สถานการณ คุณภาพน ้ําผิวดินระหว...

Post on 07-Feb-2020

3 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1

สถานการณคุณภาพน้ําผิวดินระหวางเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2547 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในแมนํ้าสายสําคัญ 48 สาย และแหลงน้ํานิ่ง 4 แหลง (กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหานและทะเลสาบสงขลา) ในชวงระหวางเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2547 พิจารณาเฉพาะดัชนีคุณภาพน้ําที่สําคัญคือ ออกซิเจนละลายน้ํา (DO) ความสกปรกในรูปสารอินทรีย (BOD) โคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด (TCB) ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB) และแอมโมเนีย (NH3) โดยเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพแหลงน้ําผิวดินซึ่งมิใชทะเล โดยแยกเปนรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ แหลงน้ําที่ตรวจสอบคุณภาพน้ําทั้งหมด 11 แหลงน้ํา ไดแก แมน้ําปง วัง ยม นาน กวง กก ลี้ อิง แมจาง รวมทั้งแหลงนํ้านิ่ง ไดแก กวานพะเยา และบึงบอระเพ็ด พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีโดยมีปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 3.8 -10.7 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.6 -1.7 มิลลิกรัมตอลิตร ยกเวน กวานพะเยาและบึงบอระเพ็ด มีคา 2.5 และ 2.0 มิลลกิรัมตอลิตร ตามลําดับ สวนปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียพบวามีการปนเปอนในปริมาณมากในแมน้ําปง (53,406 ; 52,646) กวง (44,228 ; 40,657) และกก (29,425 ; 5,995) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการปนเปอนของน้ําเสียจากชุมชนในแหลงน้ําดังกลาว สําหรับปริมาณแอมโมเนียในนํ้าทุกแมนํ้าไมมีปญหาแตอยางใด (มีคาไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร) รายละเอียดดังตารางที่ 1 ภาคกลาง แหลงน้ําที่ตรวจวัดทั้งหมด 12 แหลงนํ้าไดแก แมน้ําเจาพระยา ทาจีน แมกลอง แควใหญ แควนอย ปาสัก ลพบุรี นอย สะแกกรัง เพชรบุรี ปราณบุรี และกุยบุรี พบวาแหลงน้ําซึ่งเปนตนน้ํามีคุณภาพอยูในเกณฑดี เชน แมน้ําแมกลอง แควใหญ แควนอย ปาสัก ลพบุรี นอย ปราณบุรีและกุยบุรี สวนแมน้ําสายหลักที่แหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 คือแมน้ําเจาพระยาตอนบน และทาจีนตอนบน พบวา ปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน (มีคา 5.8, 4.0 และ 4.1 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) ซ่ึงต่ํากวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนดใหมีคาไมนอยกวา 6.0 มิลลิกรัมตอลิตร โดยเฉพาะอยางยิ่งแมน้ําทาจีนตอนกลางและตอนลาง มีปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 1.9 และ 0.3 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ(มาตรฐานตองไมต่ํากวา 4 และ 2 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) นอกจากนี้ แมน้ําเพชรบุรีทั้งตอนบนและตอนลาง มีปริมาณออกซิเจนละลายมีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 4.1 และ 3.7 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ (มาตรฐานตองไมต่ํากวา 6 และ 4 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ) สวนปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียพบวามีปริมาณเกินเกณฑมาตรฐาน และมีปริมาณสูงมากในแมน้ําเจาพระยาตอนลาง (40,600 ; 27,200) ทาจีนตอนกลาง (108,333 ; 8,700) ทาจีนตอนลาง (52,429 ; 16,714) แมกลอง (24,030 ; 6,060) ลพบุรี (33,980 ; 5,100) เพชรบุรีตอนลาง (22,500 ; 18,500) และปราณบุรี (26,860 ; 12,120) ทั้งนี้สวนใหญพบในบริเวณที่เปนแหลงที่ต้ังของชุมชนหนาแนน สําหรับปริมาณแอมโมเนียในน้ําพบวาไมมีปญหาแตอยางใด (มีคาไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร) ยกเวนบริเวณแมนํ้าทาจีนตอนกลางและตอนลาง ปริมาณ

2

แอมโมเนียในน้ํามีคาไมเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีคา 1.00 และ 1.44 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 2 ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ แหลงน้ําทีต่รวจวัดทั้งหมด 11 แหลงนํ้า ไดแก แมน้าํพอง ช ี มูล ลําปาว เสียว สงคราม เลย อูน ลําช ี ลําตะคอง และแหลงน้ํานิ่งคือหนองหาน พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑดีโดยมีปริมาณออกซเิจนละลายอยูในชวง 4.8 – 7.8 มิลลิกรัมตอลิตร ปรมิาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.8 -1.9 มิลลิกรัมตอลติร โดยแหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดนิประเภทที่ 3 คอื แมน้ําพอง มูล ชี และสงคราม พบวามีปริมาณออกซิเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย โคลฟิอรมแบคทีเรยีทั้งหมดและฟคัลโคลฟิอรมแบคทเีรียและแอมโมเนีย อยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด ยกเวนแมน้ําลําตะคองทั้งตอนบน ท่ีคุณภาพน้าํไมอยูในเกณฑมาตรฐาน คือ ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 3.5 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 2 มิลลิกรัมตอลิตร) โคลฟิอรมแบคทีเรียท้ังหมด 98,240 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 20,000 หนวย) และฟคลัโคลฟิอรมแบคทีเรยี 41,440 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 1,000 หนวย) สวนแมนํ้าลําตะคองตอนลางที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดนิประเภทที่ 4 พบวาคุณภาพนํ้าไมอยูในเกณฑมาตรฐาน คือ ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 4.4 มิลลิกรัมตอลติร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 4 มิลลกิรัมตอลิตร) และตรวจพบวามีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรยีท้ังหมดและฟคลัโคลฟิอรมแบคทีเรียท่ีมีปริมาณสูง (105,000 และ 32,500 หนวย ตามลําดับ) รายละเอียดดังตารางที ่3 ท้ังนี้เนื่องจากรองรับน้ําทิ้งจากชมุชนหนาแนนในเขตเมืองนครราชสีมา ภาคตะวันออก แหลงนํ้าที่ตรวจวัดทั้งหมด 9 แหลงน้ํา ไดแก แมนํ้าบางประกง นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง ประแสร พังราด จันทบุรี เวฬุ และตราด พบวาคุณภาพน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑพอใช โดยมีปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 1.8 – 4.4 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 1.3-3.9 มิลลิกรัมตอลิตร โดยแหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 คือ แมนํ้าปราจีนบุรี พบวาปริมาณออกซิเจนละลายและความสกปรกในรูปสารอินทรียไมอยูในเกณฑมาตรฐาน คือ พบวามีปริมาณออกซิเจนละลาย 4.4มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมนอยกวากวา 6 มิลลิกรัมตอลิตร) และปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 3.1 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 1.5 มิลลิกรัมตอลิตร) และแหลงน้ําที่กําหนดเปนแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 3 คือ แมน้ําบางปะกง มีปริมาณออกซิเจนละลาย 3.1 มิลลิกรัมตอลิตร และแมนํ้านครนายก มีปริมาณออกซิเจนละลาย 3.2 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมนอยกวากวา 4 มิลลิกรัมตอลิตร) และมีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 2.9 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 2 มิลลิกรัมตอลิตร) นอกจากนี้พบวาแมน้ํานครนายก บริเวณเทศบาลเมืองนครนายก มีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียสูงเกินมาตรฐาน คือโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด 52,220 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 20,000 หนวย) และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย 49,806 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 4,000 หนวย) เนื่องจากเปนบริเวณที่รับน้ําทิ้งจากชุมชน สําหรับแมน้ําที่ไมไดกําหนดประเภท เชน แมนํ้าประแสร มีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียที่สูงมาก คือมีปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียสูงเกินมาตรฐาน คือโคลิฟอรมแบคทีเรียท้ังหมด 110,108 หนวย (มาตรฐาน

3

กําหนดไมเกิน 20,000 หนวย) และฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย 16,032 หนวย (มาตรฐานกําหนดไมเกิน 4,000 หนวย) เนื่องจากเปนบริเวณท่ีรับน้ําทิ้งจากชุมชนเทศบาลตําบลทางเกวียน อําเภอแกลง จังหวัดระยอง รายละเอียดดังตารางที่ 4 ภาคใต แหลงน้ําที่ตรวจวัดมีทั้งหมด 9 แหลงนํ้า ไดแก แมน้ําปากพนัง ตาป พุมดวง ชุมพร หลังสวน ตรัง สายบุรี ปตตานี และแหลงน้ํานิ่งคือ ทะเลสาบสงขลา พบวาคุณภาพนํ้าโดยทั่วไปอยูในเกณฑดี โดยมีปริมาณออกซิเจนละลายอยูในชวง 3.2-7.8 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 0.6-2.4 มิลลิกรัมตอลิตร ยกเวนบางแมน้ําที่เปนแหลงรับนํ้าทิ้งจากชุมชน ไดแก บริเวณปากแมน้ําชุมพร พบวามีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย 3.4 มิลลิกรัมตอลิตร นอกจากนี้ บริเวณทะเลสาบสงขลา มีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรียอยูในชวง 4.1 มิลลิกรัมตอลิตร และปญหาในดานปริมาณโคลิฟอรมแบคทีเรียท้ังหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียที่มีสูงถึง 236,157 และ 52,034หนวย ตามลําดับ เนื่องจากเปนบริเวณท่ีรับนํ้าทิ้งจากคลองสําโรง ท่ีไหลมาจากชุมชนหนาแนน รายละเอียดดังตารางที่ 5 สรุป จากการตรวจวัดคุณภาพนํ้าในแมน้ําสายหลักและแหลงนํ้านิ่งในประเทศไทย ในชวงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม 2547 พบวา

• แหลงนํ้าที่มีปญหาปริมาณออกซิเจนละลายคือ แมน้ําเจาพระยาตอนบน แมนํ้าทาจีนทั้งตอนบน ตอนกลางและตอนลาง (ซึ่งมีคาต่ํามาก) แมน้ําบางปะกง แมน้ําปราจีนบุรี แมนํ้านครนายก และระยอง

• แหลงน้ําที่มีปญหาความสกปรกในรูปอินทรียสารคือ แมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ํานครนายก • แหลงน้ําที่มีปญหาการปนเปอนของโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด • ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียคือ แมน้ําปง แมนํ้ากวง แมนํ้าเจาพระยาตอนบน แมน้ําทาจีน แมน้ําลําตะ

คอง แมน้ํานาน แมนํ้ากก แมน้ําลี้ แมน้ําบางปะกง แมนํ้านครนายก แมน้ําประแสร แมน้ําจันทบุรี แมน้ําชุมพร แมน้ําหลังสวน และ

4

ตารางที่ 1 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคเหนือ ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล) คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ปง - 6.1 0.6 53,406 52,646 0.1 TCB, FCB วัง - 7.0 1.2 5,880 2,318 ND ยม - 4.9 1.6 8,500 3,260 0.3 นาน - 5.7 1.7 8,095 4,242 0.3 กวง - 5.7 0.7 44,228 40,657 0.3 TCB, FCB กก - 6.6 0.9 29,425 5,955 0.1 TCB, FCB ล้ี - 5.4 1.3 5,750 5,215 0.3 TCB, FCB อิง - 3.8 1.0 1,370 170 0.06

แมจาง - 10.7 1.7 757 133 0.4 กวานพะเยา - 5.0 2.5 1,222 205 0.4 บึงบอระเพ็ด - 6.2 2.0 125 20 0.2

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ ND หมายถึง ไมสามารถตรวจวัดได (ตํ่ากวา 0.01 มก./ล.) DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

5

ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคกลาง ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพนํ้า ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

เจาพระยาตอนบน 2 5.8 2.7 4,560 1,450 0.20 FCB เจาพระยาตอนกลาง 3 4.5 1.7 5400 1,700 0.14 TCB เจาพระยาตอนลาง 4 2.0 2.6 40,600 27,200 0.10 TCB,FCB ทาจีนตอนบน 2 4.0 1.3 14,050 4,375 0.63 DO,TCB, FCB ทาจีนตอนกลาง 3 1.9 2.0 108,333 8,700 1.00 DO, TCB, FCB ทาจีนตอนลาง 4 0.3 3.0 52,429 16,714 1.44 DO, TCB,FCB,

แมกลอง 3 5.6 2.1 24,030 6,080 0.20 TCB,FCB เพชรบุรีตอนบน 2 4.1 1.0 190 95 0.20 DO เพชรบุรีตอนลาง 3 3.7 1.6 22,500 18,500 0.28 TCB, FCB

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

แควใหญ - 4.9 0.6 1,360 158 0.21 แควนอย - 5.2 1.0 1,794 1,800 0.20 ปาสัก - 8.2 1.8 3,633 1,114 0.06 ลพบุรี - 4.1 2.6 33,980 5,100 0.31 TCB,FCB นอย - 3.8 2.4 4,800 1,540 0.08

สะแกกรัง - 4.7 1.9 4,467 200 0.23 ปราณบุรี - 4.7 1.8 26,860 12,120 0.05 TCB, FCB กุยบุรี - 7.9 1.0 5,000 5,000 0.13 FCB

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

6

ตารางที่ 3 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต.ค. – ธ.ค. 2547

แหลงนํ้า ประเภทแหลงนํ้า

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ คุณภาพน้ํา ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

DOลําตะคองตอน

BOD (ม.ก./ล)

TCB (หนวย)

FCB (หนวย)

NH3

(ม.ก./ล)

พอง 3 5.0 1.1 1,562 408 0.12 ชี 3 4.8 1.5 3,144 1,347 0.25 BOD มูล 3 5.9 1.9 1,390 408 0.23

สงคราม 3 6.2 1.0 1,000 300 0.07 ลําตะคองตอนบน 3 5.8 3.5 98,240 41,440 0.22 BOD,TCB,FCB ลําตะคองตอนลาง 4 2.4 4.4 105,000 32,500 0.12 BOD,TCB,FCB

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภทแหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ลําปาว - 6.3 1.1 860 380 0.14 เสียว - 5.1 1.0 490 410 0.15 เลย - 5.4 1.0 32,200 2,654 0.02 TCB,FCB อูน - 6.2 1.3 1,700 201 0.17 ลําชี - 6.9 1.5 860 121 0.02

หนองหาน - 7.8 0.8 142 36 0.21

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

7

ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคตะวันออก ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ํา ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

ปราจีนบุรี 2 4.4 3.1 686 564 0.63 DO, BOD นครนายก 3 3.2 2.9 52,220 49,806 0.63 DO, BOD, TCB, FCB บางปะกง 3 3.1 1.8 5,145 1,215 0.22

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ระยอง - 1.8 3.0 4,270 3,953 0.15 ประแสร - 2.7 3.9 110,108 16,032 0.09 TCB, FCB พังราด - 3.8 3.3 4,170 970 0.03 จันทบุรี - 3.7 3.2 5,444 2,984 0.07 TCB, FCB เวฬุ - 2.8 1.9 183 132 0.14 ตราด - 2.5 1.3 1,500 250 0.09

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

8

ตารางที่ 5 คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงนํ้าในภาคใต ต.ค. – ธ.ค. 2547

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคญั แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ํา ท่ีไมไดตามมาตรฐาน

ตาปตอนบน 2 7.8 0.9 400 2 0.04 ตาปตอนลาง 3 5.6 1.0 2,700 643 0.12 พุมดวง 3 5.9 0.7 8,767 1,075 0.20 ปากพนัง 3 4.4 1.9 10,383 2,538 0.30

ปตตานีตอนบน 2 5.6 0.8 1,850 900 0.24 DO ปตตานีตอนลาง 3 3.4 2.1 9,350 1,550 0.11 DO, BOD

คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําท่ีสําคัญ แหลงนํ้า

ประเภท แหลงนํ้า DO

(ม.ก./ล) BOD

(ม.ก./ล) TCB

(หนวย) FCB

(หนวย) NH3

(ม.ก./ล)

คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา **

ชุมพร - 4.7 3.4 13,667 13,667 0.28 TCB, FCB, BOD หลังสวน - 6.6 1.4 6,450 5,435 0.27 ตรัง - 5.1 1.3 160 50 0.03 TCB

สายบุรี - 6.4 0.6 2,075 575 0.15 ทะเลนอย - 3.2 2.1 533 243 0.18 ทะเลหลวง - 5.9 2.4 4,750 2,538 0.12

ทะเลสาบสงขลา - 4.5 4.1 236,157 52,043 3.14 TCB, FCB, BOD

มาตรฐานประเภทที่ 2 > 6.0 < 1.5 < 5,000 < 1,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 3 > 4.0 < 2.0 < 20,000 < 4,000 < 0.5 มาตรฐานประเภทที่ 4 > 2.0 < 4.0 - - < 0.5

** คุณภาพน้ําท่ีเปนปญหา พิจารณาดังน้ี DO ตํ่ากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล. TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH3 มากกวา 0.5 มก./ล.

หมายเหตุ - หมายถึง ไมไดกําหนด หนวย หมายถึง MPN / 100 มล. , > หมายถึง มากกวาหรือเทากับ , < หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ DO = คาออกซิเจนละลาย BOD = ความสกปรกในรูปสารอินทรีย TCB = ปริมาณรวมของแบคทีเรียโคลิฟอรม FCB = แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม NH3 = แอมโมเนีย

top related