbol)

1 000 000 000 910 กิกะ (giga) G 1 000 000 610 เมกะ (mega) M1 000 310 กิโล (kilo) k 100 210 เฮกโต (hecto) h

Page 15: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

16 กลศาสตร์วิศวกรรม

1.3.1 หนวยของการวัดมุม หนวยในการวัดมุมของสวนโคงในวงกลมจะมีหนวยเปน เรเดียน (Radian) สัญลักษณ “rad”

พิจารณารูปที่ 1.2 แสดงรูปวงกลม ซึ่งมีมุมภายในเทากับ rad2 ดังนั้นครึ่งวงกลมจะมีมุมภายในเทากับ rad มุม 1 rad (อานวา 1 เรเดียน) จะเทากับขนาดของมุมที่วัดจากจุดศูนยกลางวงกลมท่ีกางออกตามสวนโคง โดยท่ีสวนโคงนั้นจะตองมีความยาวเทากับคารัศมีของวงกลม หรืออาจใชหนวยการวัดมุมเปนหนวย องศา (Degree) ซึ่งเขียนในสัญลักษณ “ ° ” โดยคาความสัมพันธกันระหวางการวัดมุมหนวยเปนเรเดียนกับหนวยองศา แสดงไดดังนี้

จากมุมภายในวงกลม 360rad2

2360rad1

180rad1

โดยที่ 180rad

หรือ rad180

1

รูปที่ 1.2

การวัดมุมในระนาบ 3 มิติ หรือที่เรียกวา มุมตัน จะใชหนวยการวัดเปน สเตอเรเดียน (Steradian) สัญลักษณ “1 sr” โดยที่มุม 1 sr วัดไดจากจุดศูนยกลางของทรงกลมมีรัศมี r ที่วาดไปบนพื้นผิวของทรงกลมเอง ใหเกิดเปนรูปทรงกรวยมีพื้นที่ผิวท่ีฐานเทากับ r2

ความยาวสวนโคง1 rad2¶ rad

OO ความยาวรัศมี

บทที่ 1 กลศาสตร์ 17

1.3.2 กฎการใชระบบหนวย SI ในการเขียนปริมาณหนวยระบบ SI Unit มีขอกําหนด ดังนี้ 1. สัญลักษณของระบบหนวยจะเขียนดวยอักษรโรมันตัวปกติ ไมมีชองวางระหวางสัญลักษณ

และตองมีจํานวนปริมาณอยูขางหนาเสมอ เชน ปริมาณความยาว 1 กิโลเมตร เขียนแทนดวย 1 km ไมใช 1 mk

2. สัญลักษณของระบบหนวยจะถือความหมายเชิงคณิตศาสตร ไมใชตัวยอ จึงไมลงทายดวยจุดมหัพภาค “ . ” เชน ปริมาณมวลน้ําหนัก 10 กิโลกรัม เขียนแทนดวย 10 kg ไมใช 10 kg. ยกเวน ปริมาณนั้นจะเปนคําทายของภาษาอังกฤษ

3. ปริมาณท่ีมีจํานวน ใหเขียนเปนกลุม กลุมละ 3 ตําแหนง ทั้งที่อยูสวนหนาและสวนหลังของจุดทศนิยมโดยไมตองใสเครื่องหมายใดๆ เชน ปริมาณความยาวหนึ่งลานหกแสนหาหมื่นหาสิบหาจุดศูนยสองแปดหน่ึงเมตร เขียนแทนดวย 1 650 055.028 1 m ไมใช 1,650,055.0281 m ยกเวน ปริมาณที่อยูในการดําเนินการทางคณิตศาสตร ใหเขียนชิดกันได

4. ปริมาณที่คูณกัน สัญลักษณจะเปนหนวยอนุพันธ ใหเขียนดวยเครื่องหมายจุดกลาง “ ” เชน 5 นิวตันเมตร เขียนแทนดวย mN5 หรือ 5 N-m ไมใช 5 N m

5. ปริมาณที่หารกัน สัญลักษณจะเปนหนวยอนุพันธ ใหเขียนดวยเครื่องหมายทับ “ / ” หรือเขียนดวยเลขยกกําลังติดลบ โดยใหใชเครื่องหมายทับไดเพียงครั้งเดียว เชน สองเมตรตอวินาทีกําลังสอง เขียนแทนดวย 2sm2 หรือ -2sm2 หรือ -2sm2 ไมใช s/s/m2

1.4 คําอุปสรรค (Prefixes) ในหนวยวัดปริมาณหลักที่มีคามากๆ หรือมีคานอยๆ จะใชคําอุปสรรคหรือสวนที่ใชเติมหนา

ปริมาณเพ่ือทําใหหนวยใหญขึ้นหรือทําใหหนวยเล็กลง คําอุปสรรคที่นิยมใชในการคํานวณทางกลศาสตรแสดงในตารางที่ 1.2

ตารางที่ 1.2 คําอุปสรรคทีใ่ชในกลศาสตร

ปริมาณ (Quantity)

ตัวคูณ(Exponential Form)

คําอุปสรรค(Prefix)

สัญลักษณ (SI Symbol)

1 000 000 000 910 กิกะ (giga) G 1 000 000 610 เมกะ (mega) M1 000 310 กิโล (kilo) k 100 210 เฮกโต (hecto) h

Page 16: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

18 กลศาสตร์วิศวกรรม

ตารางที่ 1.2 (ตอ) คําอุปสรรคทีใ่ชในกลศาสตร

ปริมาณ (Quantity)

ตัวคูณ(Exponential Form)

คําอุปสรรค(Prefix)

สัญลักษณ(SI Symbol)

0.01 210 เซนติ (centi) c 0.001 310 มิลลิ (milli) m 0.000 001 610 ไมโคร (micro) 0.000 000 001 910 นาโน (nano) n

1.4.1 กฎการใชคําอุปสรรค ในการใชคําอุปสรรคจะใหใชไดเพียงตัวเดียวเพ่ือคูณหรือหารเขาในหนวยปริมาณหลักหรือ

หนวยอนุพันธ เชน ปริมาณโมเมนต mN1015 6 เขียนแทนดวย mMN15 ไมใช mNkk15

1.5 เลขนัยสําคัญ (Significant Figures)

เลขนัยสําคัญ (Significant Figures) คือตัวเลขแสดงความเท่ียงตรงที่บอกปริมาณของที่วัดได มีหลักการพิจารณาดังนี้

1. ตัวเลขที่ไมใช 0 คือตัวเลขนัยสําคัญทั้งหมด เชน 5976 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 4 ตําแหนง, 56289 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 5 ตําแหนง

2. ตัวเลข 0 ที่อยูหนาตัวเลขอื่นไมถือเปนเลขนัยสําคัญ เชน 5.0 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 1 ตําแหนง, 877000.0 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 3 ตําแหนง

3. ตัวเลข 0 ที่อยูหลังตัวเลขอื่นถือเปนเลขนัยสําคัญ เชน 700.00015 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 8 ตําแหนง, 0.50033 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 5 ตําแหนง

4. ในการคํานวณทางกลศาสตรนิยมใชปริมาณตัวเลขอยูในรูปของสัญกรณทางวิทยาศาสตร โดยใหถือวาตัวเลขที่ไมใชเลขยกกําลังฐาน 10 เปนเลขนัยสําคัญ เชน -3107.5 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 2 ตําแหนง, 910637.15 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 5 ตําแหนง

ในการแสดงปริมาณที่ไดจากการคํานวณจะตองมีเลขนัยสําคัญไมมากไปกวาจํานวนนอยที่สุดของตําแหนงเลขนัยสําคัญที่โจทยปญหากําหนดคามาให และในการปดเศษเพื่อใหไดมาซึ่งปริมาณเลขนัยสําคัญดังกลาวจะถือเอาจํานวนเลข 5 เปนเกณฑ กลาวคือ เม่ือปริมาณหนาเปนตัวเลขมากกวาหรือเทากับ 5 จํานวนดังกลาว ใหทําการปดคาขึ้นโดยเพิ่มคาไปอีกเทากับ +1 แตถาตํ่ากวา 5 ใหใชจํานวน

บทที่ 1 กลศาสตร์ 19

เทาเดิม เชน โจทยกําหนด 5.18258.3 คาที่ไดจากการคํานวณคือ 16.876 44 แตจากโจทยมีเลขนัยสําคัญจํานวนนอยที่สุดคือ 3 ตําแหนง คําตอบตามเลขนัยสําคัญคือ 8.16 แตตัวเลขสุดทายคือ 8 มีตัวเลขตามหลังที่ถูกตัดทิ้งไปคือ 7 เปนจํานวนที่มากกวา 5 จํานวนเลข 8 ดังกลาวจะตองถูกปดขึ้นโดยเพิ่มคาไปอีกเทากับ +1 ดังนั้นคําตอบที่ไดจากการปดเศษคือ 9.16

1.6 กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน (Newton’s Laws of Motion)

เซอรไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) เปนนักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ไดพบปริศนาที่วาอะไรที่ทําใหผลแอปเปลตกสูพื้นดินได จากปญหาดังกลาวนําเขาไปสูการคนพบกฎการเคลื่อนที่ 3 ขอ ซึ่งเปนพื้นฐานในวิชา กลศาสตรวิศวกรรม

1.6.1 กฎขอท่ี 1 (First Law) “วัตถุจะพยายามรักษาสภาวะท่ีหยุดนิ่งหรือสภาวะการเคล่ือนที่เปนเสนตรงดวยความเร็วคงที่

ตราบท่ียังไมมีแรงลัพธที่มีคาไมเปนศูนยมากระทํา” กฎขอนี้เปนพื้นฐานในการพิจารณาสมดุลของแรง

1.6.2 กฎขอท่ี 2 (Second Law) “ความเรงของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทําตอวัตถุ แตจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ” ถาให

มวลสารเทากับ m จะเขียนสมการไดวา aF m (1.1) โดยที่ F = แรงลัพธที่กระทําตออนุภาค a = ผลลัพธของความเรงสมบูรณของอนุภาคนั้น

สมการที่ (1.1) ที่ไดนี้เปนสมการเวกเตอร โดยทิศทางของ a จะตองไปในทางเดียวกันกับทิศทางของ F และใชเปนพื้นฐานในการวิเคราะหหลักการทางพลศาสตร (Dynamics)

1.6.3 กฎขอท่ี 3 (Third Law) “วัตถุชิ้นท่ีหนึ่งออกแรงกระทําตอวัตถุชิ้นท่ีสอง วัตถุชิ้นท่ีสองจะออกแรงกระทําโตตอบวัตถุชิ้น

ที่หนึ่งดวยแรงขนาดเดียวกัน แตมีทิศทางตรงขามกัน” กฎขอนี้เรียกวา กฎของกิริยาและปฏิกิริยา (Law of Action and Reaction) ซึ่งแสดงใหเห็นวา ในทุกแรงกิริยาตองมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอ

Page 17: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

18 กลศาสตร์วิศวกรรม

ตารางที่ 1.2 (ตอ) คําอุปสรรคทีใ่ชในกลศาสตร

ปริมาณ (Quantity)

ตัวคูณ(Exponential Form)

คําอุปสรรค(Prefix)

สัญลักษณ(SI Symbol)

0.01 210 เซนติ (centi) c 0.001 310 มิลลิ (milli) m 0.000 001 610 ไมโคร (micro) 0.000 000 001 910 นาโน (nano) n

1.4.1 กฎการใชคําอุปสรรค ในการใชคําอุปสรรคจะใหใชไดเพียงตัวเดียวเพ่ือคูณหรือหารเขาในหนวยปริมาณหลักหรือ

หนวยอนุพันธ เชน ปริมาณโมเมนต mN1015 6 เขียนแทนดวย mMN15 ไมใช mNkk15

1.5 เลขนัยสําคัญ (Significant Figures)

เลขนัยสําคัญ (Significant Figures) คือตัวเลขแสดงความเท่ียงตรงที่บอกปริมาณของที่วัดได มีหลักการพิจารณาดังนี้

1. ตัวเลขที่ไมใช 0 คือตัวเลขนัยสําคัญทั้งหมด เชน 5976 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 4 ตําแหนง, 56289 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 5 ตําแหนง

2. ตัวเลข 0 ที่อยูหนาตัวเลขอื่นไมถือเปนเลขนัยสําคัญ เชน 5.0 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 1 ตําแหนง, 877000.0 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 3 ตําแหนง

3. ตัวเลข 0 ที่อยูหลังตัวเลขอื่นถือเปนเลขนัยสําคัญ เชน 700.00015 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 8 ตําแหนง, 0.50033 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 5 ตําแหนง

4. ในการคํานวณทางกลศาสตรนิยมใชปริมาณตัวเลขอยูในรูปของสัญกรณทางวิทยาศาสตร โดยใหถือวาตัวเลขที่ไมใชเลขยกกําลังฐาน 10 เปนเลขนัยสําคัญ เชน -3107.5 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 2 ตําแหนง, 910637.15 ปริมาณดังกลาวมีเลขนัยสําคัญ 5 ตําแหนง

ในการแสดงปริมาณที่ไดจากการคํานวณจะตองมีเลขนัยสําคัญไมมากไปกวาจํานวนนอยที่สุดของตําแหนงเลขนัยสําคัญที่โจทยปญหากําหนดคามาให และในการปดเศษเพื่อใหไดมาซึ่งปริมาณเลขนัยสําคัญดังกลาวจะถือเอาจํานวนเลข 5 เปนเกณฑ กลาวคือ เมื่อปริมาณหนาเปนตัวเลขมากกวาหรือเทากับ 5 จํานวนดังกลาว ใหทําการปดคาขึ้นโดยเพิ่มคาไปอีกเทากับ +1 แตถาตํ่ากวา 5 ใหใชจํานวน

บทที่ 1 กลศาสตร์ 19

เทาเดิม เชน โจทยกําหนด 5.18258.3 คาที่ไดจากการคํานวณคือ 16.876 44 แตจากโจทยมีเลขนัยสําคัญจํานวนนอยที่สุดคือ 3 ตําแหนง คําตอบตามเลขนัยสําคัญคือ 8.16 แตตัวเลขสุดทายคือ 8 มีตัวเลขตามหลังที่ถูกตัดทิ้งไปคือ 7 เปนจํานวนที่มากกวา 5 จํานวนเลข 8 ดังกลาวจะตองถูกปดขึ้นโดยเพิ่มคาไปอีกเทากับ +1 ดังนั้นคําตอบที่ไดจากการปดเศษคือ 9.16

1.6 กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน (Newton’s Laws of Motion)

เซอรไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) เปนนักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ไดพบปริศนาที่วาอะไรที่ทําใหผลแอปเปลตกสูพื้นดินได จากปญหาดังกลาวนําเขาไปสูการคนพบกฎการเคลื่อนที่ 3 ขอ ซึ่งเปนพื้นฐานในวิชา กลศาสตรวิศวกรรม

1.6.1 กฎขอท่ี 1 (First Law) “วัตถุจะพยายามรักษาสภาวะท่ีหยุดนิ่งหรือสภาวะการเคล่ือนที่เปนเสนตรงดวยความเร็วคงที่

ตราบท่ียังไมมีแรงลัพธที่มีคาไมเปนศูนยมากระทํา” กฎขอนี้เปนพื้นฐานในการพิจารณาสมดุลของแรง

1.6.2 กฎขอท่ี 2 (Second Law) “ความเรงของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทําตอวัตถุ แตจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ” ถาให

มวลสารเทากับ m จะเขียนสมการไดวา aF m (1.1) โดยที่ F = แรงลัพธที่กระทําตออนุภาค a = ผลลัพธของความเรงสมบูรณของอนุภาคนั้น

สมการที่ (1.1) ที่ไดนี้เปนสมการเวกเตอร โดยทิศทางของ a จะตองไปในทางเดียวกันกับทิศทางของ F และใชเปนพื้นฐานในการวิเคราะหหลักการทางพลศาสตร (Dynamics)

1.6.3 กฎขอท่ี 3 (Third Law) “วัตถุชิ้นที่หนึ่งออกแรงกระทําตอวัตถุชิ้นที่สอง วัตถุชิ้นท่ีสองจะออกแรงกระทําโตตอบวัตถุชิ้น

ที่หนึ่งดวยแรงขนาดเดียวกัน แตมีทิศทางตรงขามกัน” กฎขอนี้เรียกวา กฎของกิริยาและปฏิกิริยา (Law of Action and Reaction) ซึ่งแสดงใหเห็นวา ในทุกแรงกิริยาตองมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอ

Page 18: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

20 กลศาสตร์วิศวกรรม

1.7 กฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) การคนพบกฎทั้ง 3 ขอของ เซอรไอแซก นิวตัน ดังที่กลาวมาขางตน ไดทําใหเขาไดคนพบ “กฎ

ความโนมถวงแหงเอกภพ (The Law of Universal)” หรือกฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) นั่นคืออนุภาค 2 ชิ้นดึงดูดกันดวยแรงซึ่งแปรผันตามมวลของอนุภาค แตแปรผกผันกับระยะทางระหวางอนุภาคยกกําลังสอง ซึ่งเขียนในรูปสมการไดวา

221GF

rmm

(1.2)

โดยที่ F = แรงดึงดูดซึ่งกันและกันระหวางสองอนุภาคหรือแรงโนมถวงระหวางมวล G = คาคงที่ของความโนมถวงที่ไดมาจากผลการทดลอง ซึ่งถือเปนคาที่ใชไดทั้งจักรวาล

มีคาเทากับ 2

312-

skgm1066.73G

1m , 2m = มวลสารของสองอนุภาค r = ระยะทางระหวางจุดศูนยกลางของมวลสารทั้งสองอนุภาค

รูปที่ 1.3

1.8 นํ้าหนัก (Weight) พิจารณารูปที่ 1.3 ถาใหอนุภาค eMm 1 คือมวลของโลก และ mm 2 คือมวลของอนุภาค

วัตถุหนึ่ง โดยที่อนุภาคนั้นอยูใกลพื้นผิวมาก ถาระยะรัศมีของโลกคือ eRr จากสมการที่ (1.2) จะไดคาน้ําหนัก (W) ของอนุภาควัตถุดังกลาวในเทอมของแรงดึงดูดของโลก มีหนวยในระบบ SI เปน N คือ

F

F

r

m2

m1

บทที่ 1 กลศาสตร์ 21

2GWRmMe (1.3)

ถากําหนดให 2GgRMe

สมการท่ี (1.3) คือ gW m (1.4)

คา g คือคาความเรงเนื่องจากความโนมถวงของโลก โดยมีคาประมาณ 2sm9.81g

ใน

ระบบหนวย SI

จงเปลี่ยนปริมาณความยาว m0855 เปนหนวย km วิธีทํา m

10k10855m0855 3

km085.5 ตอบ

พื้นท่ีหองกวาง m55.4 ยาว m515.10 จงหาพื้นท่ีของหองนี้โดยคําตอบเปนเลขนัยสําคัญ วิธีทํา mm515.1055.4 2m25843.47 2m8.47 ตอบ

วัตถุมีความหนาแนน 3cmg8.76 จงเปลี่ยนเปนหนวย 3m

kg

วิธีทํา

332-

3

33 cmg

10

c110k18.76

cmg8.76

36-3 m

kg1018.76

 

ตัวอยางที่ 1.1

ตัวอยางที่ 1.2

ตัวอยางที่ 1.3

Page 19: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

20 กลศาสตร์วิศวกรรม

1.7 กฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) การคนพบกฎทั้ง 3 ขอของ เซอรไอแซก นิวตัน ดังที่กลาวมาขางตน ไดทําใหเขาไดคนพบ “กฎ

ความโนมถวงแหงเอกภพ (The Law of Universal)” หรือกฎของความโนมถวง (Law of Gravitation) นั่นคืออนุภาค 2 ชิ้นดึงดูดกันดวยแรงซึ่งแปรผันตามมวลของอนุภาค แตแปรผกผันกับระยะทางระหวางอนุภาคยกกําลังสอง ซึ่งเขียนในรูปสมการไดวา

221GF

rmm

(1.2)

โดยที่ F = แรงดึงดูดซึ่งกันและกันระหวางสองอนุภาคหรือแรงโนมถวงระหวางมวล G = คาคงที่ของความโนมถวงที่ไดมาจากผลการทดลอง ซึ่งถือเปนคาที่ใชไดทั้งจักรวาล

มีคาเทากับ 2

312-

skgm1066.73G

1m , 2m = มวลสารของสองอนุภาค r = ระยะทางระหวางจุดศูนยกลางของมวลสารทั้งสองอนุภาค

รูปที่ 1.3

1.8 นํ้าหนัก (Weight) พิจารณารูปที่ 1.3 ถาใหอนุภาค eMm 1 คือมวลของโลก และ mm 2 คือมวลของอนุภาค

วัตถุหนึ่ง โดยที่อนุภาคนั้นอยูใกลพื้นผิวมาก ถาระยะรัศมีของโลกคือ eRr จากสมการที่ (1.2) จะไดคาน้ําหนัก (W) ของอนุภาควัตถุดังกลาวในเทอมของแรงดึงดูดของโลก มีหนวยในระบบ SI เปน N คือ

F

F

r

m2

m1

บทที่ 1 กลศาสตร์ 21

2GWRmMe (1.3)

ถากําหนดให 2GgRMe

สมการท่ี (1.3) คือ gW m (1.4)

คา g คือคาความเรงเนื่องจากความโนมถวงของโลก โดยมีคาประมาณ 2sm9.81g

ใน

ระบบหนวย SI

จงเปลี่ยนปริมาณความยาว m0855 เปนหนวย km วิธีทํา m

10k10855m0855 3

km085.5 ตอบ

พื้นที่หองกวาง m55.4 ยาว m515.10 จงหาพื้นที่ของหองนี้โดยคําตอบเปนเลขนัยสําคัญ วิธีทํา mm515.1055.4 2m25843.47 2m8.47 ตอบ

วัตถุมีความหนาแนน 3cmg8.76 จงเปลี่ยนเปนหนวย 3m

kg

วิธีทํา

332-

3

33 cmg

10

c110k18.76

cmg8.76

36-3 m

kg1018.76

 

ตัวอยางที่ 1.1

ตัวอยางที่ 1.2

ตัวอยางที่ 1.3

Page 20: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก

22 กลศาสตร์วิศวกรรม

33- m

kg1018.76

33

mkg10760.8 ตอบ

จงคํานวณหาคาของ 2kN002.0MN045.6

วิธีทํา 22323

62 kNMN

k110102

M110045.6kN002.0MN045.6

36-66 N1010104045.6

3N00018024 36 N1018.24 3NM18.24 ตอบ

ยานอวกาศมีมวล kg200 โคจรอยูใกลพื้นผิวรอบดวงจันทร โดยมีคาความเรงเนื่องจากความโนมถวง 2m s

m1.62g จงคํานวณหาน้ําหนักของยานอวกาศลําดังกลาวที่อยูบนพื้นผิว

ของดวงจันทรและโลก วิธีทํา น้ําหนักของยานอวกาศท่ีอยูบนพื้นผิวดวงจันทร mgW m

2smkg62.1200

N324 ตอบ น้ําหนักของยานอวกาศท่ีอยูบนพื้นผิวโลก gW m

2smkg81.9200

= 1 962 N ตอบ

ตัวอยางที่ 1.4

ตัวอยางที่ 1.5

บทที่ 1 กลศาสตร์ 23

กลศาสตร (Mechanics) เปนแขนงของสาขาวิชาวิทยาศาสตร-ฟสิกส มีเนื้อหาเกี่ยวของกับเรื่องของแรงและผลของแรง โดยที่วัตถุอยูในสภาวะหยุดนิ่งหรือเคล่ือนที่ ซึ่งวิชากลศาสตรนั้นไดมีการศึกษาแบงออกเปนหลักการใหญๆ ได 2 หลักการคือ สถิตยศาสตร (Statics) และพลศาสตร (Dynamics) โดยในที่นี้จะอธิบายในหลักการของสถิตยศาสตร

ระบบหนวยวัดระหวางประเทศ (International System of Units) เรียกยอวา SI Unite ใชวัดปริมาณตางๆ หนวยวัดปริมาณหลักที่ใชในกลศาสตร ไดแก ความยาว หนวยวัดคือ เมตร m , เวลา หนวยวัดคือ วินาที s , มวล หนวยวัดคือ กิโลกรัม kg , และ แรง หนวยวัดคือ นิวตัน N

หนวยวัดปริมาณหลักที่จะใชคําอุปสรรคเขาชวยเพ่ือใหการเขียนปริมาณตัวเลขนอยลง ไดแก G (giga) ตัวคูณคือ 910 , M (mega) ตัวคูณคือ 610 , k (kilo) ตัวคูณคือ 310 , m (milli) ตัวคูณคือ

310 เซอรไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ไดคนพบกฎการเคลื่อนที่ 3 ขอ ซึ่งเปนพื้นฐานในวิชา

กลศาสตรวิศวกรรม กฎขอที่ 1 (First Law) “วัตถุจะพยายามรักษาสภาวะท่ีหยุดนิ่งหรือสภาวะการเคลื่อนที่เปน

เสนตรงดวยความเร็วคงที่ ตราบท่ียังไมมีแรงลัพธที่มีคาไมเปนศูนยมากระทํา” กฎขอที่ 2 (Second Law) “ความเรงของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทําตอวัตถุ แตจะแปร

ผกผันกับมวลของวัตถุ” aF m (1.1)

กฎขอที่ 3 (Third Law) “วัตถุชิ้นที่หนึ่งออกแรงกระทําตอวัตถุชิ้นที่สอง วัตถุชิ้นที่สองจะออกแรง กระทําโตตอบวัตถุชิ้นที่หนึ่งดวยแรงขนาดเดียวกัน แตมีทิศทางตรงขามกัน”

กฎความโนมถวงแหงเอกภพ (The Law of Universal) หรือกฎของความโนมถวง (Law of Gravitation)

221GF

rmm

(1.2)

2GWRmMe

(1.3) gW m (1.4)

Page 21: กลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Mechanics) · 3. แสดงความรู เกี่ับหลักการคํยวก านวณเกี่ับแรงกระจายและสถิยวก