asthma copd

29
คูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม เครือขายคณะทํางานพัฒนาการฝกปฏิบัติงานบริบาลเภสัชกรรม ฉบับปรับปรุง ป พ.ศ. ๒๕๕๗ ดานผูปวยโรคหืดและหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง Pharmaceutical Care Clerkship in Asthma and COPD (เฉพาะมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)

Upload: jiratiyarapong

Post on 14-Jul-2016

8 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

หอบ

TRANSCRIPT

Page 1: Asthma COPD

คูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม

เครือขายคณะทํางานพัฒนาการฝกปฏิบัติงานบริบาลเภสัชกรรม

ฉบับปรับปรงุ ป พ.ศ. ๒๕๕๗

ดานผูปวยโรคหืดและหลอดลมอุดกั้นเร้ือรัง

Pharmaceutical Care Clerkship in

Asthma and COPD

(เฉพาะมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)

Page 2: Asthma COPD

คํานํา

เครือขายคณะทํางานพัฒนาการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเพ่ือการสรางเสริมสุขภาพไดดําเนินการปรับปรุงคูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม (ครั้งท่ี ๓) สําหรับปการศึกษา ๒๕๕๗ เปนตนไป โดยรวบรวมจากความคิดเห็น ขอเสนอแนะ จากอาจารยประจําแหลงฝก จากการนิเทศ และการจัดประชุมตาง ๆ โดยประเด็นสําคัญท่ีทําการปรับปรุงคือระดับข้ันการประเมินความประพฤติ ทัศนคติและทักษะการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม เพ่ือใหสอดคลองกับระดับคะแนนท่ีนิสิต/นักศึกษาไดรับมากข้ึน

เนื่องจากการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเปนความรวมมือกันจากหลายฝาย จึงอาจมีความเห็นและแนวปฏิบัติท่ีแตกตางกันไปบาง แตมีจุดประสงคหลักเพ่ือใหการฝกปฏิบัติงานมีมาตรฐานการดําเนินงานในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น คูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมนี้จึงเปนแนวทางการปฏิบัติท่ีไดจัดทําข้ึนอยางเปนระบบ หากแหลงฝกใดมีการปฏิบัติงานท่ีแตกตางไปจากท่ีระบุไวคูมือนี้ ก็สามารถพิจารณาปรับเปลี่ยนการฝกปฏิบัติงานใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับบริบทของแหลงฝกไดตามสมควร หรือสามารถแจงไปยังเครือขายคณะทํางานฯ เพ่ือนําไปพิจารณาตอไป

คูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ฉบับปรับปรุง ครั้งท่ี ๓ นี้ นับเปนเกณฑมาตรฐาน ท่ีผานการพิจารณากลั่นกรองจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพเภสัชกรรมหลายฝาย อาทิเชน คณาจารยท่ีมีความเชี่ยวชาญสาขาบริบาลเภสัชกรรม จาก ๑๗ มหาวิทยาลัย ผูแทนจากแหลงฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ซ่ึงเปนผูมีความรู ความสามารถและประสบการณการเปนอาจารยแหลงฝกมาอยางตอเนื่อง

ขอขอบคุณกัลยาณมิตรท่ีเปนคณาจารย และเจาหนา ท่ีประสานการฝกปฏิบัติงาน จาก ๑๗ มหาวิทยาลัย ท่ีชวยอํานวยการใหคูมือฉบับนี้สําเร็จลุลวงได ประกอบดวย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยพะเยา และมหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเซีย และขอขอบพระคุณอาจารย เภสัชกรหญิง ดร.จินตนา นภาพร ผูจัดการดานวิชาการและวิชาชีพ เครือขายเภสัชศาสตรเพ่ือการสรางเสริมสุขภาพ (คภ.สสส.) ท่ีกรุณาใหการสนับสนุนการดําเนินงานนี้มาอยางตอเนื่องเปนปท่ี ๔

เครือขายคณะทํางานพัฒนาการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเพ่ือการสรางเสริมสุขภาพ

มกราคม ๒๕๕๗

Page 3: Asthma COPD

สารบัญ

การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในคลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

- หลักการและเหตุผล - วัตถุประสงค - วิธีการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลา และรูปแบบการฝกปฏิบัติงาน - การนิเทศ - การประเมิน - ขอควรปฏิบัติของนิสิต/นักศึกษาระหวางฝกปฏิบัติงาน - ความรับผิดชอบของนิสิต/นักศึกษาระหวางฝกปฏิบัติงาน

๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๔

การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง - จุดมุงหมาย

- วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม

- แนวทางการฝกปฏิบัติงาน

- แนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงาน - การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน

- กิจกรรมการฝกปฏิบัติงาน

๕ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

แบบบันทึกสรุปกิจกรรม

แบบบันทึกสรุปกิจกรรมการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ๑๐

แบบประเมินการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม แบบ ป-๑/๑ และ แบบ ป-๑/๒ แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา

๑๑

แบบ ป-๒/๑ แบบ ป-๒/๒ แบบ ป-๒/๓ แบบประเมินทักษะการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมทางเภสัชกรรม

๑๓

แบบป-๖/๑ แบบ ป-๖/๒ แบบ ป-๖/๓ แบบประเมินการนําเสนอกรณีศึกษา

๑๖

แบบ ป-๗/๑ แบบ ป-๗/๒ แบบ ป-๗/๓ แบบประเมินการนําเสนอและวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ

๑๙

แบบ ป-๘ แบบประเมินการใหความรูบุคลากรในองคกร

๒๒

ตัวอยางแบบรายงานการตอบคําถามอยางเปนระบบ ๒๓

Page 4: Asthma COPD

การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care Clerkship)

๑. หลักการและเหตุผล การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเนนใหนิสิต/นักศึกษาสามารถบูรณาการองคความรูและทักษะใน

การบริบาลทางเภสัชกรรมจากการเรียนการสอนมาใหบริการดานสุขภาพแกผูปวย โดยนิสิต/ นักศึกษาตองฝกปฏิบัติใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยในงานตาง ๆ เชน อายุรศาสตร ผูปวยนอก งานบริการสารสนเทศทางยา เภสัชกรรมชุมชน เปนตน เพ่ือเพ่ิมทักษะทางวิชาชีพท่ีสําคัญ ทัศนคติและเจตคติท่ีดีตองานบริบาลทางเภสัชกรรมและเพ่ือใหนิสิต/นักศึกษาไดฝกปฏิบัติงานรวมกับบุคลากรสาธารณสุขอ่ืน รวมถึงปฏิบัติงานแบบสหสาขาวิชาชีพ และสอดแทรกแนวคิดการสรางเสริมสุขภาพในการฝกปฏิบัติงานภายใตการดูแลของอาจารยประจําแหลงฝก

๒. วัตถุประสงค เพ่ือใหนิสิต/นักศึกษา ๒.๑ มีความรู ความเขาใจ ถึงบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบของงานบริบาลทางเภสัชกรรม ๒.๒ มีประสบการณ ทักษะ และความชํานาญในการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ๒.๓ มีประสบการณในการปฏิบัติงานรวมกันระหวางวิชาชีพและบุคลากรสาธารณสุขอ่ืน ๒.๔ มีเจตคติท่ีดีตอบทบาทหนาท่ี ความรับผิดชอบของวิชาชีพในงานบริบาลทางเภสัชกรรม ๒.๕ มีความม่ันใจในการใหบริการโดยใชกระบวนการทางเภสัชกรรม

๓. วิธีการฝกปฏิบัติงาน การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเปนการศึกษาในลักษณะของการเรียนรูดวยตนเอง (active

learning) จากการมอบหมายของอาจารยประจําแหลงฝก การฝกปฏิบัติ การสังเกตการณ การอภิปราย กิจกรรมกลุม และการเรียนรูจากปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน

๓.๑ นิสิต/นักศึกษารายงานตัวตออาจารยประจําแหลงฝกในวันแรกของการฝกปฏิบัติงาน ๓.๒ อาจารยประจําแหลงฝกทําการปฐมนิเทศ หรือ ชี้แจง กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ขอควรปฏิบัติตาง ๆ

ของแหลงฝกท่ีนิสิต/นักศึกษาพึงปฏิบัติระหวางการฝกปฏิบัติงาน ๓.๓ อาจารยประจําแหลงฝกอภิปรายรวมกับนิสิต/นักศึกษา ถึงสิ่งท่ีนิสิต/นักศึกษาควรจะไดรับหลังเสร็จ

สิ้นการฝกปฏิบัติงาน และวางแผนการฝกปฏิบัติงาน ๓.๔ อาจารยประจําแหลงฝกแจงกําหนดการนําเสนอผลการฝกปฏิบัติงาน การประเมินและการสรุปผล

การฝกปฏิบัติงาน ๓.๕ อาจารยประจําแหลงฝกเปนพ่ีเลี้ยง เพ่ือติดตาม ควบคุม ดูแล ใหคําแนะนํา ปรึกษา อภิปรายประเด็น

ตาง ๆ ท่ีไดจากการฝกปฏิบัติงานรวมกับนิสิต/นักศึกษา ๓.๖ อาจารยประจําแหลงฝกควรอภิปรายความคืบหนาของการฝกรวมกับนิสิต/นักศึกษาในสัปดาหท่ี ๓

และสัปดาหสุดทายของการฝกปฏิบัติงาน และกระตุนใหนิสิต/นักศึกษาประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง ๓.๗ อาจารยประจําแหลงฝกแจงผลการประเมินการฝกปฏิบัติงานแกนิสิต/นักศึกษาเปนระยะ เพ่ือให

นิสิต/นักศึกษารับทราบ และพัฒนา ปรับปรุง แกไข ในสวนท่ีบกพรอง หรือพัฒนาสวนท่ีดีแลวใหดียิ่งข้ึน

Page 5: Asthma COPD

๔. ระยะเวลา และรูปแบบการฝกปฏิบัติงาน ระยะเวลา

การฝกปฏิบัติบริบาลทางเภสัชกรรม ณ แหลงฝก ใชเวลาฝกประมาณ ๘ ชั่วโมง/วัน หรือ ๔๐ ชั่วโมงตอสัปดาห ระยะเวลา ๖ สัปดาหตอ ๑ ปฏิบัติงาน) และสัมมนาท่ีคณะฯ เม่ือสิ้นสุดการฝกปฏิบัติงานผลัดท่ี ๒, ๔ และ ๖ ของการฝกงาน รูปแบบการฝกปฏิบัติงาน

การฝกประสบการณและพัฒนาทักษะโดยอาจารยประจําแหลงฝกเปนพ่ีเลี้ยง ชวยเหลือ ใหคําแนะนําอยางเหมาะสม การกระตุนความคิด กระตุนวิจารณญาณ และกระตุนบูรณาการ หรือความคิดรวบยอด โดยอาจารยประจําแหลงฝกอาจจัดกระบวนการเรียนรู และสงเสริมสมรรถนะทางการศึกษาในแบบตาง ๆ อาทิ

การเรียนรูดวยตนเอง (active learning) จากขอมูลตาง ๆ ท่ีอาจเขาถึงไดดวยสื่อ เอกสาร และสื่ออิเล็กทรอนิกส ทบทวนเอกสาร วิเคราะห และสรุปผลการศึกษา

การเรียนรูโดยใชปญหาเปนพ้ืนฐาน (problem-based learning) เพ่ือสรางความเขาใจ สรางวิจารณญาณในการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลท่ีหามาได และรวมในการอภิปรายกลุมดวยเหตุผล

การเรียนรูจากประสบการณจริง (experiential learning) เปนการฝกสรางความสามารถในการใชวิจารณญาณ เรียนรูจากประสบการณใหประจักษในสิ่งท่ีปฏิบัติดวยการวิเคราะห สังเคราะห ริเริ่มสรางสรรค มีนวัตกรรม ทดสอบ ทดลอง ตรวจสอบ การปฏิสัมพันธกับบุคคลอ่ืน ๆ อยางหลากหลายเพ่ือสรางวิสัยทัศน

การเรียนรูจากโครงการ/โครงงานตาง ๆ (project) เพ่ือฝกทักษะการหาปญหา การมองเห็นปญหา การระบุความสําคัญของปญหาใหถองแทข้ึน และปรับเปนปญหาเพ่ือการวิจัย การตั้งสมมติฐานการเก็บขอมูล การวัด การทดสอบ ทดลอง รวบรวมผลนํามาวิเคราะหและสังเคราะห จัดทําขอสรุปและขอเสนอแนะ

อยางไรก็ตาม อาจารยประจําแหลงฝกสามารถพิจารณาจัดกิจกรรมใหนิสิต/นักศึกษาตามสภาพแวดลอมของแหลงฝก โดยอาจประยุกตริเริ่มกิจกรรมท่ีเนนการสรางเสริมสุขภาพในการฝกปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับระยะเวลา งบประมาณ และองคประกอบอ่ืน ๆ เพ่ือใหนิสิต/นักศึกษาไดรับประโยชนจากการฝกปฏิบัติงานแบบองครวม ท้ังในดานวิชาการ วิชาชีพ และการดํารงชีวิตประจําวันอยางเปนปกติ

๕. การนิเทศ ๕.๑ วัตถุประสงคการนิเทศ สําหรับอาจารยประจําคณะเภสัชศาสตร

๕.๑.๑ ประสานงานกับอาจารยประจําแหลงฝกเพ่ือใหการฝกปฏิบัติงานเปนไปดวยความเรียบรอยและเปนไปตามปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบริบาลทางเภสัชกรรม

๕.๑.๒ ติดตามความกาวหนาของนิสิต/นักศึกษาฝกปฏิบัติงาน ๕.๑.๓ รับทราบปญหาและอุปสรรคท่ีเก่ียวของกับการฝกปฏิบัติงาน และรวมกับอาจารยประจํา

แหลงฝกและนิสิต/นักศึกษา เพ่ือแกไข ปองกัน ๕.๑.๔ รับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะเก่ียวกับการฝกปฏิบัติงาน จากนิสิต/นักศึกษา อาจารย

ประจําแหลงฝก และผูเก่ียวของกับการฝกปฏิบัติงาน (เชน กิจกรรมการฝกงาน ท่ีพัก การเดินทาง) ๕.๒ รูปแบบการนิเทศ

๕.๒.๑ การนิเทศทางโทรศัพท โดยอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา หรือผูท่ีไดรับมอบหมายจากอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา

๕.๒.๒ การเดินทางไปนิเทศ ณ แหลงฝก โดยอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา และ/หรืออาจารยประจําคณะเภสัชศาสตร

ท้ังนี้ ใหอาจารยผูนิเทศบันทึกขอมูลการนิเทศในแบบบันทึกท่ีจัดเตรียมให

Page 6: Asthma COPD

๖. การประเมิน โดยภาพรวม จะแบงเปน - คะแนนจากการประเมิน โดยอาจารยประจําแหลงฝก ๗๐ คะแนน - คะแนนจากการนําเสนอกรณีศึกษาและรายงาน ๓๐ คะแนน โดยคณาจารยคณะเภสัชศาสตรและผูรับผิดชอบรายวิชา

๗. ขอควรปฏิบัติของนิสิต/นักศึกษาระหวางการฝกปฏิบัติงาน ๗.๑ นิสิต/นักศึกษาจะตองมีกิริยา มารยาท วินัย และมนุษยสัมพันธท่ีดี โดย

- ตรงตอเวลา และใชเวลาใหเปนประโยชน - มีสัมมาคารวะ มารยาทออนนอม พูดจาสุภาพเรียบรอย รูจักกาลเทศะและเอ้ือเฟอตอผูอ่ืน - มีความประพฤติดี และรับผิดชอบตอหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย - ปฏิบัติตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ - ใหความเคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบของแหลงฝก - ในกรณีท่ีนิสิต/นักศึกษาทะเลาะวิวาทกับเภสัชกร เจาหนาท่ีของแหลงฝก เพ่ือนนิสิต/นักศึกษา

ผูปวยหรือประชาชนท่ัวไป ถึงข้ันทํารายรางกาย ใหอาจารยประจําแหลงฝกปรับลดคะแนนนิสิต/นักศึกษาลงได ท้ังนี้ ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของอาจารยประจําแหลงฝก

๗.๒ ในกรณีท่ีนิสิต/นักศึกษาไดกระทําการทุจริตหรือสอเจตนาในทํานองทุจริตในทรัพยสินสวนบุคคลหรือสวนราชการ ณ แหลงฝก (เชน เงิน ยา พัสดุ หรืออ่ืน ๆ) จะถูกปรับตกในรายวิชานั้นทันที

๗.๓ ในกรณีท่ีนิสิต/นักศึกษาเลนการพนันหรือดื่มสุราในเวลาราชการหรือระหวางการ ฝกปฏิบัติงาน หรือในสถานท่ีปฏิบัติวิชาชีพ หากฝาฝน จะถูกปรับตกในรายวิชานั้นทันที

๗.๔ นิสิต/นักศึกษาตองมีความตั้งใจและความรับผิดชอบท่ีจะฝกปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก

๗.๕ นิสิต/นักศึกษาควรตั้งใจฝกปฏิบัติงานใหเกิดทักษะในระดับวิชาชีพข้ันสูง (professional skill) โดยศึกษาในกิจกรรมตาง ๆ แบบ active learning (เชน การอภิปรายซักถาม การสังเกตการณ การสืบคนขอมูล ดวยเอกสาร และ/หรือ ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ) มากกวาการฝกปฏิบัติงานแบบ passive learning

๗.๖ นิสิต/นักศึกษาตองฝกปฏิบัติงานใหครบตามกําหนดนิสิต/นักศึกษาตองฝกปฏิบัติงานใหครบตามกําหนดเวลา เวลา เม่ือรวมระยะเวลาลากิจ/ลเม่ือรวมระยะเวลาลากิจ/ลาปวย ไมเกิน าปวย ไมเกิน ๑๑ วันตอผลัดวันตอผลัด หากระยะเวลาฝกไมเพียงพอ หากระยะเวลาฝกไมเพียงพอ นิสิต/นักศึกษาจะตองฝกเพ่ิมเติมใหครบตามท่ีนิสิต/นักศึกษาจะตองฝกเพ่ิมเติมใหครบตามท่ีกําหนด และตองขอกําหนด และตองขออนุญาตอาจารยประจําแหลงฝกเปนลายลักษณอักษร อนุญาตอาจารยประจําแหลงฝกเปนลายลักษณอักษร (การลากิจใหลาลวงหนา (การลากิจใหลาลวงหนา การลาปวยใหแจงทางโทรศัพทการลาปวยใหแจงทางโทรศัพทใหเร็วท่ีสุดในวันท่ีลา และสงใบลาในวันแรกท่ีกลับมาฝกปฏิบัติงาน)ใหเร็วท่ีสุดในวันท่ีลา และสงใบลาในวันแรกท่ีกลับมาฝกปฏิบัติงาน) หากไมปฏิบัติตามโดยไมมีเหตุอันควรตามดุลยพินิจของอาจารยประจําแหลงฝกและอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาสามารถพิจารณาใหตกในรายวิชานั้น ๆ

๗.๗ นิสิต/นักศึกษาตองปฏิบัติตาม “ขอกําหนด” คณะเภสัชศาสตรของมหาวิทยาลัย และหามนิสิต/นักศึกษาประพฤติตนในทางเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยวาดวยวินัยนิสิต/นักศึกษาและขอบังคับอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ

๗.๘ นิสิต/นักศึกษาท่ีมีขอสงสัยเก่ียวกับการฝกปฏิบัติงาน ใหติดตอโดยตรงท่ีผูรับผิดชอบการ ฝกปฏิบัติงาน และ/หรือผูประสานการฝกปฏิบัติงาน คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยตนสังกัด

Page 7: Asthma COPD

๘. ความรับผิดชอบของนิสิต/นักศึกษาในระหวางการฝกปฏิบัติงาน นอกเหนือไปจากขอปฏิบัติท่ัวไปในระหวางการฝกปฏิบัติงานแลว นิสิต/นักศึกษาตองมีความรับผิดชอบ

ตอวิชาชีพเภสัชกรรม ๘.๑ นิสิต/นักศึกษาจะตองไมเปดเผยความลับ หรือขอมูลสุขภาพของผูรับบริการ ๘.๒ นิสิต/นักศึกษามีพันธกิจท่ีจะตองใหความเคารพตอขอมูลหรือความลับท่ีไดจากการปฏิบัติงานท่ีไดรับ

มอบหมาย หรือจากเอกสาร เวชระเบียนของโรงพยาบาล หรือของกลุมงานเภสัชกรรม ๘.๓ นิสิต/นักศึกษาพึงตระหนักวาประสบการณในการเรียนรูสูงสุดตองการความเชื่อถือและความสุภาพ

ตอกัน ระหวางอาจารยประจําแหลงฝกกับนิสิต/นักศึกษา ๘.๔ นิสิต/นักศึกษา ตองไมเปดเผยคําถามหรือขอของใจท่ีมีตอคําแนะนําของอาจารยประจําแหลงฝกในท่ี

สาธารณะ นิสิต/นักศึกษาอาจพูดคุยกับอาจารยประจําแหลงฝกอยางเปนสวนตัว โดยการวิพากษวิจารณจะตองอยูบนพ้ืนฐานของการเรียนรู และดวยความเคารพตออาจารยประจําแหลงฝก

๘.๕ นิสิต/นักศึกษาพึงระลึกวาผลจากการกระทําของนิสิต/นักศึกษา อาจสงผลตออาจารยประจําแหลงฝกและแหลงฝก แมจะสิ้นสุดการฝกปฏิบัติงานแลว

๘.๖ นิสิต/นักศึกษาพึงตระหนักถึงการเสียสละและขยันฝกปฏิบัติงานเพ่ือใหไดประสบการณดานวิชาชีพมากท่ีสุดจากการฝกปฏิบัติงาน

๘.๗ นิสิต/นักศึกษาไมควรวิพากษวิจารณในขอจํากัดท่ีไมอาจแกไขไดหรือไมเก่ียวของกับการฝกปฏิบัติงาน

๘.๘ นิสิต/นักศึกษาพึงระลึกเสมอวาสภาวะแวดลอมของการฝกปฏิบัติงานอาจไมเปไปตามการคาดการณของนิสิต/นักศึกษา จึงควรปรับตัวใหเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม และปฏิบัติตนใหเหมาะสมตามคุณวุฒิและวัยวุฒิ

หมายเหตุ ขอบังคับสภาเภสัชกรรม วาดวยจรรยาบรรณแหงวิชาชีพเภสัชกรรม

Page 8: Asthma COPD

ปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในคลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Pharmaceutical Care Clerkship in asthma/COPD clinic)

จุดมุงหมาย

เพ่ือใหนิสิต/นักศึกษาสามารถประยุกตความรูดานเภสัชบําบัดมาใชในการดูแลผูปวยนอกโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังเฉพาะราย

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพ่ือใหนิสิต/นักศึกษาท่ีผานการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในคลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดก้ัน

เรื้อรังแลวมีความสามารถดังตอไปนี้ ๑. วิเคราะหใบสั่งยาเพ่ือคนหาปญหาจากการใชยา พรอมเสนอแนวทางการแกไขโดยปรึกษาแพทยผูสั่งจาย

ยาเม่ือตรวจพบปญหาจากการใชยา และ/หรือความคลาดเคลื่อนทางยา ๒. รวบรวมและวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐานท่ีจําเปนของผูปวยโดย

๒.๑ สัมภาษณและประเมินผูปวยเพ่ือหาปจจัยท่ีมีผลเก่ียวของกับการรักษา เชน ความรูความเขาใจ ความรวมมือตอการใชยา ปจจัยกระตุน ปญหาจากการใชยาท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน

๒.๒ รวบรวมและแปลผลตรวจรางกาย/หองปฏิบัติการ และขอมูลตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการดูแลผูปวย ๒.๓ ระบุและจัดลําดับความสําคัญของปญหา โดยพิจารณาบนพ้ืนฐานทางวิชาการ ผลตรวจรางกาย/ผล

ทางหองปฏิบัติการ และการสัมภาษณผูปวย โดยมุงเนนปญหาจากการใชยารวมถึงการสงเสริมสุขภาพเพ่ือการใชยาอยางเหมาะสม

๓. ประเมินความรุนแรงจากอาการและอาการแสดงของผูปวยได ๓.๑ ประเมินความรุนแรงของผูปวยโรคหืด เพ่ือจําแนกกลุมผูปวยตามระดับการควบคุมไดของโรค ไดแก

กลุมควบคุมอาการไดดี, กลุมควบคุมอาการไดบางสวน และกลุมควบคุมอาการไมได และสามารถวางแผนการรักษาดวยยาท่ีสอดคลองกับระดับความรุนแรงของโรค ตามแนวทางการรักษา GINA 2013 ได

๓.๒ ประเมินความรุนแรงของผูปวยโรคโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง เพ่ือจําแนกกลุมผูปวยตามอาการท่ีประเมินจาก mmRC หรือ CAT score และสามารถวางแผนการรักษาดวยยาท่ีสอดคลองกับระดับความรุนแรงของโรค ตามแนวทางการรักษา GOLD 2013 ได

๓.๓ ประเมินความรุนแรงของผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง เม่ือเกิดการกําเริบเฉียบพลัน (acute exacerbation) และสามารถวางแผนการรักษาดวยยาได

๓.๔ ประเมินความเหมาะสมและสามารถใหคําแนะนําการใหวัคซีนท่ีแนะนําใหใชในผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง เชน วัคซีนไขหวัดใหญ วัคซีนเชื้อนิวโมคอกคอล เปนตน

๔. เสนอแนะแผนการรักษา มีสวนรวมในการสงตอผูปวย รวมถึงการติดตามประสิทธิภาพและความปลอดภัยจาก การใชยาท่ีเหมาะสมแกผูปวย/ญาติ และบุคลากรสาธารณสุขท่ีเก่ียวของ โดยคํานึงถึงความรวมมือในการใชยา ขนาดยา อันตรกิริยาระหวางยา/อาหาร อาการไมพึงประสงคและปจจัยอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของกับการรักษาดานยา

๕. ติดตามการยอมรับตอคําแนะนาของบุคลากรสาธารณสุขท่ีเก่ียวของ พรอมวางแผนการแกไขอยางตอเนื่อง ๖. ติดตามความรวมมือของผูปวยตอคําแนะนํา รวมถึงผลการรักษาพรอมวางแผนการแกไขอยางตอเนื่อง ๗. ใชเทคนิคใหคําปรึกษาดานยา โรค และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพ่ือสุขภาพแกผูปวย/ญาติ หรือผูดูแล

ผูปวย

Page 9: Asthma COPD

๘. คนหา เลือก วิเคราะหขอมูลทางการแพทย และใหบริการสารสนเทศทางยาแกแพทย พยาบาล บุคลากรอ่ืน ๆ และผูปวย/ญาติ อยางมีประสิทธิภาพภายในเวลาท่ีเหมาะสม

๙. ใชเทคนิคในการใหคําปรึกษาแกผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง โดยใชผูปวยเปนศูนยกลางในประเด็น

๙.๑ ความรูเก่ียวกับโรค ๙.๒ ความรูเก่ียวกับปจจัยกระตุนท่ีทําใหเกิดอาการ ๙.๓ วัตถุประสงค ขอบงใช วิธีการใชยา ตลอดจนเทคนิคการใชยาเทคนิคพิเศษตาง ๆ โดยเฉพาะการให

คําแนะนําและการสาธิตการใชยาสูดพนทางปากอยางถูกตองได ๙.๔ ความสําคัญของการใหความรวมมือตอการใชยา ๙.๕ ขอควรระวังและอาการไมพึงประสงคท่ีพบบอยจากยา ๙.๖ การปฏิบัติตัวเม่ือเกิดอาการไมพึงประสงคจากการใชยา

๑๐. สื่อสารกับผูปวย แพทย พยาบาล และบุคลากรอ่ืน ๆ อยางมีประสิทธิภาพ สามารถใหความรู และคําปรึกษาแกผูปวยหรือญาติ หรือผูดูแลผูปวยในเรื่องยา โรค และการดูแลตนเอง

แนวทางการฝกปฏิบัติงาน ในการฝกปฏิบัติงานนี้ นิสิต/นักศึกษามีความรับผิดชอบดังตอไปนี้

๑. เขารวมในกิจกรรมประจําวันของแหลงฝก ในสวนท่ีไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก ๒. ปฏิบัติงานใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโดยครอบคลุมวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ๓. ใหบริการสารสนเทศทางยาแกผูปวย บุคลากรสาธารณสุข และอาจารยประจําแหลงฝก ๔. คนหา เลือก และวิเคราะหขอมูลทางการแพทย จากเอกสารและแหลงอางอิงตาง ๆ เพ่ือนําไปประยุกตใช

ในการดูแลผูปวย และอภิปรายรวมกับอาจารยประจําแหลงฝก ๕. จัดทําเอกสาร แผนพับหรือเครื่องมืออ่ืน ๆ เพ่ือใชในการใหความรูตามท่ีไดรับมอบหมายจากอาจารย

ประจําแหลงฝก

Page 10: Asthma COPD

แนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงาน

สัปดาห กิจกรรม อาจารยผูรับผิดชอบ ๑ - แนะนําเก่ียวกับการจัดตั้งและระบบการบริบาลทางเภสัชกรรม

คลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง - ใหบริบาลทางเภสัชกรรมกับผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง

อยางนอย ๓ ราย/สัปดาห* - กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีอาจารยประจําแหลงฝกมอบหมาย

อาจารย ประจําแหลงฝก

๒ - ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังอยางนอย ๕ ราย/วัน

- กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีอาจารยประจําแหลงฝกมอบหมาย

อาจารย ประจําแหลงฝก

๓ - ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังอยางนอย ๕ ราย/วัน

- นําเสนอกรณีศึกษาครั้งท่ี ๑ - ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งท่ี ๑ - กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีอาจารยประจําแหลงฝกมอบหมาย

อาจารย ประจําแหลงฝก

๔ - ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังอยางนอย ๕ ราย/วัน

- นําเสนอ และประเมินวรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงานและ/หรือการดูแลผูปวย

- กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีอาจารยประจําแหลงฝกมอบหมาย

อาจารย ประจําแหลงฝก

๕ - ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังอยางนอย ๕ ราย/วัน

- ใหความรูแกบุคลากรสาธารณสุขในองคกร (academic in-service) - กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีอาจารยประจําแหลงฝกมอบหมาย

อาจารย ประจําแหลงฝก

๖ - ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังอยางนอย ๕ ราย/วัน

- นําเสนอกรณีศึกษาครั้งท่ี ๒ - นําเสนอแนวคิดในการจัดตั้ง หรือพัฒนางานบริบาลทางเภสัชกรรม

ในคลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง - ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งท่ี ๒ - กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีอาจารยประจําแหลงฝกมอบหมาย

อาจารย ประจําแหลงฝก

หมายเหตุ: *การจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงานเปนแนวทางสําหรับอาจารยประจําแหลงฝกซ่ึงอาจปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณและความเหมาะสมของแหลงฝก

Page 11: Asthma COPD

การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน

๑. การประเมินผลโดยอาจารยประจํามหาวิทยาลัย รอยละ ๓๐ ๑.๑. รายงานผลการฝกปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๑.๒. การนําเสนอผลการปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐ ๑.๓. อ่ืนๆ ตามท่ีแตละสถาบันกําหนด รอยละ ๑๐

๒. การประเมินโดยอาจารยประจําแหลงฝก รอยละ ๗๐ ๒.๑. การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม (ป-๑/๑, ป-๑/๒) รอยละ ๑๐ ๒.๒. การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงทักษะ รอยละ ๓๐

(ป-๒/๑, ป-๒/๒ และ ป-๒/๓) ๒.๓. การประเมินผลการนําเสนอ

๒.๓.๑. นําเสนอกรณีศึกษา (Formal case presentation) รอยละ ๑๕ อยางนอย ๒ กรณีศึกษา

๒.๓.๒. การใหความรูในองคกร (Academic in-service) รอยละ ๕ นักศึกษา หรือประชาชนท่ัวไปอยางนอย ๑ ครั้ง

๒.๓.๓. วิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ (Journal Club) หรือนําเสนอขอมูลท่ีไดจากการสืบคนเพ่ือนําไปใช รอยละ ๑๐ บริบาลแกผูปวยเฉพาะราย อยางนอย ๑ ครั้ง

หมายเหตุ:

- กิจกรรมใดท่ีแหลงฝกไมไดกําหนดใหฝกปฏิบัติ สามารถปรับคะแนนไดตามการฝกปฏิบัติจริงหรือกําหนดกิจกรรมอ่ืนใหเทียบเทากัน

- รูปแบบของ formal case presentation แตละครั้งประกอบดวย ๑. การเสนอประวัติผูปวย โดยครอบคลุมขอมูลดาน CC, HPI, PMH, FH, SH, ALL, MH, PE, Lab

และHospital course ๒. การนําเสนอปญหาของผูปวยท้ังปญหาเรื่องโรค การใชยา การดําเนินการแกไขปญหา การให

ขอเสนอแนะ การปรับแผนการใหยาและขนาดยา รวมถึงการติดตามผลการตอบสนองตอการรักษาตามแผนท่ีกําหนด

๓. การนําเสนอการสืบคนขอมูลเพ่ิมเติม ความนาเชื่อถือและความเหมาะสมของขอมูลอางอิงท่ีเก่ียวของกับกรณีศึกษาการนําเสนอและการตอบคําถาม

Page 12: Asthma COPD

กิจกรรมการฝกปฏิบัติการเภสัชกรรมในคลินิกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กิจกรรมท่ีกําหนด เกณฑกําหนด แบบประเมิน รอยละ

๑ การวิเคราะหใบสั่งยาเพ่ือคนหาปญหาจากการใชยา และ/หรือการจายยาใหแกผูปวย

ตามแหลงฝกกําหนด

๔๐

๒. การจัดทําแฟมประวัติ สืบคนปญหา เสนอแนะแนวทางแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน และติดตามการใชยา หรือดําเนินการตามระบบการใชยาตอเนื่อง (refilling system)

> ๕ ราย/วัน*

ป-๒/๑ ป-๒/๒ ป-๒/๓

๓. การใหคําแนะนําปรึกษาดานยาและสุขภาพแกผูปวย ญาติ หรือผูเก่ียวของ (ราย)

> ๕ ราย/วัน

๔. การอภิปรายรวมกับอาจารยประจําแหลงฝกเก่ียวกับการติดตามการใชยาในผูปวยท่ีไดรับมอบหมาย (case discussion)**

> ๓ ครั้ง/สัปดาห

๕. การนําเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation) > ๒ กรณีศึกษา ป-๖/๑ ป-๖/๒ ป-๖/๓

๑๕

๖. การบรรยายสอนแกบุคลากรในโรงพยาบาล นิสิต/นักศึกษา หรือ อาสาสมัคร (academic in-service)

> ๑ ครั้ง ป-๘

๗. การวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ (Journal club) > ๑ ครั้ง ป-๗/๑ ป-๗/๒ ป-๗/๓

๑๐

๘ กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีแหลงฝกกําหนด

หมายเหตุ * สามารถปรับเปลี่ยนไดตามท่ีแหลงฝกกําหนด ** รูปแบบของ case discussion เปนการอภิปรายเก่ียวกับความกาวหนาในแตละวันของผูปวย ประกอบดวย

- การสรุปขอมูลเก่ียวกับประวัติ การสืบคนปญหา การเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน และการติดตามการใชยาของผูปวย โดยพยายามทําทุกกรณีศึกษาในแตละครั้งท่ีอภิปรายกับอาจารยประจําแหลงฝก

- การนําเสนอขอมูลท่ีไดสืบคนเพ่ิมเติม ซ่ึงเก่ียวของกับปญหาของผูปวยจากแหลงอางอิงท่ีเหมาะสม

Page 13: Asthma COPD

๑๐

แบบบันทึกสรุปกิจกรรมรวมปฏิบัติการเภสัชกรรมผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

ชื่อนิสิต.................................................................................รหัสประจําตัว............................................................... แหลงฝก...................................................................ระหวางวันท่ี.................................ถึง...................รวม............วัน

กิจกรรมท่ีกําหนด เกณฑ ปฏิบัติจริง

๑ การวิเคราะหใบสั่งยาเพ่ือคนหาปญหาจากการใชยา และ/หรือการจายยาใหแกผูปวย

ตามแหลงฝกกําหนด

๒. การจัดทําแฟมประวัติ สืบคนปญหา เสนอแนะแนวทางแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน และติดตามการใชยา หรือดําเนินการตามระบบการใชยาตอเนื่อง (refilling system)

> ๕ ราย/วัน*

๓. การใหคําแนะนําปรึกษาดานยาและสุขภาพแกผูปวย ญาติ หรือผูเก่ียวของ (ราย)

> ๕ ราย/วัน

๔. การอภิปรายรวมกับอาจารยประจําแหลงฝกเก่ียวกับการติดตามการใชยาของผูปวยท่ีไดรับมอบหมาย (case discussion)**

>๓ ครั้ง / สัปดาห

๕. การนําเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation) > ๒ กรณีศึกษา ๖. การบรรยายสอนแกบุคลากรในโรงพยาบาล นักศึกษา หรือ

อาสาสมัคร (academic inservice) > ๑ ครั้ง

๗. การวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) > ๑ ครั้ง ๘ กิจกรรมอ่ืน ๆ ตามท่ีแหลงฝก

กําหนด

หมายเหตุ: *การจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงานเปนแนวทางสําหรับอาจารยประจําแหลงฝกซ่ึงอาจปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณและความเหมาะสมของแหลงฝก

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพ่ิมเติม....................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................

ลงช่ือนิสิต.......................................................................

ลงช่ืออาจารยประจําแหลงฝก..........................................

Page 14: Asthma COPD

๑๑

แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก

ช่ือนิสิต/นักศึกษา............................................................รหัสประจําตัว............................................... ปฏิบัติงาน......................................................ช่ือแหลงฝก...............................................ผลัดท่ี...........

ใหอาจารยประจําแหลงฝกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการ

อภิปรายสอบถาม การสื่อสาร ท้ังโดยวาจา หรือลายลักษณอักษร และใหประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาหท่ี ๓ และ ๖ ของการฝกปฏิบัติงาน ผลการประเมินในสัปดาหท่ี ๓ ควรมีการแจงใหนิสิต/นักศึกษาทราบ เพ่ือใหเกิดการพัฒนา โดยคะแนนท่ีใชการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาหท่ี ๖ คําช้ีแจง

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินท่ีตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษาท่ีทานดูแลมากท่ีสุด (ประเมินท้ังในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ) ระดับข้ันการประเมิน คะแนน ระดับ นิยาม

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพรอม เสียสละ กระตือรือรน รวมถึงทัศนคติท่ีดีตอการฝกปฏิบัติงานพรอมสามารถอภิปรายและใหขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนอยางเหมาะสม

๔ ดี นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพรอม เสียสละ รวมถึงทัศนคติท่ีดีตอการฝกปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับคําแนะนําเพียงเล็กนอย

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมอยูในเกณฑพอใช สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไมเหมาะสมบางประการ เกิดความผิดพลาดซํ้า สามารถปฏิบัติงานไดแตตองไดรับการติดตามอยางใกลชิด

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไมเหมาะสม เกิดความผิดพลาดซํ้า และไมปรับปรุงตัวตามคําแนะนําของอาจารยประจําแหลงฝก

นิสิต/นักศึกษาจะไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ก็ตอเม่ือ มีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา

มากกวาหรือเทากับรอยละ ๕๐

แบบ-ป-๑/๑

Page 15: Asthma COPD

๑๒

แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา สําหรับอาจารยแหลงฝก

ช่ือนิสิต/นักศึกษา...................................................................รหัสประจําตัว.......................................... ปฏิบัติงาน.....................................................ช่ือแหลงฝก......................................................ผลัดท่ี.......

หัวขอการประเมิน สัปดาหท่ี ๓ สัปดาหท่ี ๖

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การตรงตอเวลา และความมีวินัย (มากอนเวลาท่ีสามารถเตรียมตัว

พรอมท่ีจะฝกฯ)

๒. การแตงกายเหมาะสม แสดงถึงความเปนวิชาชีพเภสัชกรรม ๓. พฤติกรรมในการติดตอสัมพันธกับบุคคลอ่ืน อยางมีสัมมาคารวะ

และเหมาะสมกับกาลเทศะ

๔. ความมีน้ําใจ ไมเพิกเฉยตอการชวยเหลือผูอ่ืนตามสมควร ๕. ความเหมาะสมของบุคลิกภาพ (นาเชื่อถือ มีสุขอนามัยท่ีดี การ

วางตัวท่ีเหมาะสมกับการเปนบุคลากรสาธารณสุข)

๖. การเตรียมความพรอมในการเตรียมตัวกอนมาปฏิบัติงาน ๗. ความตั้งใจ กระตือรือรน และรับผิดชอบตอการฝกฯ ๘. ความรับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย ๙. การปรับตัวเขากับแหลงฝก

๑๐. การปรับปรุงตนเองตอขอเสนอแนะ (ยอมรับฟง ทบทวนตนเองและปรับปรุงตนเองตามท่ีไดรับขอเสนอแนะ)

๑๑. การมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ (เชน ซ่ือสัตย ไมมีพฤติกรรมท่ีเสี่ยงตอการเปดเผยความลับของผูปวย)

๑๒. ความคิดริเริ่มสรางสรรค (เชน มีความคิดปรับปรุงคุณภาพกิจกรรม หรือริเริ่มกิจกรรมใหมเพ่ือพัฒนาคุณภาพงานบริบาลทางเภสัชกรรม)

รวมคะแนน (คะแนนท่ีได x ๑๐)/ฐานคะแนนท่ีประเมินจริง

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพ่ิมเติม...............................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก

(......................................................)

แบบ-ป-๑/๒

Page 16: Asthma COPD

๑๓

แบบประเมินทักษะการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก

ช่ือนิสิต/นักศึกษา.....................................................................รหัสประจําตัว.................................... ปฏิบัติงาน...............................................ช่ือแหลงฝก.....................................................ผลัดท่ี..........

ใหอาจารยประจําแหลงฝกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการอภิปรายสอบถาม การสื่อสาร ท้ังโดยวาจา หรือลายลักษณอักษร และใหประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาหท่ี ๓ และ ๖ ของการฝกปฏิบัติงาน ผลการประเมินในสัปดาหท่ี ๓ ควรมีการแจงใหนิสิต/นักศึกษาทราบ เพ่ือใหเกิดการพัฒนา โดยคะแนนท่ีใชการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาหท่ี ๖ คําชี้แจง

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินท่ีตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษาท่ีทานดูแลมากท่ีสุด (ประเมินท้ังในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ) ระดับขั้นการประเมิน คะแนน ระดับ นิยาม

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีทักษะ/ความสามารถครบถวนตามวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ เปนท่ีนาพอใจ เกิดความบกพรองนอย สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง อาจไดรับคาํแนะนําเปน ครั้งคราว

๔ ดี นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีทักษะ/ความสามารถตามวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ มีความบกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับคําแนะนําเปนครั้งคราว

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีทักษะ/ความสามารถตามเกณฑวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ มีความบกพรองในระดับยอมรับได ยังคงสามารถปฏิบัติงานได แตตองไดรับคาํแนะนําเปนสวนใหญ

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดทักษะ/ความสามารถในระดบัไมนาเช่ือถือ เกิดความบกพรองอยูเสมอ การปฏิบัติงานอยูภายใตการดูแลจากอาจารยประจําแหลงฝกอยางใกลชิด

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดทักษะ/ความสามารถ ไมผานตามวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ ไมสามารถปฏิบัติงานได เกิดความผิดพลาดซ้ํา และไมปรับปรุงตามคาํแนะนําของอาจารยแหลงฝก

แบบ-ป-๒/๑

Page 17: Asthma COPD

๑๔

แบบประเมินทักษะการฝกปฏิบัตงิานบริบาลทางเภสัชกรรมผูปวยโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเร้ือรัง

ช่ือนิสิต/นักศึกษา...............................................................รหัสประจําตัว............................................ปฏิบัติการ..................................................ช่ือแหลงฝก..............................................ผลัดท่ี................

หัวขอการประเมนิ สัปดาหท่ี ๓ สัปดาหท่ี ๖ สําหรับ

คณะฯ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A

๑. การรวบรวมขอมูลท่ีเหมาะสม ๑.๑ จากเวชระเบียน (ผูปวยนอก /ผูปวยใน/ฐานขอมลูเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกสในโรงพยาบาล )

๑.๒ จากสัมภาษณผูปวย ญาต ิและ/หรือบุคลากรสาธารณสุขท่ีเก่ียวของ

๑.๓ เลือกขอมลูท่ีจําเปน เก่ียวของกับการดูแลผูปวย ๑.๔ สามารถตอบคําถามหรือนําขอมูลมาใชในการดูแลผูปวยจากแบบบันทึกไดอยางรวดเร็ว

๒. กระบวนการคิดและวิเคราะหเพ่ือแกไขปญหาอยางเปนระบบแกผูปวยเฉพาะราย ๒.๑ คัดกรองปญหาจากการใชยาจากใบสั่งยา (ผูปวยใน/ผูปวยนอก)

๒.๒ ระบุปญหาเรื่องโรคและปญหาจากการใชยาของผูปวยโดยนิสติ โดยสืบคนจากรายการยา (ใบสั่งยา) เวชระเบียน การสมัภาษณผูปวย/ผูดูแลผูปวย บุคลากรสาธารณสุข และอ่ืน ๆ

๒.๓ ระบุขอมลูของผูปวยท่ีสมัพันธกับปญหาเรื่องโรคและปญหาจากการใชยา (subjective & objective data)

๒.๔ การประเมิน ๒.๔.๑ สาเหตุและปจจัยเสี่ยง ๒.๔.๒ ประเมินรูปแบบการรักษาในปจจุบันหรือ

ควรจะไดรับ (Indication, Efficacy, Safety, Adherence, Cost)

๒.๔.๓ การเลือกสตูรยาตานเอชไอวี ๒.๔.๔ การเริ่ม/หยุดการปองกันโรคติดเช้ือฉวย

โอกาสดวยยา

๒.๔.๕ การเฝาระวังการเกิดอันตรกิริยาระหวางยา ๒.๕ แผนการแกไขปญหา

๒.๕.๑ เปาหมายการรักษา ๒.๕.๒ แผนการรักษาดวยยาในปจจุบันและอนาคต

พรอมทางเลือกอ่ืน ๆในการรักษา

๒.๕.๓ การติดตามผูปวยดานประสิทธิภาพและความปลอดภัย

๒.๕.๔ การใหคําปรึกษาแกผูปวย/ญาต/ิแพทย/บุคลากรสาธารณสุขอ่ืน ๆ

แบบ-ป-๒/๒

Page 18: Asthma COPD

๑๕

หัวขอการประเมนิ สัปดาหท่ี ๓ สัปดาหท่ี ๖ สําหรับ

คณะฯ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A

๓. การแกไขปญหาแกผูปวยเฉพาะราย ๓.๑ ปฏิบัติตามแผนการรักษาท่ีนิสิต/นักศึกษาวางแผนไวจริง

๓.๒ ติดตามผลการนําเสนอแนวทางการแกไข ๓.๓ ติดตามผลการตอบสนองรักษาท้ังในแงประสิทธิภาพและความปลอดภัย รวมถึงวางแผนการแกไขปญหาอยางตอเน่ือง

๔. การสื่อสารเพ่ือแกไขปญหาแกผูปวยเฉพาะราย ๔.๑ ระบุบุคคลท่ีตองการสื่อสารไดอยางเหมาะสม ๔.๒ เลือกชองทางและใชการสื่อสารท่ีเหมาะสมตอบุคคลเปาหมาย

๔.๒.๑ อวัจนภาษา: pharmacist note, เอกสารหลักฐานวิชาการ

๔.๒.๒ วัจนภาษา: ภาษาเหมาะแกระดับผูรับสาร ชัดเจน ไดใจความ ถูกตอง ตรงประเด็น

๔.๓ ใหคําแนะนําถูกตองตามหลักวิชาการ ๔.๕ การแกไขปญหาเฉพาะหนาท่ีเหมาะสมตามสถานการณ

๕. บริการสารสนเทศทางยาแกบุคลากรสาธารณสุข/ผูปวย และ/หรือบุคคลท่ัวไป

รวมคะแนน (คะแนนท่ีได x ๓๐)/ฐานคะแนนท่ีมีการประเมินจริง

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพ่ิมเติม.......................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก ( )

แบบ-ป-๒/๓

Page 19: Asthma COPD

๑๖

แบบประเมินการนําเสนอกรณีศึกษา

ช่ือนิสิต/นักศึกษา......................................................................รหัสประจําตัว.................................... ปฏิบัติงาน.......................................................ช่ือแหลงฝก..................................................ผลัดท่ี...... คําช้ีแจง

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินท่ีตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษาท่ีทานดูแลมากท่ีสุด (ประเมินท้ังในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ) ระดับข้ันการประเมิน คะแนน ระดับ นิยาม

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษา สามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตองครบถวน แสดงความรู/ความคิดเห็นบนพ้ืนฐานองคความรูใหมอยางเหมาะสม สามารถอภิปรายประเด็นการดูแลผูปวยดานยาท่ีสําคัญ (critical point) และนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยเฉพาะรายไดจริง

๔ ดี นิสิต/นักศึกษา สามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตอง แสดงความรู/ความคิดเห็นบนพ้ืนฐานแนวทางการรักษาท่ีเปนปจจุบันอภิปรายถึงประเด็นการดูแลผูปวยดานยาท่ีสําคัญและนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยเฉพาะรายไดบางสวน แตตองไดรับคําแนะนําบาง

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษา สามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตองบางสวนมีองคความรูพ้ืนฐาน ยังขาดความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา ยังไมสามารถนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยไดดวยตนเอง ตองไดรับคําแนะนํา

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษา สามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตองบางสวน ขาดขอมูลสําคัญและความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา ไมสามารถนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยได ตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษา การนําเสนอไมถูกตอง ไมสามารถอภิปรายและตอบคําถามได ขาดขอมูลสําคัญและความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา ตองสอนการทํากรณีศึกษาใหม

แบบ-ป-๖/๑

Page 20: Asthma COPD

๑๗

แบบประเมินการนําเสนอกรณีศึกษา

ช่ือนิสิต/นักศึกษา............................................................รหัสประจําตัว........................................ ปฏิบัติงาน..............................................ช่ือแหลงฝก..................................................ผลัดท่ี..........

หัวขอการประเมิน คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A ๑. การนําเสนอขอมลูผูปวยถูกตองและครบถวน

๑.๑ ประกอบดวย CC, HPI, PMH, FH, SH, ALL, MH, PE, Lab ๑.๒ ประวัติการรักษาโดยยอท่ีเก่ียวของกับการใชยา

รวมคะแนนสวนท่ี ๑ (คะแนนท่ีได x ๗.๕)/๑๐

๒. การประเมินและแกไขอยางเปนระบบ ๒.๑ ระบุปญหาเรื่องโรคและปญหาการบําบัดดานยาของผูปวยโดยนิสิต/นักศึกษา ๒.๒ ระบุขอมลูของผูปวยท่ีสมัพันธกับปญหาเรื่องโรคและปญหาเรื่องการใชยา

(subjective & objective data)

๒.๓ การประเมิน ๒.๓.๑ สาเหต ุ ๒.๓.๒ ปจจัยเสี่ยง ๒.๓.๓ ประเมินรูปแบบการรักษาในปจจุบันหรือควรจะไดรับ (IESAC)

๒.๔ แผนการแกไขปญหา ๒.๔.๑ เปาหมายการรักษา ๒.๔.๒ แผนการรักษาดวยยาในปจจุบันและอนาคต ๒.๔.๓ ติดตามผูปวยดานประสิทธิภาพและความปลอดภัย ๒.๔.๔ ใหคําปรึกษาแกผูรับบริการ/ผูปวย/ญาต/ิแพทย/บุคลากรสาธารณสุขอ่ืน ๆ

รวมคะแนนสวนท่ี ๒ (คะแนนท่ีได x ๕๐)/๔๕

๓. การใชหลักฐานทางวิชาการ ๓.๑ การนําเสนอขอมูลท่ีเก่ียวของกับกรณีศึกษาเพ่ิมเติม โดยเปนขอมูลท่ีทันสมัย นาเช่ือถือ

และเปนท่ียอมรับอยางแพรหลายในวงการสาธารณสุข มีจํานวนเหมาะสมเพียงพอท่ีจะตอบคําถามของผูปวยไดถูกตองเหมาะสมกับผูปวยแตละราย

รวมคะแนนสวนท่ี ๓ (คะแนนท่ีได x ๗.๕)/๕

๔. การนําเสนอ ๔.๑ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม ภายในระยะเวลาท่ีกําหนด ๔.๒ เน้ือหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ ๔.๓ การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทท่ีใชเขาใจงายออกเสียงถูกตอง

ทาทาง การประสานสายตา

รวมคะแนนสวนท่ี ๔ (คะแนนท่ีได x ๗.๕ )/๑๕

แบบ-ป-๖/๒

Page 21: Asthma COPD

๑๘

หัวขอการประเมิน คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A ๕. การตอบคําถาม

๕.๑ ถูกตอง และมีเหตุผลสอดคลองกับระดับนิสิต/นักศึกษา Pharm D. ๕.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพ้ืนฐาน ในกรณีท่ีไมมีขอมูลสนับสนุน

คําตอบชัดเจนเชิงประจักษ

รวมคะแนนสวนท่ี ๕ (คะแนนท่ีได x ๑๗.๕)/๑๐

๖. การบูรณาการองคความรูและความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา

รวมคะแนนสวนท่ี ๖ (คะแนนท่ีได x ๑๐)/๕

รวมคะแนน (คะแนนท่ีได x ๑๕)/๑๐๐

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพ่ิมเติม................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก (......................................................)

แบบ-ป-๖/๓

Page 22: Asthma COPD

๑๙

แบบประเมินการนําเสนอและวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ

ช่ือนิสิต/นักศึกษา ...............................................................รหัสนิสิต................................................. เรื่อง ...................................................................................วันท่ี ....................................................... คําช้ีแจง

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินท่ีตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษาท่ีทานดูแลมากท่ีสุด (ประเมินท้ังในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ) ระดับข้ันการประเมิน คะแนน ระดับ นิยาม

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษ รวมถึงการสังเคราะหองคความรูปจจุบัน วรรณกรรมอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ และสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานได

๔ ดี นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษ รวมถึงการสังเคราะหองคความรูจากวรรณกรรมท่ีวิพากษ และสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานได อาจตองใหคําแนะนําบาง

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษวรรณกรรม ยังไมสามารถสังเคราะหองคความรู และนําประยุกตใชในการปฏิบัติงานได ตองไดรับคําแนะนําบาง

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษวรรณกรรมไดเพียงบางสวน ไมสามารถสังเคราะหองคความรู และนําประยุกตใชในการปฏิบัติงานได ขาดความเขาใจภาพรวมของวรรณกรรมท่ีนําเสนอ ตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษาไมสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษวรรณกรรมได ไมสามารถอธิบายและตอบคําถามได ขาดความเขาใจภาพรวมของวรรณกรรมท่ีนําเสนอ ตองสอนการทําวรรณกรรมปฐมภูมิใหม

แบบ-ป-๗/๑

Page 23: Asthma COPD

๒๐

หัวขอการประเมิน

คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A

๑. การคัดเลือกบทความโดยนิสิต/นักศึกษา โดยพิจารณาจากประโยชนของการนําไปประยุกตใชไดแก การใชสนับสนุนการดูแลผูปวยท่ีนิสิต/

นักศึกษาดูแลอยูและ/หรือการใชสนับสนุนการดูแลผูปวยท่ีเขารับบริการในหนวยงานน้ัน ๆ

๒. การประเมิน และวิพากษบทความ ๒.๑ ช่ือเรื่อง บทคัดยอ บทนํา ๒.๒ คําถามและวัตถุประสงคงานวิจัย ๒.๓ ระเบียบวิธีการวิจัย

๒.๓.๑ รูปแบบการวิจัยมคีวามสอดคลองกับคําถามงานวิจัย ๒.๓.๒ เกณฑการคดัเขา/คัดออก พิจารณาจากความสอดคลองกับคําถามงานวิจัย และ

อคติในการคัดเลือกกลุมตัวอยาง

๒.๓.๓ ขนาดกลุมตัวอยาง/รอยละของผูปวยท่ีออกจากการศึกษา (drop out) ๒.๓.๔ สถิติ โดยพิจารณา

- ความเหมาะสมของสถิติท่ีใชกับชนิดของตัวแปร - การกระจายของขอมูลกับความสอดคลองกับสถิติท่ีเลือกใช - ความแตกตางของระดับความเช่ือมั่นกับชวงความเช่ือมั่นทางสถิต ิ

๒.๓.๕ จริยธรรม โดยไมพิจารณาเพียงผลการยอมรับจากคณะกรรมการจริยธรรมการศึกษาวิจัยในมนุษย แตตองพิจารณาจริยธรรมตามแนวทางการรักษา ความปลอดภัยและประสิทธิผลท่ีผูปวยควรไดรับรวมดวย

๒.๓.๖ เครื่องมือท่ีใช พิจารณาจากความสอดคลองรูปแบบงานวิจัยกับเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เชน การสัมภาษณ แบบเก็บขอมูล อุปกรณท่ีใชวัดผลการศึกษาท่ีตองการ

๒.๓.๗ ตัวแปรและการวัดผลลัพธการศึกษา (outcome variables & outcome measurement) พิจารณาจากความสอดคลองของตัวแปรกับคําถามและวัตถุประสงคงานวิจัย

๒.๔ รายงานและวิพากษผลการศึกษาถูกตอง ครบถวน ชัดเจน รูปแบบการนําเสนอผลงานวิจัยมีอคติหรือไม

๒.๕อภิปรายและสรุปผลการศึกษา โดยพิจารณาในหัวขอดังตอไปน้ี - ผลงานวิจัยท่ีไดสามารถตอบคําถามงานวิจัยไดถูกตองและเหมาะสม - ความเหมาะสมในการประยุกตใชผลงานวิจัยสอดคลองกับขอบเขตงานวิจัย - ความสอดคลองของผลการศึกษากับผลจากงานวิจัยอ่ืน ๆ ท่ีมีคําถามงานวิจัยเดยีวกันหรือ

คลายคลึงกัน - สามารถนําไปใชในการดูแลผูปวยท่ีนิสิต/นักศึกษาดูแลอยู

๒.๖ ความคิดเห็นของนิสิต/นักศึกษาตอบทความโดยภาพรวม ในการนําไปประยุกตใชกับผูปวย หรือคําถามท่ีนิสติ/นักศึกษาดูแล

๓. การนําเสนอ ๓.๑นําเขาสูเน้ือหาไดนาสนใจ ๓.๒ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม ภายในระยะเวลาท่ีกําหนด ๓.๓เน้ือหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ

แบบ-ป-๗/๒

Page 24: Asthma COPD

๒๑

หัวขอการประเมิน คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A ๓.๔การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทท่ีใชเขาใจงาย ออกเสียงถูกตอง ทาทาง

การประสานสายตา

๔. การตอบคําถาม ๔.๑ ถูกตอง มีเหตุผลอางอิงถึงหลักฐานทางวิชาการและเหมาะสมกับระดับความรูท่ี

นิสิต/นักศึกษา Pharm D. พึงมี

๔.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพ้ืนฐาน ในกรณีท่ีไมมีขอมูลสนับสนุนคําตอบชัดเจนเชิงประจักษ

คะแนนรวม (คะแนนท่ีได x /๑๐) /ฐานคะแนนท่ีมกีารประเมินจริง

หมายเหตุในกรณีท่ีไมสามารถประเมิน ฐานคะแนนการประเมินใหลดลงตามสวน ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพ่ิมเติม...........................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก (......................................................)

แบบ-ป-๗/๓

Page 25: Asthma COPD

๒๒

แบบประเมินการใหความรูบุคลากรในองคกร

ช่ือนิสิต/นักศึกษา .............................................................................วันท่ี ..................................... เรื่อง ...............................................................................................................................................

หัวขอการประเมิน คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A ๑. เนื้อหาการนําเสนอ

๑.๑กําหนดหัวขอและวัตถุประสงคโดยวิเคราะหความตองการของผูฟง

๑.๒ เน้ือหาครบถวนและครอบคลมุประเด็นสาํคัญ

๑.๓ มีการวิเคราะหและสังเคราะหเน้ือหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงค

๑.๔ เน้ือหาเปนประโยชนและสามารถประยุกตใชตามความตองการของผูฟงได ๒. การใชหลักฐานทางวิชาการ

๒.๑ เปนขอมูลท่ีทันสมัย นาเช่ือถือและเปนท่ียอมรับอยางแพรหลายในวงการสาธารณสุข มีจํานวนเหมาะสมเพียงพอท่ีจะตอบคําถามตามหัวขอการนําเสนอ

๓. วิธีการนําเสนอ ๓.๑ การคัดเลือกเน้ือหาในปริมาณท่ีเหมาะสมกับเวลาท่ีกําหนด ๓.๒ การนําเขาสูเน้ือหาไดนาสนใจ ๓.๓ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม ๓.๔ เน้ือหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ ๓.๕ การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทท่ีใชเขาใจงาย ออกเสียงถูกตอง

ทาทางการประสานสายตา

๓.๖ การใชเทคนิคการนําเสนอในการสรางความมสีวนรวมของผูฟง ๔. การตอบคําถาม

๔.๑ ถูกตอง มีเหตุผล อางอิงถึงหลักฐานทางวิชาการและเหมาะสมกับระดับความรูท่ีนิสิต/นักศึกษา Pharm D. พึงม ี

๔.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพ้ืนฐานในกรณท่ีีไมมีขอมลูสนับสนุนคําตอบชัดเจนเชิงประจักษ

คะแนน (คะแนนท่ีได x ๕)/ฐานคะแนนท่ีมกีารประเมินจริง

หมายเหตุในกรณีท่ีไมสามารถประเมิน ฐานคะแนนการประเมินใหลดลงตามสวน ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพ่ิมเติม..................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก (......................................................)

แบบ-ป-๘

Page 26: Asthma COPD

๒๓

ตัวอยางแบบรายงานการตอบคําถามอยางเปนระบบ วันท่ีรับคําถาม …………………………………….........................................…………….. เวลา ………………….………………. ขอมูลผูถาม (demographic of requestor)

ชื่อผูถาม ......................................................................................................................................................... ท่ีอยู ……………………………………………………………………………………….……............................................... โทร. ...............................................โทรสาร ..........................E-mail address ……….....................………. อาชีพ/วิชาชีพ แพทย เภสัชกร พยาบาล ทันตแพทย นิสิต/นักศึกษา ประชาชน อ่ืน ๆ ............................................................................................................................ วัตถุประสงคในการถาม เพ่ือแกปญหาผูปวยเฉพาะราย (patient-specific question) เพ่ือประโยชนในการปฏิบัติงานท่ัวไป เพ่ือเพ่ิมพูนความรู เพ่ือการศึกษาวิจัย อ่ืน ๆ ......................................................

แหลงขอมูลท่ีไดมีการสืบคนมาแลวและผลการสืบคนขอมูล ............................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ความรีบดวน

ทันที ภายใน ๑ วัน อ่ืน ๆ ......................................... วิธีการถามโดย

วาจา การบันทึกในแบบรับคําถาม โทรศัพท/โทรสาร e-mail

website/webboard อ่ืน ๆ .................................................................... ขอมูลคําถาม (request)

คําถามแรกรับ (initial question) ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… ขอมูลภูมิหลังของคําถาม (background information) ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… สรุปคําถามท่ีแทจริงเพ่ือการสืบคน (ultimate question) ………………………………………………………………………………………………….………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………….………………………………….……

Page 27: Asthma COPD

๒๔

การจัดประเภทของคําถามท่ีแทจริงเพ่ือการสืบคน (classification of the ultimate question) General product information Adverse effects Availability of dosage forms Compounding Dietary supplement Dosage recommendations

(general and organ impairment) Drug interactions Drug-laboratory interference Drugs in pregnancy and in

lactation Foreign drug identification

Geriatric dosage recommendations

Identification of product by description of dosage form

Investigational drug information Compatibility / stability Method / rate of administration Pediatric dosage

recommendations Pharmacokinetics Pharmacology

การสืบคนขอมูลอยางเปนระบบ (search strategy and conduct on systematic search)*

แหลงขอมูลท่ีนาเชื่อถือท้ังหมดท่ีเลือกใชและสรุปคําตอบจากแตละแหลงขอมูล ๑. แหลงขอมูลตติยภูมิ

๑.๑ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................……… คําตอบ ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

๑.๒ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................……… คําตอบ ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

๒. แหลงขอมูลทุติยภูมิ ๒.๑ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................………

คําตอบ ............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………….………………………………………

๒.๒แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................……… คําตอบ ............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………….………………………………………

๓. แหลงขอมูลปฐมภูมิ ๓.๑ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................………

คําตอบ ............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………….………………………………………

Page 28: Asthma COPD

๒๕

๓.๒ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................……… คําตอบ ............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………….………………………………………

๔. แหลงขอมูลอ่ืน ๆ ๔.๑ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................………

คําตอบ ............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………….………………………………………

๔.๒ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………....................................……… คําตอบ ............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………….………………………………………สรุปคําคนท่ีใช (keywords)

………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………… การวิเคราะหและสังเคราะหคําตอบ ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

ขอมูลการตอบคําถาม สรุปคําตอบท่ีตอบแกผูถาม

………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………… เอกสารอางอิง

๑. ……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………...……....................................................................................

๒. ……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………...……....................................................................................

๓. ……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………………...……....................................................................................

วิธีการสงคําตอบ วาจา เอกสาร โทรศัพท/โทรสาร e-mail

web site / web board อ่ืน ๆ ............................................................................ ชื่อผูตอบคําถาม …………………………………………… วันท่ีตอบคําถาม ……………………………….. เวลา …………………………. รวมระยะเวลาท่ีใชในการตอบคําถาม ..............................................................

Page 29: Asthma COPD

๒๖

การติดตามผลการใชขอมูลท่ีตอบ (Follow up and follow through) ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ความคิดเห็นอาจารยประจําแหลงฝก: ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................

ลงช่ือนิสิต/นักศึกษาผูตอบคําถาม............................................... ลงช่ืออาจารยประจําแหลงฝก.....................................................

หมายเหตุ:

− ตัวอยางแบบบันทึกนี้ อิงตามแนวทางวิธีการคิดแบบ systematic approach จากหนังสือ Malone PM, Kier KL, and Stanovich JE. (Eds). Drug Information: a guide for pharmacists, Third Edition. Singapore: McGraw-Hill, Medical Publishing Division. โดยจัดทําเปนข้ันตอนกระบวนการคิดในการตอบขอสนเทศทางยาอยางเปนระบบเทานั้น ในทางปฏิบัติแหลงฝกฯ สามารถใหนิสิต/นักศึกษาบันทึกตามแบบบันทึกท่ีแหลงฝกฯ ใชอยูจริงในการปฏิบัติงานปกติประจําวันได

− * ในทางปฏิบัติโดยท่ัวไปสวนใหญ ขอมูลในสวนการสืบคนขอมูลอยางเปนระบบนี้ อาจแยกไปบันทึกในสวนอ่ืน หรืออาจไมไดมีการบันทึก