ethical consumption and situation in thailand

16
การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม (Ethical Consumption) และสถานการณ์ในไทย สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จากัด 15 มีนาคม 2559

Upload: sal-forest

Post on 26-Jul-2016

224 views

Category:

Documents


6 download

DESCRIPTION

สไลด์ประกอบการนำเสนอ "การบริโภคยึดจริยธรรมและสถานการณ์ในไทย" งานเสวนา Thailand's Ethical and Sustainable Business Forum, จัดโดย Oxfam, ป่าสาละ และ ChangeFusion, 15 มีนาคม 2559

TRANSCRIPT

Page 1: Ethical Consumption and Situation in Thailand

การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม (Ethical Consumption) และสถานการณ์ในไทย

สฤณี อาชวานันทกุล

บริษัท ป่าสาละ จ ากัด

15 มีนาคม 2559

Page 2: Ethical Consumption and Situation in Thailand

• “การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” หมายถึง การพิจารณา ผลกระทบ ของพฤติกรรมการบริโภค รวมเป็นหนึ่งในปัจจัยส าคัญเวลาที่ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการ ไม่ได้ค านึงแต่ราคาและคุณภาพเท่านั้น (Andorfer, 2015)

• แนวคิดอย่าง “การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” “การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” “การบริโภคที่ยั่งยืน” “การบริโภคเขียว” “การบริโภคที่รับผิดชอบต่อสังคม” และ “การบริโภคเปี่ยมส านึก” สุดท้ายก็หมายถึงปรากฎการณ์เดียวกัน (Pecoraro & Uusitalo, 2013)

“การบริโภคเปี่ยมจริยธรรม” (ethical consumption)

2

Page 3: Ethical Consumption and Situation in Thailand

• ภาวะโลกร้อนและการตักตวงทรัพยากรเกินขนาด : สร้างความเดือดร้อนให้กับคนรุ่นหลัง, ท าลายธรรมชาติ

• การทารุณสัตว์, ใช้สัตว์ในการทดลอง : เบียดเบียนเพื่อนร่วมโลก

• จีเอ็มโอ : สร้างความเสี่ยงที่มีความไม่แน่นอนสูงมากต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม, “เล่นเป็นพระเจ้า”

• การใช้แรงงานเยี่ยงทาส : เอาเปรียบคนจน, ดูหมิ่นศักดิ์ศรีมนุษย์

• ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ : ละเมิดสิทธิมนุษยชน

• ไลฟ์สไตล์แบบ “บริโภคนิยม” : ยอมรับคุณค่าเทียมตามโฆษณา

ตัวอย่างประเด็นกังวลของผู้บริโภค และประเด็นทางจริยธรรม

3

Page 4: Ethical Consumption and Situation in Thailand

“การใช้บริการและผลิตภัณฑ์ในทางที่ตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐานและปรับปรุงคุณภาพชีวิต ในทางที่ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและวัสดุอันตรายให้เหลือน้อยที่สุด ลดการปล่อยของเสียและสารพิษตลอดวงจรชีวิตของบริการหรือผลิตภัณฑ์ ในทางที่ไม่คุกคามความต้องการของคนรุ่นหลัง”

- 1994 Oslo Symposium on Sustainable Consumption

นิยาม “การบริโภคที่ยั่งยืน” (Sustainable Consumption)

4

Page 5: Ethical Consumption and Situation in Thailand

การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Sustainable Consumption & Production: SCP) แยกขาดจากกันไม่ได้

5 ที่มา: UNEP

Page 6: Ethical Consumption and Situation in Thailand

การบริโภคที่ยั่งยืนใน Sustainable Development Goals (SDG)

ที่มา: Open Working Group proposal for Sustainable Development Goals, 2015

Page 7: Ethical Consumption and Situation in Thailand

การบริโภคที่ยั่งยืนจ าเป็นต่อการการพัฒนาที่ยั่งยืน แต่บรรลุยาก

• การบริโภคและแรงจูงใจฝั่งอุปสงค์ขาดไม่ได้ส าหรับการสร้างเศรษฐกิจที่ยั่งยืน – ปรับปรุงระดับ Factor 4 (เพิ่มผลิตภาพสองเท่าโดยใช้ทรัพยากรน้อยลงสองเท่า

= เท่ากับมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมสี่เท่า) ถ้าเพียงแต่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

• อย่างไรก็ดี การสร้างอิทธิพลต่อการบริโภคและแรงจูงใจฝั่งอุปสงค์ไม่ใช่เรื่องง่าย – อ านาจ “อธิปไตย” ของผู้บริโภค

– ผู้บริโภคที่เอาแต่ใจ

– การบริโภคแบบท าเป็นนิสัย ไร้การไตร่ตรอง

7

Page 8: Ethical Consumption and Situation in Thailand

ดุลการตัดสินใจของผู้บริโภค

8

จุดที่ส่งอิทธิพลได้ • การศึกษา • ค่านิยม • การโฆษณา • ศูนย์การค้า

จุดที่ส่งอิทธิพลได้ • ภาษ ี• เงินอุดหนุนไปยัง

ผู้บริโภค

จุดที่ส่งอิทธิพลได้ • นโยบายผลิตภัณฑ ์• เงินอุดหนุนไปยัง

ผลิตภัณฑ ์• การติดฉลาก

ผลิตภัณฑ ์(หาซื้อง่ายหรือไม)่

ความจ าเป็นและความปรารถนา • ปัจจัยส่ี (อาหาร, ที่อยู่อาศัย) • ความต้องการภายนอก • ความต้องการภายใน • ความอยากได้และสิ่งหรูหรา

ราคาของผลิตภัณฑ์ • ต้นทุนการใช ้• ต้นทุนภายนอก

(externalities) • รายได้ของผู้บริโภค

Page 9: Ethical Consumption and Situation in Thailand

บทเรียนจากขบวนการ “อาหารทะเลที่ยั่งยืน” ในสิงคโปร์

9

Page 10: Ethical Consumption and Situation in Thailand

Hilton Singapore & MSC certified journey

10

• เลิกเสิร์ฟหูฉลามตั้งแต่เม.ย. 2014

• ม.ค. 2015 ได้ตรารับรอง MSC

• MSC: 6/10 ในเมน,ู ถ้ารวม ASC มี 8 จาก 10 รายการ

• “รสชาติต้องอย่างน้อยเท่าเดิม”

Page 11: Ethical Consumption and Situation in Thailand

พื้นที่เกษตรอินทรีย์ขยายตัว แต่ตลาดในประเทศยังเล็กมาก

11

ทีม่า: http://www.greennet.or.th/sites/default/files/Thai%20OA%2015.pdf

มูลค่าตลาดอาหารในประเทศ 1.43 ล้านล้านบาท

มูลค่าตลาดสินค้าออร์แกนิกในประเทศ 514 ล้านบาท

Page 12: Ethical Consumption and Situation in Thailand

“สุขภาพ” : เหตุผลหลักที่ผู้บริโภคไทยซื้ออาหารออร์แกนิก

12 ทีม่า: http://www.greennet.or.th/article/1781

Page 13: Ethical Consumption and Situation in Thailand

ตัวอย่างแคมเปญรณรงค์ถึงผู้บริโภคในไทย – รังนก & วันแม่

13

ทีม่า: http://pantip.com/topic/32398154 ,

http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000032356

Page 15: Ethical Consumption and Situation in Thailand

ตัวอย่างแคมเปญรณรงค์ถึงผู้บริโภคในไทย – Carrotmob & Villa

15

ทีม่า: http://www.carrotmob.org/campaigns/2231

Page 16: Ethical Consumption and Situation in Thailand

ท าความรู้จัก “ป่าสาละ” ที่

www.salforest.com

http://www.facebook.com/SalforestCo

สนใจติดต่อ

[email protected]

02 258 7383 บริษัท ป่าสาละ จ ากัด

2 สุขุมวิท 43, คลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

16