social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์

Post on 07-Dec-2014

1.386 Views

Category:

Technology

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Social Media Policy

สําหรับนักศึกษาแพทย์

นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์

โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

SlideShare.net/Nawanannawanan.the@mahidol.ac.th

14 มีนาคม 2556

Image Source: http://michaelcarusi.com/2012/01/01/when-you-should-not-become-a-social-media-manager/

Social Media & Social Networks

Social Network Case Study #1

Disclaimer (นพ.นวนรรน): นําเสนอเป็น

กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media

เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย และไม่มีเจตนาสร้างประเด็นทาง

การเมือง

ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล

หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม

เพื่อการทําความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่

การใส่ความว่าผู้นั้นกระทําการใด อันจะทําให้

ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

บทเรียนจากกรณีศึกษา (Lessons Learned)

• องค์กรไม่มีทางห้ามพนักงานไม่ให้โพสต์ข้อมูลได้

– ช่องทางการโพสต์มีมากมาย ไม่มีทางห้ามได้ 100%

– นโยบายที่เหมาะสม คือการกําหนดกรอบไว้ให้พนักงานโพสต์ได้ตามความ

เหมาะสม ภายในกรอบที่กําหนด

• พนักงานย่อมสวมหมวกขององค์กรอยู่เสมอ (แม้จะโพสต์เป็นการส่วนตัว

แต่องค์กรก็เสียหายได้)– คิดก่อนโพสต์, สร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร

• การรักษาความลับขององค์กรและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า

• มีนโยบายให้ระบุตัวตนและตําแหน่งให้ชัดเจน

• องค์กรควรยอมรับปัญหาอย่างตรงไปตรงมาและทันท่วงทีhttp://www.siamintelligence.com/social-media-policy-cathay-pacific-case/

Social Network Case Study #2

Source: Drama-addict.com

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการ

อ่านเนื้อหา

Social Media กับความลับของผู้ป่วย

ข้อความจริง บน

• "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไป

แล้ว มา ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้

ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้

ไป กทม. บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ

• พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550

• มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล

ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหาย

ไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของ

บุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย

แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่า

ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร

เกี่ยวกบัข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไมใ่ช่ของตนไม่ได้

คําประกาศสิทธิผู้ป่วย

• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ

พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้

1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญตัิไว้ในรัฐธรรมนูญ

2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มกีารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ

การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย

3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ

ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น

4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่กรณี โดยไม่คํานึงว่า

ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่

5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน

6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ

ส่วนตัวของบุคคลอื่น

10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

ได้

คําประกาศสิทธิผู้ป่วย

• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ

พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้

1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญตัิไว้ในรัฐธรรมนูญ

2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มกีารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ

การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย

3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ

ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น

4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่กรณี โดยไม่คํานึงว่า

ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่

5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน

6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ

ส่วนตัวของบุคคลอื่น

10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

ได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่

จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

หลักจริยธรรม (Ethical Principles) สําคัญด้านสุขภาพ

• Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของผู้ป่วย)

• Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย)

• Non-maleficence (หลักการไม่ทําอันตรายต่อผู้ป่วย)

– “First, Do No Harm.”

MU Social Network Policy

http://intranet.mahidol/op/orla/law/index.php/anno

uncement/146-2556/770-social-network

• ข้อความบน Social Network สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ

ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจ

ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทํางาน และวิชาชีพของตน

• ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่ Controversial

เช่น การเมือง ศาสนา

• ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนหรือองค์กรได้

MU Social Network Policy

• ความรับผิดชอบทางกฎหมาย

– ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดฐานหมิ่นประมาท

– พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกีย่วกบัคอมพิวเตอร์

– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรและ

นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล

– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยวินัยนักศกึษา

MU Social Network Policy

• ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ

(Plagiarism = การนําผลงานของคนอื่นมานําเสนอเสมือนหนึ่ง

เป็นผลงานของตนเอง)

• แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน– แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล

– Facebook Profile (ส่วนตัว) vs. Facebook Page (องค์กร/หน่วยงาน)

• ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ให้

ระบุ Disclaimer เสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว

MU Social Network Policy

• ห้ามเผยแพร่ข้อมูล sensitive ที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัยก่อนได้รับอนุญาต

• บุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ให้บริการสุขภาพ

– ระวังการใช้ Social Network ในการปฏิสัมพันธ์กับผูป้่วย (ความลับผู้ป่วย และการ

แยกแยะเรื่องสว่นตัวจากหน้าที่การงาน)

– ปฏิบัติตามจริยธรรมของวิชาชีพ

– ระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว (Privacy) และความลับของข้อมูลผู้ป่วย

– การเผยแพร่ข้อมูล/ภาพผูป้่วย เพื่อการศกึษา ต้องขออนุญาตผู้ป่วยก่อนเสมอ และลบ

ข้อมูลที่เป็น identifiers ทั้งหมด (เช่น ชื่อ, HN, ภาพใบหน้า หรือ ID อื่นๆ) ยกเว้น

ผู้ป่วยอนุญาต (รวมถึงกรณีการโพสต์ใน closed groups ด้วย)

• ตั้งค่า Privacy Settings ให้เหมาะสม

MU Social Network Policy

Facebook Privacy Settings

Facebook Privacy Settings

MU Social Network Policy

MU Social Network Policy

MU Social Network Policy

MU Social Network Policy

MU Social Network Policy

MU Social Network Policy

top related