ระบบงบประมาณ ของประเทศไทย...1 ดร.ล...

Post on 09-Mar-2020

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1

ดร.ลักขณา สท้านไตรภพ

ผู้อํานวยการกองจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ 17

ระบบงบประมาณ

ของประเทศไทย

2

หัวข้อการบรรยาย

ระบบงบประมาณของประเทศไทย

ส่วนที่ 1 : แนะนําสํานักงบประมาณ

ส่วนที่ 2 : ระบบงบประมาณของไทย

ส่วนที่ 3 : กระบวนการงบประมาณ

3

ส่วนที่ 1 แนะนําสํานักงบประมาณ

1.1 บทบาทหน้าที่สํานักงบประมาณ

1.2 โครงสร้างสํานักงบประมาณ

4

ภารกิจหลักของสํานักงบประมาณ

ภารกิจหลัก

เสนอแนะ และใหค้วามเห็นแก่รัฐบาลและหน่วยงานภาครัฐ

ในด้านการงบประมาณ

จัดทํางบประมาณที่สนองต่อนโยบายและเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของ รัฐบาล และการบริหารงบประมาณ เพื่อให้บรรลุภารกิจของรัฐ

เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ ตอบสนอง

ความต้องการของประชาชน มีความคุ้มค่า

สามารถตรวจสอบและเปิดเผยต่อสาธารณะ

สํานักงบประมาณสํานักงบประมาณ

กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

กลุ่มตรวจสอบภายในกลุ่มตรวจสอบภายใน

สํานักงาน

ผู้อํานวยการ

สํานักงาน

ผู้อํานวยการ

กองกฏหมาย

และระเบียบ

กองกฏหมาย

และระเบียบ

กองนโยบาย

งบประมาณ

กองนโยบาย

งบประมาณ

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๑

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๑

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านการบริหาร

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านการบริหาร

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านความมั่นคง ๑

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านความมั่นคง ๑

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านความมั่นคง ๒

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านความมั่นคง ๒

สถาบันพัฒนาบุคลากรด้าน

การงบประมาณ

สถาบันพัฒนาบุคลากรด้าน

การงบประมาณ

สํานักจัดทํางบประมาณด้าน

สังคม ๑ ๒๕ อัตรา

สํานักจัดทํางบประมาณด้าน

สังคม ๑ ๒๕ อัตรา

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๒

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๒

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๓

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๓

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๔

กองจัดทํางบประมาณ

ด้านเศรษฐกิจ ๔

กองจัดทํางบประมาณองค์การบริหาร

รูปแบบพิเศษและรัฐวิสาหกิจ

กองจัดทํางบประมาณองค์การบริหาร

รูปแบบพิเศษและรัฐวิสาหกิจ

สํานักจัดทํางบประมาณด้าน

สังคม ๒ ๖๓ อัตรา

สํานักจัดทํางบประมาณด้าน

สังคม ๒ ๖๓ อัตรา

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๔

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๔

กองจัดทํางบประมาณเพื่อการบูรณาการงบประมาณเขตพื้นที่ และ

การบูรณาการงบประมาณ

ในการบริหารราชการในต่างประเทศ

กองจัดทํางบประมาณเพื่อการบูรณาการงบประมาณเขตพื้นที่ และ

การบูรณาการงบประมาณ

ในการบริหารราชการในต่างประเทศ

สํานักจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ ๑-๑๘

สํานักจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ ๑-๑๘

สํานักจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ ๑-๑๘

สํานักจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ ๑-๑๘

สํานักจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ ๑-๑๘

สํานักจัดทํางบประมาณเขตพื้นที่ ๑-๑๘

กองจัดทํางบประมาณ

เขตพื้นที่ ๑-๑๑

กองจัดทํางบประมาณ

เขตพื้นที่ ๑-๑๑

กองพัฒนาระบบงบประมาณ

และการจัดการ

กองพัฒนาระบบงบประมาณ

และการจัดการ

กอง

ประเมินผล

กอง

ประเมินผล

กองยุทธศาสตร์การงบประมาณ กองยุทธศาสตร์การงบประมาณ

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๒

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๒

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๓

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๓

กองมาตรฐานงบประมาณกองมาตรฐานงบประมาณ

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสรา้งสํานกังบประมาณ ตามกฎกระทรวงแบง่สว่นราชการฯ พ.ศ. ๒๕๕๙

ส่วนกลางศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการ

ทุจริต

ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการ

ทุจริต

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๑

กองจัดทํางบประมาณด้านสังคม ๑

6

ส่วนที่ 2 ระบบงบประมาณของไทย

7

1. ระบบงบประมาณไทย

ปีงบประมาณ ระบบงบประมาณ

พ.ศ. 2502 – 2525 แบบแสดงรายการ

(Line-Item Budgeting)

พ.ศ. 2525 – 2542 แบบแผนงาน

(Program Budgeting)

พ.ศ. 2542 – ปัจจุบัน แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

(Strategic Per formance Based Budgeting)

8

ระบบงบประมาณ

แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

9

ระบบงบประมาณ และหลักการ SPBB2. MTEF

5. ธรรมาภบิาล

4. กระจายอาํนาจ6. ตดิตามประเมนิผล

3. เพ ิ่มขอบเขตความครอบคลุม

1. ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ระดับชาติ

10

ส่วนที่ 3 กระบวนการงบประมาณ

11

กระบวนการงบประมาณ

1. การวางแผนงบประมาณ

2. การจดัทาํงบประมาณ

3. การอนุมัตงิบประมาณ4. การบริหารงบประมาณ

5. การตดิตามประเมนิผล

12

1. การวางแผนงบประมาณ

13

ยุทธศาสตรช์าต ิ20 ปี/แผนพฒันาเศรษฐกิจและ

สงัคมแห่งชาติ

กรอบและแนวทางในการจดัทาํ

แผนปฏิบตัริาชการ

เพื่อใชใ้นการบรหิารราชการ

แผนปฏิบตัริาชการ 4 ปี

ผลกัดนัและบูรณาการยุทธศาสตรต์ามแผนการพฒันาเศรษฐกิจ

และสงัคมแห่งชาตไิปสูก่ารปฏิบตัิ

แผนปฏิบตัริาชการประจาํปี

- เครือ่งมือทบทวนแผนใหท้นัสมยัและสอดคลอ้งกบัสถานการณ์

- เป็นกรอบในการจดัทาํคาํของบประมาณประจาํปี

การวางแผนงบประมาณ

14

การวางแผนงบประมาณระดบันโยบาย (Top-Down)

ยุทธศาสตร์ชาต ิ20 ปี

แผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์การจดัสรรงบประมาณระยะปานกลาง

กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลางระดบันโยบาย

การวางแผนงบประมาณ (ต่อ)

การวางแผนงบประมาณระดบัหน่วยงาน

(Bottom-Up)

แผนปฏิบัตริาชการ 4 ปี

กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลางระดบัหน่วยงาน

15

ความสมัพนัธ์ของการวางแผนงบประมาณในระดบันโยบายและระดบัหน่วยงาน

ยุทธศาสตร์ชาต ิ20 ปี และ

แผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ิ

ภารกิจหน่วยงาน

เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ

พนัธกิจของกรม

(ภารกิจตามยุทธศาสตร์)

แผนปฏิบัตริาชการ 4 ปี

แผนปฏิบัตริาชการประจําปี

แผนกลยุทธ์

เป้าหมายการให้บริการสาธารณะ (ระดบักระทรวง)

ผลผลิต

กิจกรรม

กิจกรรม

กิจกรรม

กิจกรรม

กิจกรรม

กิจกรรมกระบวนการนําส่งผลผลิต

เป้าหมายการให้บริการระดบัหน่วยงาน

ผลผลิต ผลผลิต

งบประมาณ

พนัธกิจของกระทรวง

แผนปฏิบัตริาชการ 4 ปี

แผนปฏิบัตริาชการประจําปี

ภารกิจหน่วยงานภารกิจหน่วยงาน

16

2. การจดัทํางบประมาณ

17

กรอบแนวคิด

Top-down Budgeting

ยุทธศาสตร์ชาต ิ20 ปี และ

แผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แผนปฏิบัตริาชการ 4 ปี

ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจําปี

งบประมาณ

MTEF

Top-down Ceiling Bottom-up Request

สถานการณ์แวดล้อม

+นโยบายใหม่

ร่าง พ.ร.บ.

ประจําปีฯ

18

ภาพรวมกรอบวงเงินงบประมาณ

ภาระหนี้

จงัหวดั/ทอ้งถิน่

ภาระผกูพนั(สญัญา+ม.23)

รายจา่ยตามภารกจิทีก่ฎหมายกาํหนดรายจา่ยตามนโยบาย

ตอ่เนือ่ง(ทีท่บทวนแลว้)

รายจา่ยตามภารกจิอืน่ๆ

รายจา่ยตามนโยบายใหม่

รายจา่ยข ัน้ตํา่

ยทุธศาสตรก์ารจดัสรร

งบประมาณ

19

การจดัทาํงบประมาณของจงัหวัด

Agenda

AreaFunction

ความสําคัญ

ของแผนพัฒนา

จังหวัด

20

เป้าหมายการบรูณาการงบประมาณเชงิพืน้ที ่(3 มติ)ิ

ปจัจบุนัปจัจบุนั อนาคตอนาคต

AreaFunction

Agenda

AreaFunction

Agenda

การบรูณาการงบประมาณ

การบรูณาการงบประมาณ

การบรูณาการงบประมาณ

การบรูณาการงบประมาณ

แผนระดับชาติ

นโยบายรัฐบาล

แผนพัฒนาจังหวัด

แผนปฏิบัติราชการประจําปี

โครงการ

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)

ทุกภาคส่วน Position

Position

Position

Agenda

Function

+ Area

Areaคําของบประมาณ

จังหวัด

แผนปฏิบัติราชการประจําปี

โครงการ

ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

Function

22

23

การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของจังหวัด

พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจําปี

ส่วนราชการ(จังหวัด)

สํานักงบประมาณเห็นชอบแผน

จัดสรรงบประมาณ

ส่งแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ

24

3. การอนุมตังิบประมาณ

25

3. การอนุมตัิงบประมาณ

วาระที่ 1

วาระที่ 2

วาระที่ 3

26

อํานาจนิติบัญญัติ - สภาผู้แทนพิจารณาภายใน 105 วัน

วาระ 1 รับหลักการ (ตั้งกรรมาธิการพิจารณา)

วาระ 2 รับร่าง รายมาตรา วาระ 3 รับร่าง พ.ร.บ.- วุฒิสภาพิจารณาภายใน 20 วัน

หลังจากผ่านวาระที่ 3

การอนุมัติงบประมาณ

27

4. การบริหารงบประมาณ

28

1. สอดคลอ้งกบัระบบและวิธีการจดัการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยทุธศาสตร์

2. กาํหนดวิธีการจดัสรรงบประมาณตาม พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาํปี รวมถึงการโอนเปลี่ยนแปลงรายการ เพื่อใหส้่วนราชการใชจ้่ายงบประมาณไดอ้ยา่งรวดเร็วเกิดประโยชน์สูงสุด

3. มอบอาํนาจและความรับผิดชอบให้กบัหัวหน้าส่วนราชการในการบริหารงบประมาณไดอ้ยา่งยดืหยุน่และคล่องตวั

ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ

29

4. กาํหนดใหส้่วนราชการบริหารงบประมาณใหบ้รรลุเป้าหมายและผลสมัฤทธิ์ ตามแผนที่กาํหนด

5. กาํหนดให้ส่วนราชการจดัทาํแผนการปฏิบตัิงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และจดัส่งใหส้าํนกังบประมาณเพื่ออนุมตัิ

6. กาํหนดใหก้ารบริหารงบประมาณสอดคลอ้งกบัหลกัธรรมาภิบาล คือ การเบิกจ่ายงบประมาณมีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ความคุม้ค่า มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบและเปิดเผยต่อสาธารณะได ้

ระเบียบว่าด้วยการการบริหารงบประมาณ (ต่อ)

30

บทบาทของส่วนราชการในการบริหารงบประมาณ

จดัทาํแผนการปฏบิตังิาน

จดัทาํแผนการใช้จ่ายงบประมาณ

รายงานผลการปฏบิตัริาชการ

รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ

31

บทบาทของสํานักงบประมาณ

ในการบริหารงบประมาณของส่วนราชการ

อนุมัตแิผนการปฏบิัตงิานของส่วนราชการ

อนุมัตแิผนการใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการ

อนุมัตกิารโอน เปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณของส่วนราชการ

อนุมัตกิารขอใช้เงนิเหลือจ่ายของส่วนราชการ

32

5. การตดิตาม ประเมนิผล

33

การตดิตามและประเมนิผลในระบบงบประมาณ

แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

วัตถุประสงค์ของการติดตามและประเมินผล

1. เพื่อทราบความก้าวหน้าในการดําเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานและ

แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

2. เพื่อทราบผลการนําส่งผลผลิตตามตัวชี้วัดที่กําหนด

3. เพื่อทราบปัญหาอุปสรรคในการดําเนินงานและการบริหารจัดการ

34

การตดิตามและประเมนิผลในระบบงบประมาณ

แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

ประโยชน์ของการติดตามประเมินผล

1. ใช้เป็นสารสนเทศในการบริหารจัดการงบประมาณ

2. ใช้เป็นสารสนเทศในการทบทวนเป้าหมายการให้บริการ ผลผลิต

ตัวชี้วัดในปีงบประมาณต่อไป

3. ใช้เป็นสารสนเทศในการจัดทํางบประมาณในปีต่อไป

4. นําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบข้อเท็จจริงหรือปัญหาอุปสรรค

5. ใช้เป็นสารสนเทศในการชี้แจงงบประมาณต่อรัฐสภา

top related