audit manual presentation

79
1 การจัดทําคูมือวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรม การจัดทําคูมือวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรม อาหารและสิ่งทอในดานพลังงาน อาหารและสิ่งทอในดานพลังงาน (Energy Audit Manual Energy Audit Manual) โดย สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รวมกับ องคการสงเสริมการคาตางประเทศของญี่ปุน (JETRO)

Upload: sugarworker

Post on 31-Jan-2016

215 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Chiller

TRANSCRIPT

Page 1: Audit Manual Presentation

11

การจัดทําคูมือวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมการจัดทําคูมือวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรม

อาหารและสิ่งทอในดานพลังงานอาหารและสิ่งทอในดานพลังงาน

((Energy Audit ManualEnergy Audit Manual))

โดยสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

รวมกับองคการสงเสริมการคาตางประเทศของญี่ปุน (JETRO)

Page 2: Audit Manual Presentation

22

ผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษพลังงาน ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ

1. นายวิฑูรย จิตจาตุรันต

2. นางวัฒนา ซําศิริ

ผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษพลังงาน ในอุตสาหกรรมอาหาร

3. นายชัยภัทร วิวัฒนสราญรมย

4. นายสมหวัง ลิมปนนท

5. นายสุรเดช ภัทรวิเชียร

คณะผูนําเสนอ

Page 3: Audit Manual Presentation

33

คูมือการวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงาน

1. หลักการและเหตุผล

2. วัตถุประสงค และผลที่คาดวาจะไดรับ

3. กลุมเปาหมาย

4. ขั้นตอนการพัฒนาคูมือการวินิจฉัยฯ

5. เนื้อหาคูมือการวินิจฉัยฯ

- คูมือการวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมอาหารในดานพลังงาน

- คูมือการวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอในดานพลังงาน

6. แนวทางการพัฒนาคูมือการวินิจฉัย ในลําดับตอไปฯ

Page 4: Audit Manual Presentation

44

หลักการและเหตุผล

การใชพลังงานของประเทศไทยที่มีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคอุตสาหกรรมไทย ที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจนมีสัดสวนการใชพลังงานสูงที่สุดที่ 38% ของการใชพลังงานทั้งหมดภายในประเทศ (ขอมูลการใชพลังงาน ป พ.ศ. 2549)ประกอบกับภาวะความผันผวนทางดานราคา สงผลใหตนทุนดานพลังงานในภาคอุตสาหกรรมสูงขึ้น ดังนั้นภาคอุตสาหกรรมตองปรับตัวหาแนวทางเพื่อลดตนทุนดานพลังงาน 

โดยแนวทางที่มีประสิทธิภาพและสามารถดําเนินการไดดวยตนเอง คือการตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานภายในโรงงาน เพื่อศึกษาหาความสูญเสียพลังงานที่จุดตางๆ และหาแนวทางปรับปรุงและลดการใชพลังงานใหกับภาคอุตสาหกรรมไทยไดอยางยั่งยืน

Page 5: Audit Manual Presentation

55

ที่มาของการจัดทําคูมือฯ

การจัดทําคูมือการวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงานนั้น เปนสวนหนึ่งของ โครงการสงเสริมการอนุรักษพลังงานในภาคอุตสาหกรรมไทยอยางยั่งยืนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนคูมือในการ พัฒนาบุคลากรใหสามารถวินิจฉัยการใชพลังงานไดดวยตนเอง รวมถึงใชเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการดานการอนุรักษพลังงาน

โดยเปนการรวบรวมความรูตางๆ ที่ไดรับการถายทอดจากผูเชี่ยวชาญชาวญี่ปุน รวมกับประสบการณจากผูเชี่ยวชาญไทย เพื่อจัดทําเปน คูมือการวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงาน (Audit Manual) เพื่อนํามาเผยแพรใหกับโรงงานอื่นๆ ตอไป

Page 6: Audit Manual Presentation

66

คณะผูรวมจัดทําและพัฒนา คูมือวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมฯคณะทํางานโครงการฯ

สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ผูเชี่ยวชาญการอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรมอาหารและสิ่งทอ

ผูเชี่ยวชาญจาก JETRO วิศวกรจากโรงงานที่เขารวมโครงการฯ

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

กรมสงเสริมอุตสาหกรรม

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

โรงงานที่เขารวมโครงการฯ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

Energy Audit ManualEnergy Audit Manual

สถาบันพลังงานเพ่ืออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

รวมกับองคการสงเสริมการคาตางประเทศของญี่ปุน (JETRO)

การวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงาน

Page 7: Audit Manual Presentation

77

วัตถุประสงค

1. เพื่อบันทึก และถายทอดความรูดานการอนุรักษพลังงานที่ไดรับ จากผูเชี่ยวชาญชาวญี่ปุน รวมกับผูเชี่ยวชาญไทย เผยแพรสู ภาคอุตสาหกรรมไทยอยางทั่วถึง

2. เพื่อพัฒนาบุคลากรของภาคอุตสาหกรรมไทย ใหสามารถวินิจฉัย การใชพลังงาน รวมถึงหาแนวทางการแกไขปญหาดวยตนเองได

3. เพื่อลดตนทุนดานพลังงานของภาคอุตสาหกรรมไทยอยางยั่งยืน

Page 8: Audit Manual Presentation

88

ผลที่คาดวาจะไดรับ

เผยแพรแนวทางการอนุรักษพลังงานอยางเปนระบบไปสูภาคอุตสาหกรรมไทย รวมถึงพัฒนาบุคลากรของไทยใหสามารถวินิจฉัยการใชพลังงานในหนวยงานไดดวยตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก ที่ยังไมมีการดําเนินการอนุรักษพลังงานอยางจริงจังมากนัก

Energy Audit ManualEnergy Audit Manual

สถาบันพลังงานเพ่ืออุตสาหกรรมสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

รวมกับองคการสงเสริมการคาตางประเทศของญี่ปุน (JETRO)

การวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงาน

SME FactoriesSME Factories

ผลการอนุรักษพลังงานที่บุคลากรสามารถดําเนินการไดเอง

การพัฒนาบุคลากร

การอนุรักษพลังงานอยางเปนระบบการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติม

Page 9: Audit Manual Presentation

99

กลุมเปาหมายในการเผยแพรคูมือวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงานมีดังนี้1. วิศวกรจากโรงงานอุตสาหกรรม ประเภทอาหารและสิ่งทอ

2. วิศวกร ที่มีความสนใจดานการอนุรักษพลังงาน3. หนวยงานที่เกี่ยวของดานพลังงาน 4. หนวยงานจากภาครัฐ5. สถาบันการศึกษา

กลุมเปาหมายในการเผยแพร

Page 10: Audit Manual Presentation

1010

ขั้นตอนการพัฒนาคูมือการวินิจฉัยฯ

รวบรวมขอมูลและความรู เพื่อจัดทํารางคูมือการวนิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรมในดานพลังงาน (อาหารและสิ่งทอ)

ตรวจสอบขอมูลและความถูกตอง

คณะผูรวมจัดทําฯ ไดรับการถายทอดความรูจากผูเชี่ยวชาญจาก JETRO ดานการอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรมอาหารและสิ่งทอ

ประชุมหารือรวมกับผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษพลังงานในดานเนื้อหาและรูปแบบการนําเสนอภายในคูมือฯ

แจกจายใหกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก

รวบรวมขอมูลเพิ่มเติมและปรับปรุงแกไขขอมูลไมครบถวน

ขอมูลครบถวน

ณ ปจจุบันดําเนินการถึงชวงนี้

Page 11: Audit Manual Presentation

1111

เนื้อหาโดยสังเขป

บทที่ บทที่ 2 2 แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมแนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

บทที่ บทที่ 1 1 บทบาทของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกรบทบาทของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกร

บทที่ บทที่ 3 3 ความรูพื้นฐานระบบตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมความรูพื้นฐานระบบตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม

บทที่ บทที่ 44 ตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงานตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรมอาหารในอุตสาหกรรมอาหาร

บทที่ บทที่ 5 5 การอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยางการอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยาง-- บริษัท กรีนสปอต จํากัดบริษัท กรีนสปอต จํากัด--  บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑอาหาร จํากัดบริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑอาหาร จํากัด--  บริษัท โรงเสนหมี่ชอเฮง จํากัดบริษัท โรงเสนหมี่ชอเฮง จํากัด

บทที่ บทที่ 6 6 การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูล

บทที่ บทที่ 44 ตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงานตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงานในอุตสาหกรรมสิ่งทอในอุตสาหกรรมสิ่งทอ

บทที่ บทที่ 5 5 การอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยางการอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยาง-- บริษัท นันยางการทออุตสาหกรรม จํากัดบริษัท นันยางการทออุตสาหกรรม จํากัด

Page 12: Audit Manual Presentation

1212

เนื้อหาโดยสังเขป

บทที่ บทที่ 1 1 บทบาทของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกรบทบาทของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกร  กลาวถึงบทบาทสําคัญของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกร เชน

การประกาศนโยบายดานการอนุรักษพลังงาน การแตงตั้งทีมอนุรักษพลังงาน การสนับสนุนทางดานเงินลงทุน เปนตน ซึ่งผูบริหารถือเปนปจจัยหลักที่จะผลักดันใหเกิดการอนุรักษพลังงานในองคกรไดอยางจริงจัง

บทที่ บทที่ 2 2 แนวทางการอนุรักษดานพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมแนวทางการอนุรักษดานพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมกลาวถึงความสําคัญ แนวทางและขั้นตอนในการวินิจฉัยโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อ

การอนุรักษพลังงาน ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้ การประเมินสถานะการจัดการพลังงาน การรวบรวมขอมูลเบื้องตน การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงาน การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงาน การดําเนินการตามแผน การตรวจติดตามและประเมินผล และการกําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน บทที่ บทที่ 3 3 ความรูพื้นฐานระบบตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมความรูพื้นฐานระบบตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม

กลาวถึงความรูพื้นฐานในระบบตางๆ เชน ความรูในการวิเคราะหพลังงานตอหนวยผลผลิต, ระบบหมอไอน้ํา, ระบบอัดอากาศ, ระบบทําความเย็น ฯลฯ ที่ใชประกอบการวินิจฉัย

Page 13: Audit Manual Presentation

1313

เนื้อหาโดยสังเขปบทที่ บทที่ 4 4 ตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงานตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงาน

กลาวถึงมาตรการตางๆ ที่สามารถดําเนินการไดในโรงงานอุตสาหกรรม โดยแยกเปนมาตรการในระบบตางๆ เชน ระบบหมอไอน้ํา ระบบทําความเย็น ระบบอัดอากาศ ระบบพาสเจอไรส ระบบการอบ ฯลฯบทที่ บทที่ 5 5 การอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยางการอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยาง

กลาวถึงมาตรการที่ดําเนินการในโรงงานตัวอยางที่เขารวมโครงการฯ ดังนี้คือ บริษัท กรีนสปอต จํากัด, บริษัท ซีพีเอฟผลิตภัณฑอาหาร จํากัด, บริษัท โรงเสนหมี่ชอเฮง จํากัดและ บริษัท นันยางการทออุตสาหกรรม จํากัด โดยมีแผนงานจะขยายผลไปยังโรงงานอื่นๆ ตอไป

บทที่ บทที่ 6 6 การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลกลาวถึงความสําคัญ และแนวทางการเก็บรวบรวมขอมูลในระบบตางๆ เชน ระบบ

หมอไอน้ํา ระบบอัดอากาศ ระบบทําความเย็น ฯลฯ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการวิเคราะหการใชพลังงานภาคผนวกภาคผนวก

ประกอบไปดวยขอมูลตางๆ เพื่อใชประกอบการวินิจฉัย เชน ตารางแปลงหนวย P-h Diagram ตารางคุณสมบัติไอน้ํา เปนตน

Page 14: Audit Manual Presentation

1414

บทที่ บทที่ 11  บทบาทของผูบริหารที่มีตอบทบาทของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกรการอนุรักษพลังงานในองคกร

Page 15: Audit Manual Presentation

1515

บทบาทของผูบริหารที่มีตอการอนุรักษพลังงานในองคกร

1. การประกาศนโยบายดานพลังงาน - เพื่อแสดงถึงความจริงจังในการ    ดําเนินการอนุรักษพลังงาน โดยนโยบายตองแสดงถึงความทาทาย    ในการกําหนดเปาหมายการอนุรักษพลังงาน รวมถึงตองแสดงถึงความ    ยั่งยืนในการดําเนินการรวมดวย2. การแตงตั้งทีมอนุรักษพลังงาน –เพื่อใหมีการรับผิดชอบดานพลังงาน   อยางชัดเจนภายในองคกร โดยมีหนาที่สงเสริม และดําเนินการใหเกิดการ   อนุรักษพลังงานไดอยางมีระบบ3. การสนับสนุนจากฝายบริหาร – สงเสริมทั้งในดานการพัฒนาบุคลากร    และสงเสริมในดานเงินลงทุน เพื่อดําเนินการปรับปรุงใหเกิดการอนุรักษ    พลังงานได

Page 16: Audit Manual Presentation

1616

ทัศนคติ 70 %

ความรวมมือ 20 % เทคนิค 10 %

องคประกอบสําคัญในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

วิธีการของการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวมวิธีการของการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม

ที่มา: CT Supervisor Course Bangkok 2003

Page 17: Audit Manual Presentation

1717

บทที่ บทที่ 22  แนวทางการอนุรักษดานพลังงานแนวทางการอนุรักษดานพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 18: Audit Manual Presentation

1818

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 19: Audit Manual Presentation

1919

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 20: Audit Manual Presentation

2020

ตารางประเมินการจัดการดานพลังงานตารางประเมินการจัดการดานพลังงาน (ENERGY MANAGEMENT MATRIX)(ENERGY MANAGEMENT MATRIX)

หัวขอหัวขอ 11. . นโยบายการจัดการนโยบายการจัดการ 22. . การจัดองคกรการจัดองคกร 33. . การกระตุนและการกระตุนและ 44. . ระบบขอมูลระบบขอมูล 55. . ประชาสัมพันธประชาสัมพันธ 66. . การลงทุนการลงทุน

ระดับระดับ พลังงานพลังงาน สรางแรงจูงใจสรางแรงจูงใจ ขาวสารขาวสาร

44 มีนโยบายการจัดมีนโยบายการจัดการพลังงานจากฝายการพลังงานจากฝายบริหารและถือเปนสวนบริหารและถือเปนสวนหนึ่งของนโยบายของหนึ่งของนโยบายของบริษัทบริษัท

มีการจัดองคกรและเปน   มีการจัดองคกรและเปน   โครงสรางสวนหนึ่งของโครงสรางสวนหนึ่งของฝายบริหาร กําหนดหนาที่ฝายบริหาร กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบไวชัดเจนความรับผิดชอบไวชัดเจน

มีการประสานงานมีการประสานงานระหวาง  ผูรับผิดชอบระหวาง  ผูรับผิดชอบดานพลังงานและทีมงานดานพลังงานและทีมงานทุกระดับอยางสม่ําเสมอทุกระดับอยางสม่ําเสมอ

กําหนดเปาหมายที่กําหนดเปาหมายที่ครอบคลุม ติดตามผล ครอบคลุม ติดตามผล หาขอผิดพลาด หาขอผิดพลาด ประเมินผลและควบคุมประเมินผลและควบคุมการใชงบประมาณการใชงบประมาณ

ประชาสัมพันธคุณคาประชาสัมพันธคุณคาของการประหยัดของการประหยัดพลังงานและผลการพลังงานและผลการดําเนินงานของการจัดดําเนินงานของการจัดการพลังงานการพลังงาน

จัดสรรงบประมาณโดยจัดสรรงบประมาณโดยละเอยีดโดยพิจารณาถึงละเอยีดโดยพิจารณาถึงความสําคัญของโครงการความสําคัญของโครงการซึ่งมีสวนชวยดานซึ่งมีสวนชวยดานสิ่งแวดลอมสิ่งแวดลอม

33 มีนโยบายและมีการมีนโยบายและมีการสนับสนุนเปนครั้งคราวสนับสนุนเปนครั้งคราวจากฝายบริหารจากฝายบริหาร

ผูรับผิดชอบดานพลังงานผูรับผิดชอบดานพลังงานรายงานโดยตรงตอรายงานโดยตรงตอคณะกรรมการจัดคณะกรรมการจัดการพลังงานซึ่งการพลังงานซึ่งประกอบดวยหัวหนาฝายประกอบดวยหัวหนาฝายตาง ๆตาง ๆ

คณะกรรมการอนุรักษคณะกรรมการอนุรักษพลังงานเปนชองทางพลังงานเปนชองทางหลักในการดําเนินงานหลักในการดําเนินงาน

แจงผลการใชพลังงานแจงผลการใชพลังงานจากมิเตอรยอยในแตละจากมิเตอรยอยในแตละฝายทราบ แตไมมีการฝายทราบ แตไมมีการแจงถึงผลการประหยัดแจงถึงผลการประหยัด

ใหพนักงานรับทราบใหพนักงานรับทราบโครงการอนุรักษพลังงานโครงการอนุรักษพลังงานและใหมีการและใหมีการประชาสัมพันธอยางประชาสัมพันธอยางสม่ําเสมอสม่ําเสมอ

โครงการอนุรักษพลังงานโครงการอนุรักษพลังงานพิจารณาลงทุนจากพิจารณาลงทุนจากผลตอบแทนเชนเดียวกับผลตอบแทนเชนเดียวกับโครงการอื่นๆโครงการอื่นๆ

22 ไมมีการกําหนดนโยบายไมมีการกําหนดนโยบายที่ ชัดเจนโดยผูบริหารที่ ชัดเจนโดยผูบริหารหรือ           หรือ           ผูรับผิดชอบดานผูรับผิดชอบดานพลังงานพลังงาน

มีผูรับผิดชอบดานมีผูรับผิดชอบดานพลังงานรายงานตอพลังงานรายงานตอคณะกรรมการเฉพาะกิจคณะกรรมการเฉพาะกิจแตสายงานบังคับบัญชาแตสายงานบังคับบัญชาไมชัดเจนไมชัดเจน

คณะกรรมการเฉพาะกิจคณะกรรมการเฉพาะกิจเปนผูดําเนินการเปนผูดําเนินการ

ทํารายงานติดตามทํารายงานติดตามประเมินผลโดยดูจากประเมินผลโดยดูจากมิเตอร ใหคณะกรรมการมิเตอร ใหคณะกรรมการเฉพาะกิจเขามาเฉพาะกิจเขามาเกี่ยวของกับการตั้งเกี่ยวของกับการตั้งงบประมาณงบประมาณ

จัดฝกอบรมใหพนักงานจัดฝกอบรมใหพนักงานรับทราบเปนครั้งคราวรับทราบเปนครั้งคราว

ลงทุนโดยดูมาตรการที่มีลงทุนโดยดูมาตรการที่มีระยะเวลาคุมทุนเร็วระยะเวลาคุมทุนเร็ว

11 ไมมีแนวทางปฏิบัติที่ทําไมมีแนวทางปฏิบัติที่ทําไวเปนลายลักษณอักษรไวเปนลายลักษณอักษร

ผูรับผิดชอบดานพลังงานผูรับผิดชอบดานพลังงานมีขอบเขตหนาที่ความมีขอบเขตหนาที่ความรับผิดชอบจํากัดปฏิบัติรับผิดชอบจํากัดปฏิบัติหนาที่เพียงตามกฎหมายหนาที่เพียงตามกฎหมาย

มีการติดตออยางไมเปนมีการติดตออยางไมเปนทางการระหวางวิศวกรทางการระหวางวิศวกรกับผูใชพลังงาน กับผูใชพลังงาน ((พนักงานพนักงาน))

มีการสรุปรายงานดาน        มีการสรุปรายงานดาน        คาใชจายการใชพลังงานคาใชจายการใชพลังงานเพื่อใชกันภายในฝายเพื่อใชกันภายในฝายวิศวกรรมวิศวกรรม

แจงใหพนักงานทราบแจงใหพนักงานทราบอยางไมเปนทางการ อยางไมเปนทางการ เพื่อสงเสริมการใชเพื่อสงเสริมการใชพลังงานอยางมีพลังงานอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิภาพ

พิจารณาเฉพาะมาตรการที่   พิจารณาเฉพาะมาตรการที่   ลงทุนต่ําลงทุนต่ํา

00 ไมมีนโยบายที่ชัดเจนไมมีนโยบายที่ชัดเจน ไมมีผูรับผิดชอบดานไมมีผูรับผิดชอบดานพลังงานพลังงาน

ไมมีการติดตอกับผูใช       ไมมีการติดตอกับผูใช       พลังงานพลังงาน

ไมมีระบบรวบรวมขอมูลไมมีระบบรวบรวมขอมูลและบัญชีการใชพลังงานและบัญชีการใชพลังงาน

ไมมีการสนับสนุนการไมมีการสนับสนุนการประหยัดพลงังานประหยัดพลงังาน

ไมมีการลงทุนใด ๆ ในการไมมีการลงทุนใด ๆ ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานใชพลังงาน

Page 21: Audit Manual Presentation

2121

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 22: Audit Manual Presentation

2222

ประเมินสถานการณเบื้องตนประเมินสถานการณเบื้องตน

ไฟฟา73%

นํ้ามันเตา27%

ไฟฟา 73%น้ํามันเตา 27%

สัดสวนพลังงาน น้ํามันเตา51%

ไฟฟา49%

น้ํามันเตา 51%

ไฟฟา 49%

มูลคาพลังงาน(฿)

Prepro+Lab10%

Phylon90%

Phylon CP 90%

LAB+Prepro 10%

การใชน้ํามันเตา

EVA4%

SHEET25%

SOCK10%

CP61% CP 62%

SHEET 25%

EVA 4%

SOCK 10%

การใชไฟฟา

Page 23: Audit Manual Presentation

2323

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 24: Audit Manual Presentation

2424

ขั้นตอนการวินิจฉัยการใชพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Interview and WalkthroughInterview and Walkthrough

Simplified FlowSimplified Flow

Measurement and Operation DataMeasurement and Operation Data

Heat and Material BalanceHeat and Material Balance

Analysis and Improvement PlanAnalysis and Improvement Plan

Estimation of Saving PotentialEstimation of Saving Potential

ReportingReporting

ทราบขอมูลเบื้องตนของโรงงานทราบขอมูลเบื้องตนของโรงงาน

แผนผังกระบวนการผลิต และพลังงานที่ใชแผนผังกระบวนการผลิต และพลังงานที่ใชเพื่องายตอการนาํมาวิเคราะหระบบเพื่องายตอการนาํมาวิเคราะหระบบ

ขอมูลการใชพลงังานของแตละระบบขอมูลการใชพลงังานของแตละระบบที่ทําการตรวจวัดที่ทําการตรวจวัด

ทําสมดุลการใชพลงังานในกระบวนการทําสมดุลการใชพลงังานในกระบวนการผลิต เพื่อทราบปญหาหลักดานพลังงานผลิต เพื่อทราบปญหาหลักดานพลังงาน

วิเคราะหปญหาดานพลังงานเพื่อหาวิเคราะหปญหาดานพลังงานเพื่อหาแนวทางการอนุรักษพลงังานแนวทางการอนุรักษพลงังาน

ศักยภาพการอนุรักษพลงังาน ทั้งดานศักยภาพการอนุรักษพลงังาน ทั้งดานพลังงาน และการเงินพลังงาน และการเงิน

รายงานมาตรการอนุรักษพลังงาน รายงานมาตรการอนุรักษพลังงาน เพื่อพิจารณาดําเนินการตอไปเพื่อพิจารณาดําเนินการตอไป

Page 25: Audit Manual Presentation

2525

ตัวอยางแผนผังกระบวนการผลิตพรอมการใชพลังงาน เบื้องตนที่ไดจากการ Simplified Flow

ไอน้ํา 100%ไฟฟา 3 %

ไฟฟา  10 %ไฟฟา  18 %

เครื่องลางภาชนะ

ไฟฟา  48 %

ไฟฟา  3 %ระบบปรับอากาศระบบแสงสวาง

ไฟฟา  14 %

ไฟฟา  4 %

ระบบผลิตน้ําระบบบําบัดน้ําเสีย

วัตถุดิบ หองเย็น ผลิต / อุปกรณเครื่องครัว บรรจุ หองเย็น จัดสง

หมายเหตุ ตัวอยางแผนผังกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

Page 26: Audit Manual Presentation

2626

 เครื่องมือตรวจวัดสําหรับการวินิจฉัยการใชพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

ลําดับ เครื่องมือ รายละเอียดเบื้องตน1 Contact Thermometer  ใชเพื่อตรวจวัดอุณหภูมพิื้นผิวตางๆ เชน ผิวทอ เปนตน

2 Clamp-on Power Meterใชสําหรับวัดพลังไฟฟา แรงดนัไฟฟา กระแสไฟฟา และตัวประกอบกําลังไฟฟา ชนิดพกพา แบบบันทึกขอมูลได 

3 Psychrometer ใชสําหรับตรวจวัดอุณหภูมิกระเปาะเปยก และอุณหภูมิกระเปาะแหง

4 Exhaust Gas Analyzerใชสําหรับวัดปริมาณ O2 และ CO2 ของกาซไอเสียที่ออกจากปลองหมอไอน้ํา หรือหมอน้ํามันรอน ฯลฯ

5 Radiation Thermometer ใชตรวจวัดอุณหภูมิพืน้ผิวสําหรับจุดที่ไมสามารถเขาถึงได

6 Anemometer สําหรับวัดความเร็วลม เชนความเร็วกาซไอเสียจากปลองหมอไอน้ํา เปนตน

7 Ultrasonic Flow Meter ตรวจวัดอัตราการไหลของน้ํา

8 Steam Trap Tester ใชตรวจสอบสภาพการทํางานของกับดักไอน้ํา

9 Pressure Meter ตรวจวัดความดันของลมอัด

Page 27: Audit Manual Presentation

2727

Boiler

Chemical

Process

SteamMake-Up Water

Condensate Water

Blow DownCondensate

Tank

Flash

Stea

m

Steam

Feed WaterTank

Deaerator

CO2O2

M

M

Page 28: Audit Manual Presentation

2828

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 29: Audit Manual Presentation

2929

การจัดทําแผนปฏิบัติการ

แผนรองรับมาตรการที่คัดเลือกแผนประชาสัมพัธแผนการฝกอบรม

Page 30: Audit Manual Presentation

3030

ตัวอยาง: การจัดทําแผนปฏิบัติการตัวอยาง: การจัดทําแผนปฏิบัติการ

    การวางแผนดานการปลุกจิตสํานึกการอนุรักการวางแผนดานการปลุกจิตสํานึกการอนุรักษษพลังงานพลังงานNo. ชื่อมาตรการอนุรักษพลังงาน Start Finish

1 8 15 22 29 5 12 19 26 3 10 17 24 31 7 14 21 28 5 12 19 26

1 รางนโยบายพลังงาน 19/8/2005 1/10/20052 ประกวดคําขวัญ 1/9/2005 16/9/20053 จัดบอรดพลังงาน

 

เริ่มเดือนกันยายน 20054 จัดตั้งหนวยชี้เปา 1/9/2005 30/9/20055 ทําปายบงชี้คาประหยัดพลังงาน 1/9/2005 15/9/20056 บรรจุลงในการทําขอเสนอแนะของพนักงาน 1/9/2005 30/9/20057 จัดทําเข็มกลัด 1/9/2005 30/9/20058

 

ทํา VDO แจงขาวสารพลังงาน 1/10/2005 1/11/20059

 

ทํา pop up หนาจอ Computer

 

เริ่มเดือนกันยายน 200510 เสียงตามสาย

 

เริ่ม 15/9/200511 จัดตั้งประชาสัมพันธกลาง 29/8/2005 16/9/200512 จัดอบรมสรางจิตรสํานึกดานพลังงานใหพนักงาน 1/9/2005 16/10/2005

8/2005 9/2005 10/2005 11/2005 12/2005

Page 31: Audit Manual Presentation

3131

ตัวอยาง: การจัดทําแผนปฏิบัติการตัวอยาง: การจัดทําแผนปฏิบัติการ

การวางแผนอนุรักษพลังงานดานวิศวกรรมการวางแผนอนุรักษพลังงานดานวิศวกรรม

No. ช่ือมาตรการอนุรักษพลังงาน Start Finish1 8 15 22 29 5 12 19 26 3 10 17 24 31 7 14 21 28 5 12 19 26

1

 

เปล่ียนเตาหลอมจาก Heater ไฟฟา เปน Natural Gas 15/9/2005 15/11/2005

2

 

ลดเวลาการ Formation 1/9/2005 31/10/2005

3 ลดปริมาณอากาศอัดร่ัว 1/9/2005 31/10/2005

4 เปล่ียนบัลลาสตแกนเหล็กเปนบัลลาสตอิเล็คทรอนิกส 1/9/2005 15/12/2005

5

 

นําความรอนจากไอเสียของเตา Oxide มาใชท่ีตูอบ Cure 1/9/2005 30/9/2005

8/2005 9/2005 10/2005 11/2005 12/2005

Page 32: Audit Manual Presentation

3232

แผนการฝกอบรมแผนการฝกอบรม

ป ป 20052005

11..การจัดการดานอนุรักษพลังงานการจัดการดานอนุรักษพลังงาน

22. . การสรางจิตสํานึกดานการประหยัดพลังงานการสรางจิตสํานึกดานการประหยัดพลังงาน

PlanPlanป ป 20062006

11..วิศวกรรมคุณคาเพื่อการอนุรักษพลังงานวิศวกรรมคุณคาเพื่อการอนุรักษพลังงาน

22. . หลักสูตรดานไฟฟาหลักสูตรดานไฟฟา

33. . หลักสูตรดานความรอน หลักสูตรดานความรอน ((หมอไอน้ําหมอไอน้ํา

44. . หลักสูตรการใชเครื่องมือวัดและวิเคราะหพลังงานหลักสูตรการใชเครื่องมือวัดและวิเคราะหพลังงาน

Page 33: Audit Manual Presentation

3333

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 34: Audit Manual Presentation

3434

แนวทางการจัดทําแนวทางการจัดทํา

แผนอนุรักษพลังงานแผนอนุรักษพลังงาน แผนงานประชาสัมพันธแผนงานประชาสัมพันธ แผนปฎิบัติการแผนปฎิบัติการ

11. . แผนระยะสั้น แผนระยะสั้น ((มาตรการที่ใชเงินลงทุนนอย หรือไมใชเลยมาตรการที่ใชเงินลงทุนนอย หรือไมใชเลย))22..  แผนระยะกลาง แผนระยะกลาง ((มาตรการที่ใชเงินลงทุนปานกลางมาตรการที่ใชเงินลงทุนปานกลาง))33. . แผนระยะยาว แผนระยะยาว ((มาตรที่การใชเงินลงทุนสูง หรือมีความเสี่ยงสูงมาตรที่การใชเงินลงทุนสูง หรือมีความเสี่ยงสูง)   )   

หมายเหตุ หมายเหตุ ::  ใหใสระยะเวลาในการดําเนินการในแตละมาตรการดวยใหใสระยะเวลาในการดําเนินการในแตละมาตรการดวย

Page 35: Audit Manual Presentation

3535

ระยะเวลา (เดือน)2549 2550

6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 4 5

แผนระยะสั้น (มาตรการท่ีไมตองลงทุนหรือลงทุนนอย)

1.ไมเปดไฟฟาแสงสวางในพื้นท่ีท่ีไมมีคนทํางาน หรือกอนและหลงัเลกิงาน

2.ไมเปดคอมพิวเตอรเมื่อไมไดใชงาน

3.ไมเปดเคร่ืองปรับอากาศในพื้นท่ีท่ีไมมีคนทํางาน

4.ถามีแสงสวางเพียงพอกไ็มจําเปนตองเปดไฟฟาในขณะทํางาน

5.ปดไฟฟาเมื่อไมมีคนอยูในพื้นท่ี ท้ังชวงพักกลางวนัและชวงเวลาเลกิงาน

6.เพิ่มอณุหภูมิเคร่ืองปรับอากาศกอนเลกิงาน 15 นาที

7.ตัง้ระบบควบคมุใหปดหนาจอคอมพิวเตอรเมื่อไมมีการทํางานเกนิ 5 นาที

8.ถอดหลอดไฟฟาในตู Burst Richter ออกท้ังหมดเนื่องจากมีแสงสวางเพียงพอ

9.ปรับตัง้อณุหภูมิเคร่ืองปรับอากาศไวท่ีประมาณ 25 oC

10.เมื่อเปดประตหูองทุกหองตองปดทันทีเมื่อเสร็จกจิธุระแลว

11.ตรวจสอบเคร่ือง Burst กอนใชงานเพื่อทําใหเคร่ือง Burst ทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพถกูตองและแมนยํา

12.ตรวจสอบงานกอนการบรรจุเพื่อจะไดแกไขไดทันทีและลดเวลาการทํางาน เมื่องานไมถกูตองจะไดแกไขไดทันเวลา

13.ลางทําความสะอาดเคร่ืองปรับอากาศทุกๆ 3 เดอืน

แผนระยะกลาง (มาตรการลงทุนปานกลาง)

1.การเปลีย่นเคร่ืองปรับอากาศประสิทธิภาพสูง

2.เปลีย่นโคมไฟฟาชนิดประสิทธิภาพการสะทอนแสงสูง

3.ตดิตัง้บัลลาสต LOW WATT LOSS ท่ีโคมไฟในแผนก

4.การตดิตัง้สวทิซกระตกุควบคมุเฉพาะจุด

แผนอนุรักษพลังงาน สํานักงานการ………………

รายละเอียด ผูรับผิดชอบ

Page 36: Audit Manual Presentation

3636

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 37: Audit Manual Presentation

3737

ตัวอยาง: การทบทวนผลการดําเนินการตัวอยาง: การทบทวนผลการดําเนินการ

Energy Management Check List มีการประกาศใชนโยบายดานการจัดการพลังงานอยางเปนทางการ

(Energy management policy ratified)

มีการแตงตั้งผูจัดการดานพลังงาน พรอมทั้งมอบหมาย อํานาจและหนาที่ อยางชัดเจน (Energy manager with job description appointed)

มีการตั้งคณะ ทํางานดานพลังงาน และมีการประชุมอยางสม่ําเสมอ(Energy team formed and meeting regularly)

มีการตรวจสอบสถานภาพการใชพลังงาน(Energy audit conducted)

Page 38: Audit Manual Presentation

3838

ตัวอยาง: การทบทวนผลการดําเนินการตัวอยาง: การทบทวนผลการดําเนินการ

Energy Management Check List มีการควบคุม และรายงานผลการใชพลังงาน

(Energy use (฿,kWh) being monitored and reported)

มีระบบการตรวจประเมินผลประหยัดของโครงการอนุรักษพลังงานและกําหนด เปนแผนงาน(System to identify energy saving projects and put into plan)

มีการจัดทําแผนดําเนินการ(Action plan developed)

มีการปฏิบัติตามโครงการดานการอนุรักษพลังงาน(Implement in energy saving projects)

Page 39: Audit Manual Presentation

3939

ตัวอยาง: การทบทวนผลการดําเนินการตัวอยาง: การทบทวนผลการดําเนินการ

Energy Management Check List มีการตรวจติดตามการ ดําเนินการดานอนุรักษพลังงานไปตามแผนงาน ที่ กําหนดไว (Progress against plan being monitored) มีการจัดฝกอบรม

(Strategic training commenced)

มีการรายงานและทบทวนระบบอนุรักษพลังงานอยางสม่ําเสมอ(Regular reporting and review of system)

มีแผนทบทวนประ จําป(Annual review planned)

Page 40: Audit Manual Presentation

4040

แผนการตรวจติดตามโครงการอนุรักษพลังงาน

Page 41: Audit Manual Presentation

4141

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 1 การประเมินสถานการณจัดการพลังงานขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมขอมูลเบื้องตนขั้นตอนที่ 3 การตรวจวินิจฉัยการใชพลังงานขั้นตอนที่ 4 การวางแผนดําเนินการอนุรักษพลังงานขั้นตอนที่ 5 การดํานินการตามแผนขั้นตอนที่ 6 การตรวจติดตามและประเมินผลขั้นตอนที่ 7 กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

PlanPlan

DoDo

CheckCheck

ActAct

แนวทางการอนุรักษพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 42: Audit Manual Presentation

4242

วงจร PDCA

คุณภาพ

เวลา

มาตรฐาน

P DC A

Page 43: Audit Manual Presentation

4343

บทที่ บทที่ 33  ความรูพื้นฐานระบบตางๆ ความรูพื้นฐานระบบตางๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมในโรงงานอุตสาหกรรม

Page 44: Audit Manual Presentation

4444

ความรูพื้นฐานในระบบตางๆ

BoilerBoiler

((Specific Energy ConsumptionSpecific Energy Consumption)) SECSEC

Air CompressorAir Compressor

Refrigeration SystemRefrigeration System

Dyeing SystemDyeing System

StenterStenter

อุตสาหกรรมอาหารอุตสาหกรรมอาหาร

อุตสาหกรรมสิ่งทออุตสาหกรรมสิ่งทอ

Page 45: Audit Manual Presentation

4545

บทที่ บทที่ 44  ตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงานตัวอยางมาตรการอนุรักษพลังงาน

Page 46: Audit Manual Presentation

4646

มาตรการอนุรักษพลังงานอุตสาหกรรมอาหารอุตสาหกรรมอาหาร

29 29 มาตรการมาตรการอุตสาหกรรมสิ่งทออุตสาหกรรมสิ่งทอ

2424 มาตรการมาตรการ

หมายเหตุ หมายเหตุ : : อยูระหวางการพิจารณาเมาตรการอื่นๆ เพิ่มเติมอยูระหวางการพิจารณาเมาตรการอื่นๆ เพิ่มเติม

แบงเปน แบงเปน 99 ระบบ คือระบบ คือ11. . Refrigeration SystemRefrigeration System 7 7 มาตรการมาตรการ22.. Waste WaterWaste Water 2 2 มาตรการมาตรการ33. Pasteurization. Pasteurization 2 2 มาตรการมาตรการ44. Drying. Drying 7 7 มาตรการมาตรการ55. Boiler/Steam System. Boiler/Steam System 4 4 มาตรการมาตรการ66. Compressed Air. Compressed Air 2 2 มาตรการมาตรการ77. Fresh Water Supply. Fresh Water Supply 1 1 มาตรการมาตรการ88. Air Conditioning . Air Conditioning 2 2 มาตรการมาตรการ99. Cogeneration. Cogeneration 2 2 มาตรการมาตรการ

แบงเปน แบงเปน 22 ประเภทมาตรการหลักๆประเภทมาตรการหลักๆคือ คือ Process Plant Process Plant และ และ Utility PlantUtility Plant11. Process Plant . Process Plant 1010 มาตรการมาตรการ

-- Washing ProcessWashing Process-- Drying ProcessDrying Process-- Waste Water TreatmentWaste Water Treatment

22. . Utility Plant Utility Plant 14 14 มาตรการมาตรการ-- Fan and BlowerFan and Blower -- Compressed AirCompressed Air-- Boiler/SteamBoiler/Steam -- Fresh WaterFresh Water-- Air ConditioningAir Conditioning -- CogenerationCogeneration

Page 47: Audit Manual Presentation

4747

มาตรการอนุรักษพลังงาน ในอุตสาหกรรมอาหารระบบ ลําดับ แนวทางการดําเนินการอนุรักษพลังงาน

1 การประหยัดพลังงานโดยการทําใหอุณหภมูิน้ําคอนเดนเซอรลดลง 2 การทําความสะอาด Evaporative Condenser3 การลดพื้นที่การทําความเย็นดวยการกั้น Partition ลดความสูงของเพดาน4 หุมฉนวนผนังหองเย็น5 การเพิ่มอุณหภมูิปรับตั้งของหองเย็น6 การลดภาระของระบบทําความเย็นที่เกิดจากอากาศจากภายนอก7 การยายอุปกรณที่เปนแหลงกําเนิดความรอนออกจากพื้นที่ปรับอากาศ8 การใช Inverter กับเครื่องเติมอากาศในการบําบัดน้ําเสีย9 การนําความรอนกลับคืนจากระบบน้ําทิ้งในกระบวนการผลิตที่ใชน้ํา10 Cascade Cooling 11 ติดตั้งฉนวนสําหรับทอรอนและทอเย็น12 การนําความรอนกลับคืนมาจากกาซรอนที่เปนไอเสีย13 การประหยัดพลังงานจากการลดอัตราการปลอยกาชเสีย14 การนํากาซเสียของเครื่องอบกลับมาใช15 การนําน้ําออกจากวัตถุดิบเปยกของเครื่องอบ 16 การประยุกตใชงาน Inverter สําหรับ Fan และ Blower17 การนําความรอนทิ้งจากกาซเสียกลับมาใชลด Air Ratio18 การติดตั้งฉนวนปองกันความรอนสูญเสียสําหรับเครื่องอบ19 การปรับลดปริมาณอากาศสวนเกิน (การควบคุม Air Ratio)20 ติดตั้งฉนวนของ Water Tank21 นําความรอนทิ้งกลับมาใชงาน ดวย Economizer หรือ Air Preheater

22 การปรับลดแรงดันผลิตไอน้ํา23 ลดแรงดันผลิตอากาศอัด24 ลดอุณหภมูิอากาศขาเขาเครื่องอัดอากาศ

Fresh Water Supply 25 ติดตั้ง Inverter สําหรับปมที่มีภาระโหลดไมคงที่26 การปรับตั้งอุณหภมูิของหองทําความเย็น27 การยายเครื่องทําน้ําแข็ง  และจัดหาชุดอินเวอรเตอรคอนโทรล28 การประยุกตใชงาน Cogeneration 29 การประยุกตใชงานระบบ Ice Thermal Storage

Cogeneration

Refrigeration

Compressed Air

Air Conditioning

Waste Water

Pasteurization

Drying

Boiler/Steam System

Page 48: Audit Manual Presentation

4848

ตัวอยางมาตรการในอุตสาหกรรมอาหารตัวอยางมาตรการในอุตสาหกรรมอาหารมาตรการลดความรอนสูญเสียในระบบหมอไอน้ํา

การหุมฉนวนที่จุดตางๆ ที่ยังไมมีการหุมหรือฉนวนชํารุดเสียหาย เชนทอไอน้ํา, Header ฯลฯโดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของขอตอและ Valve ที่มีการซอมบํารุงบอยและไมมีการหุมฉนวนกลับใหอยูในสภาพเดิมหลังการซอมบํารุงเสร็จแลวทําใหเกิดความรอนสูญเสียโดยไมจําเปน

Page 49: Audit Manual Presentation

4949

ตัวอยางมาตรการในอุตสาหกรรมอาหารตัวอยางมาตรการในอุตสาหกรรมอาหาร

Shell & Tube Condenser Evaporative Condenser

มาตรการเปลี่ยนชนิดคอนเดนเซอรเปนแบบ Evaporative

นอกจากนี้ยังสามารถประหยัดพลังงานในสวนของคอนเดนเซอรไดดวยการบํารุงรักษาทําความสะอาดอยางสม่ําเสมอ ชวยใหคอนเดนเซอรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนตน

Page 50: Audit Manual Presentation

5050

มาตรการอนุรักษพลังงาน ในอุตสาหกรรมสิ่งทอProcess plants

P1 การนําความรอนกลับคืนจากระบบน้ําทิ้งในขบวนการผลิตที่ใชน้ําP2 การหุมฉนวนกันความรอนกับหมอยอมP3 การฟอกยอมในเครื่องยอมแบบ Continuous โดยใหน้ําไหลไปในทิศทางเดียวกับผาP4 การนําความรอนทิ้งจากกาซเสียกลับมาใชP5 การลดปริมาณกาซเสียในกระบวนการอบแหงP6 การปองกันการอบแหงจนมากเกินไปในผลิตภัณฑสิ่งทอP7 การลดปริมาณความชื้นกอนเขาเครื่องอบP8 การลดปริมาณอากาศสวนเกินของกาซรอนP9 การหุมฉนวนกันความรอนในเครื่องอบ

Waste water treatment P10 การประยุกตใชงาน Inverter กับพัดลมในกระบวนการบําบัดน้ําเสียUtility plants

Fan and blower U1 การประยุกตใชงาน Inverter กับ Fan และ BlowerU2 การลดประมาณอากาศสวนเกินของหมอไอน้ําU3 การหุมฉนวนถังน้ํารอนU4 การนําความรอนทิ้งกลับมาใชงานดวย Economizer หรือ Air PreheaterU5 ปรับลดแรงดันผลิตไอน้ําในหมอไอน้ํา (1)U6 ปรับลดแรงดันผลิตไอน้ําในหมอไอน้ํา (2)U7 ปรับลดแรงดันผลิตอากาศอัดU8 ลดอุณหภูมิอากาศขาเขาในเครื่องอัดอากาศ

Fresh water  U9 การประยุกตใชงาน Inverter กับปมที่มีภาระโหลดไมคงที่U11 การเพิ่มอุณหภูมิปรับตั้งของระบบทําความเย็นU12 Introduction of thermal storage systemU13 Introduction of cogeneration systemU14 Cogeneration with ice thermal storage system

Washing processes

Compressed air

Air conditioning

Cogeneration

Boiler/steam 

Drying processes

Page 51: Audit Manual Presentation

5151

ตัวอยางมาตรการสิ่งทอตัวอยางมาตรการสิ่งทอ

Fuel oil A boiler

dieselgenerator

steam

elec power270 kW x 3 set

4 ton/hour

electric P.3,296,900kWh/y

purchaseengine cooling water

WHB

4 ata, 151 oC

305oC 205 oCexhaust gas

1,355,500kWh/y

75 oC

มาตรการนําความรอนทิ้งกลับมาใช

การนําความรอนทิ้งจากกาซเสียของ Diesel Generator มาใชผลิตไอน้ําดวย Waste Heat Boiler (WHB)

Page 52: Audit Manual Presentation

5252

สภาพการทํางานกอนปรับปรุงสภาพการทํางานกอนปรับปรุง

Page 53: Audit Manual Presentation

5353

สภาพการทํางานหลังปรับปรุงสภาพการทํางานหลังปรับปรุง

Page 54: Audit Manual Presentation

5454

ผลการอนุรักษพลังงานผลการอนุรักษพลังงาน

Page 55: Audit Manual Presentation

5555

CHILLERCHILLER

Page 56: Audit Manual Presentation

5656

Page 57: Audit Manual Presentation

5757

11..วัฏจักรการทํางานของ  วัฏจักรการทํางานของ  CHILLERCHILLER 11..11 วัฏจักรการทํางานขอวัฏจักรการทํางานของ ง CHILLER CHILLER

(Electrical)(Electrical)

Page 58: Audit Manual Presentation

5858

Page 59: Audit Manual Presentation

5959

ABSORPTION ABSORPTION CHILLERCHILLER

Page 60: Audit Manual Presentation

6060

วัฎจักรการทํางานของ  วัฎจักรการทํางานของ  CHILLERCHILLER11..2 2 วัฏจักรการทํางานของวัฏจักรการทํางานของ CHILLER CHILLER ((Absorption) Absorption)

Page 61: Audit Manual Presentation

6161

11..2 2 วัฏจักรการทํางานของวัฏจักรการทํางานของ CHILLER CHILLER ((Absorption) Absorption)

Page 62: Audit Manual Presentation

6262

การระเหย การระเหย (EVAPORATOR)(EVAPORATOR)

Page 63: Audit Manual Presentation

6363

การดูดซึม การดูดซึม (Absor(Absorption)ption)

Page 64: Audit Manual Presentation

6464

เครื่องแลกเปลี่ยนความรอน เครื่องแลกเปลี่ยนความรอน (Heat exchanger)(Heat exchanger)

Page 65: Audit Manual Presentation

6565

GeneratorGenerator

Page 66: Audit Manual Presentation

6666

การควบแนน การควบแนน ( ( Condensation )Condensation )

Page 67: Audit Manual Presentation

6767

บทที่ บทที่ 55  การอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยางการอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยาง

Page 68: Audit Manual Presentation

6868

การอนุรักษพลังงานในโรงงานตัวอยาง

อุตสาหกรรมอาหารอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสิ่งทออุตสาหกรรมสิ่งทอ

บริษัท กรีนสปอต จํากัดบริษัท กรีนสปอต จํากัดการจัดการพลังงานดานการนําความรอนทิ้งในระบบหมอไอน้ําการจัดการพลังงานดานการนําความรอนทิ้งในระบบหมอไอน้ํากลับมาใชใหมกลับมาใชใหมบริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑอาหาร จํากัดบริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑอาหาร จํากัดการนําน้ําคอนเดนเสทกลบัมาปอนเขาหมอไอน้ําการนําน้ําคอนเดนเสทกลบัมาปอนเขาหมอไอน้ําบริษัท โรงเสนหมี่ชอเฮง จํากัดบริษัท โรงเสนหมี่ชอเฮง จํากัดการนําน้ําคอนเดนเสทที่เปนความรอนทิ้งกลับมาใชอุนน้ําปอน การนําน้ําคอนเดนเสทที่เปนความรอนทิ้งกลับมาใชอุนน้ําปอน ((Feed TankFeed Tank) ) กอนเขาหมอไอน้ํากอนเขาหมอไอน้ํา

บริษัท นันยางการทออุตสาหกรรม จํากัดบริษัท นันยางการทออุตสาหกรรม จํากัด--  การติดตามผลการใชพลังงานตอหนวยผลผลิตการติดตามผลการใชพลังงานตอหนวยผลผลิต- การหุมฉนวนหมอยอมและทอ (Vessel and Piping)- การนําน้ํา Condensate กลับคืนมาใชใหมได- การเก็บกลบัคืนความรอนจากน้ําที่ใชแลวดวยการเก็บดวย  ถังเก็บน้ํารอน- การเก็บคืนความรอนจาก Exhaust Gas ของเครื่องอบ  Stenter 

Page 69: Audit Manual Presentation

6969

บทที่ บทที่ 66  การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูล

Page 70: Audit Manual Presentation

7070

การเก็บรวบรวมขอมูลความสําคัญความสําคัญ

DB system

Data required for Energy Management

in the Factory

Factory Data1) Production, Energy Use 2) Organization, etc

Internal B/M1) Equipment SEC2) Process SEC3) Factory SEC

(or Product SEC)EE&C G/L1) Oper & Maint G/L

ex. Moisture of dryer feed 2) Equipment G/L

ex. Actual COP

Data /Information

through Energy Audit

ExternalB/M

Knowledge on Process Principles is Required

DB system

Data required for Energy Management

in the Factory

Factory Data1) Production, Energy Use 2) Organization, etc

Internal B/M1) Equipment SEC2) Process SEC3) Factory SEC

(or Product SEC)EE&C G/L1) Oper & Maint G/L

ex. Moisture of dryer feed 2) Equipment G/L

ex. Actual COP

Data /Information

through Energy Audit

ExternalB/M

Knowledge on Process Principles is Required

Page 71: Audit Manual Presentation

7171

การเก็บรวบรวมขอมูลKey ParameterKey Parameter

F -01 S p ecific E n ergy C on su m p tion (S E C )

F uel kJ/kg-product

E lectricity kW h/kg-product

P rocess num bering 1 2 3

F uel kJ/kg-product

E lectricity kW h/kg-product

F -02 K ey P aram eters in P rocess P lan ts

(1)D ryer

D ryer num bering 1 2 3

D ryer nam e

w t%

degC

P ressure of dryer cham ber m m A q

F -03 K ey P aram eters in U tility P lan ts

(1)B oiler 1 2 3

Steam vaporization m ultip le t-steam /fuel-toe

1 2 3

air pressure M pa(G )

efficiency kW h/m3

1 2 3

P ow er factor cosφ %1

C ogeneration O verall efficiency %

1 2 3

condenser pressure M pa(G )

evaporator pressure M pa(G )

1 2 3

w ater in let degC

w ater outlet degC

w et bulb tem perature degC

E xhaust gas tem perature

F actory S E C

com pressed a ir

(3)P rim ary station

(2)C ooker or B aker

(3)Sterilizer

P rod u ct n am e

M oisture of dryer feed

P rocess S E C

(6)C ooling tow er

C ooling tow er

P rocess nam e

(4)C ogeneration p lant

(5)R efrigeration p lant

R efrigeration

system

(2)C om pressor house

Page 72: Audit Manual Presentation

7272

ตัวอยางตารางการเก็บขอมูลในระบบหมอไอน้ํา

Surface/Ambient Temp oCWind Velocity m/sPipings Size Dia m.m.Insulation Dia m.m.Bare Tube Length m.

1. Steam Pipings :

a. Water:Flow Rate m3/hTemp oCBlow Down %

b. Steam :Flow rate kg/hPressure kPaDryness %

c. Fuel : Fuel TypeFlow Rate kg/hTemp oCLCV kJ/kg

C.___________ H._____________ S._________O.___________ H2O __________ N.__________

d. Combustion Air :Flow Rate m3N/hTemp oC

e. Exhaust Gas :Flow Rate m3N/hTemp oCO2 %

f. Boiler :

Surface Temp :Front _____oC/______oC/______oCDrum Left Side _____oC/______oC/______oCDrum Right Side _____oC/______oC/______oCRear _____oC/______oC

Emissivity  e= ___________

Size Ø __________ m     L__________ m

2. Boiler :

Page 73: Audit Manual Presentation

7373

ตัวอยางตารางการเก็บขอมูลในระบบหมอไอน้ํา

ความเร็ว _______ m/sความชื้นสัมพันธ _______ %อุณหภูม ิ       _______ oC

A

B

แนวทางการตรวจวัดสวนอากาศปอนเขาหองเผาไหม 9 ตําแหนงนํามาหาคาเฉลี่ย เพื่อไดคาที่แมนยํามากยิ่งขึ้น

แนวทางการตรวจวัดอุณหภูมิของหมอไอน้ํา เพื่อนํามาหาคาความรอนสูญเสียโดยแบงการวัดเปน 3 สวนคือ

1. Front ตรวจวัด 3 จุดเพื่อนํามาเฉลี่ย2. Rear ตรวจวัด 2 จุดเพื่อนํามาเฉลี่ย3. Drum ตรวจวัด 6 จุดเพื่อนํามาเฉลี่ย

Front

Rear Drum

Burner

Page 74: Audit Manual Presentation

7474

ตัวอยางตารางการเก็บขอมูลในระบบอัดอากาศ

Loading Time SecUnloading Time SecSuction Temperature  oKPressure kPaMotor Power  kW    Power of Loading kW    Power of Unloading kWSuction Flow Rate m3/h

Measurement

Page 75: Audit Manual Presentation

7575

ตัวอยางตารางการเก็บขอมูลในระบบทําความเย็น

Compressor Power kWCondenser Pressure MPaGCondenser Temperature oCEvaporator Pressure MPaGEvaporator Temperature oC

Water Inlet oCWater Oulet oCWet Bulb Temperature oC

Cooling Tower

Measurement

Refrigeration System

Page 76: Audit Manual Presentation

7676

ภาคผนวกภาคผนวก

Page 77: Audit Manual Presentation

7777

ขอมูลประกอบที่เกี่ยวของภายในคูมือฯ

ขอมูลตางๆ ที่ใชบอยเพื่อการวินิจฉัยการใชพลังงานในขอมูลตางๆ ที่ใชบอยเพื่อการวินิจฉัยการใชพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมนั้นรวบรวมไวในภาคผนวกดังมีรายการดังนี้โรงงานอุตสาหกรรมนั้นรวบรวมไวในภาคผนวกดังมีรายการดังนี้กก. . ตารางการแปลงหนวย ตารางการแปลงหนวย ขข. . Psychrometric ChartPsychrometric Chartคค. . ตารางคาความรอนและความหนาแนนของเชื้อเพลิงตารางคาความรอนและความหนาแนนของเชื้อเพลิงงง. . ตารางคุณสมบัติไอน้ําตารางคุณสมบัติไอน้ําจจ. . ตัวอยางแบบสอบถามดานพลังงานตัวอยางแบบสอบถามดานพลังงานฉฉ. . แผนผังความดัน แผนผังความดัน –– เอนทาลป เอนทาลป ((PP--h Diagramh Diagram))ชช. . ตารางคา ตารางคา Emissivity Emissivity (() ) ของวัสดุตางๆของวัสดุตางๆซซ. . ตารางคาความรอนแฝงของผลิตภัณฑชนิดตางๆตารางคาความรอนแฝงของผลิตภัณฑชนิดตางๆฌฌ. . วงจรการทําความเย็น ชนิดตางๆวงจรการทําความเย็น ชนิดตางๆ

Page 78: Audit Manual Presentation

7878

แนวทางการพัฒนา คูมือฯ ในอนาคต

แนวทางการพัฒนาคูมือฯ ตอไปในอนาคตนั้น มีเนื้อหาดังตอไปนี้แนวทางการพัฒนาคูมือฯ ตอไปในอนาคตนั้น มีเนื้อหาดังตอไปนี้11. . มุงเนนเพิ่มเติมกรณีศึกษาและขอมูล ของแตละภาคอุตสาหกรรมมุงเนนเพิ่มเติมกรณีศึกษาและขอมูล ของแตละภาคอุตสาหกรรมใหมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เชน ขยายผลขอมูลในอุตสาหกรรมใหมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เชน ขยายผลขอมูลในอุตสาหกรรมสิ่งทอใหคลอบคลุมตั้งแตตนน้ํา จนถึงปลายน้ํา เปนตนสิ่งทอใหคลอบคลุมตั้งแตตนน้ํา จนถึงปลายน้ํา เปนตน22. . เพิ่มเติมมาตรการตัวอยางที่ไดดําเนินการแลวในโรงงานตัวอยางเพิ่มเติมมาตรการตัวอยางที่ไดดําเนินการแลวในโรงงานตัวอยางที่เขารวมโครงการฯ ที่เขารวมโครงการฯ 33. . เพิ่มเติมกรณีศึกษาและขอมูลดานเทคโนโลยีใหมๆ สําหรับเพิ่มเติมกรณีศึกษาและขอมูลดานเทคโนโลยีใหมๆ สําหรับอุตสาหกรรมอาหารและสิ่งทออุตสาหกรรมอาหารและสิ่งทอ44. . ขยายผลไปสูการจัดทําคูมือฯ ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตอไปขยายผลไปสูการจัดทําคูมือฯ ในอุตสาหกรรมอื่นๆ ตอไป

Page 79: Audit Manual Presentation

7979

จบการนําเสนอ จบการนําเสนอ

สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ โซน ซี ชั้น ๔ เลขที่ ๖๐ ถ. รัชดาภิเษกตัดใหม คลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐

โทร 0-2345-1248-56 โทรสาร 0-2345-1258-9 อีเมล [email protected]