social return on investment

Post on 29-Oct-2014

19 Views

Category:

Education

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

ผลตอบแทนด้านสังคม (social return on investment) โดย สฤณี อาชวานันทกุล, 29 กันยายน 2553

TRANSCRIPT

ผลตอบแทนดา้นสงัคม (social return on investment)

สฤณี อาชวานันทกลุ

http://www.fringer.org/

29 กนัยายน 2010

“ผลประกอบการดา้นสงัคม” ของธรุกจิ (social performance)

“ไตรก าไรสทุธ”ิ (triple bottom line)

“ภาพใหญ”่ : การเปลีย่นผา่นไปสู ่“ระบอบทนุนยิมทีย่ั่งยนื”

“In our rapidly evolving capitalist economies, where it is in the natural order of things for corporations to devour competing corporations, for industries to carve up and digest other industries, one emerging form of capitalism with a fork –sustainable capitalism – would certainly constitute real progress.”

- John Elkington, Cannibals With Forks – The Triple Bottom Line of 21st Century Business (1997)

ถ้าวดัผลกระทบสทุธิด้านเศรษฐกิจ สงัคม และส่ิงแวดล้อมของบริษทัไม่ได้ กเ็ปล่ียนวิธีด าเนินธรุกิจไปสู่วิถี “ธรุกิจท่ียัง่ยืน” ไม่ได้

องคป์ระกอบส าคญัของ “ความยั่งยนื”

“Triple Bottom Line” ไมใ่ชก่ าไรของบรษัิท

TBL หมายถงึผลตอบแทนสทุธทิีบ่รษัิทสง่มอบตอ่ระบอบเศรษฐกจิ สงัคม และสิง่แวดลอ้ม ไมใ่ชป่ระโยชนท์างธรุกจิที่บรษัิทไดรั้บ

อยา่งไรก็ด ีแนวคดิการท า “ธรุกจิอยา่งยั่งยนื” เสนอวา่ บรษัิทจะไดรั้บประโยชนท์างธรุกจิจากกจิกรรมทีส่รา้งผลตอบแทนตอ่สงัคมและสิง่แวดลอ้มในระยะยาว

ยกตวัอยา่งเชน่ การลงทนุในเทคโนโลยสีะอาด : ผลตอบแทนดา้นสิง่แวดลอ้ม = การลดการปลอ่ยกา๊ซเรอืนกระจก และผลตอบแทนดา้นการเงนิ = การลดตน้ทนุในการด าเนนิธรุกจิ (เชน่ คา่ใชจ้า่ยเชือ้เพลงิ)

ดงันัน้ เงือ่นเวลา (time horizon) จงึเป็นประเด็นส าคญัในการคดิเรือ่ง triple bottom line : บรษัิทจะตอ้งเปลีย่นวสิยัทศันใ์หม้องยาวขึน้

ประวตัศิาสตรฉ์บบัยอ่ของการประเมนิมลูคา่

1400AD 2000AD อนาคตกอ่นประวตัศิาสตร์

INTUITION

financial accounting

environmental and social accounting

SYSTEMS

STORIES

สู ่“มลูคา่ผสม” (blended value)

Triple Bottom Line ชีโ้อกาสในวกิฤต

ทีม่า: Triple Bottom Line Reporting: A Strategic Introduction to Economic, Environmental and Social PerformanceMeasurement, David Crawford, Certified Management Accountants Canada, www.cma-canada.org

ผูใ้ช ้(users) ของตวัชีว้ดัผลตอบแทนดา้นสงัคม

• บรษัิท ประเมนิผลและวัดความคบืหนา้ของซเีอสอาร/์

ธรุกจิทีย่ั่งยนื, เปิดเผยขอ้มลู, ท าการตลาด & PR

• ผูม้สีว่นไดเ้สยี (ผูบ้รโิภค ชาวบา้นในชมุชน เอ็นจโีอ)

อยากรูว้า่ผลกระทบตอ่ตวัเองคอือะไร บรษัิทสรา้งสรรค์

สงัคมและสิง่แวดลอ้มอยา่งไร

• กองทนุ/นักลงทนุเพือ่สงัคม/องคก์รการกศุล (socially

responsible investment funds (SRI funds), impact

investors, foundations) อยากเปรยีบเทยีบทางเลอืก

ในการลงทนุและประเมนิผลตอบแทนจากการลงทนุ

11•11

บริษัทยักษ์ใหญ่เริ่มท า “sustainable livelihood business” เจาะลูกค้าในตลาดฐานปิระมิด (bottom-of-pyramid)

ประชาชนเรยีกรอ้งความรับผดิชอบ

What do you think is the role of big business in society? – The Millennium Poll

ทีม่า: http://www.environment.gov.au/settlements/industry/finance/publications/respon-investment.html

กองทนุที ่“รับผดิชอบตอ่สงัคม” มขีนาดไมน่อ้ยกวา่ $3 ลา้นลา้นเหรยีญ เตบิโต 10-15% ตอ่ปี

Key elements of Socially Responsible Investing (SRI) funds:

• Screening

• Shareholder Advocacy

• Community Investment

ขอ้ตกลงระหวา่งประเทศทีเ่กีย่วขอ้ง

(People) (Planet) (Profit)Social Environment Economics

The International Bill of Human Rights

Johannesburg Action Plan

Rio Declaration

The UN Biodiversity Convention

Others, e.g. ISO 14000 & 26000

Taxes

Antitrust laws and

regulations

UN Anti-Corruption

Convention

Accounting

Standards

มาตรฐานทีเ่กีย่วขอ้งและดชันคีวามยั่งยนื

มาตรฐานทีม่กีระบวนการรับรอง (certification process)

• ISO 14000

• Fair Trade, FSC (ป่าไม)้, MSC (ประมง)

มาตรฐานทีข่าดกระบวนการรับรอง (self-report)

• UN Global Compact

• ISO 26000

• Principles of Responsible Investment (PRI)

ดชันคีวามยั่งยนื

• Dow Jones Sustainability Index

• FTSE4Good

• Global Climate 100, Domini 400

• สนับสนุนและเคารพในการปกป้องสทิธมินุษยชนตามปฏญิญาสากล

• หมั่นตรวจตราดแูลมใิหธ้รุกจิของตนเขา้ไปมสีว่นเกีย่วขอ้งกบัการลว่งละเมดิสทิธมินุษยชน

• คุม้ครองเสรภีาพในการสมาคมและยอมรับสทิธกิารเจรจาตอ่รองรว่มของลกูจา้ง

• พทิักษ์เสรภีาพในการรวมกลุม่ของแรงงานและการรับรองสทิธใินการเจรจาตอ่รองกบันายจา้ง

• ขจัดการใชแ้รงงานเกณฑแ์ละแรงงานภาคบงัคบัทกุรปูแบบ

• ยกเลกิการใชแ้รงงานเด็ก

• ขจัดการเลอืกปฏบิตัดิา้นการจา้งงานและการประกอบอาชพี

UN Global Compact (1999)

UN Global Compact (1999) (ตอ่)

• สนับสนุนหลักความรอบคอบในการรับมอืกบัความทา้ทายดา้นสิง่แวดลอ้ม

• รเิริม่โครงการทีส่ง่เสรมิความรับผดิชอบตอ่สิง่แวดลอ้ม

• สง่เสรมิการพัฒนาและเผยแพรเ่ทคโนโลยทีีเ่ป็นมติรตอ่สิง่แวดลอ้ม

• ด าเนนิธรุกจิดว้ยวธิทีีต่อ่ตา้นคอรรั์ปชัน่ทกุรปูแบบ รวมทัง้การกรรโชกและการตดิสนิบน

มาตรฐาน ISO 26000พัฒนาตัง้แตปี่ 2005 จะประกาศใชใ้นปี 2010 มหีลักการ 7 ขอ้ ไดแ้ก่

1. หลักการปฏบิัตติามกฎหมาย (Principle of legal compliance) :

บรษัิทจะตอ้งปฏบิตัติาม กฎหมาย และกฎเกณฑต์า่งๆ ที ่เกีย่วขอ้ง ใน

ระดับชาต ิและ ระดับสากล ทัง้ ใน เชงิรกุ และ เชงิรับ

2. หลักการเคารพตอ่แนวปฏบิัตริะดับชาต ิหรอื ระดับสากล (Principle of

respect for authoritative inter-government agreements or

internationally recognized instruments) รวม ถงึ สนธสิญัญาสากล

ค า สัง่ ประกาศ ขอ้ตกลง มต ิ และ ขอ้ชีน้ า ตา่งๆ ซึง่ ได ้รับการรับรอง จาก

องคก์รสากลที ่เกีย่วขอ้ง กบับรษัิท

3. หลักการ ให ้ความ ส า คัญ กบั ผู ้ม ีสว่น ได ้เสยี ( Principle of recognition

of stakeholders and concerns) บรษัิทควรตระหนัก ใน สทิธ ิและ ผล

ประ โยชนข์อง ผู ้ม ีสว่น ได ้เสยี โดย เปิดโอกาส ให ้แสดง ความ คดิเห็น

เกีย่ว กบั กจิกรรมของบรษัิท และ การตัดสนิใจใดๆ ก็ตามที ่จะ สง่ผล

กระทบตอ่ ผู ้ม ีสว่น ได ้ เสยี

19

4. หลักของการแสดงรับผดิที ่สามารถ ตรวจสอบ ได ้(Principle of

accountability) การด า เนนิงาน ใดๆ ก็ตามของบรษัิท ตอ้ง

สามารถ ตรวจสอบ ได ้จาก ภายนอก

5. หลักความ โปรง่ใส (Principle of transparency) บรษัิทควร

เปิดเผยขอ้มลูตา่งๆ ให ้ผู ้ม ีสว่น ได ้เสยีฝ่ายตา่งๆ รวม ถงึ ผู ้ที ่

เกีย่วขอ้ง ได ้รับทราบอยา่งชดัเจนและทนัทว่งที

6. หลกั ความ เคารพ ใน สทิธมินุษยชน (Principle of respect of

fundamental human right) บรษัิทควรด า เนนิกจิการในทางที่

สอดคลอ้ง กบั ปฏญิญาสากลวา่ ดว้ย สทิธมินุษยชน

7. หลกั ความ เคารพ ใน ความ หลากหลาย (Principle of respect for

diversity) บรษัิทควรจา้งพนักงาน โดย ไม ่มกีารแบง่แยกเชือ้ชาต ิ

สผีวิ ความ เชือ่ อาย ุ เพศ

มาตรฐาน ISO 26000 (ตอ่)

“ความรับผดิชอบ” ตาม ISO 26000

1. มกีารก ากบัดูแลกจิการทีด่ี(Organization governance)บรษัิทควรก า หนดหนา้ที ่ให ้คณะกรรมการฝ่ายจัดการ ผู ้ถอืหุน้ และ ผู ้ม ีสว่น ได ้ เสยี สามารถ สอดสอ่งด ูแลผลงาน และ การด าเนนิธรุกจิของบรษัิทได ้ เพือ่แสดง ถงึ ความ โปรง่ใส พรอ้มรับการตรวจสอบ และ สามารถ ชี ้แจง ให ้ผู ้ม ีสว่น ได ้เสยี ได ้รับทราบ ผลการปฏบิตังิาน ได ้

2. ค านงึถงึสทิธมินษุยชน(Human rights) ซึง่ เป็น สทิธขิัน้พืน้ฐานของมนุษย ์ โดย สทิธดิังกลา่วควรครอบคลมุ ถงึ สทิธ ิความ เป็น พลเมอืง สทิธทิางการเมอืง สทิธทิางเศรษฐกจิ สงัคม และ วัฒนธรรม และ สทิธิตามกฎหมายระหวา่งประ เทศ ดว้ย

3. ขอ้ปฏบิตัดิา้นแรงงาน(Labor practices)บรษัิทตอ้ง ตระหนักวา่ แรงงาน ไม ่ใช ่สนิคา้ ไม ่ควรปฏบิตั ิเสมอืนแรงงาน เป็น ปัจจัยการผลติ

4. การดูแลสิง่แวดลอ้ม(Environment) บรษัิทจะ ตอ้ง ค า นงึ ถงึ หลักการป้อง กนั ปัญหามลพษิ สง่เสรมิการบร ิโภคอยา่งยั่งยนื (sustainable consumption) และ การ ใช ้ทรัพยากรอยา่งมปีระสทิธภิาพ ใน การผลติ และ บรกิาร

21

5. การด าเนนิธรุกจิอยา่งเป็นธรรม(Fair operating

practices)ธรุกจิควรแขง่ขนั อยา่ง เป็น ธรรม และ เปิดกวา้ง ซึง่ จะ ชว่ย สง่เสรมิประสทิธภิาพ ใน การลดตน้ทนุสนิคา้ และ บรกิาร สง่เสรมิ นวตักรรมใหม่ๆ ในการท าธรุกจิ ตลอดจน ชว่ย ขยายการเตบิโตทางเศรษฐกจิ และ มาตรฐานการครองชพี ใน ระยะยาว

6. ใส่ใจตอ่ผู้บริโภค(Consumer issues)บรษัิทจะ ตอ้ง เปิดโอกาส ให ้ผู ้บร ิโภค ได ้รับทราบขอ้มลู ใน การ ใช ้สนิคา้ และ บรกิารอยา่งเหมาะสม และตอ้ง ให ้ความ ส า คญั กบั การพัฒนาสนิคา้ และ บรกิารที ่เป็น ประ โยชนต์อ่สงัคม โดย ค า นงึ ถงึ ความ ปลอดภยั ใน การ ใช ้งาน และ สขุภาพของ ผู ้บร ิโภค เมือ่พบวา่สนิคา้ ไม ่เป็น ไปตามเกณฑท์ีก่ า หนด จะ ตอ้ง มกีลไก ใน การเรยีกคนืสนิคา้ และเคารพในกฎหมายคุม้ครองผูบ้รโิภค

7. การแบง่ปนัสูส่งัคมและชุมชน(Contribution to the community and society)

“ความรับผดิชอบ” ตาม ISO 26000 (ตอ่)

กรอบตวัชีว้ดัดา้นสิง่แวดลอ้ม

กรอบตวัชีว้ดัดา้นการมสีว่นรว่มกบัชมุชน

ตวัอยา่งรปูแบบการเปิดเผยขอ้มลูสิง่แวดลอ้ม

ทีม่า: การประเมนิผลกระทบทางสขุภาพกบัปญัหาผลกระทบจากอุตสาหกรรมทีม่าบตาพดุ จงัหวดัระยอง โดย ศุภกจิ นันทะวรการ และ เดชรตั สุขก าเนิด มลูนิธนิโยบายสขุภาวะ

การเปิดเผยขอ้มลูระดบัโรงงานในอเมรกิา

ทีม่า: การประเมนิผลกระทบทางสขุภาพกบัปญัหาผลกระทบจากอุตสาหกรรมทีม่าบตาพดุ จงัหวดัระยอง โดย ศุภกจิ นันทะวรการ และ เดชรตั สุขก าเนิด มลูนิธนิโยบายสขุภาวะ

ปัญหาในภาคปฏบิตัิ

• อตัราการตอบแบบส ารวจยังต า่มาก (<20%)

• ปัญหาเรือ่งความถกูตอ้งของขอ้มลู

• บรษัิททีผ่ลงานไมด่อีอกแบบตวัวัดของตวัเองได ้

• มาตรฐานทีอ่ตุสาหกรรมคดิเองอาจ “ออ่น” เกนิไป

• ผลงาน “ด”ี บางครัง้อาจเป็นผลเสยีตอ่สงัคม

• การหา้มใชแ้รงงานเด็ก ในประเทศยากจน เด็ก

อาจไมไ่ดไ้ปโรงเรยีน เด็กผูห้ญงิกลายเป็นโสเภณี

• กระบวนการผลติทีไ่มใ่ชส้ารตะกัว่ บรษัิทอาจ

ใชก้ระบวนการผลติอืน่ทีท่ าลายสิง่แวดลอ้ม

มากกวา่ก็ได ้

Reliability & Comparability

• Reliability: เชือ่ถอืไดแ้คไ่หน? (ถา้ใช ้

แบบส ารวจ ถามค าถามเดมิ จะไดค้ าตอบ

เดมิหรอืไม?่)

• Comparability: เปรยีบเทยีบขา้มบรษัิท

ไดห้รอืไม?่ ขา้มอตุสาหกรรม? ขา้ม

ประเทศ?

Validity (ความถกูตอ้ง)

• ตวัชีวั้ดทีใ่ชส้ะทอ้นผลงานทีส่ าคญัตอ่สงัคมหรอืไม?่

• ปัจจบุนัยังมตีวัชีวั้ดนอ้ยตวัทีส่ะทอ้นผลประกอบการ

ทางสงัคมของคูค่า้และหว่งโซอ่ปุทาน

• ตวัอยา่ง

– จ านวนตวัแทนชนกลุม่นอ้ยในคณะกรรมการบรษัิท บอก

ไดห้รอืไมว่า่บรษัิทปฏบิตัติอ่ชนกลุม่นอ้ยอยา่งไร?

– ปรมิาณกา๊ซเรอืนกระจกทีป่ลอ่ยในแตล่ะปี สะทอ้น

ผลกระทบภายนอกเชงิลบทัง้หมดของโรงงานไดห้รอืไม?่

– จ านวนกรรมการในคณะกรรมการบรษัิท บอกคณุภาพของ

ธรรมาภบิาลบรษัิทไดห้รอืไม?่

ตวัอยา่งบรษัิททีม่ผีลประกอบการดา้นสงัคมโดดเดน่ : The Body Shop

พันธกจิของบรษัิท The Body Shop

จาก “พันธกจิ” สู ่“คณุคา่” (values)

จาก “คณุคา่” สูก่ารปฏบิตั ิ

จาก “คณุคา่” สูก่ารปฏบิตั ิ(ตอ่)

Values Committee

เป้าหมายและความคบืหนา้

เป้าหมายและความคบืหนา้ (ตอ่)

เป้าหมายและความคบืหนา้ (ตอ่)

“ผลประกอบการดา้นสงัคม” ของสถาบนัไมโครไฟแนนซ์

มาตรฐานในการประเมนิ “ผลงาน” ของ MFI

• “มาตรฐาน” อตุสาหกรรม (industry benchmarks)

– Mix Microbanking Bulletin (MBB)

• ผลการประกอบการดา้นการเงนิ (financial performance)

– Microfinance Consensus Guidelines & Appraisal Guide โดย CGAP

• ผลการประกอบการดา้นสงัคม (social performance)

– ยงัไมถ่งึขัน้ม ี“มาตรฐาน” แตม่แีนวทางทีส่รปุโดยกลุม่ MFI ตา่งๆ เชน่ Social Performance Task Force, ForolacFR, ฯลฯ

– Progress Out of Poverty Index (PPI) ของ Grameen Foundation

“มาตรฐาน” อตุสาหกรรม MFI• Mix Microbanking Bulletin -http://www.mixmbb.org/ รวบรวมและขอ้มลูตพีมิพ์

รายงานรายไตรมาส จาก MFI ประมาณ 900 แหง่ทั่วโลก

ตวัอยา่งดชันชีีว้ดัผลงานดา้นการเงนิ

ทีม่า: CGAP, Microfinance Consensus Guidelines

ตวัอยา่งดชันชีีว้ดัผลงานดา้นการเงนิ (ตอ่)

“ผลงานดา้นสงัคม” ของ MFIกรอบการประเมนิผลงานดา้นสงัคม(social performance)

1. เจตนาและการออกแบบองคก์ร(INTENT AND DESIGN)พันธกจิ (mission) ขององคก์รคอือะไร มเีป้าหมายทางสงัคมชดัเจนหรอืไม ่มี

ระบบทีถ่กูออกแบบมาใหบ้รรลเุป้าหมายเหลา่นัน้หรอืไม่

2. กจิกรรมขององคก์ร(ACTIVITIES)

MFI ท ากจิกรรมอะไรบา้งเพือ่บรรลพุันธกจิทีต่ัง้ไว ้

3. ผลผลติ(OUTPUT)MFI ใหบ้รกิารกบัคนจนและคนจนเรือ้รังหรอืไม ่ผลติภณัฑแ์ละบรกิารตา่งๆ ถกู

ออกแบบมาเพือ่ตอบสนองความตอ้งการของคนเหลา่นีห้รอืไม่

4. ผลลพัธ์/ ผลกระทบ(OUTCOME /IMPACT)ลกูคา้ของ MFI มฐีานะความเป็นอยูท่างสงัคมและเศรษฐกจิดขี ึน้หรอืไม่

เครือ่งมอืประเมนิผลงานดา้นสงัคม

ปัญหา moral hazard “credit ease”Socia

l Perfo

rmance

Task

Force

(SPTF) –

what co

nstitu

tes “so

cial perfo

rmance”

KEY

Indicators above the dash lines – agree to do

Indicators below the dash lines or in dash line boxes – agree to work on

(definitions, tools)Specific indicators A-D – agree to work on in specific contexts

ForolacFR: ดชันวีดัผลงานดา้นสงัคม• ForolacFR (http://www.forolacfr.org/) เป็นเครอืขา่ยของ MFI ประมาณ 50 แหง่ในทวปีอเมรกิาใต ้

และคารบิเบยีน จัดท าชดุดัชนวีัด social performance เป็นโครงการน ารอ่งในปี 2008

(1) Basic Indicators for Social Performance

Management Indicator Algorithm SPTF reference

FOCUS

1. Outreach to

poverty and vulnerability

Outreach poor: % of new poor clients in relation to

the total number of clients. To promote the

segregation for different poor levels

Q18

Outreach to women: % of women clients in relation

to the total number of active clients

Q17

Outreach to the rural area: % of clients in rural areas

in relation to the total number f active clients

Q17

CLIENT SATISFACTION

2. Client Satisfaction Desertion Rate of client= = (No. of active clients at

initial time + No. of new clients – No. of active

clients at final time)/(No. of clients at initial time +

No. of new clients)

Q19

Cost of service: Real interest rate in relation to the

average national interest rate of the sector.

~Q12

ForolacFR: ดชันวีดัผลงานดา้นสงัคม (ตอ่)

RESULTS

3. Employment Creation

Employment consolidation: Secure full-time job positions in

relation to total of clients served

~QC

Employment creation: New full-time job positions created in

relation to the total number of clients served

QC

4. Social Capital Social Capital Support: % of clients served with methodologies

that generate social capital (common banks, credit networks) in

relation to the total of active clients.

Q4.1

% of clients that lead or participate in social organizations in

relation to the total number of active clients

5. Capital and Assets Creation

Active Assets: % of loans to the investment of fixed assets in

relation to the total number of active loans.

Long-term loans: % of loans of long term loans in relation to the

total of active loans.

SOCIAL RESPONSIBILITY

6. Surplus Assignation Reinvestment: % of surplus reinvestment

Community Support: % of surplus used in supporting social or

community projects.

Employers Training: % of surplus used in training employers of MFIs

(1) Basic Indicators for Social Performance (continued)

ForolacFR: ดชันวีดัผลงานดา้นสงัคม (ตอ่)(2) Social Performance Indicators related to a context

Management Indicators

Algorithm

7. Services Diversification

Savings: % of clients that receive voluntary savings services in relation to the total of number of active clients.% average saving

Q4.2

Insurance: % of clients that receive insurance services in relation to the total of number of active clients.

Transfers, Remittances: % of clients that receive transfers or remittances services in relation to the total of number of active clients.

Other services: % of clients that receive other financial services in relation to the total of number of active clients.

8. Access to Human and economic Development Services

Education: % of clients that receive education services in relation to the total of number of active clients.

Q4.3

Health: % of clients that receive health services in relation to the total

of number of active clients

Microentreprises Development; % of clients that have received technical assistance or management enterprise services in relation to the total of number of active clients.

Economic Development: farmers organization, value chains

integration, local development

ธนาคารกรามนี: Progress out of Poverty Index (PPI)ขัน้แรก วดัคะแนน PPI ของลกูคา้แตล่ะคน จากดชันชีีว้ดัความจน 10 ตวั

การค านวณ PPI (ตอ่)ขัน้ทีส่อง ดวูา่คะแนน PPI มคีา่ความเป็นไปไดเ้ทา่ไรทีจ่ะอยูเ่หนอืเสน้ความจน

การค านวณ PPI (ตอ่)ขัน้ทีส่าม ประเมนิสดัสว่นของลกูคา้ทัง้หมดทีอ่ยูเ่หนอืเสน้ความยากจน เมือ่ได ้อตัราสว่นนีแ้ลว้ก็จะสามารถเปรยีบเทยีบปีตอ่ปีได ้

จาก “ผลประกอบการดา้นสงัคม” สู ่“ผลตอบแทนดา้นสงัคม” (SROI)

กรอบคดิในการวดัผลตอบแทนดา้นสงัคม

• ผูบ้กุเบกิ – REDF, World Bank, Acumen Fund, NEF

• กรอบคดิทีเ่ขา้ใจงา่ยและปรับใชไ้ดก้วา้งคอืกรอบการวัดของการประกวดแผนธรุกจิเพือ่สงัคม GSVC (Global Social Venture Competition)

Theory of Change

Impact Value Chain

จากผลผลติ (output) สูม่ลูคา่ทางการเงนิ

top related