สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 ·...

19
สรุปผลการศึกษาเบื้องตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1 สรุปผลการศึกษาเบื้องตน โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. หลักการและเหตุผล ..................................................................................................................................................... 2 2. วัตถุประสงคโครงการ .................................................................................................................................................. 2 3. ขอบเขตการดำเนินงาน................................................................................................................................................ 3 4. กรอบแนวคิดวิเคราะหผลกระทบของรูปแบบองคกร.................................................................................................... 3 5. วิธีดำเนินงาน ............................................................................................................................................................... 5 6. กรอบแนวคิดของหนวยงานกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะ ............................................................................................... 8 6.1 องคกรกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะในประเทศ ......................................................................................................... 9 6.2 รูปแบบสากลในการกำกับดูแลตลาดทุน .............................................................................................................. 10 7. การประเมินรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตามหลักการ IOSCO .................................................................................. 12 8. การประเมินรูปแบบองคกรเพื่อรองรับนวัตกรรมและการพัฒนา................................................................................. 13 8.1 แนวโนมของตลาดการเงินและการกำกับดูแล รวมทั้งความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น...................................................... 13 8.2 ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตอโครงสรางพื้นฐานของตลาดการเงินตาม PRINCIPLES FOR FINANCIAL MARKET INFRASTRUCTURES (PFMI) .................................................................................................................................................... 13 8.3 ประเด็นที่นาสนในเกี่ยวกับ GLOBAL STABLECOIN .................................................................................................. 14 9. การประเมินหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนของไทย .................................................................................................... 15 9.1 ดานที่สำนักงาน ก.ล.ต. ดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ .................................................................................. 15 9.2 ดานที่สำนักงาน ก.ล.ต. อาจตองปรับปรุง............................................................................................................. 16 9.3 ดานที่มีอุปสรรคในแงพหุมิติ (MULTIDIMENSIONALITY) ............................................................................................ 17 9.4 ดานอื่นๆ .............................................................................................................................................................. 19

Upload: others

Post on 22-Jul-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1

สรุปผลการศึกษาเบื้องตน

โครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1. หลักการและเหตุผล ..................................................................................................................................................... 2

2. วัตถุประสงคโครงการ .................................................................................................................................................. 2

3. ขอบเขตการดำเนินงาน ................................................................................................................................................ 3

4. กรอบแนวคิดวิเคราะหผลกระทบของรูปแบบองคกร .................................................................................................... 3

5. วิธีดำเนินงาน ............................................................................................................................................................... 5

6. กรอบแนวคิดของหนวยงานกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะ ............................................................................................... 8

6.1 องคกรกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะในประเทศ ......................................................................................................... 9

6.2 รูปแบบสากลในการกำกับดูแลตลาดทุน .............................................................................................................. 10

7. การประเมินรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตามหลกัการ IOSCO .................................................................................. 12

8. การประเมินรูปแบบองคกรเพ่ือรองรับนวัตกรรมและการพัฒนา ................................................................................. 13

8.1 แนวโนมของตลาดการเงินและการกำกับดูแล รวมท้ังความเสีย่งท่ีอาจเกิดข้ึน...................................................... 13

8.2 ความเสีย่งท่ีอาจเกิดข้ึนตอโครงสรางพ้ืนฐานของตลาดการเงินตาม PRINCIPLES FOR FINANCIAL MARKET

INFRASTRUCTURES (PFMI) .................................................................................................................................................... 13

8.3 ประเด็นท่ีนาสนในเก่ียวกับ GLOBAL STABLECOIN .................................................................................................. 14

9. การประเมินหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนของไทย .................................................................................................... 15

9.1 ดานท่ีสำนักงาน ก.ล.ต. ดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ .................................................................................. 15

9.2 ดานท่ีสำนักงาน ก.ล.ต. อาจตองปรับปรุง ............................................................................................................. 16

9.3 ดานท่ีมีอุปสรรคในแงพหุมิต ิ(MULTIDIMENSIONALITY) ............................................................................................ 17

9.4 ดานอ่ืนๆ .............................................................................................................................................................. 19

Page 2: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2

1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 (“พ.ร.บ. หลักทรัพยฯ”) กำหนดใหมี

คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“คณะกรรมการ ก.ล.ต.”) โดยใหมีอำนาจหนาที่วาง

นโยบายการสงเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับดูแลในเรื่องหลักทรัพย ธุรกิจหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพย ศูนย

ขายหลักทรัพย และธุรกิจที ่เกี ่ยวเนื่อง องคกรที ่เกี ่ยวเนื ่องกับธุรกิจหลักทรัพย การออกหรือเสนอขาย

หลักทรัพยตอประชาชน การเขาถือหลักทรัพยเพื่อครอบงำกิจการ และการปองกันการกระทำอันไมเปนธรรม

เกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย รวมทั้งออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือขอกำหนดตาง ๆ ตลอดจน

ปฏิบัติการอื่นใดเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของพระราชบัญญัตินี้ และใหมีคณะกรรมการกำกับตลาดทุน

ทำหนาท่ีออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือขอกำหนดในเรื่องการประกอบธุรกิจหลักทรัพย การออก

และเสนอขายหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพย ศูนยรับฝากหลักทรัพย สำนักหักบัญชี นายทะเบียนหลักทรัพย

สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย และการเขาถือหลักทรัพยเพื่อครอบงำกิจการ ตลอดจนปฏิบัติการให

เปนไปตามกฎหมายหรือตามท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. โดยตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการ

ก.ล.ต. นอกจากนี้ยังกำหนดใหมีสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สำนักงาน

ก.ล.ต.”) เพื่อปฏิบัติการใหเปนไปตามมติของคณะกรรมการ ก.ล.ต. กำกับดูแลใหมีการปฏิบัติตามและ

ดำเนินการบังคับใชกฎหมาย รวมท้ังปฏิบัติงานอ่ืนตาม พ.ร.บ. หลักทรัพยฯ หรือกฎหมายอ่ืน

พ.ร.บ. หลักทรัพยฯ ในสวนที ่ เก ี ่ยวกับหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนดังกลาวไดม ีการเพ่ิม

คณะกรรมการกำกับตลาดทุน โดยพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2551 ท้ังนี้

บทบัญญัติดังกลาวไดใชบังคับมาเปนระยะเวลาหนึ ่งแลว ประกอบกับมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย กำหนดใหรัฐพึงจัดใหมีการประเมินผมสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาท่ีกำหนดโดย

รับฟงความคิดเห็นของผูที่เกี่ยวของประกอบดวย เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับใหสอดคลองและเหมาะสมกับ

บริบทตาง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของกฎหมาย ยังกำหนดใหรัฐพึงใชระบบ

คณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีที่จำเปน ดังนั้น จึงเปนการสมควรใหมีประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ.

หลักทรัพยฯ ในสวนที่เกี่ยวกับหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน ตลอดจนพิจารณาแนวทางปรับปรุงกฎหมายให

สอดคลอง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพตอไป

2. วัตถุประสงคโครงการ

(1) เพื่อใหหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนของประเทศไทยมีโครงสราง องคประกอบ บทบาท อำนาจ

หนาที่ และความรับผิดชอบในการวางนโยบายการสงเสริม พัฒนา และกำกับดูแลตลาดทุน ที่สามารถรองรับ

พัฒนาการและความเปลี ่ยนแปลงในตลาดทุน เทาทันตอเหตุการณ มีความเปนกลาง ตลอดจนสามารถ

ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 3: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3

(2) เพื ่อใหมีการประเมินผลสัมฤทธิ ์ของ พ.ร.บ.หลักทรัพยฯในสวนโครงสรางและรูปแบบของ

หนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน ตลอดจนการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานดังกลาวภายใต พ.ร.บ.หลักทรัพยฯ

ทั้งนี้ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติหลักเกณฑการจัดทำรางกฎหมาย

และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ.2562 รวมท้ังหลักเกณฑท่ีเก่ียวของ

3. ขอบเขตการดำเนินงาน

พิจารณาความเหมาะสมของโครงสรางและรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนของประเทศไทย ซ่ึง

ประกอบดวย คณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับตลาดทุน และสำนักงาน ก.ล.ต. รวมทั้งบทบาท

อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ตลอดจนประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานดังกลาว โดยมี

รายละเอียดดังนี้

3.1 พิจารณาความเหมาะสมของโครงสราง องคประกอบ บทบาท อำนาจหนาท่ี และความรับผิดชอบใน

การวางนโยบายการสงเสริม พัฒนา และกำกับดูแลตลาดทุน ของคณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับ

ตลาดทุน และสำนักงาน ก.ล.ต. ในปจจุบัน รวมทั้งประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที่ การออกกฎเกณฑ และ

การกำกับดูแลตลาดทุน ความรับผิดชอบ ตลอดจนความสอดคลองการตอบสนองตอความตองการของผูมีสวน

ไดเสีย (stakeholders) และความเทาทันกับสภาวการณในตลาดทุนท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

3.2 ศึกษาเปรียบเทียบโครงสราง องคประกอบ บทบาท อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบกับ

หนวยงานกำกับดูแลตลาดการเงินอื่นในประเทศไทย เชน ธนาคารแหงประเทศไทย คณะกรรมการกำกับและ

สงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เปนตน และหนวยงานกำกับดูแลตลาดการเงินในตางประเทศ ซึ่งมี

มาตรฐานและไดรับการยอมรับในระดับสากล หรือมีระดับการพัฒนาใกลเคียงกับประเทศไทย จำนวนอยาง

นอย 5 ประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย สิงคโปร ฮองกง เปนตน ตลอดจนความสอดคลองกับ

หลักการและมาตรฐานสากลที่เกี่ยวของ เชน หลักการและมาตรฐานของ International Organization of

Securities Commissions (IOSCO) เปนตน

3.3 เสนอแนะรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทย รวมท้ัง

วิเคราะหขอดี ขอเสีย ผลกระทบ ตลอดจนความคุ มคาของรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนตาม

ขอเสนอแนะ

ท้ังนี้ โดยจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของผูท่ีเก่ียวของประกอบดวย

4. กรอบแนวคิดวิเคราะหผลกระทบของรูปแบบองคกร

การวิเคราะหผลกระทบและประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย (Regulatory Impact Assessment

(RIA)) มีเหตุผลที่มาที่สำคัญคือ ความพยายามที่จะใหมีการตระหนักถึงสาระสำคัญของการบัญญัติกฎหมาย

สองประการ ประการแรกคือการพิจารณาอยางถี่ถวนถึงปญหาหรือขอบกพรองอันเปนเหตุผลที่ตองมีการหา

Page 4: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4

หนทางในการแกไขปญหานั ้น ๆ กอนที่จะพิจารณาวาจะรางกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งขึ ้นมาโดยมองวา

กฎหมายนั้นเปนเพียงวิธีการหนึ่งเทานั้นในการแกปญหา หรือขอบกพรอง ประการที่สองคือความสำคัญของ

การพิจารณาตนทุน และผลประโยชนของทางเลือกตาง ๆ ในการแกไขปญหา ซึ่งกฎหมายเหลานี้มักสงผลตอ

สังคมในวงกวางและในหลากหลายมิติ ทั ้งตอภาครัฐ ภาคเอกชน ในฐานะของประชาชนทั่วไป ผูบริโภค

แรงงาน ธุรกิจ และภาคประชาสังคมอ่ืน ๆ และท่ีสำคัญคือเพ่ือใหสามารถเลือกทางเลือกท่ีมีประสิทธิภาพ หรือ

เปนไปตามหลักเกณฑท่ีกำหนดไวมากท่ีสุด

กระบวนการวิเคราะหผลกระทบ และประเมินผลสัมฤทธิ์นั้น อาจแบงออกเปนสี่ข้ันตอนใหญ ๆ คือ

(1) การตรวจสอบถึงสภาพปญหาและเปาหมายที่กำลังพิจารณา หรือที่ไดเคยกำหนดไว ในกรณีการ

วิเคราะหผลกระทบ หรือประเมินผลสัมฤทธิ์ตามลำดับ (2) การพิจารณาทางเลือกในการแกปญหา หรือพิจารณาวาทางเลือกที่ไดรับการบังคับใชสามารถ

บรรลุวัตถุประสงคตามท่ีตั้งไวไดหรือไม ในกรณีการวิเคราะหผลกระทบ หรือประเมินผลสัมฤทธิ์ตามลำดับ (3) การวิเคราะหขอมูลและการรับฟงความคิดเห็นประกอบการจัดทำการประเมินผลสัมฤทธิ์ ในกรณี

การวิเคราะหผลกระทบ หรือประเมินผลสัมฤทธิ์ตามลำดับ และ

(4) การจัดทำรางกฎหมายฉบับปรับปรุง หรือการเสนอยกเลิกกฎหมาย ในกรณีการวิเคราะห

ผลกระทบ หรือประเมินผลสัมฤทธิ์ตามลำดับ โดยท่ัวไปแลวหลักการในการจัดทำการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายในสากล คือ

(1) ครบถวนชัดเจน โปรงใส (Completeness and Transparency)

(2) มีขอมูลอางอิงเสมอ (Evidence-Based) และแสดงขอมูลเปนตัวเลขเมื ่อมีความเปนไปได

(Quantitative Data)

(3) สอดคลองกันและตรวจสอบได (Consistency and Accountability)

(4) มีประสิทธิภาพ (Efficiency)

ซึ่งหลักการดังกลาวนั้นสอดคลองกับบทบัญญัติใน พระราชบัญญัติหลักเกณฑการจัดทำรางกฎหมาย

และการประเมินผลสัมฤทธิ์ชองกฎหมาย พ.ศ.2562 ซ่ึงไดวางหลักเกณฑไววาการจัดทำการประเมินผลสัมฤทธิ์

ของกฎหมายใดๆนั้นใหพิจารณากฎท่ีออกตามกฎหมายนั้นในคราวเดียวกัน เพ่ือใหบรรลุเปาหมายดังตอไปนี้

(1) การมีกฎหมายเพียงเทาที่จำเปน โดยยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจำเปน ลาสมัย

หรือไมสอดคลองกับสภาพการณ หรือที่เปนอุปสรรคตอการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ เพื่อไมใหเปน

ภาระแกประชาชน

(2) การพัฒนากฎหมายใหสอดคลองกับหลักสากลและพันธกรณีระหวางประเทศ

(3) การลดความซ้ำซอนและขัดแยงกันของกฎหมาย

(4) การลดความเหลื่อมล้ำและสรางความเปนธรรมในสังคม

(5) การเพ่ิมความสามารถในการแขงขันของประเทศ

Page 5: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5

เปาหมายดังตอไปนี ้จะตองถูกนำมาใชในการพิจารณาในกระบวนการวิเคราะหผลสัมฤทธิ ์ของ

กฎหมายหากมีการเสนอปรับปรุงรูปแบบองคกร โดยจะมีกระบวนการโดยสังเขปดังตอไปนี้

(1) การกำหนดปญหาและขอบกพรอง – โดยตรวจสอบจากแหลงขอมูลทางเอกสาร และการ

สัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของ เพื่อกำหนดปญหาทั้งในแงของขอเท็จจริงและขอกฎหมายที่มีอยูเพื่อหาทางแกไข

ปญหาตอไป

(2) การกำหนดวัตถุประสงค - เมื ่อเขาใจถึงสภาพปญหา และขอบกพรองโดยชัดเจนแลวทาง

คณะทำงานจึงจะกำหนดวัตถุประสงค หรือเปาหมายของการแกปญหา หรือขอบกพรองดังกลาว โดย

วัตถุประสงคดังกลาวจะตองมีความชัดเจน วัดได มีขอบเขตท้ังในระยะสั้น และระยะยาว และเปนไปตามความ

เปนจริง (Specific, Measurable, Achievable, Realistic, and Timely (SMART) objectives) ตามที ่ ได

ศึกษาไปในข้ันตอนแรก

(3) การกำหนดตัวผูมีสวนเกี่ยวของ – โดยพิจารณาบุคคล และองคกรที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรง

และทางออมจากปญหาและขอบกพรอง เพ่ือใหสามารถระบุผลกระทบท่ีเกิดกับตัวผูมีสวนเก่ียวของแตละกลุม

ไดอยางถูกตองชัดเจน หลังจากนั้นจึงนำผูมีสวนเกี่ยวของทั้งหมดมาพิจารณาในสองมิติ คือ ปญหา หรือ

ขอบกพรองนั้นมีผลกระทบตอตัวผูมีสวนเก่ียวของแตละรายมากเพียงใด (ความสำคัญ (importance)) และ ผู

มีสวนเก่ียวของนั้นมีอำนาจในการจัดการผลกระทบดังกลาวมากเพียงใด (อิทธิพล (influence)) ซ่ึงสุดทายแลว

จะสงผลตอการใหน้ำหนักตอตนทุน และผลประโยชนของผูมีสวนเก่ียวของแตละกลุม หรือแตละราย

(4) การกำหนดทางเลือกในการแกปญหา และขอบกพรอง – ในขั้นตอนนี้จะเปนการพิจารณา

ทางเลือกในการแกปญหา และขอบกพรอง โดยพิจารณาในเบื้องตนเริ่มจากทางเลือกที่เปนการไมทำอะไรเลย

เพ่ือพิจารณาวาสุดทายแลวกลไกท่ีมีอยูจะสามารถแกปญหาดังกลาวไดหรือไมในระยะเวลาเทาใด หลังจากนั้น

จึงพิจารณาทางเลือกในการปรับปรุงรูปแบบองคกร

(5) การวิเคราะหเพื่อเปรียบเทียบทางเลือก – ดวยขอเท็จจริงที่อาจมีขอมูลหลายอยางที่ไมอาจ

คำนวณเปนเงิน (non-monetised data) จึงจำเปนตองเลือกวิธีการที่สามารถรวบรวมขอมูลหลายประเภท

และนำมาแปลงเปนหนวยท่ีสามารถเปรียบเทียบตนทุน และผลประโยชนของแตละทางเลือกไดอยางเหมาะสม

ซึ่งก็คือ การเปรียบเทียบภายใตเกณฑที่หลากหลาย (Multi-criteria analysis) โดยจะไดพิจารณาวาตนทุน

และผลประโยชนของผูมีสวนเกี่ยวของภายใตแตละทางเลือกนั้นมีคาเทาใด นำมาตรวจสอบความนาเชื่อถือ

(validation) เพ่ือใหเปนท่ีแนใจวาคาท่ีนำมาเปรียบเทียบนั้นมีความสม่ำเสมอภายใตขอบเขตของการพิจารณา

(internal consistency) หลังจากนั้นจึงพิจารณาวาทางเลือกใดเปนทางเลือกท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด

5. วิธีดำเนินงาน

โครงการนี้จะทำการศึกษาใน 3 ข้ันตอน ดังนี้

Page 6: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 6

(1) ขั้นตอนแรกเปนการวิจัยเอกสารเพื่อใหไดมาซึ่งองคความรูที่มีอยูแลวผานการอางอิงและทบทวน

วรรณกรรม เพื่อใหสามารถวิเคราะหเปรียบเทียบเชิงสถาบันของหนวยงานกำกับดูแลหลักทรัพยของไทยและ

ตางประเทศ

ทั้งนี้ จะไดศึกษาเปรียบเทียบทั้งเชิงลักษณะของกิจการที่กำกับดูแล และเชิงหลักการของหนวยงาน

กำกับดูแล โดยจะศึกษาเปรียบเทียบในประเด็น โครงสราง องคประกอบ บทบาท อำนาจหนาที่ และความ

รับผิดชอบในการวางนโยบาย โดยเปรียบเทียบกับหนวยงานกำกับดูแลตลาดเงินในประเทศไทย ไดแก ธนาคาร

แหงประเทศไทย และคณะกรรมการกำกับและสงเสริมการประกอบธุรกิจและประกันภัย ตลอดจนศึกษา

เปรียบเทียบกับองคกรกำกับดูแลธุรกิจโทรคมนาคม ไดแก คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน

และกิจการโทรคมนาคม ซ่ึงแมจะเปนธุรกิจท่ีแตกตางออกไปจากตลาดเงิน แตจะไดนำมาศึกษาเปรียบเทียบในเชิง

หลักการของหนวยงานกำกับดูแลดวย เนื่องจากเปนองคกรกำกับดูแลที่จัดตั้งขึ้นในระยะหลัง ซึ่งมีความซับซอน

ขององคกรนอยลง และมีความพยายามแบงหนาที่ใหชัดเจนระหวางการกำหนดนโยบายของภาครัฐ และการ

กำหนดนโยบายในการกำกับดูแลจากหนวยงานกำกับดูแล

นอกจากนี ้จะไดศึกษาเปรียบเทียบกับหนวยงานกำกับดูแลตลาดเงินในสหรัฐอเมริกา อังกฤษ

ออสเตรเลีย สิงคโปร ฮองกง ในประเด็นโครงสราง องคประกอบ บทบาท อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบ

ตลอดจนศึกษากรณีศึกษาในประเทศตางๆขางตนหากมี ในการรับมือกับสถานการณวิกฤติของตลาดเงิน หรือ

เมื ่อมีการเปลี ่ยนแปลงของตลาดหรือมีผลิตภัณฑใหมๆ เกิดขึ ้น ตลอดจนศึกษาเปรียบเทียบโครงสราง

องคประกอบ บทบาท อำนาจหนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับตลาด

ทุน และสำนักงาน ก.ล.ต. กับหลักการและมาตรฐานของ International Organization of Securities

Commissions (IOSCO)

(2) ขั้นตอนที่สองเปนขั ้นตอนระบุหลักเกณฑในการประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ

คณะกรรมการก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับตลาดทุน และสำนักงาน ก.ล.ต.ในบทบาท อำนาจหนาท่ี และความ

รับผิดชอบ ตลอดจนประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที่ โดยวิเคราะหตามเกณฑ (criteria) ตามมาตรฐานของ

International Organization of Securities Commissions (IOSCO) ดังตอไปนี้

1) ความชัดเจน และเปนภาวะวิสัยของขอบเขตความรับผิดชอบ

2) การดำเนินการ และอำนาจท่ีเปนอิสระ และตรวจสอบได

3) มีอำนาจ ทรัพยากร และความสามารถที่เพียงพอในการปฏิบัติภารกิจหลัก และใชอำนาจ

ตามท่ีกฎหมายกำหนด

4) มีข้ันตอนท่ีชัดเจน และมีความสม่ำเสมอในการออกกฎระเบียบกฎเกณฑ

5) มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานตามมาตรฐานสูงสุดของการปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ ซึ่งรวมถึงการ

รักษาความลับ

6) มีสวนรวมในกระบวนการที่จะระบุ ติดตาม ปองกัน และจัดการความเสี่ยงในเชิงระบบ

ภายใตกรอบของภารกิจ

7) มี หรือมีสวนรวมในกระบวนการตรวจสอบสถานการณของกฎระเบียบอยางสม่ำเสมอ

Page 7: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 7

8) พยายามเพื่อใหแนใจวาไมมี หรือมีการเปดเผยถึงการขัดกันของผลประโยชน หรือการไม

สอดคลองกันของแรงจูงใจ

เกณฑท้ัง 8 ประการนี้จึงจะถูกใชเปนเกณฑในการประเมินผลกระทบตอไป ท้ังนี้ผูมีความไดเสียและผู

มีสวนเก่ียวของ (stakeholders) ท่ีเปนเปาหมายของคณะวิจัยในการเก็บขอมูล ไดแก

- หนวยงานซ่ึงทำหนาท่ีกำกับดูแลตลาดเงินและตลาดทุน

- คณะกรรมการหรือหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ

- กลุมผูประกอบธุรกิจภายใตการกำกับดูแลของสำนักงาน ก.ล.ต.

- กลุมสมาคมหรือภาคเอกชนท่ีเก่ียวของกับตลาดทุน

- กลุมผูลงทุนในตลาดทุน

ซึ่งกลุมเปาหมายขางตนนั้น มีทั้งกลุมของหนวยงานกำกับดูแลซึ่งทำหนาที่ในการออกนโยบายและ

ออกกฎระเบียบเพื่อกำกับดูแลตลาดเงินและตลาดทุน ไปจนถึงบุคคลที่ถูกกำกับดูแลตามกฎระเบียบนั้น และ

บุคคลซ่ึงเปนเปาหมายของการคุมครองตามกฎระเบียบนั้นดวย

โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร, การสัมภาษณ หรือประชุมกลุมยอย ทั้งนี้ กลุมเปาหมายอาจ

เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม โดยจะไดเสนอตอสำนักงาน ก.ล.ต. หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงาน

จางท่ีปรึกษาของสำนักงาน ก.ล.ต. แลวแตกรณีตอไป

(3) ขั้นตอนที่ 3 เสนอแนะการปรับปรุงหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนที่มีความเหมาะสม รวมท้ัง

วิเคราะหรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนตามขอเสนอแนะภายใตหลักเกณฑตามมาตรฐานของ

International Organization of Securities Commissions (IOSCO) โ ด ย ว ิ เ ค ร า ะห จ า ก โ ค ร ง ส ร า ง

องคประกอบ อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ที่เหมาะสม ภายใตหลักการพหุหลักเกณฑ (Multi-Criteria

Analysis, MCA)

การวิเคราะหโดยอาศัยหลักการพหุหลักเกณฑ (Multi-criteria Analysis หรือ MCA) ในการประเมิน

ตนทุนและผลประโยชนดวยวิธีนี ้ ผู จัดทำจะกำหนดหลักเกณฑ (Criteria) หรือวัตถุประสงค (Objectives)

หลังจากนั้นจึงกำหนดลำดับหรือน้ำหนักความสำคัญ (Weight) ของแตละเกณฑหรือวัตถุประสงค (หลักเกณฑ

ตาง ๆ นั้นอาจมีน้ำหนักเทากันหมด หรือตางกันก็ไดตามแตวิธีที่นำมาประเมิน) หลังจากนั้นจึงใหคะแนน

(Score) ของตนทุนและผลประโยชนตามหลักเกณฑที่กำหนดไว แทนการประเมินมูลคาที่แทจริงของตนทุน

และผลประโยชนนั ้น 1 โดยในปจจุบันมีการพัฒนาวิธ ีการวิเคราะหดวยวิธ ี MCA ไปอยางกวางขวาง

ตัวอยางเชน การวิเคราะหโดยใชตารางเพื ่อประเมินความสามารถดานตาง ๆ (Direct Analysis of the

1 สิ่งสำคัญคือการใหคะแนน และคาน้ำหนักน้ันตองทำโดยอิสระจากกัน และหากเปนไปไดจัดทำโดยบุคคล หรือคณะบุคคลท่ี

เปนอิสระตอกัน โดยแตละผูใหคะแนนไมทราบถึงคะแนน หรือน้ำหนักของหลักเกณฑของกันและกัน เพ่ือใหไมมีการพยายาม

ปรับคาตัวเลขใหไดผลตามท่ีผูจดัทำกลุมใดกลุมหน่ึงตองการ

Page 8: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 8

Performance Matrix) การใชทฤษฎีอรรถประโยชนโดยพิจารณาจากคุณลักษณะดานตาง ๆ (Multi-

attribute Utility Theory) การใช แบบจำลองผลรวมเช ิงเส น (Linear Additive Models) และการใช

กระบวนการวิเคราะหแบบขั้น (The Analytical Hierarchy Process) โดยแตละวิธีนั้นมีความแตกตางกันใน

แงของสมมติฐานที่เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางหลักเกณฑตาง ๆ ตลอดจนถึงความแนนอนหรือความไม

แนนอนของคาน้ำหนักหรือคะแนนของแตละหลักเกณฑในแตละทางเลือก

ในบริบทของงานวิจัยชิ้นนี้การจัดทำ MCA จะเปนการวิเคราะหเฉพาะทางเลือกขององคกรท่ีมีอยูแลว

และพยายามหา criteria ที่มีปญหาที่สุดกลุมหนึ่ง โดยใชคะแนนที่ไดมาจากการประเมินจาก stakeholders

ตางๆในการใหคะแนนรูปแบบขององคกรปจจุบันตาม criteria ตางๆ ประกอบกับวิธีการประเมินทางสถิติเพ่ือ

พิจารณาวามีคะแนนในดานไหนที่แตกตางจาก criteria อื่นอยางมีนัยสำคัญ เมื่อสามารถระบุไดแลว หลังจาก

นั้นจึงวิเคราะหเพิ่มเติมในเชิงคุณภาพ โดยอาจใชกระบวนการในการเก็บขอมูลจาก stakeholders อีกครั้ง

หนึ่งเพื่อระบุปญหาที่เกิดจาก criteria เหลานั้น ในรายละเอียดเพื่อนำเสนอหาหนทางในการแกไขและพัฒนา

รูปแบบของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนตอไป

6. กรอบแนวคิดของหนวยงานกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะ

แนวคิดการพัฒนาการดานการกำกับดูแลภาคธุรกิจซ่ึงอาจแบงไดเปน 3 ลักษณะใหญไดแก 1) กิจการ

หรืออุตสาหกรรมที่ไมมีการกำกับดูแล (unregulated industries) 2) กิจการที่มีการกำกับดูแล (regulated

industries) และ 3) กิจการของรัฐ (state industries)

การมีหนวยงานอิสระกำกับดูแลและบังคับใชกฎเกณฑทำใหรัฐสามารถกำหนดนโยบาย อันเปน

ประโยชนของชาติโดยปราศจากขอขัดแยงทางผลประโยชน (conflict of interests) ระหวางการปฏิบัติหนาท่ี

3 บทบาท ค ือ หน าท ี ่ผ ู กำหนดนโยบาย (Policy Development) หนาท ี ่ ในการบ ังค ับใช กฎเกณฑ

(Regulation) และ หนาที ่ผ ู ใหบริการ (Network Operations / Service Provision) ซึ ่งจะทำใหร ัฐบาล

สามารถริเริ่มนโยบายการแขงขันที่มีประสิทธิภาพ ปราศจากขอคำนึงถึงผลประโยชนเฉพาะของหนวยงานใด

หนวยงานหนึ่ง และหนวยงานกำกับดูแลก็สามารถดำเนินตามนโยบายดวยความเปนกลางไดอยางแทจริง ท้ังใน

เรื่องการแขงขัน และการเชื่อมตอโครงขาย อันจะเปนการสรางความม่ันใจใหกับตลาดถึงความเปนกลางของคำ

วินิจฉัยจากหนวยงานกำกับดูแล ท่ีจะชวยดึงดูดผูใหบริการรายใหมเขาสูตลาดไดอีกทางหนึ่ง

Page 9: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9

ภาพท่ี 1 รูปแบบการกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะในประเทศ

ท่ีมา: ผูเขียน

6.1 องคกรกำกับดูแลภาคธุรกิจเฉพาะในประเทศ

6.1.1 คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“ก.ล.ต.”) มีอำนาจหนาที่วางนโยบายการ

สงเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับดูแลกิจการดานหลักทรัพยและตลาดทุน รวมทั้งออกระเบียบ ขอบังคับ

ประกาศ คำสั่ง หรือขอกำหนดตาง ๆ ตลอดจนปฏิบัติการอื่นใดเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกฎหมาย

และพ.ร.บ. หลักทรัพยฯ กำหนดใหมีคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ทำหนาที่ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ

คำสั่ง หรือขอกำหนดในเรื่องการประกอบธุรกิจหลักทรัพย การออกและเสนอขายหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพย

ศูนยรับฝากหลักทรัพย สำนักหักบัญชี นายทะเบียนหลักทรัพย สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย และ

การเขาถือหลักทรัพยเพื ่อครอบงำกิจการ ตลอดจนปฏิบัติการใหเปนไปตามกฎหมายหรือตามที ่ไดรับ

มอบหมายจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. โดยตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการ ก.ล.ต. นอกจากนี้ยังกำหนดใหมี

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สำนักงาน ก.ล.ต.”) เพ่ือปฏิบัติการใหเปนไป

ตามมติของคณะกรรมการ ก.ล.ต. กำกับดูแลใหมีการปฏิบัติตามและดำเนินการบังคับใชกฎหมาย รวมท้ัง

ปฏิบัติงานอ่ืนตาม พ.ร.บ. หลักทรัพยฯ หรือกฎหมายอ่ืน

6.1.2 ธนาคารแหงประเทศไทย

ธนาคารแหงประเทศไทย (“ธปท”) เปนธนาคารกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ

ธนาคารแหงประเทศไทย พ.ศ. 2485 เปนหนวยงานซึ่งเปนธนาคารกลางอันมีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับการรักษา

เสถียรภาพทางการเงินและเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินและระบบชำระเงิน ซ่ึงรวมถึงการกำหนดและ

ดำเนินนโยบายทางการเงิน ประกอบดวยคณะกรรมการ 4 คณะ มีอำนาจหนาที่ในดานตางๆกัน รวมถึงมี

คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการโดยเฉพาะเจาะจง โดยการดำเนินงานของ ธปท. จะแบงออกเปนสาย

งานในดานตางๆ ซ่ึงข้ึนตรงตอผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย

2.1.2 คณะกรรมการกำกับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

Sectoral Regulation

Policy Maker

Regulator

Operators

Banking

Government by MOF

BOT

Banks and Finances

Insurance

Government by MOF

OIC

Insurance Companies

Securities

Government by MOF

SEC

Securities Companies

Communications

Government by DE Comm

NBTC

Telcos & Media

Page 10: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 10

คณะกรรมการกำกับและสงเสร ิมการประกอบธ ุรก ิจประกันภ ัย (“คปภ.”) จ ัดต ั ้งข ึ ้นตาม

พระราชบัญญัติคณะกรรมการกำกับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย พ.ศ. 2550 มีอำนาจหนาท่ี

เกี ่ยวกับการกำหนดนโยบาย กำกับ สงเสริมและพัฒนาการประกอบธุรกิจประกันภัยประกอบดวย

คณะกรรมการโดยตำแหนง และคณะกรรมการผู ทรงคุณวุฒิดานกฎหมาย บัญชี บริหารธุรกิจ การเงิน

เศรษฐศาสตร หรือการประกันภัย อีก 6 – 8 คน โดยมี สำนักงานคณะกรรมการกำกับและสงเสริมการ

ประกอบธุรกิจประกันภัย (“สำนักงาน คปภ.”) รับผิดชอบงานธุรการของ คปภ. รวมถึงกำกับ สงเสริม และ

พัฒนาการประกอบธุรกิจประกันภัยตามนโยบายและมติของ คปภ. ศึกษาคนควา วิจัย วิเคราะหเพื่อสงเสริม

พัฒนา และกำกับดูแลการประกอบธุรกิจประกันภัย

6.1.3 คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“กสทช.”)

จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ

โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 มีอำนาจหนาท่ีเก่ียวกับการกำหนดนโยบาย กำกับ สงเสริมและ

พัฒนาการประกอบธุรกิจกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ประกอบดวย

คณะกรรมการจำนวน 7 คน ซึ่งแตงตั้งจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญดานตางๆ โดยมีสำนักงานคณะกรรมการ

กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“สำนักงาน กสทช.”) ทำหนาท่ี

เกี่ยวกับการรับผิดชอบงานธุรกิจตางๆ ของ กสทช. การจัดทำงบประมาณ การตรวจสอบติดตามการใชคลื่น

ความถ่ี การรับและพิจารณาขอรองเรียนตางๆ รวมถึงการศึกษาและรวบรวมวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับคลื่น

ความถ่ี การใชคลื่นความถ่ี และการประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม

เห็นไดวาลักษณะของการจัดตั้งองคกรเพื่อกำกับดูแลกิจการภาคธุรกิจของประเทศไทยนั้นจะแบง

โครงสรางขององคกรเปน 2 ระดับดวยกัน คือ คณะกรรมการซึ่งมีอำนาจเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายท่ี

เกี ่ยวของกับองคกรในการกำกับดูแลกิจการตางๆ ที ่เกี ่ยวของ และสำนักงานคณะกรรมการ ซึ ่งจะเปน

หนวยงานที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเพื่อปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจหรือการทำงานของคณะกรรมการ รวมถึง

งานดานธุรการตางๆ ซึ่งก็เปนไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสรางขององคกรกำกับดูแลตลาดเงินและ

ตลาดทุนของตางประเทศ

6.2 รูปแบบสากลในการกำกับดูแลตลาดทุน

หนวยงานกำกับดูแลทางการเงินสามารถแบงออกไดเปน หนวยงานกำกับดูแลแหงเดียวกำกับดูแล

ตลาดเงินและตลาดทุนทั้งปวง กับหนวยงานกำกบัดูแลหลายแหงกำกับดูแลตลาดเงินและตลาดทุนในประเด็น

ตางๆกันไป ทั้งนี้ระบบหนวยงานกำกับดูแลเดียวจำเปนตองมีการเขาถึงขอมูลที่มีประสิทธิภาพเพื่อที่จะกำกับ

ดูแลและรักษาเสถียรภาพทางการเงิน แตระบบหนวยงานกำกับดูแลหลายแหงอาจสามารถจัดทำขอมูลท่ี

ตนเองจำเปนตองใชเฉพาะเรื่องไดดีกวา ขณะที่ระบบหนวยงานกำกับดูแลเดียวอาจมีความยืดหยุนกวาในการ

กำหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อแกปญหาหนึ่งๆ แตระบบหนวยงานกำกับดูแลหลายแหงอาจมีประเด็นตอง

Page 11: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 11

พิจารณาวาหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดโดยหนวยงานหนึ่งอาจมีความแตกตางออกไปจากหลักเกณฑและ

วิธีการของอีกหนวยงานหนึ่ง

ภาพท่ี 2 รูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลในประเทศ

ท่ีมา: ผูเขียน

จากการศึกษาเปรียบเทียบ สหราชอาณาจักรและสิงคโปรมีลักษณะเปนหนวยงานกำกับดูแลแหงเดียว

กำกับดูแลตลาดเงินและตลาดทุนท้ังปวง ในขณะท่ี สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และฮองกง ท่ีมีหนวยงานกำกับ

ดูแลตลาดเงินและตลาดทุนแยกจากกัน อยางไรก็ตามทุกประเทศมีลักษณท่ีเหมือนกันคือ การจัดตั้งองคกรเพ่ือ

กำกับดูแลกิจการภาคธุรกิจจะแบงโครงสรางขององคกรเปน 2 ระดับดวยกัน คือ คณะกรรมการซึ่งมีอำนาจ

เกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับองคกรในการกำกับดูแลกิจการตางๆ ที่เกี่ยวของ และสำนักงาน

คณะกรรมการ ซ่ึงจะเปนหนวยงานท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายเพ่ือปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจหรือการทำงานของ

คณะกรรมการ รวมถึงงานดานธุรการตางๆ โดยหนวยงานกำกับดูแลเหลานี้มีลักษณะเปนหนวยงานอิสระ และ

มีกฎหมายกำหนดการไดมาซ่ึงคณะกรรมการกำกับดูแล

ภาพท่ี 3 รูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนในตางประเทศ

ท่ีมา: ผูเขียน

BOT

BOT Board

Monetary Policy Committee

Fin.Inst. Policy Committee

Payment Systems Committee

Governor & Office

OIC

Insurance Commission

Sec Gen & Office

SEC

SEC Commission

Capital Market & Supervisory Board

Sec Gen & Office

NBTC

NBTC Commission

Sec Gen & Office

US

SEC Commission

(5)

Office

UK

FCA Board (9)

CEO & Executive

Committee

Office

Australia

ASIC Commission

(3-8)

Office

Singapore

MAS Board (4-13)

MD & Office

Hong Kong

SFC Board (14)

CEO & Executive

Committee

Office

Page 12: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 12

7. การประเมินรูปแบบหนวยงานกำกับดูแลตามหลักการ IOSCO

IOSCO (International Organization of Securities Commissions) ได เสนอหลักการเก ี ่ยวกับ

หนวยงานกำกับดูแลหลักทรัพยเอาไวตาม IOSCO Objectives and Principles of Securities Regulation

โดยการกำกับดูแลตลาดหลักทรัพยของ IOSCO มีวัตถุประสงคเพ่ือการคุมครองนักลงทุนจากการกระทำอันไม

เปนธรรม ทำใหตลาดมีความยุติธรรม มีประสิทธิภาพ และโปรงใส และลดความเสี่ยงเชิงระบบ โดย IOSCO ได

เสนอหลักการเก่ียวของกับการดูแล 8 ประการ โดยไดประเมินหนวยงานกำกับดูแลของประเทศตางๆในการนำ

หลักการของ IOSCO ไปปรับใชซ ึ ่งตาม IOSCO Assessment Methodology ไดกำหนดระดับของการ

ประเมินวาหนวยงานกำกับดูแลไดดำเนินการตามหลักการหรือไมเปน 5 ระดับ คือ นำหลักการไปใชโดย

ครบถวนสมบูรณ นำหลักการสวนใหญไปใช นำหลักการบางสวนไปใช ไมไดนำหลักการไปใช และ ไมสามารถ

ปรับใชได โดยหลักเกณฑท้ัง 8 ประการไดแก

1) หนาท่ีความรับผิดชอบของหนวยงานกำกับดูแลจะตองระบุไวอยาง

2) หนวยงานกำกับดูแลสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางเปนอิสระและรับผิดชอบตอการทำหนาท่ีของตนเอง

3) หนวยงานกำกับดูแลมีอำนาจท่ีเพียงพอ ทรัพยากรท่ีเหมาะสม และความสามารถท่ีจะทำหนาท่ีของ

ตนเองตามหนาท่ีและอำนาจนั้นได

4) หนวยงานกำกับดูแลจะตองมีกระบวนการดำเนินการท่ีชัดเจนและสม่ำเสมอ

5) พนักงานเจาหนาท่ีของหนวยงานกำกับดูแลจะตองดำเนินงานไปตามมาตรฐานวิชาชีพสูงสุด รวมถึง

มาตรฐานการรักษาความลับท่ีเหมาะสม

6) หนวยงานกำกับดูแลจะตองมีกระบวนการในการติดตามตรวจสอบ, แกไขปญหา, และจัดการความ

เสี่ยงเชิงระบบ และเหมาะสมตออำนาจหนาท่ีของตนเอง

7) หนวยงานกำกับดูแลจะตองมีกระบวนการในการทบทวนการกำกับดูแลของตนเองอยูเสมอ

8) หนวยงานกำกับดูแลจะตองทำใหแนใจวาไดดำเนินการ หลีกเลี่ยง, ขจัด, เปดเผย, หรือจัดการ ความ

ขัดแยงกันซ่ึงผลประโยชนและแรงจูงใจท่ีบิดเบือน

Page 13: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 13

ภาพท่ี 4 สรุปการนำหลักการของ IOSCO มาปรับใชของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนของประเทศตางๆ

ท่ีมา: ผูเขียน

8. การประเมินรูปแบบองคกรเพ่ือรองรับนวัตกรรมและการพัฒนา

8.1 แนวโนมของตลาดการเงินและการกำกับดูแล รวมท้ังความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึน

จากรายงาน Securities Markets Risk Outlook 2016 ไดมีการศึกษาถึงแนวโนมของตลาดการเงิน

และการกำกับดูแล (Key Trends in Financial Markets and regulation) โดยแนวโนมของตลาดการเงิน

และการกำกับดูแล นโยบายทางการเงินของธนาคารกลางของประเทศตางๆ รวมไปถึงราคาสินคาโภคภัณฑ

และแนวโนมของเศรษฐกิจโลกยอมสงผลถึงตลาดการเงินท้ังทางตรงและทางออม นอกจากมีการนำเทคโนโลยี

เขามาประยุกตใชกับการใหบริการทางการเงินและการลงทุนไดเกิดขึ้นอยางแพรหลาย และไดพัฒนาเกิดเปน

กลุมธุรกิจที่นำเทคโนโลยีมาใชในการใหบริการดานการเงิน (Fintech) ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงไปของตลาด

สงผลใหอาจมีความเสี่ยงและสงผลตอการดำเนินงานของหนวยงานกำกับดูแล เชน ตลาดแรกสำหรับการซ้ือ

ขายหุนกูนั้นไดมีการขยายตัว ในขณะที่ตลาดรองยังอาจไมมีศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับ ทำใหเกิดปญหา

สภาพคลอง หรือ ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการใชหลักทรัพยเปนหลักประกันในธุรกรรมทางการเงิน ซึ่งอาจไมไดมี

มูลคาหรือมีคุณภาพ ความเสี่ยงจากการกระทำที่กอใหเกิดความเสียหายที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑและบริการทาง

การเงินรายยอย ตลอดจนภัยคุกคามทางไซเบอร

8.2 ความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึนตอโครงสรางพ้ืนฐานของตลาดการเงินตาม Principles for Financial

Market Infrastructures (PFMI)

โครงสรางพื้นฐานของตลาดทางการเงิน (FMI) ไดแก หนวยงานหรือองคกรที่อำนวยความสะดวก

เกี่ยวกับการหักบัญชี การชำระเงิน และการบันทึกธุรกรรมทางการเงิน ที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

จะสามารถชวยรักษาและสงเสริมใหเกิดเสถียรภาพในระบบการเงินและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้ปจจัย

Page 14: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14

เสี่ยงที่อาจกระทบตอโครงสรางพ้ืนฐานของตลาดการเงิน แบงไดเปน 6 ดาน คือ ความเสี่ยงดานกฎหมาย

(Legal risk) ความเสี่ยงดานความนาเชื่อถือ (Credit risk) ความเสี่ยงดานสภาพคลอง (Liquidity risk) ความ

เสี่ยงดานการดำเนินธุรกิจโดยท่ัวไป (General business risk) ความเสี่ยงดานการดูแลทรัพยสินและการลงทุน

(Custody and investment risks) และ ความเสี ่ยงดานการปฏิบัติการ (Operational risk) ทั ้งนี ้ PFMI

กำหนดหลักการข้ึนเพ่ือรองรับและปองความเสี่ยงขางตนท่ีอาจเกิดข้ึนได

8.3 ประเด็นท่ีนาสนในเกี่ยวกับ Global stablecoin

ในปจจุบันนี้ความกาวหนาทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมไดกอไดเกิดการพัฒนาในระบบการเงิน โดย

ธุรกิจทางดานการเงินนั้นไดนำเทคโนโลยีเขามาใชในการประกอบธุรกิจอยางแพรหลาย ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ คริป

โทเคอรเรนซี (Cryptocurrency) โดย Stablecoin คือคริปโทเคอรเรนซีที่มีมูลคาแนนอนโดยอิงกับสินทรัพย

บางประเภท เพื่อแกไขปญหาความไมแนนอนของมูลคาของสินทรัพยดิจิทัล โดยแบงเปน Stablecoin ท่ี

อางอิงมูลคาตามสินทรัพยอางอิง และเปน Stablecoin ที่ไมไดอางอิงมูลคาตามสินทรัพย แตใชกลไกตลาดใน

การกำหนดมูลคาของ Stablecoin โดยพิจารณาตามอุปสงคหรืออุปทานของ Stablecoin นั้นๆ

ทั้งนี้ IOSCO ไดจัดทำรายงาน Global Stablecoin Initiatives เพื่อวิเคราะหผลกระทบและความ

เปนไปไดที่จะมี Global stablecoin เกิดขึ้นมา และจำลองสถานการณเพื่อเปนกรณีศึกษาเกี่ยวกับการสราง

Global stablecoin ขึ ้นมาเพื ่อพิจารณาถึงประเด็นทางกฎหมายที ่เก ี ่ยวของ โดย Global stablecoin

หมายถึง Stablecoin ที่มีแนวโนมวาจะถูกสรางขึ้นและนำไปใชในประเทศตางๆ ไดอยางกวางขวาง โดย

ลักษณะการใชงาน Coin ท่ีกำหนดใหผูบริโภคสามารถนำ Coin ไปใชในการชำระเงินไดนั้นสามารถเทียบเคียง

ไดกับการประกอบธุรกิจธนาคาร การใหบริการหรือระบบการชำระเงิน หรือผูใหบริการโครงสรางพื้นฐานทาง

การเงินประเภทอื่น ซึ่งธุรกิจเกี่ยวกับการเงินเหลานี้ IOSCO ไดกำหนดหลักเกณฑสำหรับการกำกับดูแลไว คือ

CPMI-IOSCO Principles for Financial Market Infrastructures (PFMI) ในขณะท่ีการกำหนดวิธีการบริหาร

จัดการและโครงสรางของ Reserve Fund ซึ่งรวมถึงบทบาทของผูเกี่ยวของท่ีไดรับอนุญาตในการสราง การ

จำหนาย และการขายคืน Coin รวมทั้งการรักษามูลคาของ Coin ใหสอดคลองกับมูลคาของสินทรัพยอางอิง

ซึ่งลักษณะโครงสรางของการกำหนดมูลคาของ Coin ที้สัมพันธกับมูลคาของ Reserve Fund นี้สามารถ

เทียบเคียงไดกับโครงสรางของการลงทุนชนิดอ่ืน อยางไรก็ตามในการกำกับดูแล Global stablecoin ก็มี

ขอพิจารณา 3 ดาน คือ

ดานความเสี่ยงเชิงระบบ โครงสรางของ Stablecoin มีแนวโนมท่ีจะมีผูใชบริการเปนจำนวนมาก ซ่ึง

ยอมสงผลใหเพ่ิมความเสี่ยงท่ีระบบของ Stablecoin อาจกอใหเกิดความเสี่ยงเชิงระบบได

ดานความนาเชื่อถือของตลาดและความยืดหยุนของตลาด จำเปนตองมีการกำกับดูแลชองทางการซ้ือ

ขาย coin หรือตัวกลางในการซ้ือขาย โดยมีระบบการควบคุมท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือปองกันไมใหเกิดปญหาหรือ

ความเสี่ยงตอความนาเชื่อถือของตลาดและเพ่ือคุมครองผูบริโภค

ดานการคุมครองนักลงทุนและผูบริโภค ตองพิจารณาวา stablecoin เขาหลักเกณฑตามลักษณะของ

สินทรัพยดิจิทัลที่อยูภายใตการกำกับดูแลตามกฎหมายของประเทศนั้นๆหรือไม และมีกฎเกณฑที่กำกับดูแล

Page 15: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 15

อยางไร ผูท่ีลงทุนใน Stablecoin นั้นยอมไดรับการกำกับดูแลมากกวา Stablecoin ที่ไมเขาหลักเกณฑการ

เปนสินทรัพยดิจิทัลภายใตการกำกับดูแล

9. การประเมินหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุนของไทย

งานวิจัยวิเคราะหถึงหลักเกณฑตางๆที ่อาจใชในการประเมินองคกรกำกับดูแลตลาดทุนโดยยึด

หลักเกณฑตามมาตรฐานของ IOSCO โดยวิเคราะหจากโครงสราง องคประกอบ อำนาจหนาที่ และความ

รับผิดชอบ ที่เหมาะสม ภายใตหลักการพหุหลักเกณฑ (Multi-Criteria Analysis, MCA) โดยมีการใหคะแนน

(Score) ตามหลักเกณฑท่ีกำหนดไวแทนการประเมินมูลคาท่ีแทจริงของตนทุนและผลประโยชนนั้น ซ่ึงในกรณี

นี้ผูวิจัยเลือกใชการประเมินตามลำดับ (ordinal-scaled evaluation) จากระดับ 1 ที่หมายความถึงวาภายใต

หลักเกณฑนั้น ก.ล.ต. จำเปนที่จะตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเปนอยางยิ่ง จนถึงระดับ 6 ที่หมายความวา

ภายในหลักเกณฑนั้น ก.ล.ต. สามารถกำกับดูแลตลาดทุนไดอยางดีอยูแลว โดยมีการทดสอบความนาเชื่อถือ

ของการตอบคำถาม (Reliability test) ดวย Cronbach’s Alpha แลวจึงการวิเคราะหคะแนนการประเมิน

ของแตละหลักเกณฑ

ภาพท่ี 5 คะแนนการประเมินองคกรตามหลักการพหุหลักเกณฑ

ท่ีมา: ผูเขียน

ทั้งนี้จากการวิเคราะหจากโครงสราง องคประกอบ อำนาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ที่เหมาะสม

ภายใตหลักการพหุหลักเกณฑ สามารถจัดประเภทของหลักเกณฑการประเมินในการศึกษาครั้งนี้ไดเปน 4 กลุม

โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

9.1 ดานท่ีสำนักงาน ก.ล.ต. ดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ

ดานท่ี 5 พนักงานเจาหนาท่ีของหนวยงานกำกับดูแลจะตองดำเนินงานไปตามมาตรฐานสูงสุดของการ

ปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ ซ่ึงรวมถึงการรักษาความลับ

Page 16: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 16

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย มาตรฐานความเปนมืออาชีพของสำนักงาน ก.ล.ต. มี

ความนาเชื่อถือสูง ไดรับการยอมรับจากสังคมเปนการทั่วไป นอกจากนี้ เมื่อสำนักงาน ก.ล.ต. ดำเนินการออก

ตรวจผูที่อยูภายใตการกำกับดูแลหลายหนวยงานตางใหความเห็นไปในทิศทางเดียวกันวา ไมปรากฏวา ขอมูล

ความลับของผูถูกตรวจสอบถูกเผยแพรหรือรั่วไหลออกจากสำนักงาน ก.ล.ต. แตอยางใด

แนวทางแกไขปรับปรุงเพ่ิมเติม แมวาหลักเกณฑในดานนี้ของสำนักงาน ก.ล.ต. จะอยูในระดับที่มี

ประสิทธิภาพแลว สำนักงาน ก.ล.ต. อาจพิจารณาการลงนามในสัญญาเก็บรักษาความลับ (non-disclosure

agreement) เพ่ือใหการดำเนินงานของสำนักงาน ก.ล.ต. มีความนาเชื่อถือมากยิ่งข้ึน

ดานที่ 8 หนวยงานกำกับดูแลจะตองทำใหแนใจวาไดดำเนินการหลีกเลี่ยง ขจัด เปดเผย หรือจัดการ

ความขัดแยงทางผลประโยชนหรือการไมสอดคลองกันของแรงจูงใจ

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสียความขัดแยงทางผลประโยชน และการไมสอดคลองกัน

ของแรงจูงใจไมใชประเด็นท่ีเปนปญหามากนักสำหรับสำนักงาน ก.ล.ต.

9.2 ดานท่ีสำนักงาน ก.ล.ต. อาจตองปรับปรุง

ดานท่ี 2 หนวยงานกำกับดูแลสามารถปฏิบัติหนาท่ีไดอยางเปนอิสระ รับผิดชอบตอการทำหนาท่ีของ

ตนและสามารถตรวจสอบได

ประเด็นจากการสัมภาษณผูท่ีมีสวนไดเสีย

ก.ล.ต. มีภาพลักษณของความเปนกลาง แตอาจมีใหความสำคัญกับธุรกรรมขนาดเล็กกับขนาดใหญไม

เทาเทียมกัน มีความอิสระจากงบประมาณภาครัฐ โดยมีรายไดมาจากจัดเก็บคาธรรมเนียม แตมีขอพิจารณา

การจัดเก็บคาธรรมเนียมใหสัมพันธกับตนทุนของการกำกับดูแล เพื่อไมเปนภาระของอุตสาหกรรมเกินสมควร

อยางไรก็ตามในดานนโยบายนั้นการตัดสินใจสุดทายข้ึนอยูกับกระทรวงการคลัง

คณะกรรมการเปรียบเทียบและคณะกรรมการพิจารณาลงโทษทางแพงซึ่งมีผูแทนจาก ธปท.เขามา

เปนกรรมการรวม อาจกอประเด็นการขัดกันระหวางผลประโยชนในฐานะการกำกับธุรกิจหลักทรัพยกับการ

รักษาเสถียรภาพและความเชื่อม่ันของระบบสถาบันการเงิน

สำนักงาน ก.ล.ต. มีการเปดเผยการกระทำความผิดผานเว็บไซต แตขาดการแจงใหทราบถึงผลในชั้น

ศาลหากมีการกลับผลการพิจารณา

แนวทางแกไขปรับปรุงเพิ่มเติม แกไข มาตรา 90 พ.ร.บ. หลักทรัพยฯ อำนาจในการอนุมัติหรือเพิก

ถอนใบอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย โดยระบุใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอนุมัต ิตาม

คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือมีมาตรการรองรบักรณีท่ีกรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังมีความเห็นแตกตาง

ดานที่ 4 หนวยงานกำกับดูแลจะตองมีขั้นตอนที่ชัดเจนและมีความสม่ำเสมอในการออกกฎระเบียบ

กฎเกณฑ

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย บางกรณีกฎเกณฑอาจไมไดสัดสวนระหวางภาระหนาท่ี

ของอุตสาหกรรมกับผลประโยชนโดยรวม หรือลักษณะเปนการแกไขปญหาตามสถานการณมากกวาการวาง

กฎเกณฑที่รองรับการเปลี่ยนแปลงไวลวงหนา ในขณะเดียวกันกฎเกณฑบางเรื่องอาจไมสอดคลองกันระหวาง

Page 17: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 17

หนวยงานของรัฐตางๆ เชน ตรวจสอบขอเท็จจริงเกี่ยวกับลูกคา (Know Your Customer: KYC) ที่กำหนด

แตกตางกันระหวาง ก.ล.ต. กับ ป.ป.ช.

สำหรับการรับฟงความคิดเห็นนั ้นเปนกระบวนการที ่กฎหมายกำหนดไว แตความคิดเห็นของ

ภาคเอกชนไมไดมีผลกระทบตอการออกกฎระเบียบที่เสนอมา ในบางครั้งจึงเสมือนการดำเนินการเพื่อใหเปน

การปฏิบัติตามกฎหมายเทานั้น ท้ังกรอบระยะเวลาการรับฟงความคิดเห็นอาจสั้นเกินไปในบางกรณี

แนวทางแกไขปรับปรุงเพ่ิมเติม สำนักงาน ก.ล.ต. มีแนวทางการรับฟงความคิดเห็นท่ีชัดเจนแลว แต

อาจตองมีชองทางประชาสัมพันธท่ีเหมาะสมท่ีแสดงถึงการใหความสำคัญของความคิดเห็นดังกลาว

ดานที่ 7 หนวยงานกำกับดูแลจะตองมีกระบวนการในการทบทวนการกำกับดูแลของตนเองอยาง

สม่ำเสมอ

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย กฎระเบียบบางฉบับไมไดรับการแกไขปรับปรุงมาเปน

ระยะเวลานาน ไมเทาทันกับสถานการณในโลกธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ ถึงแมจะมีการ

ทบทวน แตการทบทวนดังกลาวไมไดตรงกับความตองการของตลาดอยางแทจริง และการทบทวนกฎเกณฑ

บางฉบับเกิดข้ึนจากภาคเอกชนเสนอเรื่องเขาไปยัง ก.ล.ต. ซ่ึง ก.ล.ต. ใชระยะเวลานานในการแกไขกฎเกณฑ

แนวทางแกไขปรับปรุงเพิ ่มเติม ดำเนินการ regulatory guillotine เพื ่อพิจารณาตรวจสอบ

กฎระเบียบท่ีลาสมัย

ดานท่ี 9 ความพรอมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย ก.ล.ต.มุงเนนการกำกับดูแลเพื่อคุมครองผูลงทุน โดย

กำกับดูแลในลักษณะที่ทำหนาท่ีเปนผูตัดสินใจตามความเหมาะสม (merit based) ไมใชลักษณะการเปดเผย

ขอมูลท่ีใหผูลงทุนเปนผูตัดสินใจเอง (disclosure based) ซ่ึงอาจสงผลใหการพัฒนาตลาดทุนเพ่ือรองรับความ

เปลี่ยนแปลงในอนาคตเปนไปอยางลำบาก และการออกกฎระเบียบหรือหลักเกณฑของ ก.ล.ต. มีลักษณะตั้งรับ

ตอการเปลี่ยนแปลง โดยมีบทบาทในการพัฒนาเพ่ือรองรับตอการเปลี่ยนแปลงของตลาดทุนนอยมาก

ทางดานบุคลากรของ สำนักงาน ก.ล.ต. ในระยะยาวอาจมีความรูไมเพียงตอการผลักดันการพัฒนาท่ี

อาจเกิดข้ึนในอนาคต นอกจากนี้เม่ือตลาดมีการเปลี่ยนแปลงไปอาจเกิดประเด็นการวางตัวในฐานะผูกำกับดูแล

หากมีการแขงขันในการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานทางดานตลาดระหวางหนวยงานกำกับดูแล และเอกชน

แนวทางแกไขปรับปรุงเพิ่มเติม การจัดทำแผนของสำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 31/2 แหงพ.ร.บ.

หลักทรัพยหลักทรัพยฯ ทั้งนี้ แผนดังกลาวเปนแผนที่มีระยะเวลาสามป ซึ่งจะตองสอดคลองกับยุทธศาสตร

ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

9.3 ดานท่ีมีอุปสรรคในแงพหุมิติ (multidimensionality)

ดานที่ 1 หนาที่และความรับผิดชอบของหนวยงานกำกับดูแลจะตองระบุไวอยางชัดเจน และเปน

ภาวะวิสัยของขอบเขตความรับผิดชอบ

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย ขอบเขตความรับผิดชอบของหนวยงานกำกับดูแลถูก

จัดสรรไปยังคณะกรรมการ ก.ล.ต. คณะกรรมการกำกับตลาดทุน และสำนักงาน ก.ล.ต. มีความชัดเจนเปน

Page 18: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 18

อยางมาก แตบุคลากรอาจไมไดมีความเขาใจในลักษณะของธุรกิจที่เกี่ยวของอยางแทจริง และมีการตีความท่ี

เครงครัดมากจนเกินไป สงผลตอตนทุนในการประกอบธุรกิจ และเปนอุปสรรคตอการพัฒนาตลาดทุน

ในแงของความชัดเจนดานการพัฒนาตลาดทุน ความรับผิดชอบในดานนี้ของ ก.ล.ต. ยังไมชัดเจน

เทาที่ควร นอกจากนี้การประสานงานระหวางหนวยงานภายในของก.ล.ต. เกิดขึ้นนอยมาก เนื่องจากภายใน

สำนักงาน ก.ล.ต. มีหนวยงานยอยจำนวนหลายหนวยงาน อีกทั้งแตละหนวยงานมีบทบาทและภารกิจท่ี

แตกตางกันอยางชัดเจน ในขณะเดียวกัน ก.ล.ต. ขาดการมีบทบาทผูนำในฐานะหนวยงานสูงสุดในตลาดทุนใน

แงความรวมมือระหวางหนวยงานกำกับดูแลอ่ืนๆ จากมุมมองของภาคเอกชน

การแกไขพ.ร.บ. หลักทรัพยฯ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 ที่ระบุให การกำหนด แกไข หรือเปลี่ยนแปลง

ระเบียบหรือขอบังคับของตลาดหลักทรัพยจะมีผลใชบังคับเมื่อไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต.

อันรวมถึงระเบียบหรือขอบังคับบางประการเปนเพียงเรื่องในทางบริหาร จัดการเล็กนอย อาจกอใหเกิดความ

ลาชาในทางปฏิบัติซ่ึงไมตอบสนองตอความรวดเร็วหรือความผันผวนของตลาดทุน

แนวทางแกไขปรับปรุงเพ่ิมเติม การแกไขปญหาความชัดเจนของความรับผิดชอบในการพัฒนาตลาด

ทุน โดยการจัดทำแผนตามมาตรา 31/2 ของ พ.ร.บ. หลักทรัพยฯ และใหมีฝายประสานงาน ทำหนาท่ีเปน

ตัวกลางรับเรื ่อง พรอมทั้งติดตามเรื ่องใหภาคเอกชน ในขณะเดียวกัน ก.ล.ต. ควรทำงานในเชิงรุกในการ

ประสานงานกับภาคอุตสาหกรรมอ่ืน

ดานที ่ 3 หนวยงานกำกับดูแลมีอำนาจที ่เพียงพอ มีทรัพยากรที่เหมาะสม และความสามารถท่ี

เพียงพอในการปฏิบัติภารกิจหลัก และใชอำนาจตามท่ีกฎหมายกำหนด

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย ก.ล.ต. มีอำนาจตามกฎหมายที่เพียงพอแลว โดยเฉพาะ

อยางยิ่งภายหลังจากการแกไข พ.ร.บ. หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 ครั้งลาสุด เชน

การรวบอำนาจในการกำกับตลาดหลักทรัพย เปนตน ทรัพยากรดานงบประมาณของ ก.ล.ต. มีความเพียงพอ

จากคาธรรมเนียมจากการดำเนินงาน ในขณะท่ีทรัพยากรดานเทคโนโลยีของ ก.ล.ต. อาจไมเพียงพอตอการ

อำนวยความสะดวกแกภาคเอกชน และคาตอบแทนและสวัสดิการของบุคลากร ก.ล.ต. เมื่อเปรียบเทียบกับ

ภาคเอกชนอาจไมไดดึงดูดใหบุคลากรอยูกับ ก.ล.ต. ไดนาน สงผลใหเกิดปญหาขาดแคลนบุคลากรตามมา

การเปลี่ยนแปลงบุคลากรของ ก.ล.ต. มีความผันผวนสูงทำใหขาดคนที่มีความรู ความเขาใจ ความ

เชี่ยวชาญอยางแทจริงในดานนั้นๆ ในขณะเดียวกันบุคลากรรุนใหมอาจมีความเขาใจในเชิงธุรกิจอยางไม

เพียงพอ สงผลใหการตีความกฎเกณฑขาดความชัดเจน หรือมีแนวโนมท่ีจะเปนไปในลักษณะเครงครัดมุงไปใน

เชิงปฏิเสธเพื่อผลักภาระความรับผิดชอบของตน ทางดานการใหขอมูลของบุคคลากรของ ก.ล.ต. มักจะมีขอ

สงวนระบุไวในลักษณะท่ีวา การใหความเห็นดังกลาวเปนความเห็นสวนตัวไมผูกพัน ก.ล.ต. แตอยางใด ซ่ึงอาจ

ทำใหภาคเอกชนขาดความเชื่อม่ันในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ

การนำ พ.ร.บ.การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 มาใชใน

การปฏิบัติงานของ ก.ล.ต. อาจไมเหมาะสมกับลักษณะงานของ ก.ล.ต. ที่จะตองใชความละเอียดอยางมากใน

การพิจารณา รวมถึงเอกสารที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เมื่อระยะเวลาในการพิจารณามีจำกัด ก.ล.ต.

จึงมีแนวโนมท่ีจะพิจารณาไปในเชิงปฏิเสธ

Page 19: สรุปผลการศึกษาเบื้องต น ... · 2020-07-19 · งานด านธุรการต างๆ ซึ่งก็เป นไปในลักษณะเดียวกันกับรูปแบบโครงสร

สรุปผลการศึกษาเบ้ืองตนโครงการศึกษาวิจัยรูปแบบองคกรของหนวยงานกำกับดูแลตลาดทุน

ศูนยวิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 19

แนวทางแกไขปรับปรุงเพิ่มเติม พัฒนาทรัพยากรบุคคลรวมกันกับภาคเอกชน รวมถึงการสนับสนุน

ในดานทุนการศึกษาเพื่อพัฒนาองคความรูของบุคลากร และจัดระบบการจัดการดานกฎระเบียบ ที่ทำใหเห็น

ความเชื่อมโยงของกฎระเบียบฉบับตางๆ นอกจากนี้ ก.ล.ต. ควรพิจารณาจัดทำคูมือหรือแนวทางการตีความ

กฎระเบยีบหรือหลักเกณฑของตนเอง เพ่ือเปนแนวทางการทำงานของบุคลากรและภาคเอกชน

9.4 ดานอ่ืนๆ

ดานท่ี 6 หนวยงานกำกับดูแลจะตองมีกระบวนการในการติดตามตรวจสอบ แกไขปญหา และจัดการ

ความเสี่ยงเชิงระบบไดอยางเหมาะสมตออำนาจหนาท่ีของตน

ประเด็นจากการสัมภาษณผูที่มีสวนไดเสีย บุคคลากรรุนใหมไมไดพบเจอวิกฤติเศรษฐกิจที่รุนแรง

เชน วิกฤติตมยำกุง เหมือนกับบุคลากรรุนเกา ดังนั้นบุคลากรรุนใหมจึงอาจขาดความรู ความเขาใจในความ

เสี่ยงของอุตสาหกรรมทั้งระบบ ในขณะท่ีการดำเนินการของ ก.ล.ต. ที่ลาชาในชวงที่ตลาดมีความผันผวนจาก

โรคระบาดในปจจุบนั

แนวทางแกไขปรับปรุงเพิ ่มเติม ดำเนินการการรวมศูนยขอมูลของหนวยงานกำกับดูแลแตละ

หนวยงานทั้ง ธปท. ก.ล.ต. และ คปภ. ผานโครงสรางพื้นฐานกลางจะทำใหแตละหนวยงานสามารถเขาถึง

ขอมูลไดตลอดเวลาในทันที (real-time access) และเผยแพรรายงานการตรวจสอบความเสี่ยงเชิงระบบ

(systematic risk monitoring reports) ตอสาธารณะ