engineering mechanics i: statics กลศาสตร์วิศวกรรม ......engineering...

36
ENGINEERING MECHANICS I: STATICS กลศาสตร์วิศวกรรม 1: สถิตยศาสตร์ โดย อ.ดร. เจษฎาภรณ์ ปริยดากล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Upload: others

Post on 10-Feb-2021

61 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

  • ENGINEERING MECHANICS I: STATICSกลศาสตร์วศิวกรรม 1: สถิตยศาสตร์

    โดย อ.ดร. เจษฎาภรณ์ ปริยด ากลภาควชิาวศิวกรรมเคร่ืองกล

    คณะวศิวกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยัมหิดล

  • อธิบายรายวิชา

    รหัสรายวิชา: วศคก 121 กลศาสตร์วศิวกรรม 1

    EGME 121 Engineering Mechanics I

    วชิาทีต้่องศึกษามาก่อน: วทฟส 151 ฟิสิกส์ทัว่ไป 1 (SCPY 151 General physics)

    เน้ือหา:

    ระบบแรงต่างๆ การวเิคราะห์สมดุล การวเิคราะห์โครงสร้าง ความเสียดทาน หลกัการของงานเสมือน เสถียรภาพ โมเมนตค์วามเฉ่ือยของพื้นท่ี

  • แผนการบรรยายสปัดาหท่ี์ เน้ือหา

    1 บทท่ี 1 บทน า (introduction to statics): กลศาสตร ์แนวคิดพ้ืนฐาน ปริมาณ กฎนิวตนั

    2-3 บทท่ี 2 ระบบแรง (force systems)

    4-5 บทท่ี 3 สภาพสมดลุ (equilibrium)

    6-7 บทท่ี 4 โครงสรา้ง (structures)

    8 สอบกลางภาค

    9-10 บทท่ี 5 แรงกระจาย (distribution forces)

    11-12 บทท่ี 6 แรงเสียดทาน (friction)

    13 บทท่ี 7 งานเสมือน (virtual work)

    14 บทท่ี 8 โมเมนตค์วามเฉ่ือยของพ้ืนท่ี (Area Moment of Inertia)

    15 สอบปลายภาค

  • การวดัผล

    คะแนน

    สอบกลางภาค 35%

    สอบปลายภาค 45%

    การเขา้เรียน ตรงตอ่เวลา 5%

    การบา้น หรือ สอบยอ่ย 15%

    รวม 100%

  • เอกสารประกอบการสอน

    1. J.L. Meriam, L,G, Kraige, Engineering Mechanics: Statics.

    2. R.C. Hibbeler, Engineering Mechanics: Statics.

  • ENGINEERING MECHANICS: STATICSบทท่ี 1: บทน า กฎนิวตนั ระบบหน่วย และความรู้พื้นฐานของแรง

  • Outline

    1. บทน ำ2. นิยำมพืน้ฐำน3. กฎนิวตนั4. ระบบหน่วย5. ควำมรู้พืน้ฐำนของแรง

  • กลศาสตร์

    กลศาสคร์ของ ของไหลยบุตวัไม่ได ้(Incompressible

    fluids)

    กลศาสตร์ของของไหล (Fluids Mechanics)

    กลศาสตร์ของวตัถุท่ีเสียรูปได้(Mechanics of deformable body)

    กลศาสตร์ของวตัถุแขง็เกร็ง(Mechanics of rigid bodies)

    กลศาสคร์ของ ของไหลยบุตวัได ้

    (Compressible fluids)

    กลศาสคร์ของวสัดุ(Mechanics of

    Materials)

    พลศาสตร์ (Dynamics)

    สถิตยศาสตร์(Statics)

    บทที่ 1 บทน าวิชำกลศำสตร์ (Mechanics) เป็นสำขำวิชำทำงฟิสิกส์ซึ่งศึกษำสภำพหยดุน่ิงหรือเคลื่อนท่ีของวตัถเุม่ืออยู่ภำยใต้กำรกระท ำของแรง

  • 9

    บทที่ 1 บทน า

    กลศาสตร์ของวตัถุแขง็เกร็ง (Mechanics of rigid body)แบ่งเป็น

    1) สถิตยสาสตร์ (Statics) – กลศาสตร์ท่ีวิเคราะห์แรงและการแกปั้ญหาของระบบแรงท่ีกระท าต่อวตัถุหน่ึงภายใตภ้าวะสมดุล

    2) พลศาสตร์ (Dynamics) – กลศาสตร์ท่ีศึกษาการเคล่ือนท่ีของวตัถุหน่ึงๆภายใตก้ารกระท าของแรง

  • 10

    ตัวอย่างแรงท่ีกระท าต่อโครงสร้างต่างๆ

    บทที่ 1 บทน า

    (Ref. [2])

  • ตัวอย่างแรงท่ีกระท าต่อโครงสร้างต่างๆ

    (Ref. [1],[2])

    บทที่ 1 บทน า

  • ➢ สเปซ (Space) พื้นท่ีซ่ึงวตัถุท่ีพิจารณาอยูใ่นพื้นท่ีดงักล่าว โดยการระบุต าแหน่งต่างๆ ภายในสเปซ สามารถก าหนดไดโ้ดยระบบพิกดั เช่น ปัญหา 2D ระบุในพิกดั x,y หรือ r,ปัญหา 3D ระบุในพิกดั x,y,z หรือ r,,z

    ➢ เวลา (time) เป็นการวดัความต่อเน่ืองของเหตุการณ์และใชร้ะบุเหตุการณ์

    ➢ มวล (mass) เป็นลกัษณะเฉพาะของวตัถุ เช่นวตัถุรูปร่างต่างกนั มีมวลเท่ากนั จะถูกโลกดึงดูดเท่ากนั

    ➢ แรง (force) เป็นตวัแทนของการกระท าต่อวตัถุ ประกอบดว้ย ขนาด(Magnitude), ทิศทาง(Direction), และจุดกระท า(Point of application)สามารถแทนไดด้ว้ย เวคเตอร์

    บทที่ 1 นิยามพ้ืนฐาน

  • (ต่อ)

    ➢ อนุภาค (Particle) คือสารขนาดเลก็ สามารถแทนไดด้ว้ยจุดเลก็ในสเปซ

    ➢ วตัถุแข็งเกร็ง (Rigid body) หมายถึงกลุ่มของอนุภาคท่ีอยูร่วมกนัซ่ึงมีต าแหน่งแน่นอน และไม่มีการเปล่ียนแปลงเม่ือมีแรงมากระท า

    (ไม่มีการเสียรูปเน่ืองจากแรงกระท า แต่ในความเป็นจริงจะเสียรูปเลก็นอ้ยเสมอ)

    บทที่ 1 นิยามพ้ืนฐาน

  • • กฎข้อที่ 1 ถ้ำแรงลัพธ์ท่ีกระท ำกบัอนภุำคมีคำ่เท่ากับศูนย์ อนภุำคนัน้จะหยดุนิ่ง (ถ้ำเดิมอยู่นิ่ง)หรือจะเคลื่อนไปในแนวเส้นตรงด้วยควำมเร็วคงท่ี (ถ้ำเดิมเคลื่อนท่ีอยูแ่ล้ว) เขียนเป็นสมกำร

    • กฎข้อที่ 2 ถ้ำแรงลัพธ์ท่ีกระท ำกบัอนภุำคไม่เท่ากับศูนย์ อนุภำคนัน้จะเคลื่อนท่ีด้วยควำมเร่ง ท่ีแปรผันตรงกับขนำดของแรงลพัธ์ และไปในทิศทำงเดียวกบัแรงลพัธ์ เขียนเป็นสมกำร

    • กฎข้อที่ 3 แรงกระท ำ และแรงปฏิกิริยำ (action and reaction force) ระหวำ่งวตัถุท่ีสมัผสักนั มีขนำดเท่ำกนั + อยูใ่นแนวเดียวกนั แต่มีทิศทำงตรงกนัข้ำม

    บทที่ 1 กฎของนิวตนั

  • • กฎการโน้มถ่วงของนิวตนั (Newton’s Law of Gravitational Attraction)

    หากมีอนุภาค 2 อนุภาคท่ีมีมวล m1 และ m2 อนุภาคทั้งสองจะมีแรงดึงดูดระหว่างกนั โดยแรงท่ีกระท ามีขนาดเท่ากนัแต่มีทิศทางตรงกนัขา้ม

    บทที่ 1 กฎของนิวตนั

    r คือ ระยะห่างระหวา่งอนุภาค G คือ ค่านิจโนม้ถ่วงสากล

    1 2

    2

    m mF G

    r (Ref. [1])

  • Ex.

    W = (1 kg)(9.81 m/𝑠2)= 9.81 N

    บทที่ 1 กฎของนิวตนั

    สมกำรทัว่ไป

    สมกำรส ำหรับโลก 𝐹 = 𝑊 = 𝑚 𝐺𝑀𝑟2

    โดย m = มวลของอนภุำค, M = มวลของโลก, r = รัศมีของโลก

    ให้ 𝑔 = 𝐺𝑀𝑟2

    𝑊 = 𝑚𝑔

    เม่ือ W = ขนำด น ำ้หนกัของวตัถ ุ(Newton, N)

    g = คำ่คงท่ี เรียกวำ่คำ่ควำมเร่งเน่ืองจำกแรงโน้มถ่วงของโลก

    = 9.81 m/𝑠2

    1 2

    2

    m mF G

    r

  • บทที่ 3 ระบบหน่วยPrefixes for SI units

    Exponential form Prefix SI symbol

    Multiple

    1,000,000,000 109 giga G

    1,000,000 106 mega M

    1,000 103 kilo k

    Submultiple

    0.001 10-3 milli m

    0.000001 10-6 micro

    0.00000001 10-9 nano n

  • บทที่ 3 ระบบหน่วยกฏการใช้หน่วย SI1. ในกรณีท่ีเป็นหน่วยแบบผสม ให้แยกกนัโดยใช้จดุ ∙ (dot) เพ่ือปอ้งกนักำรสบัสนกบั Prefix เช่น

    N = kg∙m/s2 = kg∙m∙s-2 และ m∙s = meter-second, ms = milli-second

    2. เลขยกก ำลงัส ำหรับหน่วยท่ีมี prefix ให้ยกก ำลงัทัง้ หน่วย และ prefixμN2 = (μN)2= μN ∙ μN

    3. ไมนิ่ยมใช้ prefix กบัตวัหำร ส ำหรับหน่วยแบบผสม (ยกเว้นหน่วย kg)N/mm → kN/m , m/mg → Mm/kg

    4. เม่ือมีกำรค ำนวนให้แปลง prefix ไปเป็นเลขยกก ำลงัของ 10 จำกนัน้ค ำตอบสดุท้ำยให้แสดงด้วย single prefix

    [50 kN][60 nm] = [50x103 N][60x10-9 m]

    = 3000x10-6 N∙m = 3x10-3 N∙m = 3 mN∙m

  • ตวัอยา่งท่ี 1.1

    Evaluate each of the following and express with SI units having an appropriate prefix:

    (a) (50 mN)(6 GN)

    (b) (400 mm)(0.6 MN)2

    (c) 45 MN3/900Gg.

    Ans: (a) 300 kN2 (b) 144 Gm∙N2 (c) 50 kN3/kg

    19

  • บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง

    1. เวกเตอร์ (Vector)2. กำรบวกลบเวกเตอร์3. กำรวิเครำะห์และแก้ปัญหำเก่ียวกบั Vector เพื่อหำเวกเตอร์ลพัธ์ และเวกเตอร์ย่อย4. ระบบแรง ใน 2 มิติ

  • บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง

    1. เวกเตอร์ (Vector)คือปริมำณท่ีมีทัง้ขนำด (Magnitude) และทิศทำง (Direction) เช่น ควำมเร็ว

    (Velocity) แรง (Force) และโมเมนต์ (Moment) เป็นต้น

    Ref. (2)

  • บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง2. การบวกลบเวกเตอร์

    2.1 กฎสี่เหลี่ยมด้ำนขนำน

    2.2 กำรสร้ำงสำมเหลี่ยม

    Ref. (2)

  • บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง

    2.3 กำรรวมแรงท่ีขนำนกนั

    Ref. (2)

  • บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง

    3. การวิเคราะห์และแก้ปัญหาเก่ียวกับ Vector เพื่อหาเวกเตอร์ลัพธ์ และเวกเตอร์ย่อย

    - กฎสี่เหลี่ยมด้ำนขนำน - วิธีกำรสร้ำงสำมเหลี่ยม - Sine law

    𝐴

    sin 𝑎=

    𝐵

    sin 𝑏=

    𝐶

    sin 𝑐

    - Cosine law

    C = 𝐴2 + 𝐵2 − 2𝐴𝐵𝑐𝑜𝑠 c

  • ตวัอยา่งท่ี 1.2The screw eye is subjected to two forces. Determine the magnitude and direction of the resultant force. Ans: FR = 212.55 N, ∅ = 54.76°

    Ref. (2)

  • ตวัอยา่งท่ี 1.3Determine the magnitudes of components acting along u and v axes.

    Ans: Fu= 1039.23 N, Fv= 600 N

    Ref. (2)

  • ตวัอยา่งท่ี 1.4Determine the magnitude of the component force F and the magnitude of the resultant force 𝐹𝑅 (if 𝐹𝑅 is directed along the positive y axis)

    Ans: F= 244.95 N, FR= 273.2 N

    Ref. (2)

  • บทท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง

    4. ระบบแรง ใน 2 มิติแรง (force) คือ กำรกระท ำของวตัถหุนึง่ตอ่วตัถอีุกชิน้หนึง่ โดยแรงจะพยำยำมให้วตัถเุคลื่อนที่ไปตำม

    แนวแรงนัน้ แรงประกอบด้วย

    1. ขนำด (magnitude)

    2. ทิศทำง (direction)

    3. ต ำแหน่งที่แรงกระท ำ (point of application)

  • บทที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง4. ระบบแรง ใน 2 มิต ิ(ต่อ)

    แรงบนระนำบ 2 มิต ิคือ กำรแยกหำองค์ประกอบของแรงทิศทำง แกน x และแกน y1. Scalar notation

    𝐹𝑥 = 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃

    𝐹𝑦 = 𝐹𝑠𝑖𝑛𝜃

    𝐹 = 𝐹𝑥2 + 𝐹𝑦

    2 (ขนำด)

    𝜃 = tan−1𝐹𝑦

    𝐹𝑥

    2. Cartesian Vector notation

    𝑭 = 𝐹𝑥𝐢 + 𝐹𝑦𝒋

    (Ref. [1])

  • บทที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานของแรง

    Cartesian Vector Notation

    Ref. (2)

  • ตวัอยา่งท่ี 1.5Determine the x and y components of F1 and F2 acting on the boom. Express each force as a Cartesian vector.

    Ans: 𝐹1= -100i +173.2j N, 𝐹2= 240i -100j N, റ𝐹= 140i +73.2j N

    Ref. (2)

  • ตวัอยา่งท่ี 1.6แรง F1 F2 และ F3 ซึง่กระท ำท่ีจดุ A ดงัภำพ ให้หำองค์ประกอบในแนวแกน x และ y

    Ans: F1x= 491.49 N, F1y= 344.14 N, F2x= -400 N,

    F2y= 300 N, F3x= 357.83 N, F3y= -715.51 N

    (Ref. [1])

    1 1

    2 2

    3 3

    , ?

    , ?

    , ?

    x y

    x y

    x y

    F F

    F F

    F F

  • ตวัอยา่งท่ี 1.7

    The link is subjected to two forces F1 and F2 . Determine the magnitude and direction of the resultant force.

    Ans: FR= 629.07 N, ∅ = 67.88°

    Ref. (2)

  • ตวัอยา่งท่ี 1.8ให้หำแรงลพัธ์ R ซึง่เกิดจำกแรง P และ T

    Ans: 𝑅= 346.42i – 392.77j N, R = 523.7 N, ∅= 48.58°

    (Ref. [1])

  • ตวัอยา่งท่ี 1.9Forces F1 and F2 act on the bracket as shown. Determine the projection Fb of their resultant R onto the b-axis. Ans: Fb= 144.3 N

    (Ref. [1])

  • [1] J.L. Meriam, L,G, Kraige, Engineering Mechanics: Statics.

    [2] R.C. Hibbeler, Engineering Mechanics: Statics.

    เอกสารอา้งอิง

    36