ethical consumption and situation in thailand

Post on 26-Jul-2016

224 Views

Category:

Documents

6 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

สไลด์ประกอบการนำเสนอ "การบริโภคยึดจริยธรรมและสถานการณ์ในไทย" งานเสวนา Thailand's Ethical and Sustainable Business Forum, จัดโดย Oxfam, ป่าสาละ และ ChangeFusion, 15 มีนาคม 2559

TRANSCRIPT

การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม (Ethical Consumption) และสถานการณ์ในไทย

สฤณี อาชวานันทกุล

บริษัท ป่าสาละ จ ากัด

15 มีนาคม 2559

• “การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” หมายถึง การพิจารณา ผลกระทบ ของพฤติกรรมการบริโภค รวมเป็นหนึ่งในปัจจัยส าคัญเวลาที่ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ ไม่ได้ค านึงแต่ราคาและคุณภาพเท่านั้น (Andorfer, 2015)

• แนวคิดอย่าง “การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” “การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” “การบริโภคที่ยั่งยืน” “การบริโภคเขียว” “การบริโภคที่รับผิดชอบต่อสังคม” และ “การบริโภคเปี่ยมส านึก” สุดท้ายก็หมายถึงปรากฎการณ์เดียวกัน (Pecoraro & Uusitalo, 2013)

“การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” (ethical consumption)

2

• ภาวะโลกร้อนและการตักตวงทรัพยากรเกินขนาด : สร้างความเดือดร้อนให้กับคนรุ่นหลัง, ท าลายธรรมชาติ

• การทารุณสัตว์, ใช้สัตว์ในการทดลอง : เบียดเบียนเพื่อนร่วมโลก

• จีเอ็มโอ : สร้างความเสี่ยงที่มีความไม่แน่นอนสูงมากต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม, “เล่นเป็นพระเจ้า”

• การใช้แรงงานเยี่ยงทาส : เอาเปรียบคนจน, ดูหมิ่นศักดิ์ศรีมนุษย์

• ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ : ละเมิดสิทธิมนุษยชน

• ไลฟ์สไตล์แบบ “บริโภคนิยม” : ยอมรับคุณค่าเทียมตามโฆษณา

ตัวอย่างประเด็นกังวลของผู้บริโภค และประเด็นทางจริยธรรม

3

“การใช้บริการและผลิตภัณฑ์ในทางที่ตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐานและปรับปรุงคุณภาพชีวิต ในทางที่ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุอันตรายให้เหลือน้อยที่สุด ลดการปล่อยของเสียและสารพิษตลอดวงจรชีวิตของบริการหรือผลิตภัณฑ์ ในทางที่ไม่คุกคามความต้องการของคนรุ่นหลัง”

- 1994 Oslo Symposium on Sustainable Consumption

นิยาม “การบริโภคที่ยั่งยืน” (Sustainable Consumption)

4

การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Sustainable Consumption & Production: SCP) แยกขาดจากกันไม่ได้

5 ที่มา: UNEP

การบริโภคที่ยั่งยืนใน Sustainable Development Goals (SDG)

ที่มา: Open Working Group proposal for Sustainable Development Goals, 2015

การบริโภคที่ยั่งยืนจ าเป็นต่อการการพัฒนาที่ยั่งยืน แต่บรรลุยาก

• การบริโภคและแรงจูงใจฝั่งอุปสงค์ขาดไม่ได้ส าหรับการสร้างเศรษฐกิจที่ยั่งยืน – ปรับปรุงระดับ Factor 4 (เพิ่มผลิตภาพสองเท่าโดยใช้ทรัพยากรน้อยลงสองเท่า

= เท่ากับมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมสี่เท่า) ถ้าเพียงแต่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

• อย่างไรก็ดี การสร้างอิทธิพลต่อการบริโภคและแรงจูงใจฝั่งอุปสงค์ไม่ใช่เรื่องง่าย – อ านาจ “อธิปไตย” ของผู้บริโภค

– ผู้บริโภคที่เอาแต่ใจ

– การบริโภคแบบท าเป็นนิสัย ไร้การไตร่ตรอง

7

ดุลการตัดสินใจของผู้บริโภค

8

จุดที่ส่งอิทธิพลได้ • การศึกษา • ค่านิยม • การโฆษณา • ศูนย์การค้า

จุดที่ส่งอิทธิพลได้ • ภาษ ี• เงินอุดหนุนไปยัง

ผู้บริโภค

จุดที่ส่งอิทธิพลได้ • นโยบายผลิตภัณฑ ์• เงินอุดหนุนไปยัง

ผลิตภัณฑ ์• การติดฉลาก

ผลิตภัณฑ ์(หาซื้อง่ายหรือไม)่

ความจ าเป็นและความปรารถนา • ปัจจัยส่ี (อาหาร, ที่อยู่อาศัย) • ความต้องการภายนอก • ความต้องการภายใน • ความอยากได้และสิ่งหรูหรา

ราคาของผลิตภัณฑ์ • ต้นทุนการใช ้• ต้นทุนภายนอก

(externalities) • รายได้ของผู้บริโภค

บทเรียนจากขบวนการ “อาหารทะเลที่ยั่งยืน” ในสิงคโปร์

9

Hilton Singapore & MSC certified journey

10

• เลิกเสิร์ฟหูฉลามตั้งแต่เม.ย. 2014

• ม.ค. 2015 ได้ตรารับรอง MSC

• MSC: 6/10 ในเมน,ู ถ้ารวม ASC มี 8 จาก 10 รายการ

• “รสชาติต้องอย่างน้อยเท่าเดิม”

พื้นที่เกษตรอินทรีย์ขยายตัว แต่ตลาดในประเทศยังเล็กมาก

11

ทีม่า: http://www.greennet.or.th/sites/default/files/Thai%20OA%2015.pdf

มูลค่าตลาดอาหารในประเทศ 1.43 ล้านล้านบาท

มูลค่าตลาดสินค้าออร์แกนิกในประเทศ 514 ล้านบาท

“สุขภาพ” : เหตุผลหลักที่ผู้บริโภคไทยซื้ออาหารออร์แกนิก

12 ทีม่า: http://www.greennet.or.th/article/1781

ตัวอย่างแคมเปญรณรงค์ถึงผู้บริโภคในไทย – รังนก & วันแม่

13

ทีม่า: http://pantip.com/topic/32398154 ,

http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000032356

ตัวอย่างแคมเปญรณรงค์ถึงผู้บริโภคในไทย – Carrotmob & Villa

15

ทีม่า: http://www.carrotmob.org/campaigns/2231

ท าความรู้จัก “ป่าสาละ” ที่

www.salforest.com

http://www.facebook.com/SalforestCo

สนใจติดต่อ

info@salforest.com

02 258 7383 บริษัท ป่าสาละ จ ากัด

2 สุขุมวิท 43, คลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

16

top related