รายงานผลการประเมินคุณภาพ...

19
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร(ปริญญาตรี ) ปีการศึกษา 2559 (1 สิงหาคม 2559 31 พฤษภาคม 2560) รหัสหลักสูตร 25501941102723 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ. 2555 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วันที่รายงาน 13 เดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2560

Upload: others

Post on 20-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร(ปรญิญาตรี)

ปีการศึกษา 2559 (1 สิงหาคม 2559 – 31 พฤษภาคม 2560)

รหัสหลักสูตร 25501941102723 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

หลักสูตรปรับปรงุ ปี พ.ศ. 2555

คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

วันทีร่ายงาน 13 เดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2560

Page 2: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

สารบัญ หน้า

1. บทสรุปส าหรับผู้บริหาร 2 2. รายชื่อกรรมการผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 3 3. บทน า 4 - ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร 4 - ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา 6 4. ผลการประเมนิตามตัวบ่งชี้ 7 5. การวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร

13

6. รายงานผลการวิเคราะห์ จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา 15 7. ภาคผนวก 17

Page 3: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

1. บทสรุปส าหรับผู้บริหาร

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2558 “ได้มาตรฐาน”ตามมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีระดับคุณภาพจากผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (2.77 คะแนน) ตารางการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร

องค์ประกอบที่ I P O คะแนนเฉลี่ย

ผลการประเมิน 0.01 – 2.00 ระดบัคุณภาพน้อย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดบัคุณภาพด ี4.01 – 5.00 ระดบัคุณภาพดมีาก

1 การก ากับมาตรฐาน ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน 2 บัณฑิต - - 4.91 4.91 ระดับคุณภาพดีมาก 3 นักศึกษา 2.33 - - 2.33 ระดับคุณภาพปานกลาง 4 อาจารย์ 1.89 - - 1.89 ระดับคุณภาพน้อย 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

2.00 2.83 - 2.63 ระดับคุณภาพปานกลาง

6 สิ่งสนบัสนุนการเรียนรู ้ - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง รวม 2.09 2.88 4.91

ผลการประเมิน 2.77 ระดับคุณภาพปานกลาง จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้)

พบว่า องค์ประกอบที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.1) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ “ผ่าน” ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

จ านวน 1 องค์ประกอบ อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก (องค์ประกอบที่ 2) จ านวน 3 องค์ประกอบ อยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (องค์ประกอบที่ 3,5 และ 6) จ านวน 1 องค์ประกอบ อยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (องค์ประกอบที่ 4)

ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและจุดที่ควรพัฒนาจากการประเมินคุณภาพ ระดับหลักสูตร จุดเด่นและแนวทางเสริม

1.

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง 1. 2.

Page 4: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

2. รายชื่อกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปกีารศึกษา 2559

รหัสหลักสูตร 25501941102723 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

วันที่ 13 กรกฏาคม 2560

Page 5: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

3. บทน า

3.1 ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 25501941102723 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ หลักสูตรปรับปรุง ปี พ.ศ. 2555 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1. เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการวางแผน การวิเคราะห์ด้านออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

และการพัฒนาที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ 2. เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในวิชาชีพด้านการออกแบบแฟชั่นและสิ่ง

ทอ เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านแฟชั่นและสิ่งทออย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพ่ือผลิตบัณฑิตให้มีกิจนิสัยในความคิดริเริ่ม ค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้มีความก้าวหน้าอยู่เสมอ

สามารถแก้ไขปัญหาด้วยหลักการและเหตุผลปฏิบัติงานด้านหลักวิชาการที่มีการวางแผนและควบคุมอย่างรอบคอบ ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างรวดเร็วและมีคุณภาพ

4. เพ่ือผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร ส านึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม 3.2 ข้อมูลทั่วไป

1) อาจารย์ประจ าหลักสตูร (ตามเล่ม มคอ.2) ต าแหน่งทางวิชาการ ชื่ออาจารย์ประจ าหลักสูตร วุฒิการศึกษาสงูสุด

1 อาจารย ์ ก้องเกียรติ มหาอินทร์ ศป.ม.ทัศนศิลป:์ศิลปะสมยัใหม่ 2 อาจารย ์ นางมธุรส เวียงสีมา กศ.ม.ศิลปศึกษา 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย ์ ธวัชชัย แสงน้ าเพชร ศป.ม.ทัศนศิลป:์ศิลปะสมยัใหม่ 4 อาจารย ์ สัมภาษณ์ สวุรรณคีรี วศ.บ.วิศวกรรมสิ่งทอ 5 อาจารย ์ จรัสพิมพ์ วังเย็น กศ.ม.ศิลปศึกษา

มีการปรับปรุงหลักสูตร ไม่มีการปรับปรุงหลักสตูร

หมายเหตุ : ปรับปรุงใหม่เนื่องจากอาจารย์ประจ าหลักสูตรล าดับที่ 2 นางมธุรส เวียงสีมา ได้ลาศึกษาต่อ โดยผา่นการอนุมัติจากสภามาหวิทยาลัย คร้ังที่ 7/2557 เมื่อ 28 พฤษภาคม 2557 และมีการด าเนินการจัดส่งข้อมูลต่อ สกอ.รับทราบให้ความเห็นชอบหลักสูตร เมื่อ 18 กรกฎาคม 2557

Page 6: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

2) อาจารย์ประจ าหลักสตูร (ปจัจุบัน) ต าแหน่งทาง

วิชาการ ชื่ออาจารย์ประจ าหลักสูตร ข้อมูลประวัติการศึกษา

1 อาจารย ์ ก้องเกียรติ มหาอินทร์ ระดับการศึกษาทีจ่บ : ปริญญาโท ปีที่จบ : พ.ศ.2547 ชื่อหลักสูตรทีจบการศึกษา : ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มสาขาวิชาที่จบ (ISED) : - สาขาวิชาที่จบ : ทัศนศิลป์ : ศิลปะสมัยใหม่ ชื่อสถาบันที่จบ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเภท (สถานภาพของการท างาน) : ข้าราชการ ประสบการณ์การท าการสอน : 19 ป ี

2 อาจารย ์ นางนิตยา วันโสภา ระดับการศึกษาทีจ่บ : ปริญญาโท ปีที่จบ : พ.ศ. ชื่อหลักสูตรทีจบการศึกษา : กลุ่มสาขาวิชาที่จบ (ISED) : -. สาขาวิชาที่จบ : ออกแบบแฟชั่นเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย ชื่อสถาบันที่จบ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประเภท (สถานภาพของการท างาน) : พนักงานมหาวิทยาลัย ประสบการณ์การท าการสอน : 5 ปี

3 ผู้ช่วยศาสตราจารย ์

ธวัชชัย แสงน้ าเพชร ระดับการศึกษาทีจ่บ : ปริญญาโท ปีที่จบ : พ.ศ. ชื่อหลักสูตรทีจบการศึกษา : ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มสาขาวิชาที่จบ (ISED) : สาขาวิชาที่จบ : ทัศนศิลป์ : ศิลปะสมัยใหม่ ชื่อสถาบันที่จบ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเภท (สถานภาพของการท างาน) : ข้าราชการ ประสบการณ์การท าการสอน : 36 ป ี

4 อาจารย ์ สัมภาษณ์ สวุรรณคีรี ระดับการศึกษาทีจ่บ : ปริญญาตรี ปีที่จบ : พ.ศ. ชื่อหลักสูตรทีจบการศึกษา : คหกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต กลุ่มสาขาวิชาที่จบ (ISED) : - สาขาวิชาที่จบ : วิศวกรรมสิ่งทอ ชื่อสถาบันที่จบ : สถาบนัเทคโนโลยีราชมงคล ประเภท (สถานภาพของการท างาน) : ข้าราชการ ประสบการณ์การท าการสอน : 25 ป ี

5 อาจารย ์ จรัสพิมพ์ วังเย็น ระดับการศึกษาทีจ่บ : ปริญญาโท

Page 7: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

ต าแหน่งทางวิชาการ

ชื่ออาจารย์ประจ าหลักสูตร ข้อมูลประวัติการศึกษา

ปีที่จบ : พ.ศ.2547 ชื่อหลักสูตรทีจบการศึกษา : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มสาขาวิชาที่จบ (ISED) : - สาขาวิชาที่จบ : ทัศนศิลป์ : ศิลปศึกษา ชื่อสถาบันที่จบ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเภท (สถานภาพของการท างาน) : พนักงานมหาวิทยาลัย ประสบการณ์การท าการสอน : 12 ป ี

3) จ านวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2559

หลักสูตร ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 ชั้นปีที่ 5 รวม

เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ

73 50 52 43 3 221

ข้อมูลเมื่อวันที่ 31/05/60 3.2 ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา แผนการด าเนินการ

- ผลักดันและสนับสนุนการขอต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจ าหลักสูตร - ส่งอาจารย์ประจ าหลักสูตรเข้าร่วมการฝึกอบรมการขอต าแหน่งทางวิชาการ ทั้งหน่วยงานภายใน และ

ภายนอกมหาวิทยาลัย ผลการด าเนินการ - สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นละสิ่งทอ ได้ส่งเสริมให้อาจารย์พัฒนาตัวเอง ด้วยการส่งอาจารย์ประจ าสาขาวิชาฯ

เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลงานทางวิชาการ จัดโดยคณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ในวันที่ 15 ธันวาคม 2559

- อาจารย์ในสาขาวิชาฯอยู่ระหว่างการท าต าแหน่งวิชาการ(ผู้ช่วยศาสตราจารย์)

Page 8: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

7

4. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งช้ี ระดับหลักสูตร

4.1 ผลการประเมินคุณภาพ

ผลการประเมินคุณภาพองค์ประกอบที่ 1 โปรดขีดเคร่ืองหมาย ในตัวบ่งชี้ทีท่่านคิดว่าหลักสตูรนั้นมีการด าเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานที่ สกอ. ก าหนด

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผ่านเกณฑ์/ไม่

ผ่านเกณฑ ์ข้อเสนอแนะ/ระบุเหตผุลหากไม่ผ่าน

เกณฑ ์องค์ประกอบที่ 1 การก ากับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่ก าหนด โดย สกอ.

ผ่าน

เกณฑ์การประเมิน

1) จ านวนอาจารยป์ระจ าหลักสตูร 2) คุณสมบัติของอาจารยป์ระจ าหลักสูตร 11) การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่ก าหนด

ผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 ผ่าน

ผลการประเมินคุณภาพองค์ประกอบที่ 2-6

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน

คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผลทีใ่ห้คะแนน 5

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาต ิ

ค่าเฉลี่ย 4.82

4.82

ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : จ านวนบัณฑิตทีไ่ด้รับการประเมินทั้งหมด 16 คน จากจ านวนผูส้ าเร็จการศึกษระดับปริญญาตรีทั้งหมด 53 คน คิดเป็นรอ้ยละ 30.18 โดยมีคะแนนเฉลี่ยทีไ่ด้จากการประเมินบัณฑิตเท่ากบั 4.56 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานท า หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (ระดับปริญญาตรี)

ร้อยละ 100

5.00

ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : จ านวนบัณฑิตระดบัปริญญาตรีที่ตอบแบบส ารวจเร่ืองการมีงานท าภายใน 1 ปี หลังส าเร็จการศึกษา 53 คน จากจ านวนบัณฑิตทัง้หมด 38 คน

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2 4.91

Page 9: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

8

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน

คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผลทีใ่ห้คะแนน 5

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา 3 ระดับ 3.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) การรับนักศึกษา มีระบบ และกลไกการรับนกัศึกษาอย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏบิัติ มีการประเมนิกระบวนและการปรับปรุงกระบวนการ 2) การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา มีระบบ และกลไกการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา อย่างเป็นขัน้ตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวนและการปรับปรุงกระบวนการ ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 2 ระดับ 2.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) การควบคุมการดูแลการให้ค าปรึกษาวชิาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี มีระบบ และกลไกการควบคุมการดูแลการให้ค าปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรีอย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน แตไ่ม่พบการปรับปรุงกระบวนการ 2) การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีระบบ และกลไกการพฒันาศักยภาพนักศึกษาและการเสรมิสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการ ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกดิกับนักศึกษา 2 ระดับ 2.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) อัตราการคงอยู ่ มีรายงานอัตราการคงอยู ่ปกีารศึกษา 2556 – 2559 พบว่ามีแนวโน้มลดลง 2) การส าเร็จการศึกษา มีรายงานการส าเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2556 – 2559 พบว่ามีแนวโน้มลดลง 3) ความพึงพอใจ และผลการจดัการข้อร้องเรียนของนักศึกษา มีรายงานความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา เพียง 1 ปี คือ ปีการศกึษา 2559) จึงไม่สามารถพิจารณาแนวโน้มได้

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 3 2.33

Page 10: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

9

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน

คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผลทีใ่ห้คะแนน 5

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 2 ระดับ 2.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) ระบบการรับอาจารยแ์ละแตง่ตั้งอาจารยป์ระจ าหลักสูตร มีระบบ และกลไกการรับอาจารย์และแต่งตั้งอาจารย์ประจ าหลักสูตรอย่างเปน็ขั้นตอน และน าไปสู่การปฏบิัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการ 2) ระบบการบริหารอาจารย์ประจ าหลักสูตร มีระบบ และกลไกการบริหารอาจารย์ประจ าหลักสูตรอย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไมพ่บการปรับปรุงกระบวนการ 3) ระบบการสง่เสริมและพฒันาอาจารย์ประจ าหลักสูตร มีระบบ และกลไกการสง่เสริมและพัฒนาอาจารย์ประจ าหลักสูตรอย่างเป็นขัน้ตอน และน าไปสู่การปฏบิัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 1.66 คะแนน 1.66

1) ร้อยละอาจารย์ประจ าหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก 40 คะแนนประเมิน 5.00 (1) 2) ร้อยละอาจารย์ประจ าหลักสูตรที่ด ารงต าแหนง่ทางวิชาการ 0 คะแนนประเมิน 0 (2)

รายการข้อมูล จ านวน 1. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสตูรทั้งหมด 5 2. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสตูรที่มีวุฒิปริญญาเอก 2 3. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสตูรที่ด ารงต าแหนง่ อ. 5 4. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสตูรที่ด ารงต าแหนง่ ผศ. 0 5. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสตูรที่ด ารงต าแหนง่ รศ. 0 6. จ านวนอาจารย์ประจ าหลักสตูรที่ด ารงต าแหนง่ ศ. 0

3) ผลงานวชิาการของอาจารยป์ระจ าหลักสูตร คิดเป็นร้อยละผลรวมถ่วงน้ าหนัก 0 คะแนนประเมิน 0 (3)

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกบัอาจารย์ 2 ระดับ 2.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) การคงอยู่ของอาจารย์ มีการรายงานอัตราคงอยู่ของอาจารย์ประจ าหลักสูตร ปีการศึกษา 2556 – 2559 พบว่าการคงอยู่ของอาจารย์ประจ าหลักสูตรครบทั้ง 5 คน ทุกปีการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 100 2) ความพึงพอใจของอาจารย ์ มีรายงานความพึงพอใจของอาจารย์ประจ าหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร 2 ปี (ปีการศกึษา 2558 – 2559) จึงไม่สามารถพิจารณาแนวโน้มได้

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที ่ 4 1.89

Page 11: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

10

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน

คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผลทีใ่ห้คะแนน 5

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 2 ระดับ 2.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิา มีระบบ และกลไกการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาอย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไมพ่บการปรับปรุงกระบวนการ 2) การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย มีระบบ และกลไกการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยอย่างเปน็ขั้นตอน และน าไปสู่การปฏบิตัิ มีการประเมินกระบวนแต่ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการ ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผูส้อนและกระบวนการเรียนการสอน

2 ระดับ 2.00

ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) การก าหนดผู้สอน มีระบบ และกลไกการก าหนดผู้สอนอยา่งเปน็ขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมนิกระบวน และการปรับปรุงกระบวนการ 2) การก ากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดท า มคอ. 3 และมคอ.4 และการจัดการเรียนการสอน มีระบบ และกลไกการก ากบั ติดตาม และตรวจสอบการจดัท า มคอ. 3 และมคอ.4 และการจัดการเรียนการสอน อย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน และการปรับปรุงกระบวนการ 3) การจัดการเรียนการสอนระดบัปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวชิาการทางสังคม และการท านุบ ารุงศิลปะและวฒันธรรม มีระบบ และกลไกการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการท านบุ ารุงศลิปะและวัฒนธรรมอย่างเป็นขัน้ตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน และการปรับปรุงกระบวน ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรยีน 2 ระดับ 2.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุิระดับอุดมศึกษาแห่งชาต ิ มีระบบ และกลไกการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติอย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏบิัติ มีการประเมินกระบวน แตไ่ม่พบการปรบัปรุงกระบวนการ 2) การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา มีระบบ และกลไกการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างเปน็ขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการ 3) การก ากับการประเมินการจดัการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร(มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7) มีระบบ และกลไกการก ากบัการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร(มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7) อย่างเป็นขั้นตอน และน าไปสู่การปฏิบัติ มีการประเมินกระบวน แต่ไม่พบการปรับปรุงกระบวนการ

Page 12: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

11

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน

คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผลทีใ่ห้คะแนน 5

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการด าเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ร้อยละ 100

4.50

ผลการด าเนินงานที่พบตามกรอบ TQF ผ่าน ไม่ผ่าน

- ไม่ประเมิน

1) อาจารย์ประจ าหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการด าเนินงานหลักสูตร

2) มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกบักรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวชิา (ถ้ามี)

3) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา

4) จัดท ารายงานผลการด าเนนิการของรายวิชา และรายงานผลการด าเนนิการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิน้สุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวชิา

5) จัดท ารายงานผลการด าเนนิการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60วัน หลังสิน้สุดปีการศึกษา

6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่ก าหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา

7) มีการพัฒนา/ปรบัปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการด าเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว

8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือค าแนะน าดา้นการจัดการเรียนการสอน

-

9) อาจารย์ประจ าหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวชิาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

10) จ านวนบุคลากรสนบัสนนุการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมน่อ้ยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี

-

11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑติใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑติที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

รวมตัวบ่งชี้ในปนีี ้ 10 จ านวนตัวบง่ชี้ทีด่ าเนนิการผา่นเฉพาะตัวบ่งชี้ที่ 1-5 5

ร้อยละของตัวบ่งชีท้ี่ 1-5 100 จ านวนตัวบง่ชี้ในปีนีท้ี่ด าเนนิการผ่าน 9

ร้อยละของการด าเนินการทัง้หมดในปีนี ้ 90

Page 13: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

12

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน

คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผลทีใ่ห้คะแนน 5

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 5 2.63

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 3 ระดับ 3.00 ผลการด าเนนิงานทีพ่บ : 1) ระบบการด าเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีสว่นรว่มของอาจารย์ประจ าหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู ้ มีระบบ และกลไกการด าเนนิงานของภาควิชา/คณะ/สถาบนัโดยมีสว่นร่วมของอาจารยป์ระจ าหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนนุการเรียนรู้อย่างเปน็ขั้นตอน และน าไปสู่การปฏบิัติ มกีารประเมินกระบวนและการปรับปรุงกระบวนการ 2) จ านวนสิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรมีจ านวนสิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน 3) กระบวนการปรบัปรุงตามผลการประเมินความพงึพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนบัสนนุการเรียนรู้ หลักสูตรมีกระบวนการปรบัปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนบัสนนุการเรียนรู ้โดยผลส ารวจความพึงพอใจในปีการศึกษา 2559 โดยภาพรวมในระดับดี ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธผิล

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 6 3.00

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินรวม 13 ตัวบ่งชี้ 2.77

Page 14: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

13

5. ผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร 5.1 ตารางสรุปผลการประเมนิคุณภาพภายในตามตัวบ่งชี้ ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2559

ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานหลักสูตร (ระดับป.ตรี) ผลการประเมิน คะแนน ข้อเสนอแนะ/เหตุผล

ที่ให้คะแนน 5

องค์ประกอบที่ 1 การก ากับมาตรฐาน

ตัวบ่งชีท้ี่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่ก าหนด โดย สกอ.

ผ่านเกณฑ ์ระบุเหตุผลหากไม่ผา่นเกณฑ์

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวบ่งชีท้ี่ 2.1 คุณภาพบัณฑติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาต ิ

ค่าเฉลี่ย 4.82

4.82

ตัวบ่งชีท้ี่ 2.2 ร้อยละของบัณฑติปริญญาตรีทีไ่ด้งานท า หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (ระดบัปริญญาตรี)

ร้อยละ 100

5.00

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2 4.91 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ตัวบ่งชีท้ี่ 3.1 การรับนักศึกษา 3 ระดับ 3.00 ตัวบ่งชีท้ี่ 3.2 การส่งเสริมและพฒันานักศึกษา 2 ระดับ 2.00 ตัวบ่งชีท้ี่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 2 ระดับ 2.00

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 3 2.33

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ ตัวบ่งชีท้ี่ 4.1 การบริหารและพฒันาอาจารย์ 2 ระดับ 2.00 ตัวบ่งชีท้ี่ 4.2 คุณภาพอาจารย ์ 1.66 คะแนน 1.66 ตัวบ่งชีท้ี่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 2 ระดับ 2.00

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที ่ 4 1.89 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชีท้ี่ 5.1 สาระของรายวชิาในหลักสูตร 2 ระดับ 2.00 ตัวบ่งชีท้ี่ 5.2 การวางระบบผูส้อนและกระบวนการเรียนการสอน 2 ระดับ 3.00 ตัวบ่งชีท้ี่ 5.3 การประเมินผู้เรียน 2 ระดับ 2.00 ตัวบ่งชีท้ี่ 5.4 ผลการด าเนนิงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ร้อยละ 90 4.50

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 5 2.63 องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชีท้ี่ 6.1 สิ่งสนบัสนุนการเรียนรู้ .... ระดับ 3.00

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินองค์ประกอบที่ 6 3.00

คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินรวม 13 ตัวบ่งชี้ 2.77

Page 15: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

14

5.2 ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลกัสูตร

องค์ประกอบที่ I P O คะแนนเฉลี่ย

ผลการประเมิน 0.01 – 2.00 ระดบัคุณภาพน้อย 2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 3.01 – 4.00 ระดบัคุณภาพด ี4.01 – 5.00 ระดบัคุณภาพดมีาก

1 การก ากับมาตรฐาน ผ่าน หลักสูตรได้มาตรฐาน 2 บัณฑิต - - 4.91 4.91 ระดับคุณภาพดีมาก 3 นักศึกษา 2.33 - - 2.33 ระดับคุณภาพปานกลาง 4 อาจารย์ 1.89 - - 1.89 ระดับคุณภาพน้อย 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

2.00 2.83 - 2.63 ระดับคุณภาพปานกลาง

6 สิ่งสนบัสนุนการเรียนรู ้ - 3.00 - 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง รวม 2.09 2.88 4.91

ผลการประเมิน 2.77 ระดับคุณภาพปานกลาง จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร 6 องค์ประกอบ (13 ตัวบ่งชี้)

พบว่า องค์ประกอบที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.1) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมีสิ่งทอ “ผ่าน” ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

จ านวน 1 องค์ประกอบ อยู่ในระดับคุณภาพดีมาก (องค์ประกอบที่ 2) จ านวน 3 องค์ประกอบ อยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (องค์ประกอบที่ 3,5 และ 6) จ านวน 1 องค์ประกอบ อยู่ในระดับคุณภาพปานกลาง (องค์ประกอบที่ 4)

Page 16: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

15

6. รายงานผลการวิเคราะห์ จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา

องค์ประกอบที่ 1 : การก ากับมาตรฐาน จุดเด่นและแนวทางเสริม

1. - 2. -

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

1. - 2. -

องค์ประกอบที่ 2 : บัณฑติ จุดเด่นและแนวทางเสริม

1. บันฑิตได้งานท าตรงสาขาและเป็นที่พงึพอใจของนายจา้งระดบัมากที่สุด และหลักสูตรควรสรุปวิเคราะห์และติดตามผลอย่างต่อเนื่องถึงความพึงพอใจของบัณฑิตต่อสถานประกอบการ การเปลี่ยนงานหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่บัณฑิตต้องการเพิ่มเติมในการพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพขึ้น

2. - จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

1. - 2. -

องค์ประกอบที่ 3 : นักศึกษา จุดเด่นและแนวทางเสริม

1. - 2. -

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

1. ควรน าผลการปรับปรุงมาวิเคราะห์ในเร่ืองระบบการคงอยู่ การส าเร็จการศึกษา ระบบการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา เพื่อดูแนวโน้มและน ามาใช้ในการพัฒนาให้ดีขึ้นในทุกเร่ืองและควรน าเสนอผู้บริหารตามล าดบัให้รับทราบ ส าหรับเป็นข้อมูลในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

2.

Page 17: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

16

องค์ประกอบที่ 4 : อาจารย์ จุดเด่นและแนวทางเสริม

1. - 2. -

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

1. ควรก าหนดเป็นวาระเร่งด่วนเก่ียวกับการพัฒนาอาจารย์ โดยวางระบบการบริหารจัดการผลงานทางวิชาการ งานวจิัย นวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐท์ี่สามารถน ามาใชป้ระโยชน์และเข้าสู่ต าแหน่งทางวิชาการอย่างเป็นระบบ

2. ควรรายงานผลการคงอยู่และความพึงพอใจของอาจารย์ที่แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มในการพฒันาและมีระบบการติดตาม เพื่อน ามาเปน็แนวทางหรือเทียบเคียงผลงานและมาตรฐานของอาจารย์ ส าหรับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบที่ 5 : หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน จุดเด่นและแนวทางเสริม

1. - 2. -

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

1. ควรวางแผนระบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามบริบทของสาขาวิชากับพนัธกิจต่าง ๆ รวมถึงแนวทางที่เก่ียวข้อง เพื่อให้การด าเนินงานมปีระสิทธิภาพ ประสิทธผิลต่อการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร และสะท้อนถึงมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้ใน มคอ.2

2. องค์ประกอบที่ 6 : สิ่งสนับสนนุการเรียนรู้ จุดเด่นและแนวทางเสริม

1. - 2. -

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

1. ควรก าหนดจุดเน้นตามหลักสูตรให้ชัดเจนและน าผลจากการปรบัปรุงกระบวนการมาวิเคราะห์ เพื่อการวางแผนในการจัดการสิง่สนับสนุนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความจ าเปน็ และสะท้อนถึงอัตลกัษณ์ของบัณฑิตทีส่ าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

2. -

Page 18: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

17

7. ภาคผนวก 7.1 ค าสัง่แต่งตั้งคณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร

Page 19: รายงานผลการประเมินคุณภาพ ...iqa.rmutp.ac.th/v2/server/uploads/2017/08/7892ee3a.pdf · 2017-08-05 · ปานกลาง (2.77 คะแนน)

รายงานผลการประเมินคณุภาพภายใน หลักสตูรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบแฟช่ันและสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟช่ัน ปีการศึกษา 2559

18

7.2 ก าหนดการประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร

7.3 รายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่รับการสัมภาษณ์ (ถ้ามี) -