quality management ppt11

64
Total Quality Management (TQM) การบริหารคุณภาพโดยรวม

Upload: -

Post on 10-Mar-2015

173 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: Quality Management Ppt11

Total Quality Management (TQM)การบริหารคุณภาพโดยรวม

Page 2: Quality Management Ppt11

TQM = Total Quality Management

●T = Total หมายถึง ทุกคน ทุกระดับ ทุกงาน ทุกเวลา●Q = Quality

หมายถึง คุณภาพของงานหรือการบริการ●M = Management

หมายถึง การบริหารหรือวิธีการจัดการ

ซึงก็คือ การบริหารคุณภาพโดยรวม หรือการบริหารคุณภาพทัวทังองค์กร นันเอง

Page 3: Quality Management Ppt11

TQM = Total Quality Management

หมายถึง : การบริหารหรือวิธีการจัดการที่จะใหไดมาซึ่งงานหรือบริการที่มีคุณภาพ ดวยการรวมมือรวมใจกันของทุกคน ทุกระดับ (เปนการบริหารที่ไมมีวิธีการที่เปนสูตรสําเร็จ)

ตอบสนองต่อความต้องการข

องลูกค้าทีดีกว่า

จัดระบบบริหารให้มีประสิทธิภา

พมากขึน

Page 4: Quality Management Ppt11

●การดําเนินโครงการ TQM เปรียบเสมือนกับการสร้างบ้านคุณภาพ บ้านทีแข็งแรงย่อมต้องมีเสาทีมาค้ํายันตัวบ้านไว้ ซึงคือกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการนันเอง

●TQM ก็เปรียบเสมือนกับเสาของบ้าน ยิงมีเสาทีแข็งแรงมาค้ํายันตัวบ้านไว้มากเท่าไร บ้านก็ยิงแข็งแรงมากขึนเท่านัน

Page 5: Quality Management Ppt11

เป้าหมายหน่วยงาน

คุณภาพ(QUALITY)

5ส

อื่นๆ

คิวที(QT)

ขอเสนอแนะ(SS)

คิวซี

(QC)

ISO

การฝึกอบรมให้ความรู้เกียวกับหลักการและกิจกรรมต่าง ๆ

ของ TQMเพือนําไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

Page 6: Quality Management Ppt11

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรม 5 ส ○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองการจัดเก็บเอกสาร

วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพืออํานวยความสะดวกให้เกิดความปลอดภัย

○ คุณภาพ และประสิทธิภาพในการทํางาน และทีสําคัญคือ ทําให้เกิดการสร้างลักษณะนิสัยทีดี

○ ความสามัคคี และความมีวินัยในการทํางาน ○ พืนฐานทีจะทําให้บรรลุผลในการพัฒนาคุณภ

าพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)

Page 7: Quality Management Ppt11

ความหมายของ 5 ส

5 ส คือ เทคนิคหรือวิธีการจัดหรือปรับปรุงสถานที่ทํางาน หรือสภาพการทํางานใหเกิดความสะดวก ความเปนระเบียบเรียบรอย สะอาด เพื่อเอื้ออํานวยใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางาน เพิ่มความปลอดภัยและคุณภาพของงานสูงขึ้น

Page 8: Quality Management Ppt11

การจัดวางของทีจําเป็นในการทํางานให้เป็นระบบระเบียบ และง่ายหรือสะดวกในการนําไปใช้งาน

2.SEITON (เซตง) = สะดวก

การสํารวจและแยกให้ชัดเจนว่าของสิงใดจําเป็น และสิงใดไม่จําเป็นในการใช้งาน แล้วขจัดของทีไม่จําเป็นออกไปจากพืนทีรับผิดชอบ

1. SEIRI (เซริ) = สะสางความหมาย 5 ส

Page 9: Quality Management Ppt11

การปฏิบัติอย่างต่อเนืองจนเกิดจิตสํานึกหรือเกิดความเคยชินเป็นนิสัย

5. SHITSUKE (ชิทซึเคะ) = สร้างนิสัย

การรักษาและปรับปรุงการปฏิบัติ 3 ส แรก โดยกําหนดเป็นมาตรฐานและปฏิบัติให้ดียิงขึน และรักษาให้ดีตลอดไป

4. SEIKETSU (เซเคทซึ) = สุขลักษณะ

การดูแลรักษาหรือปัดกวาดเช็ดถูทําความสะอาดสถานที โต๊ะทํางานอุปกรณ์ เครืองมือเครืองใช้ ให้สะอาดและพร้อมในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ

3.SEISO (เซโซ) = สะอาด

ความหมาย 5 ส

Page 10: Quality Management Ppt11

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมทีมคุณภาพ (QT) ○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองการแก้ปัญหา

การปรับปรุงงานและการพัฒนางานใน○ ระดับของผู้บังคับบัญชา

ปัญหาทีนํามาดําเนินการฯ จะเป็นปัญหาใหญ่ ๆ ในระดับของผู้บริหาร

○ การแก้ปัญหาของทีมจะเป็นการแก้ปัญหาแบบเป็นวิทยาศาสตร์ คือมีเหตุมีผล

○ มีการเก็บข้อมูลตัวเลข กราฟ สถิติต่างๆเพือเปรียบเทียบก่อน/หลังการแก้ปัญหา

Page 11: Quality Management Ppt11

ขันตอนการดําเนินกิจกรรม TQMอบรม TQM. WORKSHOPจัดตังทีม /

คัดเลือกปัญหาขึนมาปรับปรุงโดยดําเนินการในลักษณะของโค

รงการเล็กๆจดทะเบียนดําเนินโครงการฯ

ดําเนินโครงการฯติดตามผลการดําเนินโครงการฯ เป็นระยะ ๆ

โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการQT.Clinic

Page 12: Quality Management Ppt11

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมคิวซี (QC) ○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองของการปรับป

รุงงานในระดับผู้ปฏิบัติ โดยการจัดตังเป็นทีมขึนมาตามลักษณะของงาน เช่น ทีมของงานธุรการ ทีมของงานคดี ทีมสถานแรกรับฯ

○ ขันตอนการดําเนินกิจกรรม QC ดําเนินการเช่นเดียวกับกิจกรรม QT ต่างกันเพียงทีม QT เป็นทีมของผู้บังคับบัญชา ปัญหาทีนํามาดําเนินการ เป็นปัญหาในระดับของหน่วยงาน ส่วนทีม QC เป็นทีมของผู้ปฏิบัติ ปัญหาทีนํามาดําเนินการ เป็นปัญหาหน้างานหรือของฝ่าย

Page 13: Quality Management Ppt11

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมข้อเสนอแนะ (SS)○ เป็นกิจกรรมทีเน้นในเรืองของค

วามคิดริเริมสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาและปรับปรุง

○งาน เป็นการปรับปรุงงานในระดับผู้ปฏิบัติ โดยผู้ปฏิบัติงานในแต่ละฝ่ายสามารถเสนอแนะการ

○ปรับปรุงงานของฝ่ายอืนได้

Page 14: Quality Management Ppt11

ขันตอนการดําเนินกิจกรรมข้อเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในลักษณะที่ไมมีแนวทางแ

กไข เปนการตําหนิผูอื่น บัตรสนเทหหรือเปนการเปลี่ยนโยบาย

ฯลฯ ไมถือเปนขอเสนอแ

นะ

ตังคณะกรรมการข้อเสนอแนะ

เจ้าหน้าทีเสนอความคิดโดยกรอกแบบฟอร์มตามทีจัดไว้ให้

นําไปใส่กล่องรับข้อเสนอแนะคณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอแนะเพือแย

กเรืองเข้าหลักเกณฑ์ = ให้รางวัล /

ไม่เข้าหลักเกณฑ์ = แจ้งกลับ/ขอบคุณ นําข้อเสนอแนะทีเข้าหลักเกณฑ์ให้หน่วยงา

นทีเกียวข้องไปปฏิบัติ ปฏิบัติได้ผล = ให้รางวัลปฏิบัติไม่ได้ผล =

แจ้งกลับ/ขอบคุณ

Page 15: Quality Management Ppt11

กิจกรรมของโครงการ TQM ●กิจกรรม ISO

○ เป็นกิจกรรมทีเน้นการปฏิบัติตามข้อกําหนดทีเป็นมาตรฐานสากล มีการจัดทําแผนภูมิขันตอนการทํางาน และคู่มือการปฏิบัติงานหรือคู่มือคุณภาพตามหลักวิชาการ การจัดเก็บและควบคุมเอกสาร มีการตรวจประเมินผลโดยบุคคลภายนอกเพือการรักษาคุณภาพ และมีการออกใบรับรองเพือประกันคุณภาพ

○ นิยมจัดทํากันในวงการเอกชน เพือประโยชน์ทางธุรกิจ ในวงการราชการเริมนิยมนํามาใช้ จากโครงการของสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมทีให้ส่วนราชการคัดเลือกหน่วยงานเข้าร่วมโครงการ หน่วยงานละ 1 กรม

Page 16: Quality Management Ppt11

กิจกรรมของโครงการ TQM

●กิจกรรมอืน ๆ ○บางหน่วยงานจะมีการดําเนินกิจกรร

มอืน ๆ ด้วย เช่น■ JIT (Just In Time)■ RE-ENGINEERING■ ฯลฯ

Page 17: Quality Management Ppt11

การแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงานอย่างเป็นระบบ

ผมคิดว่า พวกเราช่วยกันแก้ไขได้

ตกลง ค่ะ

Page 18: Quality Management Ppt11

ความรู้ทัวไปเกียวกับปัญหา

● ปญหาคืออะไร● การปรับปรุง คืออะไร● ความสัมพันธระหวางปญหากับการปรับปรุง

+ ปรับปรุ

ง- ปญหา

มาตรฐาน/ความคาดหวัง

0

Page 19: Quality Management Ppt11

ธรรมชาติมนุษย์ทีเกียวกับปัญหาและความสําคัญของปัญหา

● มนุษยตองเผชิญกับปญหาตลอดเวลา● คนที่คิดวาตนเองไมมีปญหา อาจเปนเพราะ

- ไมเขาใจความหมาย- ไมยอมรับปญหา- อดทนสูง● ผลดีผลเสียของปญหา

Page 20: Quality Management Ppt11

กระบวนการทํากิจกรรม เพือการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงงา

น● ตังกลุ่ม● ค้นหาปัญหา● คัดเลือกปัญหา● วางแผน/กําหนด

วิธีแก้ปัญหา● ลงมือแก้ปัญหา● ตรวจสอบผล● ตังมาตรฐานการ

ทํางาน● ทํากิจกรรมใหม่ต่

อไป

Page 21: Quality Management Ppt11

● ชือกลุ่ม..........................................(เอกลักษณ ศูนยรวม จํางาย สื่อความหมายในทางที่ดี)

● คําขวัญ..........................................(จูงใจ สะทอนอุดมการณ จําจาย สื่อความหมายในทางที่ดี)

● จํานวนสมาชิก....................................................…คน(3-10)

หน.กลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

สมาชิกกลุ่ม

เลขนุการกลุ่ม

รอง หน.กลุ่ม

ทีปรึกษา

ผู้ประสานงาน

คุณสมบัติ(เฉลีย)

1. การศึกษา2. อายุ....…ปี3. ประสบการณ์

ทํางาน.....…ปีประจําหน่วยงาน..........................................(ประเมินขอบเขตกิจกรรม ระบุหน่วยงานจะทะเบียนกลุ่มเมือ....................................(การจัดการและระเบียบ ใช้แบบฟอร์มทีกําหนด

ตังกลุ่ม

Page 22: Quality Management Ppt11

เริมทํากิจกรรม●ค้นหาปัญหา

ขณะนีเรามีปัญหาอะไรบ้าง

●ลักษณะปัญหา○ เป็นปัญหาทีเกียวข้องกับงาน○ เป็นปัญหาทีสามารถแก้ไขได้ส่วนใหญ่

โดยสมาชิกของกลุ่มเอง○ เป็นปัญหาทีเกียวข้องหรือเป็นความต้องการข

องสมาชิกส่วนใหญ่○ เป็นปัญหาทีสมาชิกได้ประโยชน์

Page 23: Quality Management Ppt11

เทคนิคการค้นหาปัญหา

● มีจิตสํานึกถึงปญหา● รูและเขาใจวาปญหา

คืออะไร● เชื่อมั่นในตัวเอง● มีความพยายามในกา

รคนหาปญหา

● ขวนขวายความรู● ทะเยอทะยานที่จะป

รับปรุงหรือพัฒนา● ใชขอมูลใหเปนประ

โยชน● ตั้งคําถามเพื่อคนหา

ปญหา

Page 24: Quality Management Ppt11

● เปรียบเทียบสิงทีเกิดขึนกับสิงทีคาดหวัง● ใชหลัก 5w + 1H (What, When, Where,

Why, Who, How)● ประชุมระดมสมอง● เฝ้าสังเกต หรือตรวจสอบวิธีการทํางาน● ใช้เครืองมือการวิเคราะห์ปัญหาทีสูงขึน● สอบถามจากผู้มีประสบการณ์

เทคนิคการค้นหาปัญหา

Page 25: Quality Management Ppt11

วิธีเลือกปัญหาทีสําคัญมาแก้ไข

ปัจจัยในการพิจารณา

ความเป็นไปได้

ความรุนแรง

ความถี

Page 26: Quality Management Ppt11

จัดลําดับความสําคัญของปัญหา

432143214321

คะแนน

ความถี่ความรุนแรงความเปนไปได

รายชื่อปญหา

Page 27: Quality Management Ppt11

การแก้ไขปัญหาหลักธรรมะ อริยสัจ 4● ทุกข

● สมุทัย

● นิโรธ

● มรรค

หลักการแกไขปญหาโดยทั่วไป● ปญหา

● สาเหตุของปญหา

● การตั้งเปาหมายเพื่อการปฏิบัติในการแกไขปญหา

● วิธีการแกไขปญหาและปองกันปญหาที่สามารถบรรลุตามเปาหมาย

Page 28: Quality Management Ppt11

● เพื่อใชเปนเครื่องกําหนดเปาหมายใหเหมาะสม และเปนขอมูลพื้นฐานเปรียบเทียบกับขอมูลหลังแกปญหา

● ขอมูลอาจเก็บในเชิงคุณภาพ หรือเชิงปริมาณ● ขอมูลที่ดีตองถูกตอง สมบูรณ แมนยํา แนนอน

นาเชื่อถือ ตรงวัตถุประสงคและมีรายละเอียดของขอมูล

สํารวจสภาพปัญหาก่อนแก้ปัญหา

Page 29: Quality Management Ppt11

มีเป้าหมาย เพือ● เห็นทิศทางของกา

รดําเนินการ● เพิมสู่ความสําเร็จแ

รงจูงใจและผลักดัน

● ประเมินผลการดําเนินการ

ลักษณะเป้าหมายทีดี● เกียวข้องและสอด

คล้องกับปัญหา● เป็นข้อความทีวัดผ

ลได้ ซึงอาจเป็นตัวเลข เปอร์เซ็นต์ ฯ

● ระบุขอบเขตแน่ชัดและกระชับ

● มีตัวเลขแสดงผล● มีระยะเวลากําหนด

การกําหนดเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา

Page 30: Quality Management Ppt11

เทคนิคการวิเคราะห์/ค้นหาสาเหตุของปัญหา

● ใช้เทคนิคการระดมสมอง (Brainstorming)

● ใช้เทคนิค 5w + H เพือวิเคราะห์ปัญหา● ใช้เทคนิคแผนภูมิก้างปลา

Page 31: Quality Management Ppt11

เทคนิคและวิธีการแก้ไขปัญหา

● เลือกสาเหตุที่เปนจริงและมีความสัมพันธกับปญหามากที่สุดมาแกไข

● เลือกวิธีที่จะใหผลประโยชนมากที่สุดและเสียทรัพยากรนอยที่สุด

● ความเปนไปไดในทางปฏิบัติ● คุมคาการลงทุนหรือไม● จํานวนวิธีการแกไขปญหาที่จะเลือกขึ้นกับเปาห

มายที่วางไว● การแกสาเหตุของปญหาหนึ่งที่อาจสงผลกระท

บไปอีกสาเหตุหนึ่ง● คํานึงถึงผลกระทบทางออมในดานลบ

Page 32: Quality Management Ppt11

วิธีการประเมินผลการแก้ไขปัญหา

● ประเมินทรัพยากรที่ไดใชในการแกไขปญหา(Input)

● ประเมินผลในตัวกระบวนการแกไขปญหา(Process)

● ประเมินประสิทธิผลหลังแกไขปญหา(Output)

Page 33: Quality Management Ppt11

วิธีการป้องกันปัญหาและปรับปรุงให้ดีขึน

● ตั้งมาตรการปองกันปญหา- เพื่อปองกันปญหาไมใหเกิดขึ้นอีก- ผูปฏิบัติตองปฏิบัติตามมาตรการนี้อยางตอเนื่องจริงจัง● ติดตามผลโดยการเก็บขอมูลเปนระยะๆ

- ดูแนวโนม ถาเลวลง เกิดจากอะไร- ปรับปรุงใหดีขึ้น โดยเพิ่มเปาหมายใหสูงขึ้น

Page 34: Quality Management Ppt11

การวินิจฉัย TQM (TQM Diagnosis)

วัตถุประสงค์● ติดตามและประเมินผลนโยบาย● เพือวินิจฉัยผลสําเร็จ หรือไม่สําเร็จ● เพือให้คําแนะนํา● เพือกระตุ้นและเป็นกําลังใจแก่ผู้ปฏิบัติ● เพือการให้การศึกษาแก่ Top

Management● ให้ผู้บริหารรู้จักความรับผิดชอบในหน้าทีข

องตน

Page 35: Quality Management Ppt11

ขันตอนของ TQM Diagnosis

1. วางแผน● แจ้งวัตถุประสงค์ของการ Diagnosis● ทําตารางกําหนดการ Diagnosis ● กําหนด Team● ทํารายงาน● ติดตามผล

Page 36: Quality Management Ppt11

2. ลงมือปฏิบัติตามแผนทีกําหนด

3. ตรวจสอบผลการปฏิบัติการDiagnosis

4. ปรับปรุงแก้ไข

รักษาไวเปนมาตรฐาน

ขันตอนของ TQM Diagnosis

Page 37: Quality Management Ppt11

สรุปขันตอนการดําเนินโครงการTQM

ด้วยทีมคุณภาพ(QT)●สํารวจสภาพปัญหา/ข้อมูลก่อนแก้ไข

ปัญหา/ปรับปรุง●นําผลการสํารวจไปจัดลําดับความสําคั

ญและลงกราฟพาเรโต●จัดทํา PDCA●สํารวจสภาพปัญหาหลังทํา●นําผลการสํารวจไปลงกราฟพาเรโต●ทําตารางเปรียบเทียบกราฟพาเรโตก่

อนทําและหลังทํา●กําหนดมาตรฐานใหม่

Page 38: Quality Management Ppt11

ตัวอย่างขันตอนการดําเนินโครงการ TQM

ด้วยทีมคุณภาพ (QT)

Page 39: Quality Management Ppt11

ค้นหาปัญหา/ปรับปรุง 1. ค่าไฟฟ้าสูง2. มีการร้องเรียนในการให้บ

ริการ3. ...............4. ..................5. ....................

Page 40: Quality Management Ppt11

จัดลําดับความสําคัญของปญหา/ปรับปรุง

12///2. มีการรอง เรียนฯ

32///1.คาไฟฟาสูง

432143214321

คะแนน

ความถี่ความรุนแรงความเปนไปได

หัวขอปญหา/ปรับ ปรุงงาน

Page 41: Quality Management Ppt11
Page 42: Quality Management Ppt11

ชือทีม.................คําขวัญ...............................จํานวนสมาชิก................... คน

ฝายบริหารรองหัวหนาทีม2. น.ส. ข

กลุมงานคดีหัวหนา1. นาย ก

หน่วยงานในสังกัด

ตําแหน่งในทีมชือ - นามสกุล

ตังทีม

ทีปรึกษาทีม.............ผู้ประสานงานทีม...................

Page 43: Quality Management Ppt11

ชื่อโครงการ : ลดคาไฟฟา

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. ลดคาใชจายของหนวยงาน2. รูจักการทํางานเปนทีมและมีการแกไขปญหาอย

างเปนระบบ

Page 44: Quality Management Ppt11

สํารวจสภาพ(ขอมูล)กอนแกไขปญหา/ปรับปรุงใบตรวจสอบข้อมูลก่อนแก้ไ

ขปัญหา/ปรับปรุงข้อมูล ....ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า........................วันที .......1 ม.ค. – 30 เม.ย.50จํานวนทีตรวจ .....4 เดือน... ผู้ตรวจ........คุณ.............แหล่งทีมาของข้อมูล ..........สมุดบันทึกค่าใช้จ่ายของการเงิน.................

7,075 บาทเฉลี่ยเดือนละ

28,300 บาท/4 เดือนรวม

7,500 บาทเมษายน 507,200 บาทมีนาคม 50

7,000 บาทกุมภาพันธ 506,600 บาทมกราคม 50

ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าเดือน/พ.ศ.

Page 45: Quality Management Ppt11

นําเสนอขอมูล(กอนแกไขปญหา/ปรับปรุง)

ดวยกราฟ

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ค่าเฉลีย 7,075 บาท

เม.ย.50มี.ค.50ก.พ.50ม.ค.50

**

* *8,000

Page 46: Quality Management Ppt11

กําหนดเปาหมาย

เปาหมาย1. ลดคาใชจายเฉลี่ยตอเดือนลงเหลือไมเกิน

5,500 บาท/เดือน 2. ระยะเวลา........ 7 เดือน

Page 47: Quality Management Ppt11

กําหนดแผนปฏิบัติการ

แกไขปรับปรุง(Action)และตั้งมาตรฐานการทํางาน

ตรวจสอบผล(Check)

ลงมือแกไขปญหา(Do)

วางแผน(Plan)

10

987654321ระยะเวลา/เดือน แผนการปฏิบัติ

Page 48: Quality Management Ppt11

วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา/ปรับปรุง

แผนภูมิก้างปลา

ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าสูง

วิธีการ บุคลากร

อุปกรณ์

ใช้เครือง

ปรับอากาศ

ไม่เหมาะสม ตังอุณ

หภูมิต่ํา

เปิดไฟทิงไว้เมือไปประชุม

ไม่มีการประชาสัมพันธ์

มีอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายอย่างในห้อง

ขาดการเตือน

เครืองปรับอากาศ

สกปรก

หลอดไฟสว่างเกินไป

สวิทช์รวม

Page 49: Quality Management Ppt11

ตารางปฏิบัติเพื่อแกไขปญหา/ปรับปรุง

2. ......

ดีมากมีการปิดเครืองตามทีกําหนด

30 พ.ค.50

1 พ.ค.50

คุณ.....

กําหนดให้มีการปิดเครืองในเวลาพักเทียง

ไม่มีการพักเครือง

1. การใช้เครือง ปรับอากาศไม่เหมาะสม

สิ้นสุดเริ่มตน

ผลวัน/เดือน/ปผูรับผิดชอ

วิธีการแกไขปญหา/ปรับป

รุง

สาเหตุปญหา

Page 50: Quality Management Ppt11

สํารวจสภาพ(ขอมูล)หลังแกไขปญหา/ปรับปรุงใบตรวจสอบข้อมูลหลังแก้ไข

ปัญหา/ปรับปรุงข้อมูล ....ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้า........................วันที .......1มิ.ย. 50 – 30 ก.ย. 50จํานวนทีตรวจ .....4 เดือน... ผู้ตรวจ........คุณ.............แหล่งทีมาของข้อมูล ..........สมุดบันทึกค่าใช้จ่ายของการเงิน.................

5,625 บาทเฉลี่ยเดือนละ

22,500 บาท/4 เดือนรวม

5,000 บาทกันยายน 505,000 บาทสิงหาคม 50

5,700 บาทกรกฎาคม 506,800 บาทมิถุนายน 50

ค่าใช้จ่ายกระแสไฟฟ้าเดือน/พ.ศ.

Page 51: Quality Management Ppt11

นําเสนอขอมูล(หลังแกไขปญหา/ปรับปรุง)

ดวยกราฟ

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ค่าเฉลีย 5,625 บาท

ก.ย.50ส.ค.50ก.ค.50มิ.ย 50

*

**

*

Page 52: Quality Management Ppt11

เปรียบเทียบผลก่อนและหลังการแก้ไขปัญหา/ปรับปรุง

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

7,000

ค่าเฉลีย 7,075 บาท

เม.ย.50มี.ค.50ก.พ.50ม.ค.50

**

* *8,000

ค่าเฉลีย 5,625 บาท

**

* *

Page 53: Quality Management Ppt11

ตังมาตรฐาน

มาตรฐาน..... ลดคาใชจายกระแสไฟฟา........1. ฝายบริหารดําเนินการสรุปยอดคาใชจายกระแส

ไฟฟาและติดยอดคาใชจายเพื่อใหเจาหนาที่รับทราบไวที่บอรดทุกสิ้นเดือน

2. กําหนดใหผูรับผิดชอบในการปด-เปดเครื่องปรับอากาศ โดย

- เปดเครื่องเวลา 09.00 น.- ปดเครื่องเวลา 12.00 นฺ- 13.00 น. และ 16.00 น.- ตั้งอุณหภูมิไวที่ 26 องศา

Page 54: Quality Management Ppt11

แผนการติดตามผล

● ทีมมอบหมายใหฝายบริหารงานทั่วไป เก็บรวบรวมขอมูลคาใชจายกระแสไฟฟาเปนประจําทุกเดือน ถาพบวาคาใชจายมากกวา5,625 บาท/เดือน ทีมจะวิเคราะหหาสาเหตุและแกไขตอไป

Page 55: Quality Management Ppt11

สรุปผล● ผลทางตรง

บรรลุผลตามเปาหมาย ลดลงเฉลี่ย 975 บาท/เดือน

เหลือไมเกิน 6,600 บาท

คาใชจายกระแสไฟฟาเฉลี่ย5,625 บาท

คาใชจายกระแสไฟฟาเฉลี่ย7,075 บาท

ผลการปรับปรุง

เป้าหมายหลังแก้ไขปัญหา/ปรับ

ปรุง

ก่อนแก้ไขปัญหา/ปรับ

ปรุง

● ผลทางอ้อม1. พนักงานตระหนักถึงความสําคัญของการประหยัดพลังงานมากขึน

2. ทีมงานได้รับคําชมเชยจากผู้บริหารทีสามารถช่วยลดค่าใช้จ่าย

Page 56: Quality Management Ppt11

อุปสรรคและแนวทางแก้ไข

ปญหา● หาเวลาในการประชุมคอนขางลําบาก

วิธีแกไข● ใชเวลาในชวงเย็นหลังงานประจํามาประชุม

Page 57: Quality Management Ppt11

แผนงานในอนาคต

● ชือโครงการต่อไป............................● เหตุผล............................

Page 58: Quality Management Ppt11

บทสรุป TQM● เป้าหมายของ TQM คือ การแก้ปัญหา

ถ้าแก้ไขปัญหาไม่ได้ไม่เรียกว่าเป็นกิจกรรม TQM

● สิงทีต้องปฏิบัติอย่างน้อยทีสุด 5 ประการ เพือการแก้ปัญหา

รวบรวมสารสนเทศ (ข้อมูล) ทีตรงตามวัตถุประสงค์จําแนกข้อมูลจัดทํากราฟ / แผนภูมิวิเคระห์ปัจจัยวางแผน และลงมือปฏิบัติ● การเลือกหัวข้อปัญหา

ให้เลือกหัวข้อทีเห็นผลชัดเจน

Page 59: Quality Management Ppt11

บทสรุป TQM ( ต่อ )

● การแยกแยะหัวข้อการปรับปรุง แยกสิงทีทําได้ทันทีและสิงทีทําไม่ได้ทันที แบ่งส่วนการรับผิดชอบให้ชัดเจน มิฉะนันจะไม่มีการปฏิบัติ

● ผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ต้องให้คําแนะนํา สนับสนุนกิจกรรมของลูกน้อง

● หากผลลัพธ์ของการทํากิจกรรมแก้ปัญหา ออกมาไม่ดีพอ ต้องยอมรับอย่างตรงไปตรงมา เพือปรับปรุงต่อไป

● ท้ายทีสุดก็คือ ตัวอย่างความผิดพลาด หรือผลสําเร็จทีเกิดขึน จากการทํา กิจกรรมและได้รวบรวมไว้ จะเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของหน่วยงาน ซึง คุณภาพของงานจะสูงขึนตามมา

Page 60: Quality Management Ppt11

Leadership

Information

& AnalysisStrategy Deployme

ntHR Focus

ProcessManagement

Customer &Market Focus

BusinessResults

Enablers Achievement

Total Quality Management

Page 61: Quality Management Ppt11

Organizational Profile:Environment, Relationships, and Challenges

4Information, Analysis, and Knowledge Management

1Leadership

2StrategicPlanning

3Customer&

Market Focus

5Human

Resource Focus

6Process

Management

7Business Results

Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework

Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm

Page 62: Quality Management Ppt11

บูรณาการเครืองมือและโครงการต่าง ๆ

ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and

Projects)

การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)

1ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการ

ปรับปรุง

2

สร้างแผนปรับปรุง3ดําเนินการปรับปรุง4

ประโยชน์ต่อส่วนราชการ

Page 63: Quality Management Ppt11

6.

การจัดการ

กระบวนการ

5.

การมุ่งเน้นทรัพยากร

บุคคล

4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

3.

การให้ความสําคัญ

กับผู้รับบริการและ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1.

การนําองค์กร

2.

การวางแผน

เชิงยุทธศาสตร์

ลักษณะสําคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์

และความท้าทาย

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

7.

ผลลัพธ์การดําเนิ

นการ

Page 64: Quality Management Ppt11

ด้วยจิตคารวะQ & A