aec studies report

43
รายงาน เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เสนอ รศ. วราภรณ จุลปานนท จัดทําโดย นางสาวนพมาศ กิจบํารุง รหัส 5114930119 นายปรินทรอัศว อัครภูวดล รหัส 5114930121 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาบูรณาการเศรษฐกิจสวน ภูมิภาค (NG 612 ) สาขาวิชาการเจรจาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Upload: pga-coop

Post on 16-Mar-2016

218 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

นางสาวนพมาศ กิจบํารุง รหัส 5114930119 นายปรินทรอัศว อัครภูวดล รหัส 5114930121 เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) รศ. วราภรณ จุลปานนท เสนอ จัดทําโดย 13 43 บทความพิเศษ 33 “ไทยต องพัฒนาตนเองเพื่อรองรับการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ยุทธศาสตรการคาการลงทุนในอาเซียน 25 อุปสรรคการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 31 -2- สารบัญ หนา -3- -4- รวมใจเปนหนึ่ง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใ

TRANSCRIPT

Page 1: AEC Studies Report

รายงาน เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

เสนอ

รศ. วราภรณ จุลปานนท

จัดทําโดย

นางสาวนพมาศ กิจบํารุง รหัส 5114930119 นายปรินทรอัศว อัครภูวดล รหัส 5114930121

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาบูรณาการเศรษฐกิจสวนภูมิภาค (NG 612 )

สาขาวิชาการเจรจาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

Page 2: AEC Studies Report

สารบัญ หนา

สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวนัออกเฉียงใต 3 (Association of Southeast Asian Nations)

ประชาคมอาเซียน 8 (ASEAN Community)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) 13

นับถอยหลัง 6 ป จาก ASEAN สู AEC 20 ยุทธศาสตรการคาการลงทุนในอาเซียน 25 อุปสรรคการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 31 บทความพเิศษ 33 “ไทยตองพฒันาตนเองเพื่อรองรับการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” บทสัมถาษณพิเศษ 35 ผูอํานวยการหนวยพัฒนาการเช่ือมโยงอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน BOI

ภาคผนวก :สรุปภาวะการคาระหวางประเทศไทย - อาเซียน 2551 37

ความเคลื่อนไหวของการเติบโตทางเศรษฐกิจ 43

- 2 -

Page 3: AEC Studies Report

สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวนัออกเฉียงใต (Association of Southeast Asian Nations) หรืออาเซียน (ASEAN)

ปจจุบัน

ประกอบดวยประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต 10 ประเทศไดแก บรูไน ดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ อินโดนีเซียสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสหพันธรัฐมาเลเซีย สหภาพพมาสาธารณรัฐฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร ราชอาณาจักรไทย และ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

- 3 -

Page 4: AEC Studies Report

Compiled by the Market Information and Research Section, DFAT, using the latest data from the ABS, the IMF and various international sources.

สัญลักษณของอาเซียน

เปนรวงขาวสีเหลือง 10 มัด หมายถึงการที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉียงใตทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเปนนํ้าหน่ึงใจ เดียวกัน อยูในพื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน้ําเงิน ซึ่งแสดงถึงความ เปนเอกภาพ มีตัวอักษรคําวา “asean” สีน้ําเงินอยูใตภาพ อันแสดงถึง ความมุงม่ันที่จะทํางานรวมกันเพื่อความม่ันคง สันติภาพ เอกภาพ และ ความกาวหนาของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมดที่ปรากฏใน สัญลักษณของอาเซียนเปนสีสําคัญที่ปรากฎในธงชาติของแตละ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยสีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพ และความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความกลาหาญและความกาวหนา สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ และสีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุงเรือง รวมใจเปนหน่ึง

สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ อาเซียน กอตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) ซึ่งลงนามโดยรัฐมนตรีจาก 5 ประเทศ ไดแก

- 4 -

Page 5: AEC Studies Report

นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย, ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซนรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาการแหงชาติสหพันธรัฐมาเลเซีย

นายนาชิโช รามอส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศสาธารณรัฐฟลิปปนส นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สาธารณรัฐสิงคโปร และพันเอก(พิเศษ)ดร.ถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ราชอาณาจักรไทย เม่ือวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมี วัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมความเขาใจอันดีตอกันระหวาง ประเทศในภูมิภาค ธํารงไวซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และ

ความม่ันคงปลอดภัยทางการเมือง สรางสรรคความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยูดี บนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนรวมกัน ซึ่งจากเจตนจํานงที่สอดคลองกันน้ี บูรไนดารุสซาลาม ไดเขาเปนสมาชิกในลําดับที่6 เม่ือวันที่ 7 มกราคม 2527 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เขาเปนสมาชิกลําดับที่ 7 เม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม 2538 และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและสหภาพพมา เขาเปนสมาชิกพรอมกัน เม่ือวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 และราชอาณาจักรกัมพูชาเม่ือวันที่ 30 เมษายน 2542 ทําใหปจจุบันอาเซียนมีสมาชิกรวมทั้งหมด 10 ประเทศ

กาวไปพรอมกัน

สถานการณในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดเปลี่ยนผานจากสภาวะแหงความตึงเครียดและการ เผชิญหนา มาสูสภาวะที่มีเสถียรภาพ ความม่ันคงและความรวมมือกันอยางใกลชิด จนกลายเปนภูมิภาคที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และเปนตัวอยางของการรวมตัวของกลุมประเทศท่ีมีบทบาท

ความสัมพันธและกระชับความรวมมือกับ อาเซียนในฐานะคูเจรจา (Dialogue Partner)

และพลังตอรองในเวทีการเมืองและเศรษฐกิจ ระหวางประเทศ ทําใหมีประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตเขารวมเปนสมาชิกเพ่ิมขึ้น และ มีหลายประเทศในโลกสนใจที่จะเสริมสราง

- 5 -

Page 6: AEC Studies Report

ซึ่งในปจจุบันอาเซียนมีคูเจรจา 9 ประเทศ ไดแก ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุน นิวซีแลนด สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย สาธารณรัฐประชาชนจีน รัสเซีย และ1 กลุมประเทศ คือ สหภาพยุโรป รวมทั้ง 1 องคการระหวางประเทศ คือ โครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) โดยอาเซียนกับคูเจรจาเหลาน้ีจะมีการปรึกษาหารือกันอยางสม่ําเสมอ ทั้งในลักษณะการประชุมระดับเจาหนาที่และการประชุมระดับรัฐมนตรี สรางสรรคอนาคต

ความกาวหนาของอาเซียนดังกลาวมีปจจัยที่ สําคัญจากความไววางใจซึ่งกันและกันระหวาง ประเทศสมาชิก อันกอใหเกิดบรรยากาศที่ สรางสรรคตอความรวมมือ และความเขาใจ อันดีตอกัน โดยความรวมมือในอาเซียน ที่สําคัญ ๆ ไดแก

♦ ความรวมมือทางการเมือง อาเซียนตระหนักดีวา ภูมิภาคท่ีมีสันติภาพ เสถียรภาพ ความม่ันคง และ ความเปนกลางจะเปนพ้ืนฐานสําคัญที่สงเสริมการพัฒนาประเทศใหเจริญรุดหนา จึงไดรวมกัน สรางประชาคมอาเซียนใหเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ และสรางเสริมความเขาใจอันดี ตอกันในระหวางประเทศสมาชิก ผลงานที่สําคัญที่ไดรับการยอมรับจากนานาประเทศ คือ สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation in SoutheastAsia: TAC ) การประกาศใหภูมิภาคอาเซียนเปนเขตแหงสันติภาพ เสรีภาพ และความเปนกลาง (Zone of Peace, Freedom andNeutrality: ZOPFAN ) การกอตั้งการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (ASEAN Regional Forum: ARF ) และสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast AsiaNuclear Weapon-Free Zone Treaty: SEANWFZ )

♦ ความรวมมือทางเศรษฐกิจ ปรากฏการณของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในภูมิภาคตางๆ ของโลก และการแขงขันทาง การคาที่เพ่ิมมากข้ึน เปนปจจัยสําคัญที่ผลักดันใหอาเซียนตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองรวมตัวกันใหแนนแฟนยิ่งขึ้น เพ่ือปรับแนวการดําเนินนโยบายของตนใหสอดคลองและเหมาะสมกับการ

- 6 -

Page 7: AEC Studies Report

ภาษีศุลกากรใหแกสินคาสงออกของกันและกัน และดึงดูดการลงทุนจากภายนอกภูมิภาคใหเขามาลงทุนในภูมิภาคมากยิ่งขึ้น เขตการคาเสรีอาเซียนนี้จะบรรลุผลสมบูรณสําหรับสมาชิก 6 ประเทศแรกในป 2546 ตามดวยเวียดนามในป 2549 ลาวและพมาในป 2551และกัมพูชาในป 2553 นอกจากน้ี อาเซียนยังไดมีมาตรการตางๆ ในการสงเสริมการคาการลงทุน และความรวมมือกันในดานอุตสาหกรรม การเงินและการธนาคาร และการบริการระหวางกัน ที่สําคัญ ไดแก โครงการความรวมมือดานอุตสาหกรรมอาเซียน(ASEAN Industrial Cooperation: AICO ) และ เขตการลงทุนอาเซียน (ASEANInvestment Area: AIA ) เปนตน

นอกจากน้ี เพ่ือใหอาเซียนเติมโต มีความเจริญกาวหนาและความมั่นคงทางดานเศรษฐกิจ และมีความม่ังคั่งรวมกัน อาเซียนไดมีขอริเร่ิมเพ่ือการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI ) ขึ้น เพ่ือที่จะลดชองวางทางการพัฒนาระหวางสมาชิกเกาและใหมของอาเซียนดวย

♦ ความรวมมือเฉพาะดาน นอกจากความรวมมือทางการเมือง และ เศรษฐกิจแลว อาเซียนยังใหความสําคัญ ตอความรวมมือเฉพาะดาน (Functional Cooperation) ระหวางประเทศสมาชิก ไดแก ความรวมมือในดานการพัฒนา สังคม การศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดลอม วัฒนธรรมและสนเทศ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการตอตานยาเสพติด ซึ่งลวนเปนพ้ืนฐานที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ โครงการความรวมมือเฉพาะดานระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนนี้มีจํานวนมากและครอบคลุมในทุกดานและมีเปาหมายเพ่ือใหประชาคมอาเซียนมี “ความไพบูลยรวมกัน โดยการพัฒนาคน ความสามารถ ในการแขงขันทางเทคโนโลยี และความเปนปกแผนทางสังคม” โครงการความรวมมือที่สําคัญใน ดานนี้ ไดแก การจัดตั้งเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน การประกาศใหอาเซียนเปนเขต ปลอดยาเสพติด ในป พ.ศ. 2558 แผนการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการอาเซียนเพ่ือตอตานอาชญากรรมขามชาติ และการเชื่อมโยงเสนทางคมนาคมขนสงทั่วทั้งภูมิภาคเปนตน นอกจากนี้ อาเซียนยังไดจัดตั้งมูลนิธิอาเซียน เพ่ือเสริมสรางจิตสํานึกในความเปนอาเซียน และพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่ง เยาวชน

- 7 -

Page 8: AEC Studies Report

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภูมิหลัง

เม่ือเดือนธันวาคม 2540 ผูนําอาเซียนไดรับรองเอกสาร วิสัยทัศนอาเซียน 2020 เพ่ือกําหนดเปาหมายวา ภายในปค.ศ. 2020 (2563) อาเซียนจะเปน

1) วงสมานฉันทแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต - A Concert of Southeast Asian Nations 2) หุนสวนเพื่อการพัฒนาอยางมีพลวัต - A Partnership in Dynamic Development 3) มุงปฏิสัมพันธกับประเทศภายนอก - An Outward-Looking ASEAN 4) ชุมชนแหงสังคมที่เอ้ืออาทร - A Community of Caring Societies ในการประชุมผูนําอาเซียน ครั้งที่ 9 ระหวางวันที่ 7-8 ตุลาคม 2546 ที่บาหลี ผูนําอาเซียน

ไดตอบสนองตอการบรรลุวิสัยทัศนอาเซียนเพ่ิมเติม โดยไดลงนามใน ปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เห็นชอบใหมีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ตอมาป 2550 ผูนําอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบู เรงรัดการกาวไปเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วข้ึน เปนป 2558 หรืออีกประมาณ 6ปขางหนาประชาคมอาเซียนนี้จะประกอบดวย 3 เสาหลัก (pillars) ไดแก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC)

Single Regional Market

Dual Track

Regional Production Base

The Peaceful, Prosperous, and People-Centric ASEAN

ASEAN Security Community (ASC)

ASEAN Economic Community (AEC)

ASEAN Socio-Cultural Community

(ASCC)

ASEAN COMMUNITY

Consumption/DemanProduction/Supp

- 8 -

Page 9: AEC Studies Report

ตอมา ในระหวางการประชุมผูนําอาเซียนที่เวียงจันทน ผูนําอาเซียนไดรับรองและลงนาม

เอกสารสําคัญที่จะวางกรอบความรวมมือเพ่ือบรรลุการจัดตั้งประชาคมอาเซียนตอไป ไดแก

1) แผนปฏิบัติการของประชาคมความมั่นคงอาเซียน 2) กรอบความตกลงวาดวยสินคาสําคัญซึ่งจะชวยเรงรัดความรวมมือดานสินคาและบริการ 11 สาขา (Wood - based products and automotives, Rubber-based products and textiles and apparels, Agro-based products and fisheries, Electronics, e-ASEAN and healthcare, Air Travel and tourism) ภายในป ค.ศ.2010 (พ.ศ. 2553) 3) แผนปฏิบัติการประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน

ในระหวางการประชุมผูนําอาเซียน ครั้งที่ 10 ผูนําอาเซียนยังไดรับรอง แผนปฏิบัติการเวียงจันทน (Vientiane Action Programme - VAP) เปนแผนดําเนินความรวมมือในชวงปพ.ศ. 2547-2553 โดยไดกําหนดแนวคิดหลักหรือ Theme ของแผนปฏิบัติการฯ ไววา “Towards shared prosperity destiny in an integrated, peaceful and caring ASEAN Community” VAP จึงเทากับเปนการจัดลําดับความสําคัญของแผนงานและโครงการของประชาคมอาเซียนที่จะเรงปฏิบัติเพ่ือใหเปนไปตาม theme ดังกลาว

ที่ประชุมผูนําอาเซียน ครั้งที่ 10 เห็นชอบใหจัดตั้ง กองทุนเพ่ือการพัฒนาอาเซียน (ASEAN Development Fund) โดยแปลงจากกองทุนอาเซียนเดิม เพ่ือนํามาเปนแหลงเงินทุนเพื่อดําเนินกิจกรรมและโครงการตางๆ ของแผนปฏิบัติการเวียงจันทน (VAP) อันจะเปนการสงเสริมการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน และเปนกองทุนที่สามารถระดมความสนับสนุนทั้งจากประเทศคูเจรจาและแหลงทุนอ่ืนๆ ซึ่งขณะนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนกําลังอยูในระหวางดําเนินการ คาดวาจะสามารถจัดตั้งกองทุนดังกลาวไดภายในปนี้ โดยจะมีการลงนามความตกลงจัดตั้งกองทุนดังกลาวในการประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน คร้ังที่ 38 ในเดือนกรกฎาคม 2548

ประชาคมความม่ันคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC)

มีวัตถุประสงคที่จะทําใหประเทศในภูมิภาคอยูอยางสันติสุข แกไขปญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธี และยึดม่ันในหลักความมั่นคงรอบดาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมายดังกลาว ประชาคมความม่ันคงอาเซียนจะ (1) ใชเอกสารทางการเมืองและกลไกของอาเซียนที่มีอยูแลวในการเพิ่มศักยภาพในการแกไขปญหาขอพิพาทภายในภูมิภาค รวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบ คายาเสพติด การคามนุษย อาชญากรรมขามชาติอ่ืนๆ และการขจัดอาวุธที่มีอานุภาพทําลายลางสูง (2) ริเร่ิมกลไกใหมๆ ในการเสริมสรางความม่ันคง และกําหนดรูปแบบใหมสําหรับความรวมมือในดานนี้ ซึ่งรวมไปถึงการกําหนดมาตรฐานการปองกันการเกิดขอพิพาท การแกไขขอพิพาท และการสงเสริมสันติภาพภายหลังจากการเกิดขอพิพาท (3) สงเสริมความรวมมือดานความมั่นคงทาง

- 9 -

Page 10: AEC Studies Report

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กําหนดวัตถุประสงคตามวิสัยทัศนอาเซียน 2020 ที่จะใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความม่ันคง ม่ังคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอ่ืนๆ ได โดย (1) มุงใหเกิดการไหลเวียนอยางเสรีของสินคา การบริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ําทางสังคมภายในป ค.ศ. 2020 (2) มุงที่จะจัดตั้งใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการผลิต โดยจะริเร่ิมกลไกและมาตรการใหมๆ ในการปฏิบัติตามขอริเร่ิมทางเศรษฐกิจที่มีอยูแลว (3) ใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน (กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม หรือ CLMV) เพ่ือลดชองวางของระดับการพัฒนา และชวยใหประเทศเหลาน้ีเขารวมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน (4) สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการคมนาคม กรอบความรวมมือดานกฎหมาย การพัฒนาความรวมมือดานการเกษตร พลังงาน การทองเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝมือ

ในการนี้ ผูนําอาเซียนไดเห็นชอบใหเรงรัดการรวมกลุมสินคาและบริการสําคัญจํานวน 11 สาขา ใหเปนสาขานํารอง ไดแก สินคาเกษตร / สินคาประมง / ผลิตภัณฑไม / ผลิตภัณฑยาง / สิ่งทอ / ยานยนต /อิเล็กทรอนิกส / เทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) / การบริการดานสุขภาพ, ทองเท่ียวและการขนสงทางอากาศ (การบิน) ซึ่งอาเซียนไดดําเนินการดังนี้

1) กําหนดใหประเทศสมาชิกรับผิดชอบในการจัดทํา Roadmap ในแตละสาขา ไดแก - ไทย: ทองเท่ียวและและการขนสงทางอากาศ (การบิน)

- พมา: สินคาเกษตรและสินคาประมง

- อินโดนีเซีย: ยานยนตและผลิตภัณฑไม - มาเลเซีย: ยางและสิ่งทอ

- ฟลิปปนส: อิเล็กทรอนิกส

- สิงคโปร: เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริการดานสุขภาพ 2) จัดทํากรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสินคาและบริการ 11 สาขาดังกลาว คือ

Framework Agreement for the Integration of the Priority Sectors และพิธีสาร1สําหรับแตละสาขา คือ ASEAN Sectoral Integration Protocol อีก 11 ฉบับ เพ่ือกําหนด

- 10 -

Page 11: AEC Studies Report

3) กําหนดใหป ค.ศ. 2010 เปน deadline สําหรับการรวมตัวของสินคาและบริการ 11 สาขาดังกลาว โดยใหมีการผอนปรนสําหรับประเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม (CLMV)

ประชาคมสงัคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC)

ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน มีจุดมุงหมายที่จะทําใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูรวมกันในสังคมที่เอ้ืออาทร ประชากรมีสภาพความเปนอยูที่ดี ไดรับการพัฒนาในทุกดาน และมีความม่ันคงทางสังคม (social security) โดยเนนการสงเสริมความรวมมือในดานตางๆ อาทิ (1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเปนอยูของผูดอยโอกาสและผูที่อาศัยในถิ่นทุระกันดาร และสงเสริมการมีสวนรวมอยางแข็งขันของกลุมตางๆ ในสังคม ( 2) การพัฒนาการฝกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสูงกวา การพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงาน และการคุมครองทางสังคม (3) การสงเสริมความรวมมือในดานสาธารณสุขโดยเฉพาะอยางยิ่ง การปองกันและควบคุมโรคติดตอ เชนโรคเอดส และโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (4) การจัดการปญหาดานสิ่งแวดลอม (5) การสงเสริมการปฏิสัมพันธระหวางนักเขียน นักคิดและศิลปนในภูมิภาค

แผนปฏิบัติการของประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน เนนการดําเนินการใน 4 ประเด็นหลัก คือ

(1) สรางประชาคมแหงสังคมที่เอ้ืออาทร โดยเนนการแกไขปญหาความยากจน เสริมสรางความเสมอภาค และการพัฒนามนุษย อาทิ การพัฒนาสตรี เด็ก และเยาวชน การสงเสริมสวัสดิการสังคม การพัฒนาชนบทและขจัดความยากจน การพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข และการเสริมสรางความม่ันคงของมนุษย (human security) ในดานตางๆ ซึ่งรวมถึงการปราบปรามอาชญากรรมขามชาติและการปองกันและจัดการภัยพิบัติ

(2) แกไขผลกระทบตอสังคมอันเน่ืองมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ โดยสรางฐานทรัพยากรมนุษยที่สามารถแขงขันไดดีและมีระบบการปองกันทางสังคมที่เพียงพอ โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาและสงเสริมแรงงาน และเสริมสรางความรวมมือในดานอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ เชน สวัสดิการสังคม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสาธารณสุข (ปญหาที่มากับโลกาภิวัต เชน โรคระบาด โรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ํา)

- 11 -

Page 12: AEC Studies Report

(3) สงเสริมความยั่งยืนของสิ่งแวดลอมและการจัดการดูแลสิ่งแวดลอมอยางถูกตอง โดยมีกลไกที่พัฒนาอยางสมบูรณสําหรับจัดการและดูแลสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม ตลอดจนการปองกันและขจัดภัยพิบัติดานสิ่งแวดลอม

(4) เสริมสรางรากฐานที่จะนําไปสูประชาคมอาเซียนในป ค.ศ.2020 ซึ่งจะเปนภูมิภาคที่ประชาชนตระหนักถึงอัตลักษณ (identity) รวมกันของภูมิภาคทามกลางความหลากหลายทางดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ดวยการสงเสริมความเขาใจระหวางประชาชนในระดับและวงการตางๆ การเรียนรูประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของกันและกัน และการรับรูขอมูลขาวสารของกันและกัน (การสงเสริมดานวัฒนธรรมและสนเทศ)

- 12 -

Page 13: AEC Studies Report

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)

เปาหมายการรวมกลุมของอาเซียน

อาเซียนไดตั้งเปาหมายการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจภายในป 2558 (ค.ศ.2015) เพ่ือ สรางตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานฝมือ อยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น

ความจําเปนที่อาเซียนตองเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ อาเซียนตองเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในก็เพ่ือเสริมสรางขีดความสามารถใน

การแขงขันใหกับอาเซียน และเพ่ือสรางใหอาเซียนเปนศูนยกลางภายในภูมิภาค คานอํานาจของประเทศอ่ืนๆ ภายในภูมิภาคท่ีมีบทบาทโดดเดนอยางเชน จีน และอินเดีย

การท่ีจีนและอินเดียเร่ิมแสดงบทบาทในเศรษฐกิจโลก ทําใหอาเซียนยิ่งตองเรงปรับปรุงภายในและสรางความนาสนใจ ดวยการพยายามสรางจุดขายที่วา “อาเซียนจะรวมตัวกันเปนตลาดหรือฐานการผลิตเดียวกัน” เพ่ือใหเกิดการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตตางๆ ไดเสมือนอยูในประเทศเดียวกัน กระบวนการผลิตสามารถเกิดขึ้นที่ไหนก็ได โดยสามารถใชทรัพยากรทั้งวัตถุดิบและแรงงานจากหลายประเทศเพื่อนํามาใชในการผลิต ปราศจากอุปสรรคในดานภาษีและมาตรการที่มิใชภาษี มีการสรางมาตรฐานของสินคา และกฎเกณฑ/กฎระเบียบตางๆ รวมกัน

การดําเนินงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาการดานเศรษฐกิจที่สําคัญของอาเซียนตอจากนี้ คือ การวางรากฐานเพื่อนําไปสูการ

รวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซ้ึงและกวางขวางมากขึ้น หรือการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) เพ่ือดําเนินการไปสูเปาหมายดังกลาว อาเซียนไดจัด ทําพิมพเขียวเพื่อเรงรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซึ่งจะเปนแผนงานบูรณาการเศรษฐกิจในภาพรวม เพ่ือไปสูเปาหมาย AEC ในป 2558

ความจําเปนที่อาเซียนตองจัดทํา AEC Blueprint 1. สรางการยึดม่ันในพันธกรณีของแตละประเทศ โดยกําหนดกรอบเวลาที่จะตองปฏิบัติตามขอตกลงตางๆ อยางเครงครัดและจริงจังไมมีการบิดพลิ้วหรือชะลอการดําเนินงานจากที่ไดตกลงกัน เพ่ือสรางความนาเชื่อถือของอาเซียนในประชาคมโลก 2. สรางสังคมกฎระเบียบใหเกิดข้ึนในอาเซียน (Rule base society) ยึดกฎเกณฑกติกาตางๆ เปนกลไกการดําเนินงาน โดยการสรางกลไกการระงับขอพิพาท (Dispute Settlement) ที่เขมแข็ง

- 13 -

Page 14: AEC Studies Report

การจัดทําแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) แนวคิดของการจัดทําแผนงานเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint)เกิด

จากการที่ผูนําอาเซียนเห็นชอบใหเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบดวย 3 ดานหลัก คือ ความม่ันคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม จากเดิมที่กําหนดไวในป 2563 (ค.ศ. 2020) เปนป 2558 (ค.ศ. 2015) โดยไดประกาศปฏิญญาเซบูวาดวยการเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (Cebu Declaration on the Acceleration of the Establishment of an ASEANCommunity by 2015) ไปเม่ือวันที่ 13 มกราคม 2550 ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนสจากน้ันไดมีการจัดทํากฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเปนเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ที่จะเปลี่ยนสถานะของอาเซียนจากการรวมตัวในรูปแบบสมาคม เปนองคกรระหวางประเทศ (International Organization) ที่มีฐานะทางกฎหมาย ซึ่งจะเปนพ้ืนฐานสําคัญในการรองรับการดําเนินงานไปสูประชาคมอาเซียน ในป 2558 โดยกฎบัตรฯ นี้ไดมีผลบังคับใชแลว ตั้งแตวันที่ 15ธันวาคม 2551แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เปนแผนงานบูรณาการการดําเนินงานในดานเศรษฐกิจตางๆ เพ่ือใหเห็นการดําเนินงานในภาพรวมที่จะนําไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558 (ค .ศ. 2015) ซึ่งถาหากเปรียบเทียบกับการสรางบานแผนงานนี้ก็เปรียบเสมือนพิมพเขียวที่จะชวยบอกองคประกอบและรูปรางหนาตาของบานหลังน้ีวาเม่ือสรางเสร็จแลวจะมีรูปรางหนาตาอยางไร

แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนจําเปนตองใหความสําคัญกับการจัดทํา AEC Blueprint เพ่ือกําหนดแผนงานและ

กรอบระยะเวลาที่ชัดเจนสําหรับการดําเนินมาตรการตางๆ เพ่ือไปสูเปาหมาย AEC อยางเชนสหภาพยุโรปที่มีการจัดทําเกณฑอางอิง (Benchmark) ในดานเศรษฐกิจตามชวงระยะเวลาตางๆ โดยวัตถุประสงคสําคัญของ AEC Blueprint ก็เพื่อกําหนดทิศทาง/แผนงานในดานเศรษฐกิจที่จะตองดําเนินงานใหชัดเจนตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด จนบรรลุการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ในป 2558 (ค.ศ. 2015) และสรางพันธะสัญญาระหวางประเทศสมาชิกที่จะดําเนินการไปสูเปาหมายดังกลาวรวมกัน

องคประกอบสําคัญภายใต AEC Blueprint AEC Blueprint ประกอบดวย 4 สวนหลัก ซึ่งอางอิงมาจากเปาหมายการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจของอาเซียนตามแถลงการณบาหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) ไดแก 1. การเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยใหมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น รวมทั้งการสงเสริมการ

- 14 -

Page 15: AEC Studies Report

รวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียนใหเปนรูปธรรม

การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งใหความสําคัญ 2. กับประเด็นดานนโยบายที่จะชวยสงเสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ เชน กรอบนโยบายการแขงขัน ของอาเซียน การคุมครองผูบริโภค สิทธิในทรัพยสินทางปญญา พาณิชยอิเล็กทรอนิกส นโยบายภาษีและการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค โดยการพัฒนา SMEs และการเสริมสรางขีดความสามารถผานโครงการตางๆ เชน โครงการริเริ่มเพ่ือการรวมกลุมของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) เพ่ือลดชองวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 4. การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก เนนการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เพ่ือใหอาเซียนมีทาทีรวมกันอยางชัดเจน เชน การจัดทําเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจาตางๆ เปนตน รวมทั้งสงเสริมการสรางเครือขายในดานการผลิต/จําหนายภายในภูมิภาคใหเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก

ทั้งน้ี ในการดําเนินงานสามารถกําหนดใหมีความยืดหยุนในแตละเร่ืองไวลวงหนาได(pre-agreed flexibilities) แตเม่ือตกลงกันไดแลว ประเทศสมาชิกจะตองยึดถือและปฏิบัติตามพันธกรณีที่ไดตกลงกันอยางเครงครัดดวย

การดําเนินงานของไทย

โดยที่การดําเนินงานตามเปาหมายดังกลาวขางตนเกี่ยวของกับหลายหนวยงานภายในประเทศ และอาจจําเปนตองแกไขกฎหมาย/กฎระเบียบที่เก่ียวของภายในเพื่อดําเนินการตามพันธกรณีที่ไดตกลงกันไว จึงจําเปนตองเสนอใหรัฐสภาพิจารณาใหความเห็นชอบกับแนวทางการดําเนินงานตามแผนงานดังกลาว เพ่ือใหสอดคลองกับบทบัญญัติในมาตรา 190 ภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ป 2550กระทรวงพาณิชยไดเสนอเรื่องปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเขาสูการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาใหความเห็นชอบ ซึ่งสภานิติบัญญัติแหงชาติไดมีมติใหตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษารางปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพ่ือศึกษาในรายละเอียด และไดมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชยเสนอไปเม่ือวันที่ 14 พฤศจิกายน 2550 การลงนามปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นายกรัฐมนตรี (พลเอกสุรยุทธ จุลานนท) ไดลงนามในปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีแผนการดําเนินงาน (AEC Blueprint) และตารางเวลาดําเนินงาน(Strategic Schedule) เปนเอกสารผนวก รวมกับผูนําอาเซียนอ่ืนๆ ไปในชวงการประชุม สุดยอด

- 15 -

Page 16: AEC Studies Report

อาเซียน คร้ังที่ 13 เม่ือวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร และนับจากนี้ไป จึงนับเปนกาวสําคัญของอาเซียนที่จะตองดําเนินงานตามแผนงานที่ไดตกลงกันไวใหเห็นผลเปนรูปธรรม เพ่ือไปสูการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 ผลผูกพันตอประเทศสมาชิก

1. การเปดเสรีการคาสินคา 1.1 การยกเลิกภาษี ไทยมีเปาหมายที่จะตองดําเนินการยกเลิกภาษีสินคาใหกับ ประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนี้ เปาหมายการยกเลิกภาษีของไทยภายใตเขตการคาเสรีอาเซียน ป 2546 (ค.ศ. 2003) ป 2550 (ค.ศ. 2007) ป 2553 (ค.ศ. 2010) ลดภาษีเหลือ 0% รอยละ 60 ของบัญชีลดภาษี (IL) ลดภาษีเหลือ 0% รอยละ 80 ของ IL และลดภาษีสินคาที่อยู ภายใตสาขาสําคัญ 9 สาขา ลดภาษีเหลือ 0% รอยละ 100 ของ IL 1.2 การขจัดมาตรการที่มิใชภาษี (NTBs) จะดําเนินการยกเลิกเปน 3 ระยะตามแผนงานขจัด มาตรการที่มิใชภาษี ดังนี้ - NTBs ชุดที่ 1 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2551 ซึ่งครอบคลุมสินคา 5 รายการ หลัก ไดแก ลําไย พริกไทย น้ํามันถั่วเหลือง ใบยาสูบ และน้ําตาล - NTBs ชุดที่ 2 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2552 ไดแก ปอกระเจา ปาน มันฝรั่ง - NTBs ชุดที่ 3 : ภายในวันที่ 1 มกราคม 2553 (กระทรวงพาณิชยจะเสนอ รายการเม่ือถึงกําหนดเวลา)

2. การเปดเสรีการคาบริการ เปาหมาย คือ ลดอุปสรรคในการเขาสูตลาดในดานตางๆ ลง และเพิ่มสัดสวนการถือ หุนใหกับบุคคล/นิติบุคคลสัญชาติอาเซียน ดังนี้ 2.1 สาขาบริการสําคัญ (Priority Integration Sectors: PIS) ไดแก สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการทองเท่ียว และสาขาโลจิสติกส สรุปเปาหมายการเพ่ิมสัดสวนการถือหุนในสาขาบริการสําคัญของไทย

- 16 -

Page 17: AEC Studies Report

2.2 สาขาบริการอ่ืน (Non-Priority Services Sector) ครอบคลุมบริการทุกสาขา นอกเหนือจากสาขาบริการสําคัญ (priority services sectors) และการบริการดานการเงิน ที่กําหนด เปาหมายการเปดเสรีภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ทั้งน้ี สามารถยกเวนสาขาที่ออนไหวได สรุปเปาหมายการเพ่ิมสัดสวนการถือหุนในสาขาบริการอ่ืนๆ ของไทย ป (ค.ศ.) 2549 (2006) 2551 (2008) 2553 (2010) 2558 (2015) สัดสวนการถือหุนของนักลงทุนอาเซียน 30% 49% 51% 70% 2.3 สาขาการบริการดานการเงิน จะทยอยเปดเสรีตามลําดับอยางเปนขั้นตอน เพ่ือรักษาไวซึ่งความม่ันคงทางการเงิน เศรษฐกิจและสังคม โดยประเทศที่มีความพรอมสามารถเร่ิมดําเนินการเปดเสรีภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ในสาขาที่ระบุไวกอน และประเทศสมาชิกที่เหลือสามารถเขารวมในภายหลัง2551 (2008) 2553 (2010) 2556 (2013) สัดสวนการถือหุนของนักลงทุนอาเซียน ไมนอยกวา51% ไมนอยกวา70%สาขาโลจิสติกส 49% 51% 70%

3. การเปดเสรีการลงทุน การเปดเสรีการลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมที่ตกลงกันและการใหการปฏิบัติเย่ียงคนชาติ ซึ่งไทยมีเปาหมายดําเนินการภายในป 2553 (สาขายกเวนของไทย เปนไปตามบัญชียกเวนภายใตพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว)

4. การเปดเสรีดานเงินทุนเคลื่อนยาย 4.1 ดานตลาดทุน จะเสริมสรางความแข็งแกรงในการพัฒนาและการรวมตัวของตลาดทุนในอาเซียนโดยสรางความสอดคลองในมาตรฐานดานตลาดทุนในอาเซียน ความตกลงสําหรับการยอมรับซึ่งกันและกันในคุณสมบัติและคุณวุฒิการศึกษาและประสบการณของผูประกอบวิชาชีพดานตลาดทุน และสงเสริมใหใชตลาดเปนตัวขับเคลื่อนในการสรางความเชื่อมโยงระหวางกันเองในตลาดทุนอาเซียน 4.2 ดานเงินทุนเคลื่อนยาย จะเปดใหมีการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรียิ่งขึ้นอยางคอยเปนคอยไป โดยใหสมาชิกมีมาตรการปกปองที่เพียงพอเพ่ือรองรับผลกระทบจากปญหาความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาค และความเสี่ยงเชิงระบบ รวมถึงการมีสิทธิที่จะใชมาตรการที่จําเปนเพ่ือรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค

5. การเคลื่อนยายแรงงานฝมืออยางเสรี จะใหบริหารจัดการการเคลื่อนยายหรืออํานวยความสะดวกในการเดินทางสําหรับบุคคลธรรมดาที่เก่ียวของกับการคาสินคา บริการ และการลงทุน ใหสอดคลองกับกฎเกณฑของแตละประเทศ โดยอํานวยความสะดวกในการตรวจลงตราและออกใบอนุญาตทํางานสําหรับผูประกอบวิชาชีพและแรงงานฝมืออาเซียน ที่เก่ียวของกับการคาขามพรมแดน และกิจกรรมที่เก่ียวเนื่องกับการลงทุน

- 17 -

Page 18: AEC Studies Report

6. การดําเนินงานตามความรวมมือรายสาขาอ่ืนๆ เชน ความรวมมือดานเกษตรอาหารและปาไม ความรวมมือดานทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาดานโครงสรางพ้ืนฐาน (การคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงาน) ความรวมมือดานเหมืองแร พาณิชยอิเล็กทรอนิกส ความรวมมือดานการเงิน ความรวมมือดานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) และการพัฒนาเพื่อการรวมกลุมของอาเซียน (IAI) สวนใหญเปนการดําเนินงานตาม แผนงาน/ขอตกลงที่ไดมีการเห็นชอบรวมกันไปกอนหนาน้ีแลวเชนกัน โดยมีรัฐมนตรีรายสาขาที่เก่ียวของเปนผูรับผิดชอบ ประโยชนและผลกระทบที่ประชาชนจะไดรับ

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนจะชวยขยายโอกาสทางการคาและการลงทุน 1. นับตั้งแตเร่ิมดําเนินการเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ในป 2535 อาเซียนไดเพ่ิม

ความสําคัญในการเปนตลาดสงออกของไทย จนปจจุบันเปนตลาดสงออกอันดับ 1 ของไทย นําทั้งสหรัฐฯ และญ่ีปุนโดยมีมูลคาการสงออกในป 2551 กวา 40,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ และยังมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ืองในอนาคต เม่ืออุปสรรคทางการคาทั้งภาษีและไมใชภาษีถูกยกเลิกใหหมดไป จะเปดโอกาสใหสินคาเคลื่อนยายไดอยางเสรีในภูมิภาคและเพิ่มปริมาณการคาใหมากขึ้นในดานการลงทุน ระหวางป 2547-2549 การลงทุนของไทยในประเทศอาเซียน มีมูลคารวมถึง 4,270 ลานเหรียญสหรัฐ และในป 2550 ไทยมีมูลคาการลงทุนในอาเซียน 700 ลานเหรียญสหรัฐฯ เม่ือมีการเคลื่อนยายเงินทุนไดเสรีมากขึ้น จะเปดโอกาสใหไทยออกไปลงทุนในกลุมอาเซียนไดมากยิ่งขึ้น

2. เสริมสรางขีดความสามารถของผูประกอบการภายในประเทศจากการใชทรัพยากรการผลิตรวมกันและการเปนพันธมิตรในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ จากการขจัดอุปสรรคในดานการคาและการลงทุนระหวางประเทศสมาชิก จากผลการศึกษาการรวมกลุมของอาเซียนเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะชวยลดตนทุนการทําธุรกรรมในบางกลุมสินคาของอาเซียนไดถึงรอยละ 20

3. สรางภาพลักษณของไทยในเวทีโลกจากการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่เขมแข็งและชัดเจนรวมกับประเทศสมาชิกอาเซียนอ่ืนๆ ซึ่งจะชวยสรางความเชื่อม่ันใหกับประชาคมโลกเกี่ยวกับพัฒนาการในดานเศรษฐกิจของไทยและของภูมิภาค

4. ยกระดับความเปนอยูของประชาชนภายในประเทศจากการดําเนินงานตามแผนงานในดานการลดอุปสรรคทั้งดานการคาและการลงทุน ซึ่งมีผลการศึกษาวา การรวมกลุมของอาเซียนไปสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะชวยให GDP ของประเทศสมาชิกอาเซียน ขยายตัวขึ้นถึงรอยละ 8-10 ตอป

- 18 -

Page 19: AEC Studies Report

การเตรียมความพรอมภายในของไทย

คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศไดเห็นชอบใหจัดตั้งคณะอนุกรรมการดําเนินการตามแผนงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (คําสั่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศ ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550) ซึ่งมีปลัดกระทรวงพาณิชยเปนประธานคณะอนุกรรมการ และผูแทนหนวยงานที่เก่ียวของรวมเปนอนุกรรมการ เพ่ือทําหนาที่เปนกลไกในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนงานในดานตางๆ เพ่ือไปสูการจัดตั้งประชาคมศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2558

แนวทางการรองรับผลกระทบจากการดําเนินงานตาม AEC BLUEPRINT 1. กระทรวงพาณิชยไดดําเนินการประชาสัมพันธและเผยแพรขอมูลขาวสารมาอยางตอเนื่อง ทั้งในรูปของการจัดสัมมนา การจัดทําหนังสือเผยแพรขอมูลการดําเนินงาน การออกขาวประชาสัมพันธทางสื่อวิทยุ โทรทัศน และหนังสือพิมพ รวมถึงการออกไปบรรยายใหความรูกับผูประกอบการ และคณาจารยจากสถาบันตางๆ เพ่ือใหสามารถถายทอดประสบการณตอไปได

2. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ไดรับผลกระทบจากการเปดเสรีทางการคา (ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 8 พฤษภาคม 2550) เพ่ือใหความชวยเหลือแกผูผลิตและผูประกอบการในสินคาเกษตร แปรรูป สินคาอุตสาหกรรม และบริการ ที่ไดรับผลกระทบจากการเปดเสรีการคา โดยมีกรมการคาตางประเทศเปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในป 2552 กระทรวงพาณิชยไดนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติจัดตั้งเปนกองทุน และขอจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป เพ่ือใชในการดําเนินงานของกองทุนในการใหความชวยเหลือภาคการผลิตและบริการที่ไดรับผลกระทบ โดยไดรับงบประมาณแลว จํานวน 100 ลานบาท เพ่ือดําเนินการตอไป หลักเกณฑการพิจารณาอนุมัติโครงการ 1) มีสินคา/บริการประเภทเดียวกันนําเขาเพ่ิมขึ้นมากอยางเห็นไดชัด ไดแก สวนแบงการตลาดมีแนวโนมลดลง มีสัญญาณบงชี้ หรือคาดการณไดวาจะไดรับผลกระทบ และมีการศึกษาหรือวิจัยสนับสนุนจนทําใหเชื่อไดวาไดรับผลกระทบ 2) มีการจางงานในอุตสาหกรรม/บริการลดลง เชน มีการยายฐานการผลิตสินคาไปประเทศเพื่อนบาน ทําใหมีการจางงานลดลง หรือมีผลการศึกษาระบุไดวาไดรับผลกระทบ 3) ไมเปนโครงการที่ไดรับอนุมัติความชวยเหลือจากหนวยงานอ่ืนๆ แลว

- 19 -

Page 20: AEC Studies Report

4) ตองไมขัดกับรูปแบบการใหความชวยเหลือขององคการการคาโลก (WTO) คือเปนการใหการอุดหนุนโดยตรง เชน การซ้ือเคร่ืองจักร และการสรางโรงงาน เปนตน 5) ระยะเวลาใหความชวยเหลือตองมีระยะเวลาดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายใน 3 ป

ไทยไดจัดทํากฎหมายวาดวยมาตรการปกปองจากการนําเขาสินคาที่เพ่ิมข้ึนเพ่ือเปน 3. มาตรการรองรับใหกับผูประกอบการในประเทศในกรณีที่ไดรับผลกระทบจากการเปดเสรีทางการคา ซึ่งหากการดําเนินงานตามแผนงานภายใต AEC Blueprint กอใหเกิดผลกระทบ ก็สามารถนํากฎหมายน้ีมาใชได

นับถอยหลัง 6 ป จาก ASEAN สู AEC

ปจจุบันน้ีการคาระหวางประเทศมีวิวัฒนาการและรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปจากการคาในอดีต ทั้งในรูปแบบทางการคา ขอบเขตของกิจกรรมทางการคา รวมถึงการอํานวยความสะดวก กฎเกณฑทางการคา ตลอดจนเทคโนโลยีสารสนเทศและรูปแบบการเจรจาทางการคาเปนตน โดยรูปแบบการเจรจาทางการคาน้ันสามารถแบงไดตามระดับของการเจรจา ไดแก การเจรจาระดับทวิภาคี (Bilateral) ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางประเทศตอประเทศ การเจรจามากฝาย (Plurilateral) เชน การเจรจา 3 ฝาย หรือการเจรจา 4 ฝาย และการเจรจาหลายฝายหรือพหุภาคี (Multilateral) ทั้งน้ีโดยสวนใหญเปนการเจรจาที่มีประเทศเขารวมและใชเวลายาวนานกวาจะไดขอสรุป การเจรจาตอรองทางการคาเหลาน้ีนําไปสูระดับความสัมพันธทางการคาระหวางประเทศในรูปแบบตางๆ ในปจจุบันระดับความสัมพันธในระดับกลุมประเทศในภูมิภาคใกลเคียงกันและมีขอตกลงตอกัน (Regional Trade Arrangements) เปนกลุมเศรษฐกิจและเปนเรื่องสําคัญตอการพัฒนาที่นําไปสูการคาเสรีของโลก

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจเปนการที่ประเทศตางๆ ไดเขามารวมตัวกันเพื่อรวมมือกันพัฒนาเศรษฐกิจ และรักษาผลประโยชนของประเทศสมาชิกดวยกัน โดยมีวัตถุประสงคอยูที่ความจําเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจ ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การจางงานเต็มที่ และการกระจายรายไดระหวางประเทศ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจหลายรูปแบบและมีวิวัฒนาการแตกตางกันโดยแตละรูปแบบจะมีความเขมขนของความสัมพันธซึ่งกันและกันแตกตางกันไป ไดแก 1) ขอตกลงการใหสิทธิพิเศษทางศุลกากร(Preferential Tariff Agreement) 2) เขตการคาเสรี (Free Trade Areas) 3) สหภาพศุลกากร(Customs Union) 4) ตลาดรวม (Common Market)

- 20 -

Page 21: AEC Studies Report

5) สหภาพทางเศรษฐกิจ (EconomicUnion) และ 6) สหภาพทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ (Total Economic Union)

สําหรับประเทศไทยแลวกรอบความรวมมือหรือการรวมกลุมที่มีความเกี่ยวของและใกลชิดกับประเทศเรามากที่สุดน้ันยอมเปนอยางอ่ืนไปไมไดนอกจากที่จะเปน อาเซียน(ASEAN) หรือสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of SoutheastAsian Nations) อาเซียนกอตั้งขึ้นโดยปจจุบันยังคงวัตถุประสงคเร่ิมแรกและปรับเปลี่ยนแนวทางไปตามเวลาและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอยางไรก็ตามวัตถุประสงคหลักของอาเซียนนั้นประกอบไปดวย 3 ประการไดแก 1) การสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค 2) รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค 3) ใหอาเซียนเปนเวทีแกไขปญหาความขัดแยงภายในภูมิภาค

อาเซียนปจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ แบงเปนอาเซียนเดิมซ่ึงถือไดวาเปนผูรวมกอตั้งอาเซียน 6 ประเทศ ไดแก บรูไน มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและไทย และประเทศสมาชิกอาเซียนใหมอีก 4 ประเทศ ซึ่งไดแกกลุมประเทศ CLMV ซึ่งประกอบดวยกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม

ความรวมมือทางดานเศรษฐกิจของอาเซียนตลอดระยะเวลากวา 4 ทศวรรษที่ผานมาอาเซียนใหความสําคัญในการเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจรวมกันอยางตอเน่ืองนับตั้งแตป 2535 ที่ไดมีการจัดทําเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free TradeArea : AFTA) การจัดทํากรอบความตกลงการคาบริการ (ASEAN Framework Agreement onService : AFAS) และความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN IndustrialCooperation Scheme : AICO) ซึ่งเริ่มใชตั้งแตป 2539 รวมถึงเขตการลงทุนอาเซียน (ASEANInvestment Area : AIA) ในป 2541 ทั้งน้ีการดําเนินการลวนเปนไปเพื่อขยายตลาดการคา การบริการและการลงทุนในภูมิภาค

จนกระทั่งป 2546 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนผูนําอาเซียนไดรวมกันลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) เพ่ือกําหนดทิศทางการดําเนินงานของ ASEAN เพ่ือมุงไปสูการเปนประชาคมอาเซียนหรือ AEC ภายในป 2563 ตอมาป 2550 ผูนําอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบู เรงรัดการกาวไปเปนประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้น เปนป 2558 หรืออีกประมาณ 6 ปขางหนา เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคของประชาคมอาเซียน 3 ประการคือ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

อาเซียนใหความสําคัญและเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายใน เพ่ือเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันใหกับอาเซียนเอง และเพื่อสรางใหอาเซียนเปนศูนยกลางภายในภูมิภาค ตลอดจนเพ่ือสรางความสามารถในการแขงขันประเทศอ่ืนๆ ภายในภูมิภาค หรือประเทศเศรษฐกิจใหม เชน จีน อินเดีย และรัสเซีย อาเซียนจะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจภายในป 2558

- 21 -

Page 22: AEC Studies Report

1. พมา สาขาผลิตภัณฑเกษตร (Agro-based Products) และสาขาประมง (Fisheries) 2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑยาง (Rubber-based products) และสาขาสิ่งทอ(Textiles and Apparels) 3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต (Automotives) และสาขาผลิตภัณฑไม (Wood-based Products) 4. ฟลิปปนส สาขาอิเล็กทรอนิกส (Electronics) 5. สิงคโปร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (E-ASEAN) และสาขาสุขภาพ (Healthcare) 6. ไทย สาขาการทองเท่ียว (Tourism) และสาขาการบิน (Air Travel)

ทั้งน้ีอาเซียนไดมีการจัดทําแผนการดําเนินงานเชิงบูรณาการของเศรษฐกิจดานตางๆเพ่ือใหการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบรรลุวัตถุประสงคตามที่วางไว ในรูปแบบ “AEC Blue Print” หรือพิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยแผนงานที่สําคัญภายใต AEC Blue Print ประกอบดวย 4 แผนงานไดแก

1) การเปนตลาดเดียวและมีฐานการผลิตรวมกัน มีการดํา เนินงานใน 5องคประกอบคือ - การเคลื่อนยายสินคาเสรี - การเคลื่อนยายบริการเสรี - การเคลื่อนยายการลงทุนเสรี - การเคลื่อนยายเงินทุนเสรีมากขึ้น - การเคลื่อนยายแรงงานฝมือเสรี 2) การสรางความสามารถในการแขงขัน - กําหนดกรอบนโยบายในการแขงขันเพื่อตอตานพฤติกรรม - สงเสริมความคิดสรางสรรคและใหความรูเก่ียวกับสิทธิทรัพยสินทางปญญา - กําหนดนิยามภาษีรวมกัน หลีกเลี่ยงความซ้ําซอนของภาษี - นําพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาใช - การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน - การคุมครองผูบริโภค 3) การสรางความเทาเทียมในการพัฒนาเศรษฐกิจระหวางสมาชิกอาเซียนโดยลด ชองวางและความแตกตางระหวางประเทศสมาชิกเดิมและและสมาชิกใหม (CLMV)

- 22 -

Page 23: AEC Studies Report

4) การบูรณาการอาเซียนเขากับประชาคมโลก - ประสานนโยบายเศรษฐกิจกับประเทศนอกอาเซียน เชน การจัดทําเขตการคาเสรี เชน เขตการคาเสรีอาเซียน-จีน เขตการคาเสรีอาเซียน-ยุโรป เปนตน - สรางเครือขายการผลิตและจําหนายเพ่ือสรางมูลคาเพ่ิม ประสิทธิภาพการผลิตรวมถึงการวิจัยและพัฒนาเชิงพาณิชย

ประเทศไทยเปนหน่ึงในหาของประเทศผูรวมกอตั้งอาเซียนและเปนประเทศที่มีบทบาทสําคัญในกิจกรรมตางๆของอาเซียนมาโดยตลอด ดังน้ันการกาวไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนยอมนับเปนโอกาสที่สําคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย ที่จะตองเรงปรับตัวและใชโอกาสจากการลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุน ตลอดจนการใชทรัพยากรในภูมิภาคใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขาที่ไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันเชน สาขาผลิตภัณฑยานยนต ผลิตภัณฑอาหาร อิเล็กทรอนิกส รวมถึงภาคบริการ เชน สาขาการทองเที่ยว การบริการสาขาสุขภาพ และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งสาขาตางๆ เหลาน้ีเปนสาขาที่อาเซียนจะเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจใหเห็นผลเปนรูปธรรมภายในป 2553ทั้งสิ้น อยางๆไรก็ตามแมวาไทยจะไดรับโอกาสจากการรวมกลุมที่จะเกิดขึ้นน้ี ไทยก็ยอมที่จะหลีกหนีไมพนจากผลกระทบที่เกิดจากการลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุนเชนเดียวกันดวยการที่อาเซียนเปนตลาดที่มีประชากรขนาดกวา 550 ลานคน ยอมเปนตลาดที่นาสนใจและสรางความดึงดูดใจการการคาและการลงทุนเปนอยางยิ่ง

สําหรับการคาระหวางประเทศของไทยและอาเซียนนั้นมีการขยายตัวมาโดยตลอด อาเซียนถือเปนตลาดสงออกอันดับหน่ึงของไทยดวยมูลคา 1,118,810 ลานบาทในป2550 หรือคิดเปนรอยละ 21.34 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด ซึ่งสินคาสงออกที่สําคัญไดแก น้ํามันสําเร็จรูป รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ เครื่องจักรกลและสวนประกอบของเครื่อง แผงวงจรไฟฟา รวมถึงเหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ เปนตน สําหรับการนําเขาน้ันแมวาจะขยายตัวลดลงบางในป 2550 แตยังถือเปนแหลงนําเขาสินคาที่สําคัญอันดับสองรองจากญ่ีปุนซ่ึงคิดเปนรอยละ 17.91 หรือคิดเปนมูลคาเทากับ 872,246 ลานบาท โดยสินคานําเขาที่สําคัญประกอบดวย เคร่ืองคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ เคมีภัณฑ น้ํามันดิบ กาซธรรมชาติ และแผงวงจรไฟฟา

นับจากปจจุบันน้ีเหลือเวลาอีก ประมาณ 6 ป ที่ไทยและอาเซียนจะกาวไปเปน AECการเตรียมความพรอมของผูประกอบการภายในประเทศจึงเปนสิ่งที่สําคัญและมีความจําเปนเปนอยางยิ่ง แมวาการรวมกลุมทางเศรษฐกิจจะชวยสรางความสามารถในการแขงขันและสรางโอกาสทางการคาและการลงทุนแลว การใชประโยชนจากโอกาสที่จะไดรับยอมเปนส่ิงที่จําเปนไมยิ่งหยอนไปกวากัน ดังน้ันเพ่ือใหการกาวไปสูการเปน AEC เกิดประโยชนกับไทยมากสุดผูประกอบการ

- 23 -

Page 24: AEC Studies Report

- 24 -

Page 25: AEC Studies Report

ยุทธศาสตรการคาและการลงทุนในอาเซียน

ทําไมอาเซียนตองกระชับการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ?

ที่ผานมา กลาวไดวา อาเซียนประสบความสําเร็จในการเปดเสรีการคาสินคามากที่สุด เม่ือ เปรียบเทียบกับการเปดเสรีดานอ่ืนๆ คือ การคาบริการ และการลงทุน โดยขณะนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (บรูไนฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย) ไดลดภาษีสินคาในกรอบอาฟตา (AFTA) ทุกรายการลงเหลือรอยละ 0-5 โดยสินคารอยละ 60 มีอัตราภาษีที่รอยละ 0 แลว สวนสินคาที่เหลือ ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ มีเปาหมายท่ีจะลดอัตราภาษีเปนรอยละ 0 ในปค.ศ. 2010 และประเทศสมาชิกใหม (CLMV) ในปค.ศ. 2015 ทั้งน้ี ในสวนของการคาบริการ ไดมีการทยอยเปดเสรีมากขึ้นเรื่อยๆ โดยมุงเนนใน 7 สาขา คือ การเงิน ขนสงทางทะเล ขนสงทางอากาศ การสื่อสาร โทรคมนาคม การทองเที่ยว กอสราง และบริการธุรกิจ และในสวนของการลงทุน ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการดําเนินการดานความรวมมือและการสงเสริมการลงทุนมากกวาดานการเปดเสรี ซึ่งสําหรับการเปดตลาดนั้น ยังจํากัดเฉพาะการลงทุนโดยตรง (FDI) ไมรวมถึงการลงทุนดานหลักทรัพย (portfolio investments) และครอบคลุมเฉพาะสาขาการผลิต เกษตร ประมง ปาไม เหมืองแร และบริการท่ีเก่ียวของกับ 5 สาขาดังกลาว (services incidental) นอกจากนี้ อาเซียนมีความตกลงวาดวยความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Cooperation: AICO) ซึ่งมีประโยชนอยางยิ่งตอภาคเอกชน แตปจจุบันอุตสาหกรรมที่เขาไปใชประโยชนจากความตกลงนี้ยังเปนอุตสาหกรรมรถยนตเปนสวนใหญ ซึ่งจริงๆแลว AICO ไมไดจํากัดอุตสาหกรรม AICO มีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการแขงขันใหกับสินคาอุตสาหกรรมของอาเซียน โดยสนับสนุนใหเกิดการแบงสรรการผลิตภายในภูมิภาค ลดต ทุนการผลิตโดยการลดภาษีนําเขาสินคาสําเร็จรูป ก่ึงสําเร็จรูป และวัตถุดิบ น

ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินในเอเชียเม่ือป 1997 หลายประเทศสมาชิกอาเซียนรวมทั้งไทยประสบปญหาเศรษฐกิจชะลอตัว จนถึงขั้นหดตัว การลงทุนโดยตรงจากประเทศนอกกลุมในอาเซียนลดลงถึงรอยละ 67.7 ในป 1998 เทียบกับป 1997 เหตุผลที่พูดถึงเหตุการณดังกลาว เน่ืองจากเปนเหตุการณสําคัญที่ทําใหผูนําอาเซียนมีการตัดสินใจเชิงนโยบายที่จะกระชับการรวมกลุมภายในของอาเซียนในเชิงลึกมากขึ้น โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจและการเงิน เพราะตระหนักวา หากอาเซียนรวมตัวกันไมติดและไมเขมแข็งพอ อาเซียนจะไมสามารถสรางภูมิภาคใหเขมแข็งและดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศใหกลับมาและฟนฟูเศรษฐกิจได ในขณะเดียวกัน ในชวงเวลานั้น ทามกลางกระแสทวิภาคีและภูมิภาคนิยมที่เพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วทั่วโลก อาเซียนจําเปนตองสรางความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคเอเชียผานการเจรจา FTA ทั้งนี้เพ่ือเพ่ิมความนาสนใจของอาเซียนในสายตาของนักลงทุนตางชาติ และไมใหอาเซียนตกอยูในสภาวะที่เปนฝายเสียเปรียบประเทศนอกภูมิภาค

- 25 -

Page 26: AEC Studies Report

การดําเนินการไปสู AEC ในชวง 3 ปที่ผานมา มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอยางมากตออนาคตของอาเซียน คือ ผูนําอาเซียนไดมีการแสดงออกถึงความมุงม่ันทางการเมืองและการใหความสําคัญตอการดําเนินการกระชับการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนเปนลําดับแรกออกมาอยางตอเน่ือง เริ่มตนดวยการออกแถลงการณบาหลีฉบับที่ 2 (Bali Concord II) เม่ือปลายป 2546 เห็นชอบเปาหมายสุดทายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community :AEC) ภายในป 2020 โดยความหมายของ AEC คือ อาเซียนจะเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝมือระหวางกันอยางเสรี และเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น เปนครั้งแรกในประวัติศาสตรของอาเซียนที่มีการตั้งเปาหมายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจไวอยางชัดเจน โดย AEC จะเปนอะไรที่แตกตางไปจากอาเซียนในอดีต อนาคตของอาเซียนที่ผูนําไดตั้งเปาไว คือ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในแบบสหภาพยุโรป แมวา จะไมเหมือนเสียทีเดียว แตเปาหมาย คือ ใหอาเซียนกลายเปนประเทศเดียวกัน ไรอุปสรรคในการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตทั้งหลาย มีมาตรฐาน และกฎระเบียบที่สอดคลองกัน สินคาราคาเดียวกัน ตางกันเพียงคาขนสง เพ่ือใหการดําเนินงานเห็นผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว อาเซียนจะดําเนินการผานกระบวนการคัดเลือก 11 สาขานํารองที่เห็นวา เปนสาขาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนนาจะสามารถดําเนินการใหเกิดการรวมกลุมไดโดยเร็วกวาสาขาอ่ืนๆในลักษณะรวมกันผลิต รวมกันใชและคาขายระหวางกันใหมากขึ้นเหมือนเปนประเทศเดียวกัน ประกอบดวย สาขาการทองเท่ียว การบิน ยานยนต ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ รวมเรียกวา 11 priority sectors โดยกําหนดใหดําเนินการรวมกลุมสาขาเหลาน้ีใหเสร็จภายในป 2010 ซึ่งการรวมกลุมในลักษณะนี้เปนแบบเดียวกับที่สหภาพยุโรปเริ่มตนการรวมกลุมจากอุตสาหกรรมถานหิน นอกจากนี้ สําหรับแตละสาขา มีแผนการดําเนินงาน (Roadmaps) การรวมกลุมพรอมทั้งกําหนดเวลาในการดําเนินการอยางชัดเจน ในป 2548 ผูนําไดเห็นชอบใหมีการเรงรัดการรวมกลุมสาขาการทองเที่ยวและการบิน ซึ่งเปน 2 ใน 11 priority sectors ใหเร็วขึ้น ทั้งหมดนี้ เพ่ือแสดงออกถึงความตั้งใจจริงที่จะดําเนินการไปสู AEC และเพ่ือใหมีตัวอยางความสําเร็จในเวลาอันรวดเร็วได สําหรับการเปดเสรีสินคาที่เปน priority sectors (เกษตร/ ประมง/ ไม/ ยาง/ สิ่งทอ/ ยานยนต/ อิเล็กทรอนิกส/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สาขาสุขภาพ) จะใชมาตรการตางๆเปนกลไก เชน การเรงลดภาษีใหเร็วกวาในกรอบอาฟตา 3 ป คือ ตองขจัดภาษีภายในป 2007 สวนการเปดตลาดบริการที่เปน priority sectors (ทองเที่ยว การบิน เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ) อนุญาตใหนักลงทุนสัญชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนหนึ่งเขามาตั้งกิจการในอีกประเทศหนึ่งโดยถือหุนขางมากได คือ ในสัดสวนรอยละ 51 ในป 2008 และรอยละ 70 ในป 2010 ทั้งน้ี สําหรับสาขาบริการอ่ืนๆที่หลือทั้งหมด ใหเปดเสรีภายในป 2015 เ

- 26 -

Page 27: AEC Studies Report

นอกจากการลดภาษีแลว อาเซียนยังไดดําเนินการยกเลิกมาตรการและอุปสรรคกีด

กันทางการคาที่มิใชภาษี (NTBs) ในขณะเดียวกัน อาเซียนไดเรงปรับประสานมาตรฐานสินคาและจัดทําความตกลงการยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เพ่ืออํานวยความสะดวกทางการคา โดยอาเซียนไดเร่ิมดําเนินการปรับประสานมาตรฐานสินคา 20 กลุม สวนใหญเปนเคร่ืองใชไฟฟา เชน เคร่ืองปรับอากาศ ตูเย็น วิทยุ และโทรทัศน เปนตน นอกจากนี้ เนื่องจากแตละประเทศสมาชิกมีพิธีการนําเขาสินคาที่แตกตางกัน ดังน้ันเพ่ือใหการคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนเปนไปโดยสะดวก จึงจําเปนตองมีมาตรการอํานวยความสะดวกดานพิธีการดานศุลกากร ในการน้ี อาเซียนจะนําระบบ ASEAN Single Window หรือที่เรียกวา ระบบการอํานวยความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวมาใชเพ่ือใหการตรวจปลอยสินคานําเขาเปนไปอยางรวดเร็วขึ้น โดยผูนําเขาสามารถย่ืนเอกสารและขอมูลที่เก่ียวของกับการนําเขา-สงออก ณ จุดเดียว ใหศุลกากรเพ่ือการตัดสินใจในการตรวจปลอยสินคาเพียงคร้ังเดียว ในชั้นน้ี ไดมีการลงนามความตกลงวาดวยการอํานวยความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window) แลว และในสวนของไทย จะดําเนินโครงการนํารองกับฟลิปปนส โดยในเบื้องตนจะเริ่มใชกับการรับสงขอมูลใบขนสินคาขาออกและ FORM D ระหวางกัน ซึ่งตามแผนงานกําหนดจะเร่ิมโครงการนํารองในเดือนมิถุนายน 2549 ในสวนของการเคลื่อนยายของนักธุรกิจ ผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบวิชาชีพ แรงงานมีฝมือ และผูมีความสามารถพิเศษ ขณะนี้ อาเซียนอยูระหวางการพัฒนาจัดทํา ASEAN Business Card เพ่ืออํานวยความสะดวกในการเดินทางใหแกนักธุรกิจภายในภูมิภาค และเรงพัฒนามาตรฐานการยอมรับรวมสําหรับบุคลากรในสาขาวิชาชีพตางๆ ซึ่งขณะนี้ ไดจัดทําขอตกลงยอมรับรวมในสาขาวิศวกรรมแลว และอยูระหวางการพัฒนาในดานสาขาพยาบาล และจะมีการอํานวยความสะดวกดานการเดินทางภายในอาเซียนดวย โดยอยูระหวางการปรับประสานกระบวนการ/พิธีการในการออกวีซาใหกับนักเดินทางตางชาติที่เดินทางเขามาในอาเซียน และการยกเวนวีซาใหกับผูเดินทางสัญชาติอาเซียนที่เดินทางภายในอาเซียน นอกจากนี้ สําหรับความคืบหนาการดําเนินการตาม Roadmaps ในแตละสาขา ที่สําคัญ คือ สาขาเกษตร ใหมีการเพ่ิมขอบเขตสินคาที่จะเรงลดภาษี ที่สําคัญ คือ น้ํามันปาลม อีก 33 รายการ สาขาประมง มีการพัฒนายกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ โดยใชหลักกระบวนการผลิต GAP (Good Aquaculture Practice) ซึ่งสอดคลองกับหลักปฏิบัติสากล รวมทั้งความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) สาขายานยนต มีขอเสนอโครงการเพ่ือสงเสริมความรวมมือในดานกระบวนการผลิต R&D Testing Facility ตางๆเพ่ือใหอาเซียนเปนฐานการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต สาขาอิเล็กทรอนิกส อยูระหวางการจัดทําฐานขอมูลผูผลิตสินคาเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสอาเซียนเพื่ออํานวยความสะดวกการจับคูทางธุรกิจ สาขาการบิน อยูระหวางการพิจารณาเพิ่มขอบเขตของเมืองภายในอาเซียนที่จะเปดเสรี นอกเหนือไปจากเมืองหลวงของแตละประเทศสมาชิกทั้งในดานการขนสงสินคาและผูโดยสาร สาขา ICT ใหเพ่ิมขอบขายสินคาที่จะเรงลดภาษ ีี ซึ่งจะเปนประโยชนตอผูผลิต

- 27 -

Page 28: AEC Studies Report

การดําเนินงานในระยะตอไป (Phase II) สําหรับการดําเนินการในระยะตอไปน้ัน นอกจากการดําเนินการตามแผนงาน Roadmaps การรวมกลุม 11 priority sectors และการดึงเอา 2 สาขา คือ การทองเที่ยวและการบิน มาดําเนินการใหเกิดการรวมกลุมที่เร็วกวา priority sectors อ่ืนๆที่เหลือแลวน้ัน อาเซียนตกลงที่จะเพ่ิมสาขา Logistics เปน priority sector อีกสาขาหน่ึง เน่ืองเห็นวา อาเซียนจําเปนตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการดําเนินงานในสวนตางๆ ทั้งระบบคลังสินคา ระบบการผลิต ระบบการบรรจุภัณฑ ระบบการกระจายสินคา รวมถึงการนําเขาและสงออกสินคาระหวางประเทศ ทั้งน้ี เพ่ือใหการจัดสงสินคาและบริการไปถึงมือลูกคาเปนไปอยางรวดเร็ว การเจรจาเขตการคาเสรีของอาเซียนกับประเทศคูเจรจาตางๆ

อาเซียนตองเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคเอเชียใหมากขึ้น เพ่ือเพ่ิมความนาสนใจของอาเซียน ดังนั้น นอกจากการรวมกลุมภายในของอาเซียนเองแลว อาเซียนยังใหความสําคัญกับการเจรจาจัดทําเขตการคาเสรีกับประเทศตางๆภายนอกกลุม อาทิ จีน ญี่ปุน เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด เพ่ือสรางพันธมิตรทางเศรษฐกิจ และเพิ่มโอกาสดานการคาและการลงทุนใหกับผูประกอบการในอาเซียนในการขยายตลาดและการลงทุนออกไปภายนอกไดอีกทางหนึ่ง

ในชั้นน้ี การเจรจากับแตละประเทศมีความคืบหนาที่ตางกัน อาเซียน-จีนมีความคืบหนามากที่สุด โดยไดเริ่มลดภาษีสินคาระหวางกันตั้งแตปลายป 2004 และจะลดภาษีเหลือรอยละ 0 ในป 2010 อยางไรก็ดี ในภาพรวมทุกเวทีมีกรอบการเจรจาและเปาหมายเดียวกัน คือ การเจรจาในกรอบกวาง ครอบคลุมการคาสินคา บริการ การลงทุน และความรวมมือทางเศรษฐกิจในดานอ่ืนๆ เชน การแกไขมาตรการกีดกันการคา เกษตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขัน และการปรับประสานมาตรฐานและกฎระเบียบ เปนตน ทั้งน้ี ในการจัดทํา FTA กับประเทศตางๆนั้น รัฐบาลไดตระหนักในความหวงใยของภาคเอกชนโดยเปดรับฟงความคิดเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่ง สินคาเกษตร และสินคาอุตสาหกรรมที่สําคัญ เชน เหล็กและยานยนต อน่ึง สําหรับประเทศคูเจรจาที่เปนประเทศพัฒนาแลว คือ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด มี

- 28 -

Page 29: AEC Studies Report

นโยบายของรัฐบาลไทยตออาเซียน

จากภาพอาเซียนที่ไดสรุปใหทานฟง จะพบวา นอกจากโอกาสทางการคาภายในภูมิภาคแลว ในอนาคตอันใกลนี้ภายหลังจากการเจรจา FTA ของอาเซียนกับประเทศคูเจรจาตางๆแลวเสร็จ จะทําใหเกิดความเชื่อมโยงระหวางอาเซียนกับประเทศตางๆในภูมิภาคเอเชีย และเปดโอกาสทางดานการคาและการลงทุน ในสวนของนโยบายของรัฐบาลไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานของอาเซียนมาโดยตลอดในฐานะที่อาเซียนเปนกลุมภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รัฐบาลไดมุงใหความสําคัญกับอาเซียนเปนลําดับแรก โดยใชนโยบาย ASEAN First Policy คือ อาเซียนตองมากอน เน่ืองจากเล็งเห็นวา การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่แข็งแกรงมากขึ้น จะชวยเพ่ิมศักยภาพการแขงขันของของไทยและของอาเซียนทั้งกลุมในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) รวมทั้งชวยสรางอํานาจในการตอรองในกรอบการเจรจาระดับภูมิภาค และพหุภาคี และจากพื้นฐานที่แข็งแกรงตรงนี้ จะทําใหการเชื่อมโยงกับประเทศอ่ืนๆโดยการจัดทํา FTA ของไทยเกิดอํานาจตอรองมากขึ้น แนวทางความรวมมือที่เปนไปไดระหวางไทยกับอาเซียน ขณะน้ี รัฐบาลมีโครงการสรางเครือขายและขยายความรวมมือทางธุรกิจในอาเซียน หรือ ASEAN Hub โดยมีกระทรวงพาณิชยเปนหนวยงานรับผิดชอบ ซึ่งกําหนดยุทธศาสตรที่มีตออาเซียนไว 4 ประการ คือ

1) การเปนพันธมิตรและหุนสวน (strategic partner) : ตองทําใหอาเซียนเปนทั้ง พันธมิตรและหุนสวนเพื่อใหประเทศไทยเปน gateway ของอาเซียน ทั้งการคาและการลงทุน โดยการใชเวทีทวิภาคี เชน JTC และแนวทาง 2+X เปนตน และสนับสนุนความรวมมือในภูมิภาค เชน ACMECS, IMT-GT

2) การเปนแหลงวัตถุดิบ : ตองเปลี่ยนแนวคิดการมองอาเซียน จากคูแขงมาเปนหุนสวน โดยการสรางความไววางใจใหเกิดขึ้นทั้งแกคนไทย และประเทศเพื่อนบาน โดยการใหความชวยเหลือแกประเทศเพ่ือนบาน การเขาไปลงทุนผลิตสินคาเกษตรที่ขาดแคลน การนําประเทศท่ีสามเขารวมในการพัฒนา

- 29 -

Page 30: AEC Studies Report

3) การเปนฐานการผลิตใหอุตสาหกรรมไทย : ตองพิจารณาเรื่องการยายฐานการผลิต ของบางอุตสาหกรรมออกไปยังประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาอุตสาหกรรมที่ใชแรงงาน และแรงงานก่ึงฝมือ เชน อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร สิ่งทอ เฟอรนิเจอร แปรรูปผลิตภัณฑไม

4) การเปนตลาดที่มีประชากรกวา 500 ลานคน : ตองรักษาตลาดเดิมไวใหม่ัน และตอง ขยายใหกวางขึ้น เน่ืองจากความแตกตางในระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ อาจสามารถจําแนกกลุมประเทศในอาเซียนออกไดเปน 3 กลุมสําคัญ คือ 1) กลุมที่มีความกาวหนาดานเทคโนโลยี และเนนภาคบริการ ไดแก สิงคโปร ซึ่งไทยสามารถเปนพันธมิตรรวมทางดานเศรษฐกิจเพ่ือแสวงหาชองทางและโอกาสทางการตลาด โดยใชความชํานาญดานโลจิสติกสของสิงคโปรเปนฐานในการกระจายสินคาในภูมิภาคและไปยังประเทศภายนอก ซึ่งรัฐบาลไดใหความสําคัญในประเด็นนี้ จึงไดมุงสงเสริมความรวมมือระหวางไทยกับสิงคโปรในดานตางๆ เชน โลจิสติกส การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม การศึกษา และการทองเท่ียว เปนตน 2) กลุมที่เปนฐานการผลิตในอุตสาหกรรมตางๆ ไดแก ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส ซึ่งไทยสามารถใชเปนพันธมิตรเพ่ือรวมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศเพ่ือไปสูการเปนผูนําในอุตสาหกรรมโดยอาศัยการ outsource และ Joint Venture เพ่ือยกระดับความสามารถในการแขงขัน 3) กลุมที่เปนแหลงวัตถุดิบและทรัพยากร ไดแก ประเทศสมาชิกใหมอาเซียน (CLMV) ประกอบดวย กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม ซึ่งเปนประเทศที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติที่จะเอ้ือประโยชนตอการผลิต อาทิ แรธาตุ พลังงาน และวัตถุดิบทางการเกษตรตางๆ รวมถึงตนทุนแรงงาน (low-skill worker) ที่ต่ํา นอกจากน้ี ประเทศสมาชิกใหมอาเซียนเหลาน้ีสวนใหญยังไดสิทธิประโยชนทางดานภาษีจากประเทศท่ีพัฒนาแลว (GSP) อาทิ สหรัฐอเมริกา ยุโรป และญ่ีปุน ดังน้ัน การเขาไปลงทุนในประเทศเหลาน้ียอมไดรับประโยชนในแงการยกเวนภาษีนําเขาตามกรอบ GSP ที่ประเทศเหลาน้ันไดรับและสรางความสามารถในการแขงขันใหกับสินคาที่สงออกมากขึ้น อน่ึง สําหรับประเทศสมาชิกใหมเหลาน้ี ไทยไดใหความชวยเหลือในรูปของมาตรการใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (ASEAN Integration System of Preferences : AISP ) โดยการยกเวนและลดภาษีศุลกากรใหประเทศสมาชิกใหมอาเซียน ซึ่งเปนการใหลักษณะทวิภาคีและเปนการใหฝายเดียวโดยไมมีการเจรจาตอรอง และมีกรอบเวลา 8 ป โดยเร่ิมตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2545 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งน้ี เพ่ือใหภาคเอกชนไทยสามารถนําเขาวัตถุดิบราคาถูกเพ่ือใชในการผลิต

- 30 -

Page 31: AEC Studies Report

อุปสรรคการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนอยางไมเปนทางการ (AEM retreat) ระหวาง 3-4 พฤษภาคม2550 ณ กรุงบันดาเสรี เบกาวนั ประเทศบรไูน ที่ประชุมมีมติเห็นชอบแผนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC blueprint) โดยจะมีการเปดตลาดในภูมิภาคอาเซียน เพ่ือมุงสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC : ASEAN Economic Community) ภายในป พ.ศ.2553-2558 เราสามารถวิเคราะหอุปสรรคในการจัดจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ไดดังนี้ ขาดความผูกพันกับวิสัยทัศน แมวาประเทศอาเซียนจะมีจุดมุงหมายรวมกันอยางชัดเจน ในการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป พ.ศ.2553-2558 และมีการจัดทําแผนการดําเนินงานเพื่อไปสูจุดหมายดังกลาว แตวิสัยทัศนและแผนการดําเนินงานยังเปนเพียงหลักการเบื้องตน รัฐบาลของประเทศสมาชิกยังไมผูกมัดตัวเองตอวิสัยทัศนดังกลาว ทําใหขาดเจตจํานงทางการเมือง รวมทั้งกระแสการเจรจาการคาเสรีแบบทวิภาคี ยังทําใหความสําคัญของความรวมมือระดับภูมิภาคลดลง

ขาดผลประโยชนรวมอยางเพียงพอ อาเซียนมีความพยายามสรางความรวมมือบนพ้ืนฐานของที่ทุกประเทศไดประโยชนรวมกัน สังเกตไดจากบรรทัดฐานสําคัญของอาเซียน คือ ฉันทานุมัติและความสมัครใจ แตในความเปนจริง มีความเปนไปไดยากที่จะจัดตั้งการเปนประชาคมในระดับภูมิภาค เน่ืองจากประเทศสมาชิกมีความแตกตางของระดับการพัฒนาคอนขางมาก อาจทําใหการกระจายผลประโยชนไมเทาเทียมกัน ยิ่งไปกวาน้ัน ประเทศอาเซียนยังเปนคูแขงขันกันเอง ทั้งดานการคา และดานการดึงดูดเงินลงทุนจากตางประเทศ ซึ่งอาจแตกตางจากยุโรปที่มีลักษณะเปน “คูคากันโดยธรรมชาติ” (natural trading partner)

ขาดความรูสึกเปนเจาของ ประชาชนในอาเซียนยังขาดความรูสึกเปนเจาของภูมิภาคนี้รวมกัน เน่ืองจากแตละประเทศมีประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่แตกตางกันมาก และไมมีประสบการณหรือประวัติศาสตรที่ตองตอสูรวมกัน ขณะที่ประชาชนยังไมไดรับการสื่อสารวิสัยทัศนการจัดตั้งประชาคมอาเซียนอยางเพียงพอ ประชาชนในแตละประเทศยังคงถือวาตนเองเปนคนของประเทศตน โดยไมเห็นประโยชนของการอางถึงความเปนประชาชนของความเปนอาเซียน

ขาดกติกาที่เขมแข็ง อาเซียนยังขาดกติกาที่เขมแข็ง วิถีอาเซียนมีลักษณะของของการไมมีพิธีรีตอง โดยเนนความสําพันธระหวางบุคคลมากกวาความสัมพันธเชิงสถาบัน และไมใหความสําคัญตอขอผูกมัดที่ตายตัวและขอตกลงเชิงกฎหมาย ความรวมมือของอาเซียนจึงมีลักษณะเปนการประกาศ (declaration) ไมใชสนธิสัญญา (treaty) อาเซียนยังขาดกฎเกณฑในการ

- 31 -

Page 32: AEC Studies Report

ขาดการมีสวนรวมของประชาชน อาเซียนไดพยายามจัดกิจกรรมเพ่ือสรางความสัมพันธระหวางสมาชิก แตกิจกรรมสวนใหญยังเปนกิจกรรมของกลุมคนระดับชนชั้นสูง สถาบันของอาเซียนถูกใหฉายาวาเปนเพียง สมาคมของรัฐบาลและชนชั้นสูง นอกจากน้ี การประชุมระดับผูนําและรัฐมนตรีมีไมบอยคร้ังนัก เม่ือเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรปที่ผูนํารัฐบาลมีการประชุมกัน 2 คร้ังตอป รัฐมนตรีของอาเซียนประชุมกันเพียงปละ 1 คร้ัง ไมตองกลาวถึงประชาชนในอาเซียน เพราะยังขาดกิจกรรมที่ทําใหเกิดความสัมพันธซึ่งกันและกันในระดับประชาชน

ขาดระบบจัดการที่มีประสิทธิภาพ อาเซียนยังขาดระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพ โครงสรางสํานักงานเลขาธิการอาเซียนยังออนแอ เพราะมีลักษณะการทํางานเปนรูปแบบคณะกรรมการ ที่มีอํานาจและบทบาทที่จํากัด ตลอดจนขาดแคลนบุคลากร การสนับสนุนดานงบประมาณ และการสนับสนุนดานการเมือง เพราะนักการเมืองและผูนําประเทศตาง ๆ ยังไมตองการแบงอํานาจใหกับสถาบันของภูมิภาค นอกจากนี้ กระบวนการตัดสินใจใชหลักฉันทามติในทุกเรื่อง ทําใหขาดความยืดหยุนและความคลองตัวในการดําเนินงาน

ขาดการเรียนรูรวมกัน ภูมิภาคอาเซียนยังขาดกลไกและกระบวนที่ที่ทําใหเกิดการเรียนรูรวมกัน ประชาชนในแตละประเทศยังไมรูจักประเทศเพ่ือนบานของตนเองมากเพียงพอ แตกลับรูจักประเทศนอกภูมิภาคมากกวา เนื่องจากอาเซียนยังขาดชองทางการเรียนรูจักประเทศเพ่ือนบาน ขาดชองทางการถายทอดและสงผานขอมูลขาวสารและองคความรูระหวางกัน กลาวโดยสรุป อาเซียนยังหางไกลจากความสําเร็จในการรวมกันเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพราะผูนําทางการเมืองยังขาดความตระหนักถึงความจําเปนและความสําคัญของความรวมมือกัน กลไกที่สนับสนุนความรวมมือยังขาดประสิทธิภาพ ในขณะที่ประชาชนของประเทศตาง ๆ ไมรูจักกันมากเพียงพอ

ในปจจุบัน การมุงสูวิสัยทัศนอาเซียน ยังเปนการดําเนินการของระดับชนชั้นนํา และการพัฒนาโครงสรางและกลไกตาง ๆ ในภูมิภาคเทาน้ัน แตประเด็นสําคัญที่ยังไมถูกใหความสําคัญมากนัก คือการสรางความสัมพันธระหวางประชาชน และการสรางความตระหนักถึงความเปนประชาชนของอาเซียน ซึ่งเปนรากฐานที่ทําใหการรวมตัวของภูมิภาคประสบความสําเร็จ

- 32 -

Page 33: AEC Studies Report

ไทยตองพัฒนาตัวเองเพ่ือรองรับการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในอีก 6 ปขางหนา

รองอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

ในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน (อาเซียน ซัมมิท) ที่จังหวัดเพชรบุรี ที่ผานมานั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยของไทยไดมีการลงนามในความตกลงหลายฉบับ โดยเฉพาะความตกลงระหวางกลุมประเทศอาเซียน 10 ประเทศ และ ระหวางอาเซียนกับคูเจรจา

สําหรับการลงนามความตกลงภายในอาเซียนน้ัน ไทยไดลงนามความตกลงดานการคา หรือเขตการคาเสรี (FTA) ซึ่งจะทําใหระบบเขตการคาเสรีเปนระเบียบและมีความชัดเจนยิ่งขึ้น เชน แหลงกําเนิดสินคา ตารางการลดภาษี และกําจัดขอกีดกันการคา นอกจากน้ี ไทยยังไดลงนามความตกลงเร่ืองการลงทุน ที่เนนการลดขอจํากัดระหวางกัน ซึ่งจะอํานวยความสะดวก และคุมครองนักลงทุนระหวางอาเซียนดวย

นอกจากนี้ ยังมีขอตกลงดานการยอมรับใน 3 วิชาชีพคือ แพทย ทันตแพทย และ บัญชี ซึ่งจะเปนการอํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายแรงงานมีฝมืออยางเสรีใหสามารถประกอบอาชีพระหวางประเทศอาเซียนดวยกันได รวมถึงยังมีการลงนามบันทึกความเขาใจระหวางไทย – อินโดนีเซียเรื่อง “น้ําตาล” จากการที่อินโดนีเซียไมสามารถลดภาษีน้ําตาลไดตามขั้นตอน ซึ่งตองชดเชยดวยการทําสัญญา MOU วาจะนําเขาสินคานํ้าตาลจากไทยในปริมาณเทาเดิมเปนเวลา 3 ปยอนหลัง

สวนการลงนามความตกลงระหวางอาเซียนกับประเทศคูเจรจา จะมีทั้งความตกลงเรื่องเขตการคาเสรีดานสินคาและบริการที่ไทยไดลงนามความตกลงกับเกาหลีใต และการลงนามความตกลงระหวางประเทศกลุมอาเซียนกับออสเตรเลีย-นิวซีแลนด ซึ่งเปนความตกลงที่ครอบคลุมดานสินคา

- 33 -

Page 34: AEC Studies Report

รองอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศกลาวอีกวา เน่ืองจากขอตกลงในกฎบัตรอาเซียนระบุไวชัดเจนวาจะตองเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 6 ปขางหนา ซึ่งจะทําใหทุกประเทศสมาชิกมีตลาดและฐานการผลิตรวมกัน สามารถพัฒนาความสามารถในการแขงขันและการลดชองวางระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงกอใหเกิดความรวมมือกับประชาคมโลกมากขึ้น จึงตองดําเนินการเปนขั้นตอนภายใตกฎบัตรอาเซียนซ่ึงไดมีการลงนามพิมพเขียวเปนแมแบบไวตั้งแตเม่ือ 2 ปที่ผานมา และถัดจากนี้ก็จะยึดแนวทางนั้นอยางเขมขนตอไป

ทั้งน้ี ประเทศไทยก็จะตองปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจดวย ทั้งการปรับปรุงคุณภาพของตราสินคา เทคโนโลยีการผลิต และนวัตกรรมใหม ๆ เพ่ือสรางความไดเปรียบในการแขงขันในอนาคต สวนการเปดเสรีดานสินคาเกษตรนั้น ภาครัฐก็พรอมเขาไปชวยเหลือในการสรางคุณภาพ การยกระดับการผลิต เพ่ือรองรับการเปดเสรีทางการคาอยางเต็มที่ใน 6 ปขางหนาดวย

- 34 -

Page 35: AEC Studies Report

บทสัมภาษณพิเศษ

ผอ. ชนินทร ขาวจันทร ผูอํานวยการหนวยพัฒนาการเช่ือมโยงอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (B.O.I.)

ถาม การรวมกลุมทางเศรษฐกจิของอาเซียนไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายในป 2015 อาเซียนจะเปนตลาดและฐานการผลิตเดยีวและมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน อยางเสรี ผูประกอบการคนไทยจะไดรบัผลกระทบอยางไร และควรปรับตัวเชนไร?

ผอ.ชนินทร การที่ผูประกอบการคนไทยจะไดรับผลกระทบนั้น แลวแตสนิคาที่ผูประกอบการรายน้ันผลิตเชนชิ้นสวนยานยนตจะไดรบัผลกระทบในทิศทางที่ดี แตในทางกลับกันอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคสจะไดรับผลกระทบจากการรวมกลุมน้ี กลาวคือ ในอุตสาหกรรมยานยนตนั้นกลยุทธตาง ๆ ในการที่จะวางฐานการผลิตขึ้นอยูกับบรษิัททีผ่ลิตรถยนตนัน้ ๆ เชน โตโยตา ฮอนดา อีซูซุ หรือ ฟอรด ในการกําหนดนโยบายการผลิตและจําหนาย บริษทั ผูผลิตเหลาน้ี ยงัมองประเทศไทยวามีศักยภาพเหนือกวาประเทศอินโดนีเซีย ทั้งประสบการณการผลิตและทักษะแรงงานที่มีความชํานาญ ทั้งรฐับาลไทยก็ยงัใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ ดังนั้น อุตสาหกรรมผูผลิตชิ้นสวนยานยนต

- 35 -

Page 36: AEC Studies Report

ถาม มุมมองนักลงทุนที่ไมไดอยูในกลุมอาเซียน ตอการที่จะมาลงทุนในอาเซยีน และแนวโนมของการลงทุน?

ผอ.ชนินทร การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนน้ัน เปรียบเสมือนประเทศมีความใหญขึ้น กําลังซื้อมากขึ้น ดังนั้นการผลิตมี Economy of scale คําถามตามมาก็คือ แลวนักลงทุนจะมาลงทุนในอุตสาหกรรมไหนในอาเซียน นักลงทุนตางประเทศกต็องดูวาประเทศไหนมีศักยภาพรองรับอุตสาหกรรมของเขาไดทั้งดานวัตถุดิบ การผลิต การสรางและพัฒนาบุคลากร เพ่ือใหไดตนทุนที่สามารถแขงขนัได ขณะนี้หนวย B.O.I. จึงมีหนาที่ประชาสัมพันธใหนักลงทุนตางประเทศมาลงทุนในประเทศไทยใหมากท่ีสุด ถาม ทําไมนักลงทุนในตางประเทศถึงมาลงทุนในประเทศไทยประเทศไทยมีขอดีอยางไร?

ผอ.ชนินทร อุตสาหกรรมที่นักลงทุนตางชาติเขามาลงทุนในประเทศไทย จะเปนอุตสาหกรรมที่เนนการใชทักษะไมใชอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานอยางเดียว แตอยางไรก็แลวแต ถาเปนอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานอยางเดียว ตองเปนอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนาประสิทธิภาพการผลติ ทําใหตนทนุการผลิตตอหนวยการผลิตต่ํา และแนนอนที่สุดอุตสาหกรรมดานการแปรรูปทางดานเกษตร ประเทศไทยมีวตัถุดิบที่ดีมากที่สุดและตนทุนทีต่่ําอยูแลว แตประเทศไทยตองพัฒนาดานเคร่ืองจักรที่ใชในการแปรรูปจะตองพัฒนาการผลิตเคร่ืองจักรขึ้นเองภายในประเทศ ไมพ่ึงพาการนําเขาเคร่ืองจักรจากตางประเทศ ซึ่งสวนใหญเคร่ืองจักรในการผลิตอาหารจะมีราคาสูง ดังนั้นรัฐบาลไทยควรสงเสริมใหมีการพัฒนาและผลติเครือ่งจักรในการผลิตอาหารขึน้มา เพ่ือใหการสงออกอาหารไทย เปนการผลิตจากประเทศไทยอยางแทจริง

- 36 -

Page 37: AEC Studies Report

ภาคผนวก สรุปภาวะการคาระหวางประเทศไทย - อาเซียน 2551 (ม.ค – ธค.)

(สรุปจากสถิติ Menucom กรมสงเสริมการสงออก) โครงสรางสนิคาออกของไทยกับ อาเซียน

มูลคา : ลานเหรียญสหรัฐฯ

สัดสวน %

% เพิ่ม/ลด

สินคาออกสําคัญทั้งส้ิน

40,159.39 100.00

22.47

สินคาเกษตรกรรม 3,177.72 7.91 37.67 สินคาอุตสาหกรรมการเกษตร

2,714.47 6.76 25.49

สินคาอุตสาหกรรม 28,304.90 70.48 16.59 สินคาแรและเชื้อเพลิง 5,962.18 14.85 54.94 สินคาอ่ืนๆ 0.11 0.00 -99.94

โครงสรางสนิคาเขาของไทยกับอาเซยีน

มูลคา : ลานเหรียญสหรัฐฯ

สัดสวน %

% เพิ่ม/ลด

นําเขาทั้งส้ิน 30,051.28 100.00

19.88

สินคาเชื้อเพลงิ 7,425.91 24.71 24.87 สินคาทุน 7,565.57 25.18 23.91 สินคาวตัถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป

11,831.15 39.37 14.48

สินคาบริโภค 2,155.16 7.17 13.71 สินคายานพาหนะและอุปกรณขนสง

1,067.18 3.55 43.50

สินคาอ่ืนๆ 6.31 0.02 -84.30

7.91

70.48

14.85 6.76

เกษตรกรรม อตุสาหกรรมการเกษตร

อตุสาหกรรม แรและเช้ือเพลิง

24.71

39.37

7.17

25.18

เช้ือเพลิง ทุน

วัตถุดิบและก่ึงสําเร็จรูป บริโภค

ยานพาหนะฯ

- 37 -

Page 38: AEC Studies Report

1. มูลคาการคา มูลคาการนําเขา สงออก และดุลการคาของไทย - อาเซียน

2550 2551 Δ/% (ม.ค. - ธ.ค.)

ลานเหรียญสหรัฐฯ

57,857.96 70,210.67 21.35

มูลคาการคารวม 6,500.00

16,500.00

26,500.00

36,500.00

การนําเขา

การสงออก

ดุลการคา

2552(มค.-ธค.) 2551(มค.-ธค.)

25,066.88 30,051.28 19.88 การนําเขา

32,791.08 40,159.39 22.47 การสงออก

7,724.20 10,108.11 30.86

ดุลการคา

2. การนําเขา ประเทศไทยนําเขาจากตลาดอาเซยีน มูลคา 30,051.28 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมข้ึนรอยละ 19.88 สินคานําเขาสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก

มูลคา : สัดสวน % ลานเหรียญ

สหรัฐฯ

% เพิ่ม/ลด

มูลคาการนําเขารวม 30,051.28 100.00 19.88 1. กาซธรรมชาต ิ 3,170.52 10.55 53.12 2. เคร่ืองคอมพิวเตอรฯ

2,555.82 8.50 -6.76

3. เคมีภัณฑ 2,529.03 8.42 3.64 4. น้ํามันดิบ 2,313.82 7.70 11.90 5. เคร่ืองจักรไฟฟา 2,060.68 6.86 38.77 อ่ืน ๆ 3,214.52 10.70 6.90

3. การสงออก ประเทศไทยสงออกไปตลาดอาเซียน มูลคา 40,159.39 ลานเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มข้ึนรอยละ 22.47

10.41

6.91

10.63

8.587.37

8.59

กาซธรรมชาติ เคร่ืองคอมพิวเตอรฯ

เคมีภัณฑ น้ํามันดิบ

เคร่ืองจักรไฟฟา อ่ืน ๆ

- 38 -

Page 39: AEC Studies Report

สินคาสงออกสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก

สัดสวน %

มูลคา : ลานเหรียญสหรัฐฯ

% เพิ่ม/ลด

มูลคาการนําเขารวม 10,159.39

100.00

22.47

1. น้ํามันสําเร็จรูป 4,584.23 11.42 71.91 2. รถยนต อุปกรณฯ 3,936.11 9.80 42.51 3. เคร่ืองคอมพิวเตอรฯ 2,244.16 5.59 3.05 4. เหล็ก เหล็กกลาฯ 1,739.90 4.33 21.83 5. แผงวงจรไฟฟา 1,664.08 4.14 -11.26 อ่ืน ๆ 10,336.3

8 25.74 21.70

4. ขอสังเกต 4.1 สินคาสงออกสําคัญของไทยไปอาเซียน ป 2551 (มค.-พย.) ไดแก นํ้ามันสําเร็จรูป : เม่ือพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551

พบวา ป 2550 เปนเพยีงปเดียวที่มีอัตราการขยายตัวลดลง (-1.08 %) ในขณะทีป่ 2548 2549 2551 มีอัตราขยายตวัเพ่ิมขึ้นรอยละ 44.49 37.21และ 71.91 ตามลําดับ เม่ือเทียบกับชวงเวลา เดียวกนัของปกอน

รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ : เม่ือพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวา ป 2549 เปนเพยีงปเดียวที่มีอัตราการขยายตัวลดลง(-3.22 %) ในขณะทีป่ 2548 2550 2551 มีอัตราขยายตวัเพ่ิมขึ้นรอยละ 38.61 41.02 และ 42.51 ตามลําดับเม่ือเทียบกบัชวงเวลา เดียวกันของปกอน

เครื่องคอมพวิเตอรและอุปกรณ : เม่ือพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551

พบวา ป 2550 เปนเพียงปเดียวที่มีอัตราการขยายตวัลดลง (-15.41 %) ในขณะที่ป 2548 2549 2551 มี

11.42

4.14

25.51

5.59

4.33

9.8

นํ้ามันสําเร็จรูป รถยนต อปุกรณ

เคร่ืองคอมพิวเตอรฯ เหล็ก เหล็กกลา

แผงวงจรไฟฟา อืน่ ๆ

- 39 -

Page 40: AEC Studies Report

เหล็ก เหล็กกลาฯ : เม่ือพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวามีอัตราขยายตวัเพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ืองรอยละ 13.13 15.28 43.02 และ 21.83 ตามลําดับ เม่ือเทียบกบัชวงเวลาเดียวกันของปกอน

แผงวงจรไฟฟา : เม่ือพิจารณามูลคาการสงออกป 2547 - 2551 พบวา ป 2551 เปนเพียงปเดียวที่มีอัตราการขยายตวัลดลง(-11.26 %) ในขณะที่ป 2548 2549 2550 มีอัตราขยายตวั เพ่ิมขึ้นรอยละ 24.03 12.48 และ 25.92 ตามลําดับ เม่ือเทียบกับชวงเวลา เดียวกันของปกอน

4.2 ในบรรดาสินคาสงออกจากไทยไปตลาดอาเซียน ป 2551 (ม.ค.- ธค.) 25 รายการแรก สินคาที่มีอัตรา เพ่ิมสูงโดยสูงกวารอยละ 30 มีรวม 11 รายการ คือ อันดับที่ / รายการ มูลคา อัตราการ

ขยายตวั ลานเหรียญสหรัฐ %

หมายเหตุ

1. น้ํามันสําเร็จรูป 4,584.23 74.91 2. รถยนต อุปกรณ 3,936.11 42.51 10. เคร่ืองสําอาง 1,215.09 126.88 11. ขาว 1,052.44 84.15 12. เคร่ืองยนตสันดาป 913.95 40.06 13. ผลิตภัณฑยาง 804.73 36.54 16.รถจักรยานยนตและสวนประกอบ

642.21 34.62

17.เคร่ืองปรับอากาศและสวนประกอบ

566.30 32.56

21. เคร่ืองรับวิทย ุ 426.25 48.41

24. ไขมัน และน้ํามันจากพืช 323.61 37.95 25. เคร่ืองด่ืม 317.37 47.50

- 40 -

Page 41: AEC Studies Report

4.3 ในบรรดาสินคาสงออกจากไทยไปตลาดอาเซียน ป 2551 (ม.ค. - ธค.) 25 รายการแรก สินคาที่มีอัตราลดลง รวม 3 รายการ คือ

อันดับที่ / รายการ มูลคา อัตราการขยายตัว ลานเหรียญสหรัฐ %

5.แผงวงจรไฟฟา 1,664.08 -11.26 18. สวนประกอบอากาศยานฯ 556.50 -27.55 20. เคร่ืองใชไฟฟา ฯ 484.23 -47.03

4.4 ขอมูลเพิ่มเตมิ

• ปนี้สถาบันอุตสาหกรรมสิ่งทอ ไดงบประมาณจากรัฐบาล 110 ลานบาท ซึ่งจะนํามาพัฒนาโครงการตอเน่ือง และป 2553 สถาบนัฯไดเสนอของบประมาณใกลเคียงกับปนี้ อาจจะประมาณ 100 ลานบาท เพ่ือนํามาพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมสิ่งทอในระดับอาเซียนมากขึ้น ทั้งน้ี สถาบันมีแผนเปดโครงการใหม 2 โครงการ คือ 1.สถาบันฯตองการจะเจาะตลาดใหม และเขาไปศึกษาตลาดในแถบอาเซียนมากข้ึน โดยใชงบประมาณ 110 ลานบาท ที่ไดมา เปนงบชวยสนบัสนุนในโครงการนี้ เพราะปที่ผานมาอุตสาหกรรมสิ่งทอมีการสงออกในแถบอาเซียนเฉลี่ยอยูที ่850 ลานเหรยีญสหรัฐ และคาดวาปนี้จะสงออกได 1,000 ลานเหรยีญสหรัฐ หรอืเพ่ิมขึ้น 10% และ 2.โครงการพัฒนากระบวนการผลิตแบบลดตนทุน หรือระบบลีน ถาโครงการนี้ประสบความสําเร็จ จะชวยลดความเลี่ยงในกระบวนการผลิต สงผลดีตอผูประกอบการที่ไมตองแบกรับภาระตนทุนและคาใชจายในอัตราที่สูงได สถาบันตองการเจาะตลาดอาเซยีน เพราะมองวายังสามารถขยายฐานตลาดไดเพ่ิมอยู โดยเฉพาะตลาดที่เปนของจีนใน 9 ประเทศ ที่ขณะน้ีบริษัทของจีนถูกลูกคาส่ังหามนําเขาสินคา ไทยจึงนาจะใชโอกาสน้ีเขาแทรกแซง หรือแยงตลาดที่เคยเปนของจีนอยูมาครองไว ซึ่งจะสงผลดีตอผูประกอบการไทยที่สามารถมาเปดตลาดแขงไดในอนาคต เพราะการผลิตเสื้อผาไทยมีมาตรฐานและมีคุณภาพมากกวาจีน อยางไรก็ตาม ปนี้คาดวาอัตราการเติบโตของอุตสาหกรามสิ่งทอไทย อาจลดลง 4-5% เม่ือเทียบกับปที่ผานมาที่เตบิโตเฉลี่ยอยูที่ 10% เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย ยอดคําส่ังซื้อหดตัวลงตั้งแตชวงไตรมาส 4/2551 และลุกลามมาในปนี้ดวย

- 41 -

Page 42: AEC Studies Report

• นับตั้งแตเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเม่ือป 2540 ถือวาปนี้ตลาดรถจักรยานยนตวิกฤตมากที่สุด ทั้งน้ีคาดวาถงึสิ้นปตลาดรถจักรยานยนตจะเหลือเพียง 1.7 ลานคัน แมยอดขายจะทรงใกลเคยีงป 2550 แตยอดขาย 2 เดือนที่ผานมา ยอดขายหดตัวไป 3-5% ทําใหประเมินวา สิ้นปนี้ยอดจําหนายตลาดรวมอาจจะลดลงเล็กนอย ซึ่งนั่นเปนสัญญาณชี้ใหเห็นวา ป 2552 ยอดขายจะลดลงอยางแนนอน คราวๆ มองวา นาจะลดมากถึง 20-30 เปอรเซ็นต" สถานการณตลาดรถจักรยานยนตไทยที่เกิดขึ้น หากเทียบกบัวิกฤติป 2540 มีความแตกตางกัน ยอดขายปนั้น จาก 1.5 ลานคัน เหลือ 5 แสนคัน แตชวงปที่แลว กับปนี้ และจากน้ีอีก 2 ป นาจะไมรุนแรงเทา เพียงแตยอดจะหดลง ทําใหผูประกอบการตองทํางานหนักขึ้น ขณะที่ ความตองการในตลาดอาเซยีน สําหรับตลาดรถจักรยานยนตในภูมิภาคน้ี ลวนเปนแหลงขุมทรัพยหลายที่ ไมวาเวยีดนาม ที่มีอัตราการเติบโต 25 เปอรเซ็นต ซึง่มีขนาดใหญกวาไทย 1.5 เทา หรือทีป่ระเทศอินโดนีเซีย ที่เปนตลาดใหญอยูแลว เน่ืองจากอัตราการเติบโตมากถึง 30% แตหลงัโดนพิษสึนามิ การเงิน เลนงาน ทั้ง 2 ประเทศกําลังซื้อก็ลดลงเชนกัน จุดน้ีเอง การสงออกไปยังทั้ง 2 ประเทศ ซึ่งถือวา เปนแหลงรายไดของยามาฮา ทําใหประเมินวา ยอดการสงออก ที่เคยทํารายไดแกยามาฮา จะลดลงเชนกัน หรือคิดเปนสัดสวน 35% ของยอดขายทั้งหมดของยามาฮา ที่คาดการณวาในป 2551 จะทําไดถึง 28,000 ลานบาท เหลือเพียง 24,000 ลานบาท ในสวนยามาฮา ทิศทางอนาคตป 2552 ในสภาวะตลาดรถจักรยานยนตไทยตกต่ําเชนน้ี ตองมีการทําตลาดในเชิงรกุมากขึ้น ไมวาจะเปนการสนับสนุนการทาํตลาด และกิจกรรมในพ้ืนที่ของตัวแทนจําหนาย เพ่ือกระตุนใหลูกคาเขารานมากขึ้น และตองออกไปหาลูกคาโดยตรง สลับกับการสรางความสัมพันธกับลูกคาอยางตอเน่ืองดวย จากกิจกรรมสงเสริมการขาย (โปรโมชัน) หรือการจัดอีเวนท มารเก็ตติ้ง ควบคูกันไป

แหลงขอมูล - Menucom กรมสงเสริมการสงออก - แนวหนา (Th) (วันที่ 26 มกราคม 2552) - เว็บไซตบสิิเนสไทย (Th) (วันที่ 11 มกราคม 2552)

กลุมงานวิเคราะหสารสนเทศ ศูนยสารสนเทศการคาระหวางประเทศ กรมสงเสริมการสงออก มกราคม 2552

- 42 -

Page 43: AEC Studies Report

- 43 -