ความรู้พื้นฐานการผลิตผ้าทอ ......ชน...

Post on 22-Jan-2020

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

ความรู้พื้นฐานการผลิตผ้าทอ และลวดลาย

สิรัชชา ส าลีทอง

Fashion Design, Faculty of Fine and Applied Arts, Suan Sunandha Rajabhat University.

ผ้าทอ คือ ผ้าที่ได้จากการน าเส้นด้ายอย่างน้อย 2 กลุ่มขัดกันไปมา โดยด้าย 2 กลุ่มนั้น ท ามุมฉากกัน

กระบวนการผลิตผ้าทอ

• ด้ายที่ขึงไปตามยาวของผา้ เรียกว่า เส้นด้ายยืน • ด้ายที่ตั้งฉากกับเส้นด้ายยืน / อยู่ตามแนวขวาง

เรียกว่า เส้นด้ายพุ่ง

ในกระบวนการทอ การขึงเส้นด้ายยืนหรือเส้นด้ายพุ่งมักตึงไม่เท่ากัน

เส้นด้ายยืนมักจะแข็งแรงกว่าและถูกดึงตึงกว่า

ส่งผลให้สมบัติของผ้าตามแนวเส้นด้ายพุ่ง และเส้นด้ายยืน- ด้านความเหนียว- ความคงตัว - การจับจีบ- การทนทานต่อการเสียดสี

4

สมัยก่อน การขึงเส้นด้ายยืนในการทอผ้า มี 2 รูปแบบกัน คือ

การขึงเส้นด้ายตามแนวนอน - - แถบอินเดีย และเอเชียตอนกลาง การขึงเส้นด้ายยืนในแนวตั้ง - - แถบยุโรป

5http://www.wpclipart.com/world_history/old_work/loom.png

ส่วนประกอบหลักของเครื่องทอผ้า

1. แกนม้วนด้ายยืน (Warp beam)

2. ตะกอ (Heddle) และกรอบตะกอ (Harness)

3. ฟันหวี หรือ ฟืม (Reed)

4. กระสวยด้ายพุ่ง (Shuttle)

5. แกนม้วนผ้าที่ทอแล้ว (Cloth beam)

6

7http://www.customshirt1.com/ArticleGraph2/SimpleLoom.jpg

แกนมว้นดา้ยยนื

แกนมว้นผา้ทีท่อแลว้

ตะกอ

กรอบตะกอ

ฟืม / ฟันหวี

8

ฟืม / ฟันหวี

กระสวยดา้ยพุง่

แกนมว้นผา้ทีท่อแลว้

http://weavolution.com/sites/default/files/pictures/picture-7177.jpg

9

ริมผ้าบางอย่างมีลักษณะเหมือนเนื้อผ้า แต่ส่วนใหญ่มักทอให้แข็งแรงกว่าและแน่นกว่าเนื้อผ้าโดยใช้เส้นด้ายยืนที่เหนียวกว่า หรือใหญ่กว่า หรือเรียงเส้นชิดกันมากขึ้น

การทอส่วนใหญ่ต้องมีริมผ้า (Selvage) เพื่อป้องกันผ้าลุ่ย

การเรียกชื่อเส้นด้ายในผ้าทอ

เส้นด้ายตามความยาวของผ้า

เรียกว่า ด้ายยืน หรือ เส้นยืน (Warp or End)

เส้นด้ายชุดที่วิ่งไปตามความกว้างหรือขวางผา้

เรียกว่า ด้ายพุ่ง (Weft หรือ Filling)

10

ส่วนที่อยู่ด้านข้างของผืนผ้าทั้งสองด้าน เรียก ริมผ้า (Selvage)

11

วิธีสังเกตแนวด้ายพุ่งและด้ายยืนในผืนผ้า

ชนิดของริมผ้า (จากเครื่องทอท่ีใช้กระสวย)

1. ริมธรรมดา (conventional) ลักษณะเหมือนกับเนื้อผ้า แต่ทอแน่นกว่า

12

2. ริมเทป (tape) ริมผ้ามีเส้นด้ายสอดสลับกันเหมือนลายสองหรือลายก้างปลา

ท าให้ผ้ายืดหดได้ ทนทานกว่าริมผ้าชนิดอื่น เหมาะส าหรับท าริมผ้าปูที่นอน

การทอผ้า มีทั้งแบบใช้กระสวย และไม่ใช้กระสวย ในการน าส่งเส้นด้ายพุ่ง

ชนิดของริมผ้า (จากเครื่องทอท่ีใช้กระสวย)

ริมธรรมดา (conventional)

13

ชนิดของริมผ้า (จากเครื่องทอท่ีใช้กระสวย)

14

ริมเทป (tape)

มีเส้นด้ายพุ่งอยู่ที่ริมทั้ง 2 ด้านปล่อยเป็นเส้นปลายเปิดไว้ หรือ ทบสอดปลายด้ายพุ่งเข้าไปในเนื้อผ้า หรือ ไขว้ด้ายยืนที่ริมผ้าเพื่อยึดด้ายพุ่ง

15

ริมผ้าของเครื่องทอชนิดไม่มีกระสวย

สรุปลักษณะเฉพาะของผ้าทอ

16

1. เกิดจากเส้นด้าย 2 ชุด น ามาขัดกันเป็นมุมฉาก 2. ผ้าทอต้องมีริมผา้ (selvage) 3. ผ้าทอส่วนมากจะทอเป็นผืน

17

ขั้นเตรียมเส้นด้าย

กรอด้าย สางด้าย ลงแป้งด้ายยืน สอดฟันหวี ร้อยตะกอ

กระบวนการทอผ้า

ขั้นการทอ

(1) การท าให้เกิดช่องว่าง (Shedding) โดยการยกตะกอเพื่อแยกหมู่เส้นด้ายยืน (2) การสอดกระสวยด้ายพุ่ง (Picking) ผ่านช่องว่างของเส้นด้ายยืน (3) การตีกระทบเส้นด้ายพุ่ง (Beating up)(4) การม้วนผ้าที่ทอแล้วเก็บ และคลายเส้นด้ายยืนออก

(Taking up and Letting off)

18

เส้นด้ายที่น ามาในการผลิตผ้า มีผลต่อ ผิวสัมผัสของผ้า การน าไปใช้ประโยชน์ ความสวยงามเมื่อท าเป็นเครื่องนุ่งห่ม

โครงสรา้งการทอ

โครงสรา้งการทอ

19

การผลติผา้ดว้ยวธิกีารทอ แบง่ออกเป็น 2 ประเภท คอื

การทอลายขดั

การทอลายสอง

การทอตว่น

Woven Design or Decorative Weave

Basic Weave

การทอด็อบบี้

การทอแจ็กการด์

การทอแบบเลโน

การทอลายขัด (Plain Weave)น าเส้นด้ายจ านวน 2 ชุดมาทอสลับกัน ใช้เส้นด้ายยืน 1 ชุด และด้ายพุ่ง 1 ชุด ใช้ตะกอ 2 ตะกอ

20

เพื่อให้เส้นด้ายพุ่งสอดใต้เส้นด้ายยืน 1 เส้น แล้วข้ามเส้นด้ายยืนเส้นถัดไป 1 เส้น

หรือเพื่อให้จ าง่าย คือ ให้ลอดเส้นด้ายยืน 1 เส้น ข้ามเส้นด้ายยืน 1 เส้น สลับกันไปเรื่อยๆ

(Warp yarn) (Weft yarn)

21

• ผ้าทอลายขัดนิยมใช้มากที่สุด

• โครงสร้างผ้าแน่น เส้นด้ายในผ้าทอลายขัดหลุดลุ่ยได้ยาก

• ค่อนข้างยับง่ายกว่าผ้าทอลายอื่น

• ผิวสัมผัสของไม่ค่อยน่าสนใจ

ยกเว้น ใช้เส้นด้ายสีต่างกัน

เพื่อท าให้เกิดลวดลาย

- ผ้าส่วนมากจะทอแบบลายขัด ทอได้ทั้งเนื้อแน่น - หลวม

- เนื้อผ้าทอลายขัดจะคล้ายกันทั้งด้านผิดและด้านถูก

- อาจตกแต่งด้วยการย้อมสีหรือพิมพ์ดอกเฉพาะผ้าทางด้านถูกเพียงด้านเดียว

- จ านวนเส้นด้ายพุ่งต่อเส้นด้ายยืนอาจเท่ากันบ้าง ต่างกันมากบ้างน้อยบ้าง ตามชนิดของผ้าที่ต้องการทอออกมา

- มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าการทอด้วยวิธีอื่น

22

23

การทอลายขัด สามารถดัดแปลงเป็นการทอแบบอ่ืนได้ดังนี้

การทอลายลูกฟูก หรือลายริบ (rib)

ใช้เส้นด้ายยืนและเส้นด้ายพุ่งที่มีขนาดต่างกัน

ท าให้เกิดเป็นสันนูนหรือเป็นลูกฟูกบนผืนผ้า

สันนูนแนวใดก็ได้

นิยมทอลูกฟูกแนวตามขวาง

มีเนื้อบางจนถึงขนาดกลาง

ขนาดของลูกฟูกมีตั้งแต่ชัดเจนน้อยไปจนถึงชนิดที่ลูกฟูกมองเห็นชัดเจน

24

25

การทอลายขัดสานตะกร้า (basket weave)

ใช้ด้ายยืนและด้ายพุ่งที่มีจ านวนมากกว่า 1 เส้น สานขัดกัน

เช่น ด้ายยืน 2 เส้น สานขัดกับด้ายพุ่ง 2 เส้น สลับกันไป

หรือจะใช้ด้ายยืนและด้ายพุ่งมากกว่า 2 เส้นก็ได้

ผ้าที่ผลิตออกมาจะเป็นตาสี่เหลี่ยม

ได้เนื้อผ้าที่มีความแปลก สวยงาม

ลายขดัดัดแปลง (การทอลายสานตะกรา้)

26

http://www.uniquecarpetsltd.com/sites/uniquecarpetsltd.com/

files/styles/large/public/carpet-styles/colorways/Basketweave_1810.jpg?itok=ClHDSP76

27

การทอลายขัดดัดแปลงแบบสานตะกร้า

- ทอโดยใช้เส้นด้ายยืน 2 เส้น ลอดใต้เส้นด้ายพุ่ง 1 เส้น

เรียกว่า การทอแบบ 2/1

- ทอโดยใช้เส้นด้ายยืน 2 เส้น ลอดใต้เส้นด้ายพุ่ง 2 เส้น

เรียกว่า การทอแบบ 2/2

http://www.uniquecarpetsltd.com/collections/sisal/basketweave

28

การทอลายสอง (Twill Weave)

น าเส้นด้ายอย่างน้อยจ านวน 3 ชุด

มาทอให้มีลักษณะเหลื่อมกัน

จ านวนตะกอที่ใช้น้อยที่สุด 3 ตะกอ

29

แนวเส้นทแยง

•ลายสองทแยงขวา (right-hand twill) ทิศทางของแนวทแยงขึน้ไปทางขวา หรือเรียกว่า Z- twill

•ลายสองทแยงซ้าย (life-hand twill) ทิศทางของแนวทแยงขึน้ไปทางซ้าย หรือเรียกว่า S - twill

เป็นการทอที่ท าให้เกิดแนวเส้นทแยงบนผืนผ้า

การทแยงของเส้นท ามุมแตกต่างกัน

30

3/1 twill

เลขตวัแรก

จ านวนเสน้ดา้ยยนืทีอ่ยูบ่นเสน้ดา้ยพุง่

เลขตวัหลงั

จ านวนเสน้ดา้ยยนืทีอ่ยูใ่ตเ้สน้ดา้ยพุง่

31

• แนวทแยงมสีองดา้นหรอืดา้นเดยีวก็ได ้

• ลายเหมอืนกนัทัง้สองดา้น เรยีกวา่ ผา้ลายสอง 2 หนา้

(even twill) ใชจ้ านวนเสน้ดา้ยยนืและเสน้ดา้ยพุง่

ทัง้ดา้นบนและดา้นลา่งเทา่กนั

• ลายสองดา้นตา่งกนั เรยีกวา่ ผา้ลายสองหนา้เดยีว

(uneven twill) ผา้จะมดีา้นถกูและดา้นผดิ

ลายทแยงขวาและทแยงซา้ยลงมาพบกนั

เรยีกวา่ ลายสองกา้งปลา

(Herringbone twill)

ลายสองดดัแปลง

ลายขนมเปียกปนู (Diamond twill)

การทอลายตว่น (Satin Weave)

ใชเ้สน้ดา้ยยนือยา่งนอ้ยจ านวน 5 ชดุ

ทอใหเ้กดิลกัษณะเสน้ดา้ยลอย (float)

SateenSatin

33

34

35

การนับจ านวนเส้นด้ายต่อพื้นที่ของผ้า (yarn count or thread count)

นับจ านวนเส้นด้ายยืน และเส้นด้ายพุ่งใน 1 ตารางนิ้ว เขียนจ านวนเส้นด้ายต่อพื้นที่ของผา้ตัวอยา่งเป็น 77 × 63

แสดงว่า ใน 1 ตารางนิ้ว มีจ านวนเส้นด้ายยืน 77 เส้น เส้นด้ายพุ่ง 63 เส้น

หรืออาจเขียนเป็น 140 เส้น ใน 1 ตารางนิ้ว

ผ้าที่มีจ านวนเส้นด้ายยิ่งมากแสดงว่าผ้านั้นยิ่งมีโครงสร้างแน่น หรือ ทอจากเส้นด้ายที่มีขนาดเล็ก ละเอียด

วิธีการนับจ านวนเส้นด้ายแบบง่าย1. หาทิศทางแนวเส้นด้ายของผ้าตัวอย่างที่ต้องการท าการนับจ านวนเส้นด้าย2. ตัดผ้า ขนาด 1.5 1.5 นิ้ว จ านวน 3 ชิ้น 3. ท าเครื่องหมายแนวเส้นด้ายยืนไว้4. เลาะเส้นด้ายส่วนริมออก ให้เหลือเส้นด้ายในพื้นที่ 1 1 นิ้ว5. ใช้เข็มปลายแหลมเขี่ยนับจ านวนเส้นด้ายในแนวเส้นด้ายยืน และเส้นด้ายพุ่ง6. บันทึกจ านวนเส้นด้ายที่นับได้7. ท าการนับเส้นด้ายของผ้าอีก 2 ชิ้น 8. หาค่าเฉลี่ยจ านวนเส้นด้ายที่นับได้

วิธีการนับจ านวนเส้นด้ายด้วย Pick Glass1. หาทิศทางแนวเส้นด้ายของผ้าตัวอย่างที่ต้องการท าการนับจ านวนเส้นด้าย2. ตัดผ้า ขนาด 1.5 1.5 นิ้ว จ านวน 3 ชิ้น 3. ท าเครื่องหมายแนวเส้นด้ายยืนไว้4. วางแว่นนับจ านวนเส้นด้าย หรือ Pick Glass ลงบนผ้า 5. ใช้เข็มปลายแหลมนับจ านวนเส้นด้ายภายใต้ Pick Glass 6. บันทึกจ านวนเส้นด้ายที่นับได้7. ท าการนับเส้นด้ายของผ้าอีก 2 ชิ้น 8. หาค่าเฉลี่ยจ านวนเส้นด้ายที่นับได้

https://halcyonyarn.com/images_products_large/68040000.jpg

ASSIGNMET นับจ านวนเสน้ดา้ย ใน 1 ตร.นิว้

38

source : ดร.เกศทิพย์ กร่ีเงิน

top related