productivity management in cssd productivity.pdf · น 1...

Post on 05-May-2020

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Productivity Management

in CSSD

ขั้นที่ 1 รวบรวมปริมาณผลผลิต ขั้นที่ 2 วิเคราะห์เวลางานต่อหน่วยผลิต ขั้นที่ 3 บริหารจัดการอัตรากำลัง ขั้นที่ 4 แนวคิดการบริหารจัดการ

ขั้นตอนการบริหารผลิตภาพของบุคลากรประเด็นนำเสนอ

ความหมาย Productivity

INPUT •บุคลากร •วัสดุ อุปกรณ์ •สาธารณูปโภค •อาคาร สิ่งก่อสร้าง ที่ดิน

ต้นทุน กระบวนการผลิต ผลผลิต

PROCESS •กิจกรรม •แผนงาน •โครงการ

OUTPUTS

•สินค้า

•บริการ

ระบบการผลิตสินค้า/บริการ

Best Productivity

คุณภาพการให้บริการ

ประสิทธิภาพกระบวนการ

การเจริญเติบโตที่ยั่งยืน

การเรียนรู้และพัฒนา

“องค์กรประสบผลสัมฤทธิ์ที่ยั่งยืน” “ผู้รับบริการพึงพอใจ”

“ทำในสิ่งที่ถูกต้อง”“ถ้าบุคลากรมีความสามารถ”

ความเชื่อมโยงของ 4 มิติ

บุคลากร ที่เป็นเลิศ

สมรรถนะ ที่เป็นเลิศ

มุ่งผลสัมฤทธิ์ เป็นเลิศ

ผลงาน ที่เป็นเลิศ

Steven R. Covey

รหัส

ชื่อหน่วยผลิต

จำนวนผลิตเฉลี่ย:ปี

จำนวน:เดือนMin Max

ขั้นที่1 รวมรวบปริมาณผลผลิต

ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

1. หน่วยนับผลผลิต Volume

2. เวลาในการผลิต Hour per work unit

3. ขนาดของหน่วยผลิต Acuity

ขั้นที่2 วิเคราะห์เวลางานต่อหน่วยผลิต

1.เวลาในการผลิตโดยตรง Direct hour

2.เวลาในการผลิตทางอ้อม Indirect hour

3.เวลาทำงานสนับสนุนอื่นๆ Non-productive hour

เวลาในการผลิต

เวลาในการผลิตโดยตรง

1. เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้าแต่ละหน่วย 2. เวลาที่ใช้ในก่อนและหลังการผลิต

Total direct hour per work unit = direct hour + Other direct hour

ชุดทำแผล เวลาที่ใช้

(

จำนวนคนที่ทำ

จำนวนครั้งใน

1รวมเวลา(จัดเรียงของ 2 1 1 2

ห่อของ

จัดเรียงลงกล่อง

รวมเวลา

เวลาในการผลิตแต่ละหน่วย

กิจกรรม เวลาที่ใช้(

จำนวนคนที่ทำ

จำนวนครั้งใน

1

รวมเวลา(

เตรียม 2 5 1 10

เตรียมผ้าห่อ

ดูแลบำรุงรักษาตู้อบ

รวมเวลา

Other direct =

เวลาที่ใช้ก่อนและหลังการผลิต

ประกอบด้วย •การประสานงานนอกสถานที่ •ประชุม •อบรม •งานพัฒนาคุณภาพ

เวลาในการผลิตทางอ้อม

กิจกรรม เวลาที่ใช้(

จำนวนคนที่ทำ

จำนวนครั้งใน

1

รวมเวลา(

ประชุมแผนก 2 5 1 10

รวมเวลา

Indirect =

เวลาในการผลิตทางอ้อม

ประกอบด้วย •เบิกของ •ดูแลสต๊อกยา/พัสดุ •ติดต่อตัวแทนขาย/ประกัน •คิดเงิน/เก็บเงิน •ฯลฯ

เวลาทำงานสนับสนุนอื่นๆ

กิจกรรม เวลาที่ใช้(

จำนวนคนที่ทำ

จำนวนครั้งใน

1

รวมเวลา(

โอเคของใช้ 20 1 90 1,800

ลาป่วย

รวมเวลา

Non-productive hour per work unit =

เวลาทำงานสนับสนุนอื่นๆ

เวลารวมทั้งสิ้นต่อหน่วยผลิต

Direct hour:unit = ..... Other direct average:unit = ..... Indirect hour average:unit = ..... Non-productive hour ave. = ..... รวมเวลาต่อหน่วยผลิต = ...... (Total hour per work unit)

กิจกรรม เวลา(

เวลาต่อหน่วย (นาที)

รวมเวลา(

Direct hr. : unit 20 20

Other direct hr. : month 500x60 30,000 6

Indirect hr. : month 250x60 15,000 3

Non productive hr. :m 750x60 45,000 9

รวมเวลา 38

ตัวอย่าง:หน่วยผลิต5,000:เดือน

หน่วยผลิต เวลา:set (min)

ใหญ่ 40

กลาง 30

เล็ก 20

ขนาดของหน่วยผลิตจำแนกตามเวลาผลิต

•ปริมาณงาน •จำนวนอัตรากำลัง •สัดส่วนบุคลากร

•จัดอัตรากำลังให้เพียงพอ •กระบวนการให้บริการที่ได้มาตรฐาน •กระบวนการติดตามประเมินและพัฒนา

•คุณภาพการบริการ •ความปลอดภัย •ความพึงพอใจ •ความคุ้มค่า-คุ้มทุน

INPUT PROCESS OUTPUTขั้นที่3 บริหารจัดการอัตรากำลัง

ขั้นตอนการบริหารจัดการอัตรากำลัง• วิเคราะห์ปริมาณงาน

Workload analysis • วิเคราะห์อัตรากำลัง

Staffing analysis • วางแผนอัตรากำลังของหน่วยงาน

Staffing plan • วิเคราะห์ผลิตภาพของงาน

Productivity analysis • วิเคราะห์ต้นทุนบุคลากร

Labor cost

ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

1. อัตรากำลังเทียบเท่าพนักงานประจำ Full time equivalent-FTE.

2. สัดส่วนของบุคลากร Staff mix

3. ผลิตภาพทางการพยาบาล Nursing productivity

4. ต้นทุนบุคลากรทางการพยาบาล Nursing labor cost

อัตรากำลังเทียบเท่าพนักงานประจำ (Full Time Equivalent-FTEs) พนักงานประจำ 1 คนทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน 5 วันต่อสัปดาห์ 52 สัปดาห์ต่อปี รวม 260 วัน หักพักร้อน 10 วัน หยุดพิเศษ 13 วัน ทำงานจริง 237 วัน หรือ 1,659 ชม./ปี 138 ชม./เดือน หรือ 20 วัน/เดือน

ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

หน่วยผลิต จำนวน:ด. #1

เวลา:set #2 (min)

รวมเวลา 1x2

ใหญ่ 200 40 8,000

กลาง 500 30 15,000

เล็ก 800 20 16,000

ชม. ที่ต้องการ:ด

39,000/60 650 ชม.

การวางแผนอัตรากำลัง

การวางแผนอัตรากำลัง

จำนวนชม. ที่ต้องการ =650x12 ต่อปี

=7,800 ต่อปี

1FTE ทำงาน =1,659 ต่อปี

จำนวนคนที่ต้องการ =7,800หาร 1,659 =4.7FTE

Staff-mix RN:NA 10:90 RN=0.7 NA=4

•ค่าจ้าง เงินเดือน •ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร •สวัสดิการรักษาพยาบาล พักร้อน ลาทุกประเภท •ค่าประกัน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บำเหน็จ บำนาญ

ต้นทุนด้านบุคลากร

ดัชนีชี้วัดผลลัพธ์การบริหารจัดการอัตรากำลัง

1 ผลลัพธ์เชิงโครงสร้าง • สัดส่วนของบุคลากรประเภทต่างๆ

(Staff mix) • เวลาต่อหน่วยผลิต • (Hour per work unit) • ต้นทุนค่าบุคลากรต่อหน่วยผลิต

(Labor cost per work unit)

2 ผลลัพธ์เชิงกระบวนการ • อัตราผลิตภาพทางการพยาบาล (Nursing productivity)

ดัชนีชี้วัดผลลัพธ์การบริหารจัดการอัตรากำลัง

ขั้นที่4 แนวคิดการบริหารจัดการผลิตภาพ

1. เพิ่มผลผลิต

Volume Growth 2. ลดต้นทุน

Lower Cost

Human Resources Management

การบริหารจัดการบุคลากร

Business Strategy

Business Results

ผลิตภาพของบุคลากร

จำนวนชม. ที่ต้องการ =650 ต่อเดือน

จำนวนชม. ที่ทำจริง =450 ต่อเดือน

Productivity rate =650x100 450 =144.4%

PRODUCTIVITY TARGET = 95-105%

ผลิตภาพต่ำ (<95%) หมายความว่า •มีจำนวนเจ้าหน้ที่มากเกินไป •ค่าจ้างบุคลากรสูง •คุณภาพงานไม่ได้มาตรฐาน •ความคิดสร้างสรรค์น้อย

ผลิตภาพสูง (>105%) หมายความว่า •จำนวนเจ้าหน้าที่น้อยเกินไป •ค่าจ้างบุคลากรน้อย •คุณภาพไม่ได้มาตรฐาน •ความเสี่ยงสูง •เจ้าหน้าที่ขาดขวัญและกำลังใจ

ถ้าผลิตภาพของบุคลากรสูง

Productivity = Hour needed Hour actual = 650x100 450 = 144.4%

ทำอย่างไรถ้าขาดกำลังคน

แนวคิดที่ 1 เพิ่มจำนวนบุคลากร แนวคิดที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการ การจัดการ

แนวคิดที่ 1 เพิ่มจำนวนบุคลากร

Productivity = Hour needed Hour actual = 650 550 = 118.18%

แนวคิดที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ

Productivity = Hour needed Hour actual = 550 450 = 122.22%

กิจกรรม เวลา(

เวลาต่อหน่วย (นาที)

รวมเวลา(

Direct hr. : unit 20 20

Other direct hr. : month 500x60 30,000 6

Indirect hr. : month 250x60 15,000 3

Non productive hr. :m 750x60 45,000 9

รวมเวลา 38

ตัวอย่าง:หน่วยผลิต5,000:เดือน

วิธีเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ

• ลดภาระงานที่ไม่ใช่งานหลักลง • ออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร

Best Productivity

top related