breast cancer

12
มะเร็งเตานม คําจํากัดความของมะเร็งเตานม มะเร็งเตานม คือ เซลลของเนื้อเยื่อเตานมที่มีการเปลี่ยนแปลงภายในจนทําใหมีการเจริญเติบโต ไดอยางรวดเร็วมากขึ้นจนรางกายไมสามารถควบคุมไดและสามารถแพรกระจายไปยังเนื้อเยื่อใกลเคียง ตลอดจนเนื้อเยื่อทั่วรางกาย และแพรกระจายไปยังอวัยวะสวนตาง ของรางกายโดยทางเดินน้ําเหลือง และทางกระแสเลือด รวมถึงการแพรกระจายลุกลามเฉพาะที่ดวย เชน การแพรกระจายสูกระดูก ตับ ปอด และสมอง เปนตน กายวิภาคของเตานม เตานมตั้งอยูหนากลามเนื้อ Pectoralis major Muscle เตานมเปนGlandular Structure อยูในชั้น Subcutaneous Tissue ของรางกายอยูระหวาง Superficial Fascia กับ Deep Fascia ยกเวน Axillary Tail ที่ยื่นตอ Deep Fascia เตานม มีอาณาเขตตั้งแตซี่โครงที2 ถึง 6 และจากขอบ Sternum และขอบรักแร ลักษณะภายนอกของเตานม เตานมปกติมีลักษณะเปนรูปกรวยคว่ํา มีอยู 2 ขาง มีหนาที่สรางน้ํานมเพื่อบํารุงเลี้ยงเด็ก และ มีหัวนมอยูที่ยอด (Nipple) บริเวณ Nipple นี้มีรูของ Milk Duct และผิวหนังที่อยูรอบ หัวนมจะมีสี คล้ํากวาผิวหนังทั่วไปของเตานม ผิวหนังบริเวณนี้เรียกวา ปานนม หรือ Areola เปนตอม Compound Gland ซึ่งแบงเปนสวน มีประมาณ 20 lobe แบงโดย Connective Tissue และ lobe หนึ่ง จะมี Excretory Duct ของมันเองซึ่งมีปลายของหลอดที่จะมาเปดที่หัวนม พื้นที่ขยายพองโตเพื่อขังน้ํานมไว ในเวลาที่ตอมน้ํานมทําหนาที่สรางน้ํานมออกมา และ Duct เหลานี้ตางก็ไปที่ผิวของหัวนมโดยตรง lobe ตาง เหลานี้ยังแบงออกเปน lobe เล็ก หรือที่เรียกวา Lobular รูปที1 แสดงลักษณะทางกายภาพของเตานมปกติ รูปที2 แสดงลักษณะภายนอกของเตานม

Upload: piyapot-tantaphalin

Post on 12-Dec-2014

1.205 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: Breast cancer

มะเร็งเตานม

คําจํากัดความของมะเร็งเตานม มะเร็งเตานม คือ เซลลของเนื้อเยื่อเตานมท่ีมีการเปล่ียนแปลงภายในจนทําใหมีการเจริญเติบโต

ไดอยางรวดเร็วมากข้ึนจนรางกายไมสามารถควบคุมไดและสามารถแพรกระจายไปยังเนื้อเยื่อใกลเคียง ตลอดจนเนื้อเยื่อท่ัวรางกาย และแพรกระจายไปยังอวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายโดยทางเดินน้ําเหลืองและทางกระแสเลือด รวมถึงการแพรกระจายลุกลามเฉพาะท่ีดวย เชน การแพรกระจายสูกระดูก ตับ ปอด และสมอง เปนตน

กายวิภาคของเตานม เตานมต้ังอยูหนากลามเน้ือ Pectoralis major Muscle เตานมเปนGlandular Structure อยูในช้ัน Subcutaneous Tissue ของรางกายอยูระหวาง Superficial Fascia กับ Deep Fascia ยกเวน Axillary Tail ท่ียื่นตอ Deep Fascia เตานม มีอาณาเขตต้ังแตซ่ีโครงท่ี 2 ถึง 6 และจากขอบ Sternum และขอบรักแร

ลักษณะภายนอกของเตานม เตานมปกติมีลักษณะเปนรูปกรวยคว่ํา มีอยู 2 ขาง มีหนาท่ีสรางน้ํานมเพื่อบํารุงเล้ียงเด็ก และ

มีหัวนมอยูท่ียอด (Nipple) บริเวณ Nipple นี้มีรูของ Milk Duct และผิวหนังท่ีอยูรอบ ๆ หัวนมจะมีสีคลํ้ากวาผิวหนังท่ัวไปของเตานม ผิวหนังบริเวณนี้เรียกวา ปานนม หรือ Areola เปนตอม Compound Gland ซ่ึงแบงเปนสวน ๆ มีประมาณ 20 lobe แบงโดย Connective Tissue และ lobe หนึ่ง ๆ จะมี Excretory Duct ของมันเองซ่ึงมีปลายของหลอดท่ีจะมาเปดท่ีหัวนม พื้นท่ีขยายพองโตเพื่อขังน้ํานมไวในเวลาท่ีตอมน้ํานมทําหนาท่ีสรางน้ํานมออกมา และ Duct เหลานี้ตางก็ไปท่ีผิวของหัวนมโดยตรง lobe ตาง ๆ เหลานี้ยังแบงออกเปน lobe เล็ก ๆ หรือท่ีเรียกวา Lobular

รูปท่ี 1 แสดงลักษณะทางกายภาพของเตานมปกติ

รูปท่ี 2 แสดงลักษณะภายนอกของเตานม

Page 2: Breast cancer

ลักษณะภายในของเตานม

ภายในเตานมประกอบดวย ไขมัน เนื้อเยื่อตอมน้ํานม Glandular Tissue ซ่ึงมีโครงสรางเชน เดียวกับ Exocrine Gland ท่ัว ๆ ไป ประกอบดวย Acini Areola และทอน้ํานมหรือ Ductal System ภายใน Glandular Tissue มี Fibrous Septum แบงตอมออกเปน lobe ประมาณ 15-20 lobes ภายใน lobe ประกอบดวย lobules และมีถุง bulbs ติดอยูกับทอน้ํานมซ่ึงจะเปดยังหัวนม ซ่ึง Fibrous septum จะแผรัศมีออกจากศูนยกลางคือ หัวนม (Nipple) และตอมน้ํานมฝงอยูในช้ันไขมันใตผิวหนัง (Subcutaneous fat) โดยมีไขมันแทรกอยูในระหวางเนื้อตอมน้ํานมดวย ถามีไขมันแทรกอยูมากในระหวาง lobe และ lobular เราจะไมสามารถมองเห็นหรือสัมผัสออนนุม (soft) หรือคอนขางแนนตึง ไมแข็ง ท้ังนี้ข้ึนอยูกับไขมันท่ีแทรกอยูระหวาง Glandular Tissue นอกจากน้ีภายในเตานมยังมีหลอดเลือด และทอน้ําเหลือง( lymph) ซ่ึงจะไปรวมกันยังตอมน้ําเหลืองท่ีรักแร ( axillary lymph node)

รูปที่ 3 แสดงลักษณะภายในของเตานม

รูปท่ี 4 แสดงลักษณะและความแตกตางของความผิดปกติของเตานมชนิดตาง ๆ

Page 3: Breast cancer

รูปท่ี 5 แสดงลักษณะท่ีผิดปกติของเตานมท่ีควรรีบพบแพทย

อาการและอาการแสดงของมะเร็งเตานม ผูปวยท่ีเปนมะเร็งเตานม มักจะไมมีอาการ โดยมากมักจะรูไดโดยมีอาการแสดงของความผิดปกติท่ีเกดิข้ึนท่ีเตานมท่ีอาจเปนอาการของโรคมะเร็งเตานมดังนี ้

1. คลําไดกอนหรือเนื้อท่ีเปนไตแข็งผิดปกติท่ีเตานมหรือรักแร 2. มีการเปล่ียนแปลงขนาด รูปรางและลักษณะของเตานมท่ีผิดปกติไป 3. มีน้ําเหลืองหรือเลือดไหลออกจากหัวนม 4. หัวนมถูกดึงร้ังจนผิดปกติ 5. สีและผิวหนังบริเวณเตานมเปล่ียน มีรอยบุมคลายผิวเปลือกสม หรือบวม แดง รอนผิดปกติ 6. เตานมท้ังสองขางไมอยูในระดับเดียวกัน

ผิวหนังจะเหมือนเปลือกสม

ผิวหนังจะมีรอยบุมของเตานมซาย

Page 4: Breast cancer

สาเหตุและปจจัยสงเสริมการเกิดโรคมะเร็งเตานม สาเหตุของมะเร็งเตานม ปจจุบันยังไมเปนท่ีทราบแนชัดถึงสาเหตุท่ีแทจริงของการเกดิ แตเช่ือวามีสาเหตุสงเสริมหลายอยางรวมกัน การปฎิบัติตัวท่ีดจีะลดการเกดิมะเร็งเตานม

• เปล่ียนแปลงอาหาร เชนลดพวกเนื้อสัตวลง ลดอาหารไขมัน • เลือกรับประทานอาหารผักหรือผลไม • ควบคุมน้ําหนกัมิใหอวน • ออกกําลังกายสัปดาหละ 5 วันวันละ 30 นาที • งดบุหร่ี และแอลกอฮอล

 

ปจจัยเสี่ยงท่ีทําใหเกิดโรค ขอมูลทางการแพทยเพยีงสนับสนุนใหเราทราบวาอะไรเปนปจจัยเส่ียงท่ีทําให สตรีมีโอกาสเพิ่มข้ึนท่ีจะเปนโรคมะเร็งเตานมเทานั้น ไดแก 1. อายุ หลังเขาสูวัยหมดประจําเดือนหรือวัยทอง (Menopause) ยิ่งอายุเพิ่มข้ึนโอกาสเปนโรคก็สูงข้ึนตามไปดวย สวนมากจะเปนกันชวงอายุ 60 ปข้ึนไป แตระยะหลังดูเหมือนอายุเฉล่ียท่ีพบโรคนี้จะลดลงตํ่าเร่ือยๆ 2. ประวัติเคยเปนโรคมะเรง็เตานมขางหนึง่ มีโอกาสสูงข้ึนท่ีจะตรวจพบโรคมะเร็งไดท่ีเตานมอีกขางหนึ่งในเวลาตอมา 3. ประวัติโรคมะเร็งเตานมในญาติสายตรง (มารดา, พี่สาวนองสาวหรือลูกสาว) 4. เคยตรวจพบการเปล่ียนแปลงของเนื้อเยือ่เตานม บางชนิดมากอน จากการตัดช้ินเนื้อไปตรวจในอดีต แมคร้ังนั้นจะยังไมใชโรคมะเร็งก็ตาม เชน เนื้อเยื่อชนิด Atypical hyperplasia, ชนิด Lobular carcinoma in situ เปนตน 5. ความผิดปกติทางพันธุกรรมบางตัว การเปล่ียนแปลงของยีนจําเพาะบางชนิด เชน BRCA 1, BRCA 2 6. ประวัติทางนรีเวชท่ีบงชีแ้นวโนม เชน การมีบุตรคนแรกเม่ืออายมุากหรือไมเคยมีบุตรเลย, เร่ิมมีประจําเดอืนคร้ังแรกอายุนอยๆ (เชน นอยกวา 12 ป), หมดประจําเดือนชาหลังอายุ 55 ป, และการใชฮอรโมนทดแทนในสตรีวัยทองโดยเฉพาะฮอรโมนชนิดรวม (Estrogen and progestin) สวนประวัติการแทงบุตรไมพบวามีความสัมพันธกับการเกิดโรคนี ้ 7. เชื้อชาติ สตรีกลุมชนผิวขาวมีโอกาสพบโรคมะเร็งเตานมไดบอยกวาสตรีเช้ือชาติอ่ืน 8. ประวัติการไดรับรังสีรักษาบริเวณหนาอก เม่ืออายุนอย เชน ใชเพื่อการรักษาโรคมะเร็งตอมน้ําเหลืองบางชนิด

Page 5: Breast cancer

9. ประวัติการไดรับยาฮอรโมนกันแทง Diethylstilbestrol (DES) ซ่ึงเคยเปนท่ีนิยมใชในสตรีต้ังครรภยุคกอน ค.ศ. 1970 10. การตรวจพบเนื้อเตานมท่ีมีความหนาแนน หรือมีการสะสมไขมันเยอะจากการตรวจแมมโมแกรม (Mammogram) อาจพบโรคมะเร็งเตานมไดบอยข้ึน 11. ภาวะโรคอวน ลงพุง น้ําหนักเกิน ในสตรีวัยหมดประจําเดือน 12. การขาดการออกกําลังกาย หรือการใชชีวิตท่ีออกแนวเฉ่ือยชา ทําใหมีโอกาสเปนโรคอวนและนํ้าหนักเกนิไดงาย 13. การดื่มเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล ยิ่งดื่มมากพบวามีโอกาสสูงข้ึนท่ีจะเปนมะเร็งเตานม การหลีกเล่ียงจากปจจยัเส่ียงท่ีพอจะเล่ียงไดจะชวยลดความเส่ียงตอการเกิดโรคมะเร็งเตานม อยางไรก็ด ี สตรีสวนใหญแมมีปจจัยเส่ียงก็ไมไดหมายความวาจะเปนโรคมะเร็ง ในขณะท่ีมีสตรีท่ีเปนมะเร็งเตานมหลายรายไมพบมีปจจัยเส่ียงเหลานี้เลย แมแตขอเดียว  

การวินิจฉัยโรค เม่ือสตรีมาพบแพทยดวยอาการหรือการตรวจคัดกรองผิดปกติ จะไดรับการวินจิฉัยตามข้ันตอนดังนี ้1. การซักประวัติเพิ่มเติม ถามถึงปจจัยเส่ียงตางๆ, ทําการตรวจรางกาย, อาจสงตรวจแมมโมแกรมหรือตรวจทางรังสีวิทยา (เอกซเรย) ท่ีจําเปนเพิม่กอนพิจารณาวานาสงสัยและจําเปนตองตรวจวนิิจฉัยตอไปหรือจะ นัดตรวจติดตามอยางไร 2. การเก็บตัวอยางเนื้อเยื่อเพือ่พิสูจนทางพยาธิวิทยา (Biopsy) • วธีิเจาะดดูของเหลวจากถุงน้ํา (Cyst) หรือกอนท่ีสงสัยดวยเข็มขนาดเล็ก (Fine-needle aspiration - FNA) โดยแพทยจะใชเข็มเล็กๆ ดูดเอาของเหลวหรือเซลลออกจากกอนท่ีเตานม วิธีนี้ไมคอยเจ็บ ในกรณีท่ีคลําไดกอนชัดเจน การเจาะดูดช้ินเนือ้เพื่อนํามาตรวจจะไดผลท้ังในแงวินจิฉัย โดยนํามาตรวจดวยวิธีเซลลวิทยา (cytology) และอาจเปนวิธีรักษา (therapeutic purpose) ในกรณีท่ีเปนรอยโรคของถุงน้ําท่ีไมใชมะเร็ง ซ่ึงในกรณหีลังนี้ไมจาํเปนตองตรวจหรือรักษาเพิ่มเติม ถาผลการตรวจเซลลวิทยายืนยันวาไมเปนมะเร็ง • การตัดช้ินเนือ้สงตรวจดวยเข็มขนาดโต (Core needle biopsy) เนื้อเยื่อในบริเวณท่ีสงสัยจากการตรวจดวย mammogram จะถูกตัดออกมา โดยการใชเข็มขนาดใหญกวา การตรวจดวยวิธีFNA เนื้อเยื่อท่ีไดจะถูกสงไปท่ีหองปฏิบัติการเพื่อทําการตรวจโดยพยาธิแพทย วาเปนมะเร็งหรือไม วิธีนี้เจ็บมากข้ึนเล็กนอย แตผลการตรวจมีความแมนยํากวาการตรวจแบบแรก • การตัดช้ินเนือ้สงตรวจดวยการผาตัด (Surgical biopsy) การผามีอยู 2 อยาง คือ การผาบางสวนของกอนเนื้องอกไปตรวจ (incisional biopsy) หรือการผาเอากอนท้ังหมดไปตรวจ (excisional biopsy) ซ่ึงพยาธิแพทยจะตรวจเนื้อเยื่อจากกอนท่ีตัดได โดยการนําไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน

Page 6: Breast cancer

3. การตรวจเพิ่มเติมพิเศษ เชน MRI (Magnetic Resonance Imaging), การสงเนื้อเยือ่ตรวจหาตวัรับฮอรโมน (Hormone receptor) ซ่ึงจะชวยบอกวาสตรีรายน้ันควรไดรับยา กลุมฮอรโมนหลังการรักษามาตรฐานหรือไม, การตรวจหาโปรตีนหรือยีนส HER2 ในเนื้อเยื่อเตานมเพื่อบอกการพยากรณโรค

ระยะของโรค เม่ือไดรับการตรวจ และ/หรือ รวมกับการผาตัดแลว แพทยจะระบุระยะของโรคจากขนาดของกอนเนื้อ การกระจายของโรคไปท่ีอวัยวะอ่ืนและตอมน้ําเหลืองบริเวณใกลเคียงโดยเฉพาะ บริเวณรักแร การทราบระยะของโรคมีความสําคัญในการวางแผนการรักษาและการพยากรณโรค ลักษณะการกระจายและสถานท่ีต้ัง อาจแบงมะเร็งเตานมออกเปน 2 ลักษณะคือ 1. มะเร็งเร่ิมเปน (EARLY) ระยะนี้พบบอยท่ีสุด โดยเซลลมะเร็งจะเร่ิมตนท่ีเยื่อบุทอน้ํานม ทอน้ํานมนี้เช่ือมตอระหวางตอมน้ํานมกับหัวนม มะเร็งประเภทท่ีพบบอยรองลงมา คือ ชนิดท่ีเกดิกับเนื้อตอมสรางน้ํานม ซ่ึงประกอบดวยเซลลผลิตน้ํานม ท่ีมาเรียงตอเปนกลีบเล็กกลีบนอย มะเร็งท่ีตรวจพบไดต้ังแตยังเร่ิมเปนอยูภายในทอน้ํานม จะมีโอกาสหายขาดไดมากกวา 95% ท่ีไม 100% เพราะวา แมจะผาตัดกอนมะเร็งออกไปแลว ยงัอาจมีโอกาสที่เซลลมะเร็งไดลุกลามไปท่ีอ่ืนแลว จดุออนขณะนี้คือ ยังไมสามารถพยากรณ ไดวา มะเร็งรายใดจะลุกลามและรายใดจะคงเปนเฉพาะในเตานม อยางไรกต็าม แมจะวนิจิฉัยมะเร็งไดเนิ่นๆ แตมะเร็งยังอาจเกิดไดในอนาคต 2. มะเร็งชนิดรุกราน (INVASIVE) มะเร็งชนิดนี้จะลุกลามไปนอกกลีบ หรือเนื้อตอมน้ํานมสูเนื้อเตานมท่ัวไป การคลํากอนแข็งท่ีเตานมได มักจะเปนอาการแสดงของมะเร็งชนิดรุกราน มะเร็งเตานมสวนใหญจะปรากฏอยูหลายป กวาจะคลํากอนได มะเร็ง มะเร็งรุกรานบางราย จะคงอยูในเตานมในขณะท่ีบางราย ลุกลามไปท่ีตอมน้ําเหลือง 3. มะเร็งชนิดลุกลาม (METASTATIC) คํานี้ใชอธิบายมะเร็งท่ีไดลุกลามไปยังสวนอ่ืนๆ ของรางกาย รวมท้ังตอมน้ําเหลือง กระดูก ปอด ตับ และสมอง

การรักษามะเร็งเตานม แผนการรักษามักข้ึนอยูกับระยะของโรค ขนาดของกอน รวมถึงขอพิจารณาอ่ืนๆ เชน อายุผูปวย สถานภาพของประจําเดือน สุขภาพท่ัวไป เปนตน ในปจจุบันมีวธีิการรักษาหลากหลายวิธี ไมวาจะเปนการผาตัด, รังสีรักษา, เคมีบําบัด, ฮอรโมนบําบัดและสารประกอบชีวภาพ (Biological therapy) แพทยผูดูแลมักแนะนําใหใชการรักษาแบบผสมผสานเพื่อผลการรักษาและการพยากรณ โรคท่ีดีท่ีสุดโดยคํานึงถึงคุณภาพชีวิตของผูปวยเปนสําคัญ

Page 7: Breast cancer

หลักการใหการรักษาโรคมะเร็งเตานมแบงเปน การรักษาเฉพาะท่ี (Local therapy) ไดแก การผาตดัและรังสีรักษา โดยใชการตัดเนื้อรายออกหรือทําลายเซลลมะเร็งเฉพาะบริเวณรอยโรคท่ีตรวจพบ เชน ท่ีเตานม หรือใชเม่ือมีการกระจายของโรคไปปรากฏข้ึนเฉพาะท่ีอวยัวะใดอวยัวะหนึ่ง การรักษาแบบท้ังรางกาย (Systemic therapy) ไดแก ยาเคมีบําบัด, ฮอรโมนบําบัด และสารประกอบชวีภาพ เม่ือกินหรือฉีดสารเหลานี้จะซึมผานเขาในกระแสเลือดไปยังทุกสวนของรางกาย ชวยทําลายและยับยั้งการเจริญของเซลลมะเร็ง การรักษาแบบท้ังรางกายนี้มักใชผสมผสานเสริมกับการรักษาเฉพาะท่ีเพื่อ ปองกันการกลับเปนซํ้าของโรคและในกรณีท่ีมีการกระจายของโรคออกจากบริเวณเตานม

แนวทางการปองกันมะเร็งเตานม โรคมะเร็งเปนโรคท่ีพบไดบอยโดยเฉพาะในปจจุบันซ่ึงมีมลภาวะจากการพัฒนาประเทศ และประชาชนขาดความเอาใจใสตอสุขภาพตนเอง ขาดการออกกําลังกาย รับประทานอาหารไมเลือก เหลานี้ลวนเปนสาเหตุใหมีโอกาสเปนมะเร็งเพิ่มข้ึน โรคมะเร็งเปนโรคท่ีปองกันได และสามารถรักษาใหหายขาดไดหากสามารถวนิิจฉัยไดต้ังแตเร่ิมเปน มะเร็งเกือบทุกชนิดหากคนพบในระยะเร่ิมแรกจะใหการรักษาไดผลด ี ดังนั้นการคนพบตั้งแตเร่ิมเปนจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง มะเร็งเตานมเปนมะเร็งท่ีพบไดบอย เปนเร่ืองท่ีไมไกลตัวสําหรับผูหญิงท้ังหลาย และโรคนี้สามารถพบไดในผูชาย ดังนั้นไมวาจะเปนหญิงหรือชายควรจะตรวจเตานมตัวเอง การตรวจเตานมดวยตัวเอง ควรจะตรวจอยางนอยเดือนละคร้ัง ระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการตรวจคือหลังจากประจําเดือนหมด สวนการตรวจเตานมโดยแพทย ควรตรวจต้ังแตอายุ 20 ปข้ึนไปโดยตรวจทุก 3 ป สวนผูท่ีอายมุากกวา 40 ปข้ึนไปควรตรวจเปนประจําทุก 1 ป และเม่ือมีอาการและอาการแสดงหรือตรวจพบส่ิงผิดปกติดังตอไปนี้ควรที่จะตองรีบปรึกษาแพทย คือ

• พบกอนหรือเนื้อท่ีเปนไตแข็งผิดปกติท่ีเตานมถึงบริเวณรักแร

• มีน้ําเหลืองและเลือดไหลจากหัวนม

• ผิวหนังบริเวณเตานมมีรอยบุม

• หัวนมถูกดึงร้ังจนผิดปกติ

• เตานมท้ังสองขางไมอยูในระดับเดียวกัน

• ขนาด และรูปรางเตานมท้ังสองขางตางกันอยางผิดปกติ

การตรวจคัดกรองมะเร็งเตานม การตรวจคัดกรองเปนการชวยคนหาโรคต้ังแตระยะเร่ิมตน ซ่ึงชวยเพิ่มโอกาสการรักษาโรคใหหายขาด การตรวจคัดกรองมะเร็งเตานม ไดแก

Page 8: Breast cancer

1. การตรวจเตานมดวยตัวเอง (Breast self-examination) เม่ือเร่ิมอายุ 20 ปข้ึนไป ควรทําการตรวจ เตานมดวยตนเองทุกเดือนอยางนอยเดือนละคร้ัง อยางถูกวิธี ชวงเวลาท่ีเหมาะสมสําหรับการตรวจคือ 5 ถึง 7 วัน นับจากประจําเดือนหมด สวนสตรีท่ีหมดประจําเดือนใหกําหนดวันท่ีจดจํางายและตรวจในวนัเดยีวกันของทุก เดือน การตรวจเตานมดวยตนเองตองตรวจตามวิธีท่ีถูกตองและสมํ่าเสมอจะสามารถตรวจพบ กอนไดต้ังแตยังมีขนาดไมโตมากนักซ่ึงการรักษาจะไดผลดี วิธีการตรวจเตานมดวยตนเอง ซ่ึงจะกลาวถึงรายละเอียดวิธีการตรวจเตานมดวยตนเองตอไป 2. การตรวจเตานมโดยแพทยหรือเจาหนาท่ีทางการแพทยท่ีมีความชํานาญ ควรตรวจต้ังแตอายุ20ข้ึนไปโดยตรวจทุก 3 ป สวนผูท่ีอายุมากกวา 40 ปตวรจะตรวจดวยแพทยทุกป 3. การตรวจดวย Mamogram สามารถตรวจพบกอนกอน 2 ป การตรวจ Mamogram เปนการตรวจท่ีดีท่ีจะคนพบมะเร็งในระยะเร่ิมตนแนะนําใหเร่ิมตรวจต้ังแตอายุ 40 ปข้ึนไป โดยเฉพาะกลุมท่ีเส่ียงตอการเกดิมะเร็งเตานม สําหรับผูท่ีมีความเส่ียงตอการเกิดมะเร็งตํ่าแนะนําใหตรวจ Mamogram หลังอายุ 50 ป

วิธีการตรวจเตานมดวยตนเอง 1. ตรวจขณะยืนหนากระจก 1.1 ยืนสองกระจก ปลอยแขนแนบขางลําตัวตามสบาย เปรียบเทียบเตานมท้ังสองขาง สังเกตดูการเปล่ียนแปลงลักษณะของรูปราง, ขนาดหรือสีของหัวนม สังเกตดูระดับของหัวนมแตละขางวาเทากันหรือไม มีปนหรือผ่ืนบนหวันมหรือไม มีผิวหนังบุมลงหรือไม มีการบิดเบ้ียว การดึงร้ังของเตานมหรือหวันม ความสูง-ตํ่าของหัวนม หรือมีส่ิงผิดปกติอ่ืน ๆ หรือไม

1.2 ยืนประสานมือท้ังสองขางเหนือศีรษะ หันดานขางสองกระจกดูทีละขาง แลวกลับมาอยูในทาทาวสะเอว พรอมท้ังตรวจดูส่ิงท่ีผิดปกติ เหมือนในขอ 1.1

Page 9: Breast cancer

1.3 หันหนาตรงเขากระจกอีกคร้ัง เอามือจับสะโพกท้ังสองขาง  และกดสะโพกไวแรงๆ จนทานรูสึกวากลามเนื้อท่ีหนาอกของทานแข็งเกร็งข้ึนมา สังเกตความผิดปกติอีกคร้ัง

1.4 ยืนโนมตัวโคงไปขางหนา โดยใชมือท้ังสองขางวางบนเขาใหหนาอกสองขางหอยดิ่งลง จะทําใหมองเห็นความผิดปกติไดชัดเจนมากข้ึน สังเกตดูวามีรอยบุม หรือโปงพองของผิวหนังท่ีเตานมหรือไม สังเกตดูรูปรางของเตานม และสังเกตวามีรอยบุมท่ีหัวนมทั้งสองขางหรือไม 

รูปท่ี 7 แสดงการตรวจเตานมขณะยืน

2. ตรวจขณะนอนราบ 2.1 นอนราบในทาท่ีสบายแลวสอดหมอน หรือมวนผาใตไหลขางใดขางหนึ่ง ยกแขนดานเดียวกับเตานมท่ีจะตรวจเหนือศีรษะเพื่อใหเตานมดานนัน้ลอยข้ึน ซ่ึงจะทําใหคลําพบกอน หรือพบส่ิงผิดปกติไดงายข้ึน โดยเฉพาะสวนบนดานนอกของเตานม ซ่ึงมีเนื้อนมหนามากท่ีสุด และเกดิมะเร็งบอยกวาสวนอ่ืน มองสํารวจเตานมใหท่ัวสังเกตดูลักษณะผิดปกติ

Page 10: Breast cancer

2.2 เร่ิมตรวจขางท่ีถนัดกอน โดยใชปลายนิว้มือสามนิ้ว คือ นิว้ช้ี นิ้วกลาง และนิ้วนาง คลําท่ัวท้ังเตานม น้ําหนกักดท่ีปลายนิ้วแรงและลึกพอสมควร ข้ึนอยูกับขนาดเตานม ท่ีสําคัญคือ หามบีบเนื้อเตานม เพราะอาจทําใหรูสึกวามีกอน ซ่ึงจริงๆ แลวไมใช

2.3 คลําท่ีใตรักแร ถามีตอมน้ําเหลืองโตจะคลําไดเปนกอนท่ีใตรักแร และตรวจคลําเตานมอีกขางในลักษณะเดียวกัน

รูปท่ี 8 แสดงการตรวจเตานมขณะนอนราบ

3. ตรวจขณะอาบน้ํา วิธีนี้เหมาะสําหรับผูหญิงท่ีมีเตานมขนาดเล็ก 3.1 ใหวางมือขางเดียวกับเตานมขางท่ีตองการตรวจบนเหนือศีรษะ แลวใชมืออีกขางคลําในทิศทางเดียวกบัท่ีคลําในทายนืตรวจ 3.2 สําหรับผูหญิงท่ีมีเตานมขนาดใหญ ใหใชมือขางนั้นประคองและตรวจคลําเตานมจากดานลาง สวนมืออีกขางใหคลําจากดานบน

รูปท่ี 9 แสดงการตรวจเตานมขณะอาบนํ้า

Page 11: Breast cancer

## อยาลืม ใชปลายนิ้วหัวแมมือ และนิ้วช้ีบีบต้ังแตขอบลานหัวนม (Areola) เขาหากันท่ีหวันม ดูวามีส่ิงผิดปกติไหลออกจากหวันมหรือไม ถามี ลักษณะของเหลวท่ีออกมาเปนอยางไร

ลักษณะวิธีการคลํา มีหลายแบบดงันี ้การคลําแบบกนหอย คลําโดยเร่ิมจากการคลําเปนวงกลมกวาง ๆ ดานนอกขอบเตานมกอน แลววนใหวงกลมนี้แคบเขาสูหัวนม โดยในการคลําใหใชปลายนิว้มือออกแรงท้ังคลําและกดลงท่ีเตานมวนอยูกับท่ีเปนวงกลมเล็ก ๆ แลวคอยขยับยายท่ีใหท่ัว ๆ วนเปนวงรอบใหญจนกระท่ังถึงหวันม น้ําหนกักดแรงหรือเบามากนอยข้ึนอยูกับขนาดของเตานม

รูปท่ี 10 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบกนหอย

การคลําแบบดาวกระจาย จินตนาการแบงเตานมออกเปนชวง ๆ ตามเข็มนาฬกิา เร่ิมตน คลําจาก 12 นาฬิกา โดยเร่ิมกดจากหวันมเปนเสนตรงผานลานหัวนมออกไปสูฐานของเตานม แลวขยับไปท่ี 1, 2, 3 นาฬกิา คลํายายไปเร่ือย ๆ จนกระท่ังครบท่ัวพื้นท่ีเตานม

รูปท่ี 11 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบดาวกระจาย

Page 12: Breast cancer

การคลําแบบขึน้และลง จินตนาการวา เตานมเปนลูกคล่ืนในทะเล ใชปลายนิ้วมือคลําโดยกดวนเปนวงกลมเล็ก ๆ ย้ําอยูกับท่ี และใหคลําเตานมยายท่ีในทิศทางข้ึน และลงตามยอดคล่ืน

รูปท่ี 12 แสดงลักษณะการคลําเตานมแบบข้ึนและลง

 

 

 

 

 

 

รายการอางอิง 

ชาญวิทย ตันต์ิพิพัฒน และธนิต วัชรพุกก. (2541). ตําราศัลยศาสตร. กรุงเทพมหานคร: สํานักพมิพ แหงจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชวนพิศ นรเดชานนท. (2547). เคมีบําบัด: หลักการพยาบาล. กรุงเทพฯ: คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. พวงทิพย ชัยพิบาลสฤษดิ์ และคณะ. (2546). โครงการวจิัยเร่ืองมาตรฐานการพยาบาลผูปวยโรคมะเร็ง เตานม. คณะพยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ. สุจินดา ริมศรีทอง และคณะ. (2552). พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล. พิมพคร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สุรพงษ สุภาภรณ และคณะ. (2547). มะเร็งเตานม. พมิพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลพระมงกุฎ เกลา สมาคมศัลยแพทยนานาชาติแหงประเทศไทย.