การจัดการองค ์การ · 1.1...

Post on 30-Nov-2019

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บทที่ 6

การจดัการองค์การ

1

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ความหมายของการจดัองค์การ

1. การจดัองค์การเป็นเรื่ องท ี่เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมาย

หรือวัตถุประสงค์ขององค์การ

2. การจดักลุ่มกจิกรรม

3.การกาํหนดความสัมพนัธ์

2

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ประโยชน์ของการจัดองค์การ

1. ประโยชน์ของการจัดองค์การท ี่มีต่อองค์การ

1.1 การจดัองค์การที่ดีมีโครงสร้างที่เหมาะสมจะช่วยให้งานทกุอยา่งในองค์การ

ดําเนินงานไปด้วยความสําเร็จด้วยดี

1.2 ทําให้การทํางานไมเ่กิดปัญหาความซํา้ซ้อน ความลา่ช้า หรือการเกี่ยงงานกนัทํา

1.3 ชว่ยให้องค์การสามารถปรับตวัเข้ากบัสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้งา่ย

1.4 แสดงให้เหน็ถงึการแบง่งานกนัทําออกเป็นตําแหน่งงานตา่งๆ และยงัชีใ้ห้เหน็ถงึ

มาตรฐานของงานในองค์การ

3

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ประโยชน์ของการจดัองค์การ

2. ประโยชน์ของการจดัการท ี่มีต่อผู้บริหาร

2.1 ช่วยให้การบริหารงานในองค์การเป็นไปด้วยความสะดวกและงา่ย ประสบความสําเร็จได้ด้วยดี ไมก่่อให้เกิดปัญหางานคัง่ค้าง ณ จดุใดจดุหนึง่

2.2 ช่วยไมใ่ห้เกิดปัญหาการสิน้เปลือง เนื่องจากการทํางานซํา้ซ้อนหรือเพราะความลา่ช้า

2.3 ช่วยให้เกิดเอกภาพในการบงัคบับญัชาและการสัง่การในการทํางาน การรายงานผลการปฏิบตัิของผู้ใต้บงัคบับญัชาเป็นไปอยา่งราบรื่น ไมต่ิดขดั

4

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ประโยชน์ของการจดัองค์การ

5

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

3. ประโยชน์ของการจดัองค์การท ี่มีต่อผู้ปฏบิัตงิาน

3.1 ช่วยทําให้บคุลากรในองค์การมีขวญัและกําลงัใจในการ

ปฏิบตัิงาน

3.2 ช่วยทําให้บคุลากรในองค์การรู้อํานาจหน้าที่ และขอบขา่ยการ

ทํางานของตนมีเพียงใด

3.3 ช่วยให้บคุลากรในองค์การสามารถเข้าใจถงึความก้าวหน้าในสาย

งานที่ตนดํารงตําแหน่งอยูว่า่มีความก้าวหน้ามากน้อยเพียงใด

3.4 ช่วยให้เกิดความชดัเจนในการจดักําหนดขอบเขตของอํานาจ

หน้าที่ กฎระเบียบที่บคุลากรทกุสว่ยในองค์การต้องปฏิบตัิตาม

หลักพ ืน้ฐานในการจดัองค์การ

1. วัตถุประสงค์ขององค์การ

2. เอกภาพในการบงัคับบญัชา

3. การจดัสายการบงัคับบญัชา

6

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

A

B C

HD FE G

KJI ML

โครงสร้างสายการบังคับบัญชา

บทที่ 6 การจดัการองค์การ7

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

คณะกรรมการบริษัท

ประธานการบริษัท

รองประธาน

ผู้จัดการฝ่าย

หัวหน้าแผนก

ผู้ปฏิบัติงาน

การลดหลั่นกันของอาํนาจหน้าท ี่ในโครงสร้างองค์การ

บทที่ 6 การจดัการองค์การ8

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

หลักพ ืน้ฐานในการจดัองค์การ

ความรับผิดชอบ หมายถึง เมื่อบุคคลซึ่งเป็นผู้ ใต้บังคับบัญชามีอํานาจหน้าที่แล้ว ต้องมีความรับผิดชอบที่จะทํางานให้สําเร็จลลุ่วงไปด้วย ความรับผิดชอบจึงเป็นความผูกพนัที่เกิดขึน้ในผู้ ใต้บงัคบับญัชาหลงัจากที่ผู้ บังคับบัญชาได้ใช้อํานาจหน้าที่ในการสั่งการหรือมอบหมายให้แก่ผู้ ใต้บังคับบัญชาแล้ว การใช้อํานาจหน้าที่และการสร้างความรับผิดชอบจะต้องกระทําไปพร้อมๆกนั

9

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

หลักพ ืน้ฐานในการจดัองค์การ

บทที่ 6 การจดัการองค์การ10

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

อํานาจเกิดจากหน้าที่การงานหรืออํานาจสัง่การ เป็นอํานาจของผู้บริหาร แบง่ออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

อํานาจที่ถูกต้องตามกฎหมาย หมายถึง อํานาจที่เกิดจากข้อกําหนด กฎระเบียบขององค์การ

อํานาจในการให้คุณหรือให้รางวัล คือ ผู้ ที่สามารถให้ผลประโยชน์ต่างๆแก่ผู้ใต้บงัคบับญัชา เป็นอํานาจในทางบวก

อํานาจในการบังคับหรือลงโทษ คือ ผู้ นําที่สามารถลงโทษหรือควบคุมผู้ใต้บงัคบับญัชาได้ในกรณีที่พนกังานทําความผิด เป็นอํานาจในทางลบ

11

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

อาํนาจที่เกดิจากปัจจัยส่วนตวัหรือลักษณะส่วนตวั หมายถงึ ตวับุคคล

นัน้เป็นแหล่งท ี่มาของอาํนาจ อาจเรียกได้อ ีกอย่างหนึ่งว่า อทิธ ิพล หรือ บารมี

แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

อาํนาจที่เกดิจากความเชี่ยวชาญ เป็นอาํนาจที่เกดิจากตวัผู้น ําเอง และ

จะตดิตวัผู้น ําไปตลอด

อาํนาจที่เกดิจากการอ้างองิ คือ อาํนาจที่เกดิจากการท ี่ผู้น ําอ้างองิถงึ

บุคคลอื่นท ี่มีช ื่อเสียงเกียรตยิศ มีอทิธ ิพลท ี่ตนรู้ จ ักทาํให้บุคคลอื่นเกดิความ

เชื่อถือยาํเกรง

ผูบ้ริหาร

อาํนาจโดยการ

บงัคบั

อาํนาจในการให้

รางวลั

อาํนาจตาม

กฎหมายอาํนาจที่เกิดจาก

ความสามารถใน

การควบคุมขอ้มูล

อาํนาจที่เกิดจาก

การอา้งอิง

อาํนาจที่เกิดจาก

ความเชี่ยวชาญ

12

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

การรวมอาํนาจและการกระจายอาํนาจ มีอยู ่2 รูปแบบ คือ

การรวมอาํนาจ หมายถงึ ระบบการบริหารที่รวมศนูย์อํานาจอยู่

ที่ผู้บงัคบับญัชาหรือหน่วยงานระดบัสงูเพียงจดุเดียว การตดัสนิใจเรื่อง

ใดจะต้องรอให้ผู้บริหารระดบัสงูตดัสนิใจ สัง่การ หรืออนมุตัิก่อนจงึจะ

ดําเนินการได้

การกระจายอาํนาจ คือ ระบบการบริหารที่กระจายอํานาจลง

ไปให้ผู้บริหารระดบัลา่งหรือหน่วยงานสว่นท้องถิ่นเป็นผู้ตดัสนิใจใน

หน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบ

13

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ก า ร ร ว ม อ ํ า น า จ ( More Centralization)

ก า ร ก ร ะ จ า ย อ ํ า น า จ (More Decentralization)

1. สภาพแวดล้มที่คงที่2. ผู้ บ ริหารระดับต้นไม่ มีประสบการณ์

หรือไม่มีความสามารถเพียงพอในการ

ตดัสนิใจเทา่กบัผู้บริหารระดบัสงู

3. ผู้บริหารระดบัต้นยงัไม่มีความพร้อมอยา่งเพียงพอสําหรับการเป็นผู้ตดัสินใจในการ

ทํางานของตน

1. สภาพแวดล้มสลบัซบัซ้อนไมแ่น่นอน2. ผู้ บริหารระดับต้นมีประสบการณ์และมี

ความสามารถในการตัดสินใจได้อย่าง

ถกูต้องและแมน่ยํา

3. ผู้ บริหารระดับต้นมีความพร้อมในการตดัสนิใจที่จะทํางานของตน

ปัจจยัเสริมท ี่มีอทิธ ิพลต่อการกาํหนดวธิ ีบริหารงาน

14

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ก า ร ร ว ม อ ํ า น า จ ( More Centralization)

ก า ร ก ร ะ จ า ย อ ํ า น า จ (More Decentralization)

4. องค์การให้ความสําคญัต่อการตดัสินใจโดยเห็นวา่หากกระจายอํานาจออกไปแล้ว

อาจก่อใ ห้ เ กิดปัญหา คือ เ ห็นว่าการ

ตดัสนิใจมีความสาํคญัมาก

5. องค์การกําลังเผชิญกับวิกฤตการณ์หรือความเสีย่งตอ่ความล้มเหลว

6. องค์การมีขนาดใหญ่7. ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น อ ง ค์ ก า ร จ ะ มี

ป ระสิ ท ธิภาพ ไ ด้ ขึ น้ อยู่ กั บผู้ บ ริ ห า ร

ระดับสูงเท่านัน้นที่ยังคงไว้ซึ่งสถานภาพ

เดิมในการมีอํานาจสัง่การเหนือบคุคลอื่น

ในองค์การ

4. องค์การเล็งเห็นว่าการตดัสินใจมีความสําคัญพอๆ กับหน้าที่การบริหาร

ด้านอื่นๆ หมายถงึมีความสาํคญัน้อย

5. วฒันธรรมองค์การเป็นแบบเปิดที่อนญุาตให้ผู้บริหารระดบัต้นแสดงคงามคิดเห็นได้

6. องค์การมีการจัดโครงสร้างตามขอบเขตภูมิศาสตร์ โดยมีการกระจายสาขาอยู่ทัว่

ประเทศ

7. ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น อ ง ค์ ก า ร จ ะ มีประสิทธิภาพได้ขึน้อยู่กบัการเข้าไปมีสว่น

เกี่ยวข้องหรือมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายและ

ความยืดหยุน่ในการตดัสนิใจ

ปัจจยัเสริมท ี่มีอทิธ ิพลต่อการกาํหนดวธิ ีบริหารงาน

15

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

การแบ่งงานตามความชาํนาญเฉพาะด้าน

หมายถงึ การแยกงานหรือรวมหน้าที่การงานที่มีลกัษณะเดียวกนั หรือใกล้เคียงกนั

ไว้ด้วยกัน หรือแบ่งงานตามลักษณะเฉพาะของงาน คือ เป็นการแบ่งงานตาม

ความถนัด ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านของแต่ละคน ทําให้องค์การสามารถใช้

ประโยชน์จากทกัษะความชํานาญของพนกังานได้เต็มที่ เนื่องจากภายในองค์การ

จะมีงานหรือกิจกรรมหลายลกัษณะและหลายระดบั

16

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

โครงสร้างขององค์การธุรกจิท ั่วไป

ผูบ้ริหาร

ฝ่ายการ

ผลิต

ฝ่าย

การเงิน

ฝ่าย

ทรัพยากร

มนุษย์

ฝ่ายวิจยัและ

พฒันา

ฝ่าย

การตลาด

17

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ผูจ้ดัการ

ฝ่ายบุคคล ฝ่ายการเงินฝ่ายการตลาดฝ่ายจดัซื้อ

เครื่องสาํอาง

เครื่องกีฬา

เครื่องใชไ้ฟฟ้า

เครื่องแตง่กาย

เครื่องเวชภณัฑ์

โครงสร้างขององค์การ

18

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

19

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

แผนภมูิโครงสร้างหลกั เป็นแผนภมูิแสดงการจดัโครงสร้างทัง้หมดขององค์การ วา่ประกอบด้วยหน่วยงานยอ่ยอะไรบ้าง มีความสมัพนัธ์กนัอยา่งไร หน่วยงานยอ่ยใดขึน้กบัหน่วยงานใด แผนภมูิประเภทนีเ้ป็นที่นิยมใช้กนัเพราะมีความชดัเจน แสดงหน่วยงานยอ่ยได้ทัง้หมด และไมม่ีการเปลี่ยนแปลงบอ่ยนกั

แผนภมูิแสดงตวับคุคล เป็นแผนภมูิแสดงตําแหน่งและหน่วยงานยอ่ย คล้ายแผนภมูิโครงสร้างหลกั มีการระบชุื่อบคุคลผู้ รับผิดชอบในตําแหน่งไว้ด้วย ตลอดจนจํานวนผู้อยูใ่ต้บงัคบับญัชา และบางแหง่ก็อาจติดรูปผู้ ดํารงตําแหน่งในระดบัสงูอีกด้วย

20

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

รูปแบบขององค์การธุรกจิ

2.1 การประกอบโดยเจ้าของคนเดียว เป็นกิจกรรมที่บุคคลคน

เดียวเป็นผู้ลงทนุและรับผิดชอบในการดําเนินงาน เจ้าของได้กําไรแต่

เพียงผู้ เดียว เจ้าของและผู้ จัดการเป็นบุคคลเดียวกัน เจ้าของและ

ธรุกิจมีฐานะทางกฎหมายเป็นหนึง่เดียวกนั

21

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

ห้างหุ้นสว่น เป็นการประกอบธรุกิจที่มีบคุคลตัง้แต ่2 คนขึน้ไปทํา

สญัญาร่วมกนัลงทนุเพื่อแสวงหากําไรร่วมกนั ห้างหุ้นสว่นสามารถแบง่

ออกเป็น 2 ประเภท คือ

ห้างหุ้นสว่นสามญั ผู้ เป็นหุ้นสว่นทกุคนจะต้องรับผิดชอบในหนีส้นิ

โดยไมจ่ํากดัจํานวน ทกุคนเข้ามาดําเนินกิจการของห้างหุ้นสว่นได้

ห้างหุ้นสว่นจํากดั มีลกัษณะสําคญัคือต้องจดทะเบียนเป็นนิติ

บคุคลและระบวุา่เป็นห้างหุ้นสว่นจํากดั ผู้ เป็นหุ้นสว่นมี 2 ประเภทคือ 1.

รับผิดชอบจํากดัในหนีส้นิของห้างหุ้นสว่น และ 2. รับผิดชอบในหนีส้นิของ

ห้างหุ้นสว่นจํากดัโดยไมจ่ํากดัจํานวน

22

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

บริษัทจํากัด เป็นการประกอบธุรกิจที่มีการลงทนุโดยแบ่งทนุออกเป็น

หุ้นที่มลูคา่เทา่ๆกนั อยา่งน้อย 2 หุ้นขึน้ไป บริษัทจํากดัมี 2 ประเภท ดงันี ้

บริษัทเอกชนจํากดั มีลกัษณะสําคญั คือ มีผู้ ถือหุ้นเท่าใดก็ได้ ถือหุ้น

ได้ไม่จํากดั ผู้ ก่อตัง้บริษัทต้องมีอย่างน้อย 7 คนขึน้ไป บริษัทเอกชนจํากดัออกหุ้น

กู้ ไมไ่ด้

บริษัทมหาชนจํากดั มีลกัษณะสําคญั คือ ต้องมีผู้ ถือหุ้นไม่ตํ่ากว่า 15

คน จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ ต้องมีการเสนอขายหุ้ นให้แก่

ประชาชนอย่างน้อย 50%ของหุ้นทัง้หมด ทําให้ระดมทุนได้มาก และชื่อบริษัท

ต้องมีคําวา่ (มหาชน) ประกอบด้วย บริษัทจํากดัมหาชนสามารถออกหุ้นกู้ ได้

23

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

กิจการ ร่ วมค้า หรือการ ร่ วมลงทุน เป็นการลงทุนประกอบธุรกิจ

ระหว่าง บริษัทกบับริษัท หรือบริษัทกบัห้างหุ้นส่วน การค้าร่วมจะมีการทํา

สัญญา และผู้ เข้าร่วมทุกคนรับผิดในหนีท้ี่เกิดขึน้โดยไม่จํากัด เป็นการ

ประกอบธรุกิจในระยะสัน้

กองทุนธุรกิจ คือ การที่บุคคลตัง้แต่ 2 คนขึน้ไปนําทรัพย์สินมา

มอบให้บคุคลหนึ่ง เรียกว่า ผู้บริหาร เพื่อดําเนินการประกอบธุรกิจภายใต้

เงื่อนไขและระยะเวลาที่กําหนด เจ้าของทรัพย์สินจะรับผิดชอบเพียง

ทรัพย์สินที่มอบให้ลงทนุเท่านัน้ และจะได้รับใบสําคญัคล้ายหุ้นของบริษัท

เรียกวา่ หน่วยลงทนุ แตไ่มม่ีสทิธ์ออกเสียง

กจิการแบบโฮลดิง้ คอมปานี หมายถงึ บริษัทที่ก่อตัง้ขึน้มาเพื่อ

ทําการควบคมุการดําเนินการของบริษัทอื่นด้วยการเข้าถือหุ้นเป็นจํานวนมาก

ในบริษัทนัน้ ซึง่บริษัทที่ถือหุ้นมากเรียกวา่ บริษัทแม ่สว่นบริษัทที่ขายหุ้น

ให้แก่บริษัทแมเ่รียกวา่ บริษัทในเครือ ซึง่บริษัทแมห่วงัผลกําไรโดยวธิีควบคมุ

นโยบายและการบริหาร บริษัทในเครือหวงัผลกําไรด้วยวธิีการผลติและขาย

สนิค้าหรือบริการ

24

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

กลยุทธ์วัตถุประสงค์ขององค์การ กลยุทธ์องค์การแบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ

1. กลยุทธ์แบบหดตวั จะใช้ในสภาวะเศรษฐกจิหดตวัหรือตกตํ่า

2. กลยุทธ์แบบเจริญเติบโต มักนํามาใช้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ยุ่ งยาก

ซับซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การออกแบบองค์การท ี่เหมาะสม

กับกลยุทธ์แบบเจริญเตบิโตคือ องค์การแบบเสมือนสิ่งมีช ีวติ

3. กลยุท ธ์ แ บบมั่ น ค ง มักนํามาใ ช้ ภ ายใ ต้ สภาวะแ วด ล้ อ มที่ มีก าร

เปลี่ยนแปลงน้อย ควรออกแบบองค์การเป็นเสมือนสิ่งไม่มีช ีวติ

25

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

แนวโน้มการจดัองค์การสมัยใหม่

26

อาจารย์ ดร.ปรีชา พงษ์เพง็

top related