airborne infection control for hospital

16
การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศสําหรับโรงพยาบาล (Airborne Infection Control for Hospital ) By… Khun Than Ruangwit BEST DIRECTION SYSTEM CO., LTD.

Upload: tonbond-bond

Post on 21-Apr-2015

94 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: Airborne Infection Control for Hospital

การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศสําหรับโรงพยาบาล

(Airborne Infection Control for Hospital )

By…

Khun Than Ruangwit

BEST DIRECTION SYSTEM CO., LTD.

Page 2: Airborne Infection Control for Hospital

สภาวะอากาศถูกเพ่ิมความปนเปอนและมลภาวะขึน้ทกุวันจึงสงผลใหคุณภาพของอากาศแยลงโดยเฉพาะ

ในแหลงชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารสมัยใหมถูกสรางโดยถูกจํากัดพืน้ที่ในแนวราบจึงมีความจาํเปนตองเพ่ิมพืน้ที่ในแนวสูง ทุกวันนีม้นษุยเราจึงถูกจํากัดพืน้ที่ใหอยูในกลองคอนกรีตซึ่งคุณภาพอากาศในกลองนี้ถูกออกแบบเพียงเพื่อใหมีอากาศที่เย็นสบายแตมิไดคํานึงถึงคุณภาพของอากาศภายใน

อาคาร ซึ่งอาจหมายถึงมาตรฐานคณุภาพอากาศ( INDOOR AIR QUALITY ) ของอาคารในการใชงานแตละแบบโรงพยาบาลเปนอาคารประเภทหนึ่งท่ีเปนแหลงรวมผูปวยนานาชนดิ ซึ่งจําเปนอยางมากทีต่องคํานึงถึงมาตรฐานความปลอดภัยเรื่องการแพรกระจายของเชื้อโรคที่นบัวนัจะสรางปญหาตอสุขภาพมากขึ้น เพราะมีเช้ือโรคจํานวนมากทีส่ามารถแพรกระจายติดตอทางอากาศได ตัวอยางเชน วัณโรค, ซารส,ไขหวัดนกหรือเช้ือโรคใหมที่เกิดขึน้ตางๆ เปนตน

เนื่องจากประเทศไทยมีความตองการที่จะเปนศนูยกลางทางการแพทย และการรักษาพยาบาลของเอเชีย ดังนัน้ เพ่ือใหสําเร็จตามวัตถุประสงคจึงมคีวามจาํเปนอยางมากที่จะตองทําการยกระดบัอาคาร และสถานที่ตางๆในดานความปลอดเชือ้ใหไดตามมาตรฐานสากล แตในปจจบุนัอาคาร และสถานท่ีดังกลาวกลบัถูกออกแบบเหมอืนอาคารทั่วไปโดยมิไดมีการคํานึงถึงความปลอดภัยของคุณภาพอากาศ ดังนัน้เพื่อใหเกิดความปลอดภยัของคุณภาพอากาศจึงตองมีการออกแบบอาคาร และสถานที่ใหไดมาตรฐานตามหลักดังนี้

การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศสําหรับโรงพยาบาล

(Airborne Infection Control for Hospital )

การควบคุมการติดเชื้อทางอากาศสําหรับโรงพยาบาล

(Airborne Infection Control for Hospital )1. การออกแบบเพื่อปองกันเชื้อโรคเขา(ความดนับวก)

หรือปองกันเชื้อโรคออกจากหอง(ความดนัลบ)

Page 3: Airborne Infection Control for Hospital

2. การกําจดัเชื้อโรคออกจากอากาศโดยหลักมาตรฐานการกรองในอากาศมีแหลงกําเนดิทั้งจากภายนอกและภายในหอง โดยปริมาณเชื้อภายในหองมีสัดสวนโดยตรงกับจํานวนคนที่เคลื่อนไหวทาํงานในหอง [CDC, 1999 Guideline for Prevention of Surgical Site Infection]

การกําจัดเชื้อจากภายนอกทําไดโดยใหอากาศที่เติมเขามาในระบบผานการกรองกอนที่จะจายเขาสูหอง สําหรับการกําจัดเชื้อที่เกิดภายในหองออกจากอากาศสามารถทําไดโดยการหมนุเวียนลมปริมาณมากๆ

ภายในหองไปผานแผงกรองอากาศประสทิธิภาพสูง

ตารางแสดง ประสิทธภิาพการกรองอากาศสาํหรับระบบปรบัอากาศในโรงพยาบาล (1999 ASHRAE Application Handbook)

Minimum Number ofFilter Beds

3 Orthopedic operating room, 25% 90% 99.97%c

Bone marrow transplantoperating room,Organ transplant operatingroom

2 General procedure 25% 90%Operating roomsDelivery roomsNurseriesIntensive care unitsPatient care roomsTreatment roomsDiagnostic and relatedarea

1 Laboratories 80%Sterile storage

1 Food preperation areas 25%LaundriesAdministrative areasBulk storageSoiled holding areas

Note :a : Based on ASHRAE Standard 52.1b : Based on DOP testc : HEPA Filter at air outlets

Area DesignationFilter efficiency, %

No. 1a No. 2a No. 3b

เขามาผสมกบัอากาศภายในหอง จะทําใหความเขมขนของเช้ือลดลง โดยอัตราการเติมอากาศจากภายนอกไมควรนอยกวาคาแนะนําในตารางที่ 1 และอากาศจากภายนอกตองผานการกรองดวยแผงกรองอากาศเชนเดียวกับลมหมุนเวียนในหองอัตราการเติมอากาศจากภายนอก และอัตราการหมุนเวียนอากาศทั้งหมดสําหรับหองตางๆ ในโรงพยาบาล(1999 ASHRAE App. Handbook)

3. การเจอืจางเชื้อในอากาศการเติมอากาศจากภายนอก (Outdoor Air, OA)

Min. OA, Min. Total Air, PressureACH ACH Relationship

Operating room (all outdoor air system) 15 15 P Operating room (recirculating air system) 5 25 P Delivery rooms (all outdoor air system) 15 15 P Delivery rooms (recirculating air system) 5 25 P Recovery 2 6 E Nursery suite 5 12 P ICU 2 6 P Patient rooms 2 4 +/- Medical procedure/treatment rooms 2 6 +/- Autopsy rooms 2 12 N Physical therapy 2 6 N Positive isolation rooms 2 15 P Negative isolation room 2 6 N ACH = air change per hour; P = positive; N = negative; E = equal, +/- = continuous directional control not required

AreaASHRAE Handbook (1999)

Page 4: Airborne Infection Control for Hospital

4. ควบคุมทศิทางการไหลของอากาศจากที่สะอาดไปหาจดุที่สะอาดนอย

แสดงคาความชื้นทีท่าํใหเช้ือโรคตางๆไมเจริญเติบโต และรูสึกสบายเมื่ออยูในหองทีค่วามชืน้เหมาะสม

การใชแสงอัลตราไวโอเลตฆาเช้ือ (UVGI - Ultraviolet Germicidal Irradiation) เปนวธิีการที่ไดรับการศึกษาและใชกันมานาน รังสี UV เปนคลืน่แมเหล็กไฟฟาที่มีชวงคล่ืน 100-400 nm, สําหรับหลอดรังสี UV ที่มีผลิตขายเพ่ือใชในการฆาเช้ือ จะมีความยาวคลืน่ 254 nm ซึ่งเปน UV-C UVGI สามารถนาํมาใชได 2 ลักษณะคือ การติดตั้งในเครื่องควบคุมอากาศปลอดเชื้อ และการติดตั้งอยูสวนบนของหอง (Upper Room) การติดตั้งหลอดรังสี UV

การติดตั้งในเคร่ืองควบคุมอากาศปลอดเชื้อ จะฆาเช้ือในอากาศที่ผานฟลเตอรกอนที่จะผานหลอดรังสี UV จายเขามาในหอง หากติดตั้งอยางถูกตองแลว อันตรายจากแสง UV ในเครื่องควบคุมอากาศปลอดเชื้อ จะมีเฉพาะในชวงการเปดเขาไปบาํรุงรักษา ดังนัน้จึงตองมีคําเตือนติดประกาศไวบริเวณใกลเคยีง ใหปดหลอด UV กอนที่จะเขาไปบาํรุงรักษาการติดตั้งหลอด

5. ปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อภายในหอง

6. การฆาเชือ้ในอากาศ

Page 5: Airborne Infection Control for Hospital

UV อยูสวนบนของหอง จะใชหลอด UV ติดตั้งอยูที่เพดาน หรือผนังหอง โดยมีการกันไมใหแสง UV สองลงมา

ดานลาง วิธีการนี้จะมปีระสทิธผิลเมื่ออากาศภายในหองมีการหมนุเวียนทั่วหองจากการศึกษาของ Riley และ Kaufman 1972 พบวา เม่ือมีอากาศมีความชืน้สัมพัทธเกิน 70%และมีฝุนละออง การใช UVGI จะไดผลนอยลงอยางมาก และสอดคลองกับผลการใช UVGI ในประเทศแถบรอนชืน้ทั่วโลกอยางไรก็ตาม ถึงแม UVGI สามารถใชฆาเช้ือได แตควรใชเปนมาตรการเสริมกับมาตรการอื่นๆเทานัน้ ไมควรใชทดแทนแผงกรองอากาศ HEPA [CDC, 1994, Guidelines for Preventing the Transmission of Mycobacterium tuberculosis in Health-Care

Facilities] (สําหรับการตดิตั้ง UVC Lamp เปนเพียงมาตรการเสรมิของระบบเทาน้ัน)

หอง LAB ตองมีการออกแบบหใหไดมาตรฐานตามหลักของ BSL 1 – 4 (ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ)

เพ่ือความปลอดภัยของเจาหนาที่ในการปฏิบตัิงานตลอดจนสภาพแวดลอมโดยรอบ ซึ่งหลักดังกลาวมีความสอดคลองกับการแบงกลุมความเสี่ยงขององคการอนามัยโลก

(WHO Risk Groups 1 – 4) ดังนี้

Risk Groups 1 : BSL-1 โรคที่ไมกอใหเกิดโรคในคน Risk Groups 2 : BSL-2 โรคที่ สามารถกอโรคในคน สามารถติดตอทางของเหลว แตไมเปนโรค

ที่รายแรง ไมติดตอทางอากาศ และมีวธิปีองกนั / รักษาRisk Groups 3 : BSL-3 โรคที่ สามารถกอโรคในคน เปนโรครายแรงถึงตายได สามารถติดตอ

ทางอากาศได และมีวธิปีองกัน / รักษาRisk Groups 4 : BSL-4 โรคที่สามารถกอโรคในคน เปนโรครายแรงถึงตาย แพรกระจายไดงาย

ติดตอทางอากาศได หรือยังไมทราบวธิตีิดตอที่แนชัด และยังไมมีวธิปีองกนั/รักษาที่ไดผล

การจัดมาตรฐานหองปฏิบัติการปลอดเชื้อ

Page 6: Airborne Infection Control for Hospital

หองผาตัด OPERATING ROOM สวนใหญในปจจบุนัยังไมไดมีระบบควบคุมความดนั และระบบกรองอากาศตามมาตรฐานสากลทาํใหหองผาตัดในปจจบุนัมีความดนัเปนลบซึ่งตามมาตรฐานของหองผาตดัแลวควร

คํานึงถึงรายละเอียดดังนี้

2.1 อุณหภูมิสามารถปรบัไดในชวง 20–27°C

2.2 ควบคุมความชืน้สัมพัทธใหอยูในชวง 45 – 55%RH

2.3 ความดนัภายในหองเปนบวกเมื่อเทียบกบัหองรอบๆ โดยการจายลมเขามากกวาลมออก 15% และนาํอากาศเขาไมนอยกวา 5 ACH

2.4 ควรติดตัง้เคร่ืองวัดความดนัแตกตางภายในหองเพ่ือตรวจสอบไดตลอดเวลา อยางไรก็ตามการอุดรอยร่ัวของผนัง , เพดาน , ชองเจาะที่พ้ืน ตลอดจนกรอบประต ู มีผลอยางมากตอการสรางความดนั

2.5 ควรติดตัง้เคร่ืองอานอณุหภูมิ และความชืน้สัมพทัธ ใหสามารถอานไดสะดวก2.6 การติดตั้งควรเปนไปตามมาตรฐาน NFPA 99 , Health Care Facilities

2.7 ควรจายลมทั้งหมดจากเพดาน ดูดลมกลับที่ใกลระดบัพืน้ โดยมีหนาการรับลมกลบัอยางนอย 2 จุด ติดตั้งใหขอบลางอยูสูงกวาพ้ืนอยางนอย 75 มม. อัตราการจายลม (Total Air Change) ไมควรนอยกวา 25 ACH หัวจายลมควรเปนแบบจายลมทศิทางเดยีว (Unidirectional) เชน หนากากแบบ Perforated

เปนตน ควรหลีกเล่ียงหัวจายที่มีการเหนี่ยวนาํลมสูง เชน หัวจายลมติดเพดานแบบสีท่างทีใ่ชในงานระบบปรับอากาศทัว่ไป หรือ หนากากจายลมแบบติดผนัง

2.8 พ้ืนควรเลอืกวัสดุทีพ้ื่นผวิไมสะทอนแสงและ Anti-Static

2.9 ผนังควรเลือกวัสดุทีพ้ื่นผิวไมสะทอนแสงและAnti-Static มีโครงสรางแข็งแรงควรเปนฉนวนเพราะจะชวยในการประหยัดพลังงาน,ควรออกแบบใหไมเปนทีส่ะสม Particle, มีรอยตอผนังใหนอยที่สุด,

มีอุปกรณลบเหลี่ยมและมุมหอง

มาตรฐานการออกแบบหองผาตัด

Page 7: Airborne Infection Control for Hospital

หองตรวจผูปวยนอก (OPD) ตามมาตรฐานแลวตองมีการแบงออกเปนกลุมคือ กลุมเส่ียง และกลุมของการตรวจทั่วไป โดยมีหลักการตามรายละเอียดดังนี้

1. หองตรวจโรคทั่วไป ควรคํานึงถึง1. ทิศทางการไหลของอากาศ อากาศตองมีทิศทางการไหลจากเจาหนาที่ หรือที่ที่มีอากาศสะอาดไปยัง

ตําแหนงท่ีมีอากาศปนเปอน หรือผูปวย2. ควบคุมอณุหภูมิ 24+/-1°C ความชืน้ 50+/-10%RH

3. การควบคมุความดนัหองตรวจใหเปนบวก, พ้ืนที่เขาออกใหมีความดนัเปนบวก สวนพืน้ทีซ่ึ่งผูปวยตองนั่งรอใหมีความดนัเปนลบ

4. ปริมาณการหมุนเวียนของอากาศมีการเติม Fresh Air 2 ACH มีการหมนุเวียนมากกวา 15 ACH

5. ใหมีประสทิธภิาพการกรองอากาศตามมาตรฐานโดยขั้นทื่ 1 มีประสิทธภิาพการกรอง 25 % และ

ประสิทธภิาพการกรองขั้นที่ 2 ที่ 90%6. ทิศทางการไหลของอากาศเปนแบบ NON–LAMINAR AIR FLOW

2.10 ฝาเพดานตองแข็งแรงและทนตอแรงดันอากาศไดดี วัสดุทีพ้ื่นผวิไมสะทอนแสงและAnti-Static วัสดุควรเปนฉนวน ทนความชืน้และความรอน,สะดวกตอการขึ้นไปซอมบาํรุง

2.11 ประตูโครงสรางตองแข็งแรงทนตอแรงดันอากาศ และตองซีลอากาศไดเปนอยางดี (Air Tight Door) บาน

ประตูออกแบบใหเปดเขาและเปดทางเดียว

มาตรฐานการออกแบบหองตรวจผูปวยนอก

Page 8: Airborne Infection Control for Hospital

2. หองตรวจโรคกลุมที่มคีวามเสี่ยง ควรออกแบบใหเปน FRESH AIR 100% โดยมีหลักดังนี้1. ปริมาณของอากาศเขา-ออกมากกวา 15 ACH ใหเปน FRESH AIR 100 %ไมมีการหมนุเวียนอากาศ

2. อากาศทีน่าํเขาหองตองถูกกรองฝุน และส่ิงปนเปอนกอน โดยกรองอากาศชัน้แรก 25% กรองอากาศช้ันที่ 290–95%

3. การควบคมุความดนัหองตรวจใหเปนลบ, พ้ืนที่เขาออกใหมีความดนัเปนบวก สวนพืน้ทีซ่ึ่งผูปวยตองนั่งรอใหมีความดนัเปนลบ

4. อากาศท่ีนาํออกจากหองทั้งหมดควรมีการกรองชั้นแรก 25% กรองอากาศช้ันที่ 2 95% และมกีารกรองดวย HEPA FILTER หรือเสริม UV เขาไปเปนมาตรการเสริมในชุดการกรองอากาศ ทั้งนีต้ัวถัง (CASING) ควรเปนผนังสองช้ันเพื่อปองกันอากาศร่ัวไหล หรือแพรกระจายออกสูภายนอก

5. ตองมีการปองกันการเจริญเติบโตของเชื้อโรค และมีการควบคุมคุณภาพอากาศใหเหมาะสม ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมควรตองมีการควบคุมใหอยูที่ 24+/-1°C, ความชืน้ 50+/-10%RH

6. ควบคุมทศิทางการไหลของอากาศจากบนสูลางแบบ NON–LAMINAR AIR FLOW

Page 9: Airborne Infection Control for Hospital

2. มาตรฐานหอง ICUการออกแบบหอง ICU ซึ่งในปจจบุนัยังไมไดคาํนึงถึงหลักการควบคมุการติดเชื้อทางอากาศ และในปจจบุนัเจาหนาที่ ทีป่ฏิบตัิงานมักประสบปญหาเรื่องการติดเชื้อ โดยมีหลักการตองคํานึงถึงรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. ควรมีการแยกหองผูปวยที่มีการแพรกระจายของเชื้อโรคใหอยูในโซนของหอง ICU ที่มีการควบคุมหอง

ผูปวยใหมีความดนัเปนลบพรอมออกแบบใหมีหอง Ante-Room มีความดนัเปนลบนอยกวาหองผูปวย

พรอมระบบควบคุมการแพรกระจายของเชื้อโรค

2. บริเวณผูปวยทั่วไปของหอง ICU อยูในสวนของหองท่ีมีการออกแบบใหมีความดนัเปนบวก โดยทั้งสองสวนตองมกีารควบคมุคณุภาพอากาศใหมีความปลอดภัย

3. บริเวณพ้ืนที่เจาหนาที่ ปฎิบตัิงานตองออกแบบใหความดนัเปนบวกสูงกวา.บริเวณอ่ืนๆ4. ทศิทางการไหลของอากาศ อากาศตองมีทิศทางการไหลแบบจากฝาเพดานสูแนวพืน้แบบ Non-Laminar

Air Flow หรือที่ที่มีอากาศสะอาดไปยังตําแหนงทีม่ีอากาศปนเปอน หรือผูปวย5. ออกแบบใหมีการควบคมุยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคโดยการควบคุมอุณหภูมิ 24 +/-1°C

ความชืน้ 50+/-10%RH

6. ปริมาณการหมนุเวียนของอากาศมีการเติม Fresh Air 2 ACH มีการหมนุเวียนมากกวา 15 ACH

7. ใหมีประสิทธิภาพการกรองอากาศตามมาตรฐานโดยขั้นทื่ 1 มีประสทิธภิาพการกรอง 25 % และมีประสิทธภิาพการกรองขั้นที่ 2 ที่ 90 %ถาเปนกรณหีองแยกผูปวยติดเชื้อตองมีกรองขั้นที่ 3 ดวย HEPA Filter

มาตรฐานการออกแบบหอง ICU

Page 10: Airborne Infection Control for Hospital

การออกแบบ หองแยกโรคผูปวยติดเชือ้หองแยกสําหรับผูปวยที่เปนโรคติดตอทีส่ามารถแพรเช้ือโรคได ควรออกแบบใหสามารถควบคมุไมใชเช้ือแพรกระจายออกจากหองได ขอควรคํานึงถึงการออกแบบตองออกแบบใหประหยัดพลังงาน และประหยัดตอการซอมบาํรุง

1. การออกแบบตองใหความดนัภายในหองเปนลบตลอดเวลา 2. ทั้งนี้เพ่ือปองกันการติดเชื้อทางอากาศ และเพ่ือความปลอดภัยในการปฏบิตัิงานหองผูปวยตามหลักมาตรฐาน

ตองออกแบบเปน FRESH AIR 100 % และมีความดนัภายในหองเปนลบ แตเนื่องจากระบบดังกลาวจะทาํใหส้ินเปลืองคาใชจายดานพลังงานและดานฟลเตอร จึงอาจออกแบบระบบหองแยกออกเปน 2 ฟงชั่นการทาํงาน คือ

3. ขณะผูปวยอยูภายในหองตามลาํพัง ใหมีระบบการหมนุเวียนของอากาศไมนอยกวา 15 ACH

4. ขณะเจาหนาที่เขาไปปฏบิตัิงาน ใหสามารถปรบัเปลี่ยนระบบเปน FRESH AIR 100 %

5. อากาศท่ีนาํออกจากหองท้ังหมดควรมีการกรองชั้นแรก 25% กรองอากาศช้ันที ่2 95% และมีการกรองดวย HEPA FILTER หรือเสริม UV เขาไปเปนมาตรการเสริมในชุดการกรองอากาศ ทั้งนี้ตวัถัง (CASING)

ควรเปนผนังสองช้ันเพื่อปองกันอากาศรั่วไหล หรือแพรกระจายออกสูภายนอก 6. การจายลมควรจายลมทศิทางตรงที่บรเิวณปลายเตียงผูปวยและดดูออกดานขางหัวเตียงผูปวยหรือมุมหอง

ผูปวยที่ระดบัใกลพ้ืน เพ่ือใหอากาศสะอาดผานจากเจาหนาที่หรือญาติไปสูผูปวยและถูกดูดออกจากหองไปดังนัน้ หองแยกติดเชื้อควรมีการตรวจสอบความดนัหรือทิศทางการไหลของลม (ตองไหลเขาหอง) อยางสม่าํเสมอ หรือติดตั้งอุปกรณวัดความดนัเพื่อตรวจสอบและสงสัญญาณเตือนหากความดนัหรอืทิศทางการไหลของลมไมถูกตอง

มาตรฐานการออกแบบหองแยกโรคผูปวยติดเชื้อ

(Infection Isolation Room)

Page 11: Airborne Infection Control for Hospital

7. ผนังและฝาควรใชแบบผนังสําเร็จรูปแผนเรียบ เนื่องจากสามารถทําความสะอาดไดงาย อีกทั้งยังไมเปนที่สะสมเชื้อโรคและฝุนละออง รวมทั้งยังสามารถปองกันไมใหอากาศไหลซมึผานออกไปดานนอกโดยไมมีการควบคมุการออกแบบผนงัควรใชแบบผนังสําเร็จรูปแผนเรียบสามารถทําความสะอาดไดงายไมสะสมฝุน ฝาควรเปนแผนสําเร็จรูป หรือ SUPER T-BAR ที่มีการยึดที่แข็งแรง เนื่องจากหองมีความดนัตลอดเวลา ทั้งผนังและฝา อากาศตองไมซึมออกไปดานนอกโดยไมมีการควบคุม อีกทั้งตองมีการทํา PAO TEST HEPA FILTER

และทดสอบฟงช่ันการทาํงานตางๆเปนไปตามมาตรฐานปลอดเชื้อเพ่ือความปลอดภัยในการปฎิบตัิงาน

ทั้งนี้เพ่ือปองกันการติดเชื้อทางอากาศ และเพ่ือความปลอดภัยในการปฏบิัติงานหองผูปวยควรออกแบบเปน FRESH AIR 100 % และมีความดนัภายในหองเปนลบ แตเนื่องจากการวางระบบดังกลาวจะทาํใหส้ินเปลืองคาใชจายดานพลังงานและดานฟลเตอร จึงอาจออกแบบระบบ POLY ULPHA OLITFIN (PAO TEST)

หองแยกออกเปน 2 ลักษณะ คือ1. ขณะผูปวยอยูภายในหองตามลาํพัง ใหมีระบบการหมนุเวียนของอากาศไมนอยกวา 15 ACH

2. ขณะเจาหนาที่เขาไปปฏบิตัิงานใหสามารถปรบัเปลี่ยนระบบเปน FRESH AIR 100 % โดย

สามารถที่จะเลือกใหเปนระบบอากาศธรรมดา หรือควบคมุอุณหภูมิและความชื้นดวยก็ไดข้ึนอยูกับงบประมาณในการวางระบบของผูใช ซึ่งถาเปนแบบที่ 2 จะชวยลดการสิน้เปลอืง

พลังงานในการใชงาน และคาใชจายในการดูแลเปลี่ยน FILTER ไดมาก

ตัวอยาง การออกแบบควบคุมความดันหองแยกโรคปลอดเชื้อทีเ่หมาะสม ทีค่วามชื้นที่ 50+/-10%RH

+5 PA+/-5 PANURSE STATION

PATIENT

ANTE

CORRIDOR

-20 PA+/-5 PA

-10 PA+/-5 PA

รูประดับแรงดันภายในหองและทิศทางการไหลของลม

50% RH +/- 10% RH24 C +/- 1 C

Page 12: Airborne Infection Control for Hospital
Page 13: Airborne Infection Control for Hospital
Page 14: Airborne Infection Control for Hospital
Page 15: Airborne Infection Control for Hospital

เอกสารอางอิง

CDC. 1999 Guidelines for prevention of surgical site infection 1999. Center for Disease Control and Prevention, Atlanta.

CDC.1994 Guidelines for preventing the transmission of Mycobacterium tuberculosis in health-care

facilities, 1994. Center for Disease Control and Prevention, Atlanta.

ASHRAE Application Handbook 1999. Health Care Facilities, 1999 American Society of Heating, Refrigerating, and Air-conditioning Engineers Inc., Atlanta.

AIA. 2001 Guidelines for Design and Construction of Hospital and Health Care Facilities,2001. The American Institute of Architects, Washington, D.C.

NFPA 1999. Standard for Health Care Facilities, 1999. National Fire Protection Association, Quincy.

John D. Spengler, Jonathan M. Samet, John F. McCarthy, editors. 2001 Indoor Air Quality Handbook, New York: McGraw-Hill.

แหลงขอมลูเพิ่มเติม

http://www.cdc.gov/ : Center for Disease Control and Prevention, USA

http://www.osha.gov/ : Occupational Safety and Health Administration, USA

http://www.infectioncontroltoday.com/ : Online magazine, USA

http://www.ashrae.org/ : American Society of Heating, Refrigerating, and Air-conditioning Engineers, USA

http://www.nfpa.org/ : National Fire Protection Association, USA.

Page 16: Airborne Infection Control for Hospital

ผูวิจัยและพัฒนาระบบอากาศปลอดเชื้อสําหรบัโรงพยาบาล