quality management ppt11

Post on 10-Mar-2015

173 Views

Category:

Documents

3 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Total Quality Management (TQM)การบริหารคุณภาพโดยรวม

TQM = Total Quality Management

●T = Total หมายถึง ทุกคน ทุกระดับ ทุกงาน ทุกเวลา●Q = Quality

หมายถึง คุณภาพของงานหรือการบริการ●M = Management

หมายถึง การบริหารหรือวิธีการจัดการ

ซึงก็คือ การบริหารคุณภาพโดยรวม หรือการบริหารคุณภาพทัวทังองค์กร นันเอง

TQM = Total Quality Management

หมายถึง : การบริหารหรือวิธีการจัดการที่จะใหไดมาซึ่งงานหรือบริการที่มีคุณภาพ ดวยการรวมมือรวมใจกันของทุกคน ทุกระดับ (เปนการบริหารที่ไมมีวิธีการที่เปนสูตรสําเร็จ)

ตอบสนองต่อความต้องการข

องลูกค้าทีดีกว่า

จัดระบบบริหารให้มีประสิทธิภา

พมากขึน

●การดําเนินโครงการ TQM เปรียบเสมือนกับการสร้างบ้านคุณภาพ บ้านทีแข็งแรงย่อมต้องมีเสาทีมาค้ํายันตัวบ้านไว้ ซึงคือกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการนันเอง

●TQM ก็เปรียบเสมือนกับเสาของบ้าน ยิงมีเสาทีแข็งแรงมาค้ํายันตัวบ้านไว้มากเท่าไร บ้านก็ยิงแข็งแรงมากขึนเท่านัน

เป้าหมายหน่วยงาน

คุณภาพ(QUALITY)

5ส

อื่นๆ

คิวที(QT)

ขอเสนอแนะ(SS)

คิวซี

(QC)

ISO

การฝึกอบรมให้ความรู้เกียวกับหลักการและกิจกรรมต่าง ๆ

ของ TQMเพือนําไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรม 5 ส ○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองการจัดเก็บเอกสาร

วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพืออํานวยความสะดวกให้เกิดความปลอดภัย

○ คุณภาพ และประสิทธิภาพในการทํางาน และทีสําคัญคือ ทําให้เกิดการสร้างลักษณะนิสัยทีดี

○ ความสามัคคี และความมีวินัยในการทํางาน ○ พืนฐานทีจะทําให้บรรลุผลในการพัฒนาคุณภ

าพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)

ความหมายของ 5 ส

5 ส คือ เทคนิคหรือวิธีการจัดหรือปรับปรุงสถานที่ทํางาน หรือสภาพการทํางานใหเกิดความสะดวก ความเปนระเบียบเรียบรอย สะอาด เพื่อเอื้ออํานวยใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางาน เพิ่มความปลอดภัยและคุณภาพของงานสูงขึ้น

การจัดวางของทีจําเป็นในการทํางานให้เป็นระบบระเบียบ และง่ายหรือสะดวกในการนําไปใช้งาน

2.SEITON (เซตง) = สะดวก

การสํารวจและแยกให้ชัดเจนว่าของสิงใดจําเป็น และสิงใดไม่จําเป็นในการใช้งาน แล้วขจัดของทีไม่จําเป็นออกไปจากพืนทีรับผิดชอบ

1. SEIRI (เซริ) = สะสางความหมาย 5 ส

การปฏิบัติอย่างต่อเนืองจนเกิดจิตสํานึกหรือเกิดความเคยชินเป็นนิสัย

5. SHITSUKE (ชิทซึเคะ) = สร้างนิสัย

การรักษาและปรับปรุงการปฏิบัติ 3 ส แรก โดยกําหนดเป็นมาตรฐานและปฏิบัติให้ดียิงขึน และรักษาให้ดีตลอดไป

4. SEIKETSU (เซเคทซึ) = สุขลักษณะ

การดูแลรักษาหรือปัดกวาดเช็ดถูทําความสะอาดสถานที โต๊ะทํางานอุปกรณ์ เครืองมือเครืองใช้ ให้สะอาดและพร้อมในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ

3.SEISO (เซโซ) = สะอาด

ความหมาย 5 ส

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมทีมคุณภาพ (QT) ○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองการแก้ปัญหา

การปรับปรุงงานและการพัฒนางานใน○ ระดับของผู้บังคับบัญชา

ปัญหาทีนํามาดําเนินการฯ จะเป็นปัญหาใหญ่ ๆ ในระดับของผู้บริหาร

○ การแก้ปัญหาของทีมจะเป็นการแก้ปัญหาแบบเป็นวิทยาศาสตร์ คือมีเหตุมีผล

○ มีการเก็บข้อมูลตัวเลข กราฟ สถิติต่างๆเพือเปรียบเทียบก่อน/หลังการแก้ปัญหา

ขันตอนการดําเนินกิจกรรม TQMอบรม TQM. WORKSHOPจัดตังทีม /

คัดเลือกปัญหาขึนมาปรับปรุงโดยดําเนินการในลักษณะของโค

รงการเล็กๆจดทะเบียนดําเนินโครงการฯ

ดําเนินโครงการฯติดตามผลการดําเนินโครงการฯ เป็นระยะ ๆ

โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการQT.Clinic

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมคิวซี (QC) ○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองของการปรับป

รุงงานในระดับผู้ปฏิบัติ โดยการจัดตังเป็นทีมขึนมาตามลักษณะของงาน เช่น ทีมของงานธุรการ ทีมของงานคดี ทีมสถานแรกรับฯ

○ ขันตอนการดําเนินกิจกรรม QC ดําเนินการเช่นเดียวกับกิจกรรม QT ต่างกันเพียงทีม QT เป็นทีมของผู้บังคับบัญชา ปัญหาทีนํามาดําเนินการ เป็นปัญหาในระดับของหน่วยงาน ส่วนทีม QC เป็นทีมของผู้ปฏิบัติ ปัญหาทีนํามาดําเนินการ เป็นปัญหาหน้างานหรือของฝ่าย

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมข้อเสนอแนะ (SS)○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองของค

วามคิดริเริมสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาและปรับปรุง

○งาน เป็นการปรับปรุงงานในระดับผู้ปฏิบัติ โดยผู้ปฏิบัติงานในแต่ละฝ่ายสามารถเสนอแนะการ

○ปรับปรุงงานของฝ่ายอืนได้

ขันตอนการดําเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในลักษณะที่ไมมีแนวทางแ

กไข เปนการตําหนิผูอื่น บัตรสนเทหหรือเปนการเปลี่ยนโยบาย

ฯลฯ ไมถือเปนขอเสนอแ

นะ

ตังคณะกรรมการข้อเสนอแนะ

เจ้าหน้าทีเสนอความคิดโดยกรอกแบบฟอร์มตามทีจัดไว้ให้

นําไปใส่กล่องรับข้อเสนอแนะคณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอแนะเพือแย

กเรืองเข้าหลักเกณฑ์ = ให้รางวัล /

ไม่เข้าหลักเกณฑ์ = แจ้งกลับ/ขอบคุณ นําข้อเสนอแนะทีเข้าหลักเกณฑ์ให้หน่วยงา

นทีเกียวข้องไปปฏิบัติ ปฏิบัติได้ผล = ให้รางวัลปฏิบัติไม่ได้ผล =

แจ้งกลับ/ขอบคุณ

กิจกรรมของโครงการ TQM ●กิจกรรม ISO

○ เป็นกิจกรรมทีเน้นการปฏิบัติตามข้อกําหนดทีเป็นมาตรฐานสากล มีการจัดทําแผนภูมิขันตอนการทํางาน และคู่มือการปฏิบัติงานหรือคู่มือคุณภาพตามหลักวิชาการ การจัดเก็บและควบคุมเอกสาร มีการตรวจประเมินผลโดยบุคคลภายนอกเพือการรักษาคุณภาพ และมีการออกใบรับรองเพือประกันคุณภาพ

○ นิยมจัดทํากันในวงการเอกชน เพือประโยชน์ทางธุรกิจ ในวงการราชการเริมนิยมนํามาใช้ จากโครงการของสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมทีให้ส่วนราชการคัดเลือกหน่วยงานเข้าร่วมโครงการ หน่วยงานละ 1 กรม

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมอืน ๆ ○บางหน่วยงานจะมีการดําเนินกิจกรร

มอืน ๆ ด้วย เช่น■ JIT (Just In Time)■ RE-ENGINEERING■ ฯลฯ

การแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงานอย่างเป็นระบบ

ผมคิดว่า พวกเราช่วยกันแก้ไขได้

ตกลง ค่ะ

ความรู้ทัวไปเกียวกับปัญหา

● ปญหาคืออะไร● การปรับปรุง คืออะไร● ความสัมพันธระหวางปญหากับการปรับปรุง

+ ปรับปรุ

ง- ปญหา

มาตรฐาน/ความคาดหวัง

0

ธรรมชาติมนุษย์ทีเกียวกับปัญหาและความสําคัญของปัญหา

● มนุษยตองเผชิญกับปญหาตลอดเวลา● คนที่คิดวาตนเองไมมีปญหา อาจเปนเพราะ

- ไมเขาใจความหมาย- ไมยอมรับปญหา- อดทนสูง● ผลดีผลเสียของปญหา

กระบวนการทํากิจกรรม เพือการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงา

น● ตังกลุ่ม● ค้นหาปัญหา● คัดเลือกปัญหา● วางแผน/กําหนด

วิธีแก้ปัญหา● ลงมือแก้ปัญหา● ตรวจสอบผล● ตังมาตรฐานการ

ทํางาน● ทํากิจกรรมใหม่ต่

อไป

● ชือกลุ่ม..........................................(เอกลักษณ ศูนยรวม จํางาย สื่อความหมายในทางที่ดี)

● คําขวัญ..........................................(จูงใจ สะทอนอุดมการณ จําจาย สื่อความหมายในทางที่ดี)

● จํานวนสมาชิก....................................................…คน(3-10)

หน.กลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

เลขนุการกลุ่ม

รอง หน.กลุ่ม

ทีปรึกษา

ผู้ประสานงาน

คุณสมบัติ(เฉลีย)

1. การศึกษา2. อายุ....…ปี3. ประสบการณ์

ทํางาน.....…ปีประจําหน่วยงาน..........................................(ประเมินขอบเขตกิจกรรม ระบุหน่วยงานจะทะเบียนกลุ่มเมือ....................................(การจัดการและระเบียบ ใช้แบบฟอร์มทีกําหนด

ตังกลุ่ม

เริมทํากิจกรรม●ค้นหาปัญหา

ขณะนีเรามีปัญหาอะไรบ้าง

●ลักษณะปัญหา○ เป็นปัญหาทีเกียวข้องกับงาน○ เป็นปัญหาทีสามารถแก้ไขได้ส่วนใหญ่

โดยสมาชิกของกลุ่มเอง○ เป็นปัญหาทีเกียวข้องหรือเป็นความต้องการข

องสมาชิกส่วนใหญ่○ เป็นปัญหาทีสมาชิกได้ประโยชน์

เทคนิคการค้นหาปัญหา

● มีจิตสํานึกถึงปญหา● รูและเขาใจวาปญหา

คืออะไร● เชื่อมั่นในตัวเอง● มีความพยายามในกา

รคนหาปญหา

● ขวนขวายความรู● ทะเยอทะยานที่จะป

รับปรุงหรือพัฒนา● ใชขอมูลใหเปนประ

โยชน● ตั้งคําถามเพื่อคนหา

ปญหา

● เปรียบเทียบสิงทีเกิดขึนกับสิงทีคาดหวัง● ใชหลัก 5w + 1H (What, When, Where,

Why, Who, How)● ประชุมระดมสมอง● เฝ้าสังเกต หรือตรวจสอบวิธีการทํางาน● ใช้เครืองมือการวิเคราะห์ปัญหาทีสูงขึน● สอบถามจากผู้มีประสบการณ์

เทคนิคการค้นหาปัญหา

วิธีเลือกปัญหาทีสําคัญมาแก้ไข

ปัจจัยในการพิจารณา

ความเป็นไปได้

ความรุนแรง

ความถี

จัดลําดับความสําคัญของปัญหา

432143214321

คะแนน

ความถี่ความรุนแรงความเปนไปได

รายชื่อปญหา

การแก้ไขปัญหาหลักธรรมะ อริยสัจ 4● ทุกข

● สมุทัย

● นิโรธ

● มรรค

หลักการแกไขปญหาโดยทั่วไป● ปญหา

● สาเหตุของปญหา

● การตั้งเปาหมายเพื่อการปฏิบัติในการแกไขปญหา

● วิธีการแกไขปญหาและปองกันปญหาที่สามารถบรรลุตามเปาหมาย

● เพื่อใชเปนเครื่องกําหนดเปาหมายใหเหมาะสม และเปนขอมูลพื้นฐานเปรียบเทียบกับขอมูลหลังแกปญหา

● ขอมูลอาจเก็บในเชิงคุณภาพ หรือเชิงปริมาณ● ขอมูลที่ดีตองถูกตอง สมบูรณ แมนยํา แนนอน

นาเชื่อถือ ตรงวัตถุประสงคและมีรายละเอียดของขอมูล

สํารวจสภาพปัญหาก่อนแก้ปัญหา

มีเป้าหมาย เพือ● เห็นทิศทางของกา

รดําเนินการ● เพิมสู่ความสําเร็จแ

รงจูงใจและผลักดัน

● ประเมินผลการดําเนินการ

ลักษณะเป้าหมายทีดี● เกียวข้องและสอด

คล้องกับปัญหา● เป็นข้อความทีวัดผ

ลได้ ซึงอาจเป็นตัวเลข เปอร์เซ็นต์ ฯ

● ระบุขอบเขตแน่ชัดและกระชับ

● มีตัวเลขแสดงผล● มีระยะเวลากําหนด

การกําหนดเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา

เทคนิคการวิเคราะห์/ค้นหาสาเหตุของปัญหา

● ใช้เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming)

● ใช้เทคนิค 5w + H เพือวิเคราะห์ปัญหา● ใช้เทคนิคแผนภูมิก้างปลา

เทคนิคและวิธีการแก้ไขปัญหา

● เลือกสาเหตุที่เปนจริงและมีความสัมพันธกับปญหามากที่สุดมาแกไข

● เลือกวิธีที่จะใหผลประโยชนมากที่สุดและเสียทรัพยากรนอยที่สุด

● ความเปนไปไดในทางปฏิบัติ● คุมคาการลงทุนหรือไม● จํานวนวิธีการแกไขปญหาที่จะเลือกขึ้นกับเปาห

มายที่วางไว● การแกสาเหตุของปญหาหนึ่งที่อาจสงผลกระท

บไปอีกสาเหตุหนึ่ง● คํานึงถึงผลกระทบทางออมในดานลบ

วิธีการประเมินผลการแก้ไขปัญหา

● ประเมินทรัพยากรที่ไดใชในการแกไขปญหา(Input)

● ประเมินผลในตัวกระบวนการแกไขปญหา(Process)

● ประเมินประสิทธิผลหลังแกไขปญหา(Output)

วิธีการป้องกันปัญหาและปรับปรุงให้ดีขึน

● ตั้งมาตรการปองกันปญหา- เพื่อปองกันปญหาไมใหเกิดขึ้นอีก- ผูปฏิบัติตองปฏิบัติตามมาตรการนี้อยางตอเนื่องจริงจัง● ติดตามผลโดยการเก็บขอมูลเปนระยะๆ

- ดูแนวโนม ถาเลวลง เกิดจากอะไร- ปรับปรุงใหดีขึ้น โดยเพิ่มเปาหมายใหสูงขึ้น

การวินิจฉัย TQM (TQM Diagnosis)

วัตถุประสงค์● ติดตามและประเมินผลนโยบาย● เพือวินิจฉัยผลสําเร็จ หรือไม่สําเร็จ● เพือให้คําแนะนํา● เพือกระตุ้นและเป็นกําลังใจแก่ผู้ปฏิบัติ● เพือการให้การศึกษาแก่ Top

Management● ให้ผู้บริหารรู้จักความรับผิดชอบในหน้าทีข

องตน

ขันตอนของ TQM Diagnosis

1. วางแผน● แจ้งวัตถุประสงค์ของการ Diagnosis● ทําตารางกําหนดการ Diagnosis ● กําหนด Team● ทํารายงาน● ติดตามผล

2. ลงมือปฏิบัติตามแผนทีกําหนด

3. ตรวจสอบผลการปฏิบัติการDiagnosis

4. ปรับปรุงแก้ไข

รักษาไวเปนมาตรฐาน

ขันตอนของ TQM Diagnosis

สรุปขันตอนการดําเนินโครงการTQM

ด้วยทีมคุณภาพ(QT)●สํารวจสภาพปัญหา/ข้อมูลก่อนแก้ไข

ปัญหา/ปรับปรุง●นําผลการสํารวจไปจัดลําดับความสําคั

ญและลงกราฟพาเรโต●จัดทํา PDCA●สํารวจสภาพปัญหาหลังทํา●นําผลการสํารวจไปลงกราฟพาเรโต●ทําตารางเปรียบเทียบกราฟพาเรโตก่

อนทําและหลังทํา●กําหนดมาตรฐานใหม่

ตัวอย่างขันตอนการดําเนินโครงการ TQM

ด้วยทีมคุณภาพ (QT)

ค้นหาปัญหา/ปรับปรุง 1. ค่าไฟฟ้าสูง2. มีการร้องเรียนในการให้บ

ริการ3. ...............4. ..................5. ....................

จัดลําดับความสําคัญของปญหา/ปรับปรุง

12///2. มีการรอง เรียนฯ

32///1.คาไฟฟาสูง

432143214321

คะแนน

ความถี่ความรุนแรงความเปนไปได

หัวขอปญหา/ปรับ ปรุงงาน

ชือทีม.................คําขวัญ...............................จํานวนสมาชิก................... คน

ฝายบริหารรองหัวหนาทีม2. น.ส. ข

กลุมงานคดีหัวหนา1. นาย ก

หน่วยงานในสังกัด

ตําแหน่งในทีมชือ - นามสกุล

ตังทีม

ทีปรึกษาทีม.............ผู้ประสานงานทีม...................

ชื่อโครงการ : ลดคาไฟฟา

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ลดคาใชจายของหนวยงาน2. รูจักการทํางานเปนทีมและมีการแกไขปญหาอย

างเปนระบบ

สํารวจสภาพ(ขอมูล)กอนแกไขปญหา/ปรับปรุงใบตรวจสอบข้อมูลก่อนแก้ไ

ขปัญหา/ปรับปรุงข้อมูล ....ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า........................วันที .......1 ม.ค. – 30 เม.ย.50จํานวนทีตรวจ .....4 เดือน... ผู้ตรวจ........คุณ.............แหล่งทีมาของข้อมูล ..........สมุดบันทึกค่าใช้จ่ายของการเงิน.................

7,075 บาทเฉลี่ยเดือนละ

28,300 บาท/4 เดือนรวม

7,500 บาทเมษายน 507,200 บาทมีนาคม 50

7,000 บาทกุมภาพันธ 506,600 บาทมกราคม 50

ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าเดือน/พ.ศ.

นําเสนอขอมูล(กอนแกไขปญหา/ปรับปรุง)

ดวยกราฟ

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ค่าเฉลีย 7,075 บาท

เม.ย.50มี.ค.50ก.พ.50ม.ค.50

**

* *8,000

กําหนดเปาหมาย

เปาหมาย1. ลดคาใชจายเฉลี่ยตอเดือนลงเหลือไมเกิน

5,500 บาท/เดือน 2. ระยะเวลา........ 7 เดือน

กําหนดแผนปฏิบัติการ

แกไขปรับปรุง(Action)และตั้งมาตรฐานการทํางาน

ตรวจสอบผล(Check)

ลงมือแกไขปญหา(Do)

วางแผน(Plan)

10

987654321ระยะเวลา/เดือน แผนการปฏิบัติ

วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา/ปรับปรุง

แผนภูมิก้างปลา

ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าสูง

วิธีการ บุคลากร

อุปกรณ์

ใช้เครือง

ปรับอากาศ

ไม่เหมาะสม ตังอุณ

หภูมิต่ํา

เปิดไฟทิงไว้เมือไปประชุม

ไม่มีการประชาสัมพันธ์

มีอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายอย่างในห้อง

ขาดการเตือน

เครืองปรับอากาศ

สกปรก

หลอดไฟสว่างเกินไป

สวิทช์รวม

ตารางปฏิบัติเพื่อแกไขปญหา/ปรับปรุง

2. ......

ดีมากมีการปิดเครืองตามทีกําหนด

30 พ.ค.50

1 พ.ค.50

คุณ.....

กําหนดให้มีการปิดเครืองในเวลาพักเทียง

ไม่มีการพักเครือง

1. การใช้เครือง ปรับอากาศไม่เหมาะสม

สิ้นสุดเริ่มตน

ผลวัน/เดือน/ปผูรับผิดชอ

วิธีการแกไขปญหา/ปรับป

รุง

สาเหตุปญหา

สํารวจสภาพ(ขอมูล)หลังแกไขปญหา/ปรับปรุงใบตรวจสอบข้อมูลหลังแก้ไข

ปัญหา/ปรับปรุงข้อมูล ....ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า........................วันที .......1มิ.ย. 50 – 30 ก.ย. 50จํานวนทีตรวจ .....4 เดือน... ผู้ตรวจ........คุณ.............แหล่งทีมาของข้อมูล ..........สมุดบันทึกค่าใช้จ่ายของการเงิน.................

5,625 บาทเฉลี่ยเดือนละ

22,500 บาท/4 เดือนรวม

5,000 บาทกันยายน 505,000 บาทสิงหาคม 50

5,700 บาทกรกฎาคม 506,800 บาทมิถุนายน 50

ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าเดือน/พ.ศ.

นําเสนอขอมูล(หลังแกไขปญหา/ปรับปรุง)

ดวยกราฟ

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ค่าเฉลีย 5,625 บาท

ก.ย.50ส.ค.50ก.ค.50มิ.ย 50

*

**

*

เปรียบเทียบผลก่อนและหลังการแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ค่าเฉลีย 7,075 บาท

เม.ย.50มี.ค.50ก.พ.50ม.ค.50

**

* *8,000

ค่าเฉลีย 5,625 บาท

**

* *

ตังมาตรฐาน

มาตรฐาน..... ลดคาใชจายกระแสไฟฟา........1. ฝายบริหารดําเนินการสรุปยอดคาใชจายกระแส

ไฟฟาและติดยอดคาใชจายเพื่อใหเจาหนาที่รับทราบไวที่บอรดทุกสิ้นเดือน

2. กําหนดใหผูรับผิดชอบในการปด-เปดเครื่องปรับอากาศ โดย

- เปดเครื่องเวลา 09.00 น.- ปดเครื่องเวลา 12.00 นฺ- 13.00 น. และ 16.00 น.- ตั้งอุณหภูมิไวที่ 26 องศา

แผนการติดตามผล

● ทีมมอบหมายใหฝายบริหารงานทั่วไป เก็บรวบรวมขอมูลคาใชจายกระแสไฟฟาเปนประจําทุกเดือน ถาพบวาคาใชจายมากกวา5,625 บาท/เดือน ทีมจะวิเคราะหหาสาเหตุและแกไขตอไป

สรุปผล● ผลทางตรง

บรรลุผลตามเปาหมาย ลดลงเฉลี่ย 975 บาท/เดือน

เหลือไมเกิน 6,600 บาท

คาใชจายกระแสไฟฟาเฉลี่ย5,625 บาท

คาใชจายกระแสไฟฟาเฉลี่ย7,075 บาท

ผลการปรับปรุง

เป้าหมายหลังแก้ไขปัญหา/ปรับ

ปรุง

ก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับ

ปรุง

● ผลทางอ้อม1. พนักงานตระหนักถึงความสําคัญของการประหยัดพลังงานมากขึน

2. ทีมงานได้รับคําชมเชยจากผู้บริหารทีสามารถช่วยลดค่าใช้จ่าย

อุปสรรคและแนวทางแก้ไข

ปญหา● หาเวลาในการประชุมคอนขางลําบาก

วิธีแกไข● ใชเวลาในชวงเย็นหลังงานประจํามาประชุม

แผนงานในอนาคต

● ชือโครงการต่อไป............................● เหตุผล............................

บทสรุป TQM● เป้าหมายของ TQM คือ การแก้ปัญหา

ถ้าแก้ไขปัญหาไม่ได้ไม่เรียกว่าเป็นกิจกรรม TQM

● สิงทีต้องปฏิบัติอย่างน้อยทีสุด 5 ประการ เพือการแก้ปัญหา

รวบรวมสารสนเทศ (ข้อมูล) ทีตรงตามวัตถุประสงค์จําแนกข้อมูลจัดทํากราฟ / แผนภูมิวิเคระห์ปัจจัยวางแผน และลงมือปฏิบัติ● การเลือกหัวข้อปัญหา

ให้เลือกหัวข้อทีเห็นผลชัดเจน

บทสรุป TQM ( ต่อ )

● การแยกแยะหัวข้อการปรับปรุง แยกสิงทีทําได้ทันทีและสิงทีทําไม่ได้ทันที แบ่งส่วนการรับผิดชอบให้ชัดเจน มิฉะนันจะไม่มีการปฏิบัติ

● ผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ต้องให้คําแนะนํา สนับสนุนกิจกรรมของลูกน้อง

● หากผลลัพธ์ของการทํากิจกรรมแก้ปัญหา ออกมาไม่ดีพอ ต้องยอมรับอย่างตรงไปตรงมา เพือปรับปรุงต่อไป

● ท้ายทีสุดก็คือ ตัวอย่างความผิดพลาด หรือผลสําเร็จทีเกิดขึน จากการทํา กิจกรรมและได้รวบรวมไว้ จะเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของหน่วยงาน ซึง คุณภาพของงานจะสูงขึนตามมา

Leadership

Information

& AnalysisStrategy Deployme

ntHR Focus

ProcessManagement

Customer &Market Focus

BusinessResults

Enablers Achievement

Total Quality Management

Organizational Profile:Environment, Relationships, and Challenges

4Information, Analysis, and Knowledge Management

1Leadership

2StrategicPlanning

3Customer&

Market Focus

5Human

Resource Focus

6Process

Management

7Business Results

Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework

Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm

บูรณาการเครืองมือและโครงการต่าง ๆ

ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and

Projects)

การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)

1ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการ

ปรับปรุง

2

สร้างแผนปรับปรุง3ดําเนินการปรับปรุง4

ประโยชน์ต่อส่วนราชการ

6.

การจัดการ

กระบวนการ

5.

การมุ่งเน้นทรัพยากร

บุคคล

4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

3.

การให้ความสําคัญ

กับผู้รับบริการและ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1.

การนําองค์กร

2.

การวางแผน

เชิงยุทธศาสตร์

ลักษณะสําคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์

และความท้าทาย

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

7.

ผลลัพธ์การดําเนิ

นการ

ด้วยจิตคารวะQ & A

top related