คํายืมภาษาเขมรในภาษาไทยelsd.ssru.ac.th/bualak_na/pluginfile.php/64/mod_page/content/10/คำยืมใน... ·...

Post on 06-Sep-2019

11 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

คํายืมภาษาเขมรในภาษาไทย

ผูสอน อ. มธุมิส สมานทรัพย

ภาษาเขมรเปนภาษาคําโดด จัดอยูในตระกูลมอญ-เขมร

ไทยกับเขมรมีความสัมพันธกันมาเปนเวลาอันยาวนาน จึงทําใหมีการหยิบยืมถอยคําภาษา ของกันและกัน ไทยยืมคําภาษาเขมรมาใชเปนจํานวนมาก

ภาษาเขมรนอกจากจะใชกันในประเทศกัมพูชาแลว ยังใชกันในบรรดาคนไทยเชื้อสายเขมรทางจังหวัดตาง ๆ บางจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ

ภาคตะวันออกของประเทศไทยดวย

คําเขมรเข าสู ภาษาไทยโดยทางการเมือง ทางว ัฒนธรรมและทางภูมิศาสตร เรายืมคําเขมรมาใชโดยการทับศัพท ทับศัพทเสียงเปลี่ยนไป และเปลี่ยน

เสียงเปลี่ยนความหมาย

คํายืมจากภาษาเขมร

๑. คําเขมรที่เปนคําโดดเหมือนคําไทยก็มี แตเปนคําที่เปนคําศัพท คือ

มีความหมายเขาใจยาก ตองแปล เชน

อวย = ให แข = พระจันทร

ได = มือ เลิก = ยก

แสะ = มา มาน = มี

ทูล = บอก บาย = ขาว

วิธีสังเกตคําเขมร

๒. คําเขมรมักสะกดดวยตัว จ ญ ร ล ส เชน

เสด็จ

เจริญ

เดิร (ไทยใชเดิน)

เถมิร (ไทยใช เถมิน = ผูเดิน)

จรัล จรัส จัส (ไทยใช จัด = มาก, แรง, เขม, แก)

วิธีสังเกตคําเขมร

๓. คําเขมร มักเปนคําราชาศัพทในภาษาไทย เชน

บรรทม – นอน

เสด็จ – ไป

เขนย – หมอน

วิธีสังเกตคําเขมร

๔. คําเขมรมักเปนคําแผลง เชน

ข แผลงเปน กระ เชน ขดาน เปน กระดาน ขจอก เปน กระจอก

ผ แผลงเปน ประ เชน ผสม - ประสม

ผจญ - ประจญ

ประ แผลงเปน บรร เชน ประทม เปน บรรทม

ประจุ - บรรจุ

ประจง - บรรจง

วิธีสังเกตคําเขมร

๕. การสรางคําโดยการเติมหนวยคําเขาขางหนาคําเดิม ทําใหคําเดิมพยางค

เดียวเปนคําใหม ๒ พยางคเรียกวาการลงอุปสรรค บ (บัง,บัน,บํา) เชน

เพ็ญ - บําเพ็ญ เกิด – บังเกิด โดย-บันโดย

เมื่อ บํ อยูหนาวรรคกะ หรือ เศษวรรคจะอานวา "บัง" เชน

บังคม บังเกิด บังอาจ

เมื่อ บํ อยูหนาวรรคตะ อานวา "บัน" เชน

บันดาล บันโดย บันเดิน

เมื่อ บํ อยูหนาวรรคปะ อานวา "บํา" เชน

บําบัด บําเพ็ญ บําบวง

วิธีสังเกตคําเขมร

๖. การสรางคําโดยการเติมหนวยคําเขากลาง คําหลัก ทําใหคําเดิมพยางคเดียว

เปนคําใหม ๒ พยางคเรียกการลงอาคม

การลง อํา น เชน จง- จํานง, ทาย -ทํานาย, อวย-อํานวย

การเติม อํา เชน กราบ-กําราบ, ตรวจ-ตํารวจ, เปรอ-บําเรอ

การเปลี่ยน ข เปน ก เปลี่ยน ฉ เปน จ เชน ฉัน-จังหัน,แข็ง-กําแหง

วิธีสังเกตคําเขมร

๗. คําที่มี ๒ พยางค มีลักษณะเหมือนอักษรนําและอักษรควบของไทย เชน

แขนง จมูก ฉนํา (ป)

ไพร กระบือ ฉลอง

ขลัง เสวย ขลาด

วิธีสังเกตคําเขมร

๘. คํา ๒ พยางค ที่ขึ้นตนดวย คํา กํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา และสามารถ

แผลงเปนตัวอ่ืนได มักเปนคําเขมร เชน

คํารบ (ครบ) กําเนิด (เกิด)

จําหนาย (จาย) จําแนก (แจก)

ชํานาญ (ชาญ) ดําเนิน (เดิน)

ดําริ (ตริ) ตํารวจ (ตรวจ) >

ทํานบ (ทบ)

วิธีสังเกตคําเขมร

๘. คํา ๒ พยางค ที่ขึ้นตนดวย คํา กํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา และสามารถ

แผลงเปนตัวอ่ืนได มักเปนคําเขมร เชน

คํารบ (ครบ) กําเนิด (เกิด)

จําหนาย (จาย) จําแนก (แจก)

ชํานาญ (ชาญ) ดําเนิน (เดิน)

ดําริ (ตริ) ตํารวจ (ตรวจ) >

ทํานบ (ทบ)

วิธีสังเกตคําเขมร

คํายืมภาษาจีนในภาษาไทย

การยืมคําภาษาจีนมาใชในภาษาไทยน้ัน มักยืมมาจากภาษาจีนแตจิ๋วและภาษาจีนฮกเก้ียนมากกวาภาษาจีนสาขาอ่ืนเน่ืองจากชาวจีน

แตจิ๋วและชาวจีนฮกเก้ียนไดอพยพเขามาอยูในประเทศไทยกอนชาวจีนกลุม

อ่ืน

คําภาษาจีนที่ยืมมาใชในภาษาไทยมีคําที่เกี่ยวของกับภาษาและวรรณคดี ความเช่ือ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ

คํายืมจากภาษาจีน

ไทยนําคําภาษาจีนมาใช โดยมากไทยเลียนเสียงจีนไดใกลเคียงกวาชาติอ่ืน ๆ เชน เกาเหลา ต้ังฉาย เตาทึง เตาหู เตาฮวย พะโล แฮกึ๊น

เปนตน

มีบางคําที่นํามาตัดทอนและเปลี่ยนเสียง เชน เต้ียะหลิว ตะหลิว บะหมี่ บะหมี่ ปุงกี ปุงก๋ี

วิธีนําคํายืมภาษาจีนมาใชในภาษาไทย

แฮกึ๊น น. กุงมวน หมายถึงอาหารท่ีใชเนื้อกุงผสมแปงมัน โขลกจนเหนียว

หอดวยฟองเตาหูเปนทอน ห่ันเปนแวนทอด รับประทานกับน้ําจิ้มขนหวาน.

ภาษาจีนมีลักษณะคลายคลึงกับภาษาไทยมาก คือ เปนภาษาคําโดด

มีเสียงวรรณยุกต

เมื่อนําคําภาษาจีนมาใชในภาษาไทยซึ่งมีวรรณยุกตและสระประสม

ใชจึงทาํใหสามารถออกเสียงวรรณยุกตและสระตามภาษาจีนไดอยางงายดาย

คําภาษาจีนยังมีคําที่บอกเพศในตัวเชนเดียวกับภาษาไทยอีกดวย

เชน เฮีย (พี่ชาย) ซอ (พี่สะใภ) เจ (พี่สาว)

การสะกดคําภาษาจีนในภาษาไทยยังใชตัวสะกดตรงตามมาตรา

ตัวสะกดทั้ง ๘ มาตราและไมมีการใชทัณฑฆาต หรือตัวการันตดวย

วิธีการสังเกตคํายืมจากภาษาจีน

นํามาเปนช่ืออาหารการกิน เชน กวยเต๋ียว เตาทึง แปะซะ เฉากวย จับฉาย เปนตน

เปนคําที่เก่ียวกับสิ่งของเคร่ืองใชที่เรารับมาจากชาวจีน เชน ตะหลิว ตึก เกาอ้ี เกง ฮวงซุย

เปนคําที่เก่ียวกับการคาและการจัดระบบทางการคา เชน เจง บวย หุน หาง โสหุย เปนตน

เปนคําที่ใชวรรณยุกตตรี จัตวา เปนสวนมาก เชน กวยจั๊บ กุย เก เกก กง ตุน เปนตน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาจีน

แปะซะ

ฮวงซุย

คํายืมภาษาชวา-มลาย ู

ในภาษาไทย

ประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียมีอาณาเขตติดตอกัน จังหวัดชายแดน

ไทยท่ีติดตอกับมาเลเซีย ไดแก จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา และนราธิวาส

คํายืมจากภาษาชวา-มลายู

ทั้งสองประเทศจึงมีความสัมพันธกันทั้งในดานการคาขาย ทางดานภาษา

ศาสนา และวัฒนธรรมอ่ืน ๆ

ภาษามลายูในตระกูลภาษามลาโย – โพลินีเชียน หรือออสโตรนีเชียน

คํายืมจากภาษาชวา – มลายูก็เชนเดียวกับคํายืมจากภาษาอื่น ๆ คือเมื่อเขามาใชปะปนในภาษาไทยแลว บางคําอาจมีความหมายคงเดิม บางคําความหมาย

เปลี่ยนแปลงไป คือ ความหมายแคบเขา ความหมายกวางออก หรือ ความหมายยายที่

คํายืมจากภาษาชวา-มลายู

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดกําหนด

“อักษรยอในวงเล็บทายบทนิยาม” เพื ่อบอกที ่มาของคําตาง ๆ เช น

ข. - เขมร, จ. - จีน, ช. - ชวา, ม. - มลายู เปนตน

พจนานุกรมไดแยกภาษาชวาและภาษามลายูเปน ๒ ภาษา แตมีมนุษยวิทยาหลายคนกลาววา เดิมภาษาชวาและภาษามลายูเปนภาษา

เดียวกัน ชนสองชาติน้ีใชภาษามลายูรวมกันมากอน

คํายืมจากภาษาชวา-มลายู

๑) คําพ้ืนฐานของภาษาชวา – มลายูสวนใหญเปนคํา ๒ พยางค คํา

พยางคเดียวมีนอยมาก

๒) ภาษาชวา – มลายู ไมมีเสียงพยัญชนะควบกล้ํา

๓) ภาษาชวา – มลายูไมใชภาษาวรรณยุกต

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

คํายืมภาษาชวา – มลายูสวนหน่ึงมาจากวรรณคดีไทยเร่ืองดาหลัง

ในสมัยรัชกาลที่ ๑ และอิเหนาในรัชกาลที่ ๒ โดยเฉพาะอิเหนาน้ันไดรับการ

ยกยองวาเปนยอดของกลอนบทละคร ความไพเราะงดงามของบทละคร

เรื่องอิเหนายังเปนที่ทราบกันดีมาจนถึงปจจุบัน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

คํายืมภาษาอังกฤษ

ในภาษาไทย

ความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยีและการศึกษาในยุคโลกาภิวัตนท่ี

ไรพรมแดน มีสวนสําคัญทําใหคนไทยเรียนรูภาษาอังกฤษมากขึ้น จึงพยายามปรับปรุง

วิธีการยืมคําภาษาอังกฤษเขามาไวในภาษาไทย เพื่อใหเหมาะสมกลมกลืนกับเสียงของ

ภาษาไทย

อังกฤษและไทยมีความสัมพันธกันทั้งในดานการคาขาย ทางดานภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมอ่ืน ๆ

คํายืมจากภาษาอังกฤษ

๑. การเปลี่ยนแปลงเสียงและคํา การยืมคําภาษาอังกฤษมาใช อาจมีการเปลี่ยนแปลงเสียงเพื่อความสะดวก และอีกประการหนึ่ง เนื่องจากเสียงบางเสียงไมมีใชในภาษาไทย เชน sh ch v z ฯลฯ เวลายืมเสียงจําพวกนี้ จึงตองมีการปรับปรุงใหผิดไปจากเสียงเดิม เชน sign ออกเสียงเปน เซ็น pipe ออกเสียงเปน แปบ goal ออกเสียงเปน โก England ออกเสียงเปน อังกฤษ statistic ออกเสียงเปน สถิติ

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

๒. การลากเขาความ เปนวิธีการเปลี่ยนแปลงเสียงของคําภาษาอังกฤษ เพ่ือลากเขาหาคําไทยที่คุนหูหรือแปลความหมายไดดวย ซึ่งวิธีการน้ี ศ.ดร.บรรจบ พันธุเมธา ไดใหเหตุผลขางตน เชน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

court shoes

bradlay

coffee

uniform

เสียงในภาษาไทยเปน

เสียงในภาษาไทยเปน

เสียงในภาษาไทยเปน

เสียงในภาษาไทยเปน

คัทชู

บลัดเล

กาแฟ

อยูในฟอรม

๓. การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปลี่ยน

รูปคําหรือเสียง เชน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปล่ียนรูปคําหรือเสียง เชน

กีว ี

สูท

เทอม

ทีม

แฟชั่น

โบนัส

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

kiwi

suit

term

team

fashion

bonus

๔. การบัญญัติศัพท เปนวิธีการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยกําหนดคําใหมี

ความหมายตรงกับคําภาษาอังกฤษ ซึ่งสวนมากเปนคําศัพทเฉพาะ

(Technical Term) เชน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปล่ียนรูปคําหรือเสียง เชน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาชวา-มลาย ู

การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปล่ียนรูปคําหรือเสียง เชน

องคการ

ภูมิหลัง

เครื่องพิมพดีด

วีดิทัศน

วัฒนธรรม

พัฒนาการ

ตูเย็น

วารสาร

ศีลธรรม

มหาวิทยาลัย

หลักสูตร

=

=

=

=

=

=

=

=

=

=

=

organization

background

typewriter

video

culture

development

refrigerator

journal

morals

University

curriculum

๕. การตัดคํา เมื่อยืมคําภาษาอังกฤษมาใชแลว ตัดคําใหพยางคสั้นลง เพ่ือ

สะดวกในการอกเสียง เชน

วิธีสังเกตคํายืมจากภาษาอังกฤษ

การทับศัพท เปนการยืมคําภาษาอังกฤษมาใชโดยตรง ไมมีการเปล่ียนรูปคําหรือเสียง เชน

กิโล

เบอร

บอล

เบิ้ล

ติว

เอ็น

แชมป

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

มาจาก

kilometre, kilogramme

number

foot ball

double

tutor

entrance

champion

top related