¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9...

26
8 บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับกลยุทธการเสริมสรางพลังอํานาจของหัวหนาหอผู ปวยแกบุคลากร โรงพยาบาลที่ผานการรับรองคุณภาพและโรงพยาบาลที่รอการรับรองคุณภาพ โดยผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีตาง และงานวิจัยที่เกี่ยวของมาประกอบในการทําวิจัยดังตอไป นี1. แนวคิดพื้นฐานการเสริมสรางพลังอํานาจประกอบดวย 1.1 ความหมายของอํานาจ 1.2 ความหมายของการเสริมสรางพลังอํานาจ 2. ทฤษฎีการเสริมสรางพลังอํานาจ 3. กลยุทธการเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโก 4. บทบาทของหัวหนาหอผูปวยในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากร 5. แนวคิดการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล แนวคิดพื้นฐานการเสริมสรางพลังอํานาจ ความหมายของอํานาจ อํานาจ (power)มาจากภาษาละตินวา “potere” มีความหมายในภาษาอังกฤษวา”to be able” หมายถึงแรงผลักดันภายในบุคคลหรือความสามารถของบุคคลในการโนมนาว ชักจูงให บุคคลอื่นทํางานใหบรรลุเปาหมายที่บุคคลนั้นตองการ (Maquis & Huston, 1996) เปนความ สามารถที่จะมีอิทธิพลสั่งการและใชบุคคลอื่นได (Catalano,1996; Rue & Byars, 2000) เปน ความสามารถที่จะทําใหบุคคลอื่นกระทําบางสิ่งที่ตองการหรือความสามารถที่จะทําใหสิ่งใดสิ่ง หนึ่งเกิดขึ้น (Schermerhorn, Jr.,Hunt & Osborn, 2000) ซึ่งไดรับการยอมรับจากงานวิจัยวา เปนสิ่งจําเปนตอความสําเร็จของ ผูบริหาร (Schermerhorn,Jr., 1999) การที่จะเปนผูนําที่มี ประสิทธิภาพจําเปนตองมีฐานอํานาจรองรับ อํานาจอาจมาจากแหลงที่มาจากตําแหนงหนาที่ทีครองอยู (position power) หรือมาจากความสามารถ บุคลิกลักษณะเฉพาะตน (personal power) ซึ่งแหลงที่มาของอํานาจมีดังนี

Upload: others

Post on 06-Jul-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

8

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับกลยุทธการเสริมสรางพลังอํานาจของหัวหนาหอผูปวยแกบุคลากร โรงพยาบาลที่ผานการรับรองคุณภาพและโรงพยาบาลที่รอการรับรองคุณภาพ โดยผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีตาง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวของมาประกอบในการทําวิจัยดังตอไปนี้

1. แนวคิดพื้นฐานการเสริมสรางพลังอํานาจประกอบดวย 1.1 ความหมายของอํานาจ 1.2 ความหมายของการเสริมสรางพลังอํานาจ

2. ทฤษฎีการเสริมสรางพลังอํานาจ 3. กลยุทธการเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโก 4. บทบาทของหัวหนาหอผูปวยในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากร 5. แนวคิดการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

แนวคิดพื้นฐานการเสริมสรางพลังอํานาจ

ความหมายของอํานาจ

อํานาจ (power)มาจากภาษาละตินวา “potere” มีความหมายในภาษาอังกฤษวา”to be able” หมายถึงแรงผลักดันภายในบุคคลหรือความสามารถของบุคคลในการโนมนาว ชักจูงใหบุคคลอื่นทํางานใหบรรลุเปาหมายที่บุคคลนั้นตองการ (Maquis & Huston, 1996) เปนความสามารถที่จะมีอิทธิพลสั่งการและใชบุคคลอื่นได (Catalano,1996; Rue & Byars, 2000) เปนความสามารถที่จะทําใหบุคคลอื่นกระทําบางสิ่งที่ตองการหรือความสามารถที่จะทําใหส่ิงใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น (Schermerhorn, Jr.,Hunt & Osborn, 2000) ซึ่งไดรับการยอมรับจากงานวิจัยวาเปนสิ่งจําเปนตอความสําเร็จของ ผูบริหาร (Schermerhorn,Jr., 1999) การที่จะเปนผูนําที่มี ประสิทธิภาพจําเปนตองมีฐานอํานาจรองรับ อํานาจอาจมาจากแหลงที่มาจากตําแหนงหนาที่ที่ครองอยู (position power) หรือมาจากความสามารถ บุคลิกลักษณะเฉพาะตน (personal power) ซึ่งแหลงที่มาของอํานาจมีดังนี้

Page 2: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

9

1.อํานาจจากการใหรางวัล (reward power) เปนอํานาจที่ถือเกณฑความสามารถที่จะใหรางวัล เปนการเสนอสิ่งที่มีคุณคาตอความสามารถในการปฏิบัติงาน เปนผลลัพธเชิงบวกที่มีตอบุคคลอื่น (Dessler, 1998) เชนการเลื่อนขั้นของบุคลากร การใหโบนัส การจัดฝกอบรมพิเศษ การมอบหมายงานพิเศษใหทํา การกลาวคํายกยองชมเชย

2. อํานาจจากการลงโทษ (coercive power) เปนอํานาจของบุคคลที่เกิดจากความสามารถในการลงโทษผูอ่ืน (Schermerhorn,Jr., 1999) เปนการทําใหผูใตบังคับบัญชารูสึกกลัว หลีกเลี่ยงไมไดจนตองปฏิบัติตามเพื่อไปสูเปาหมาย เชน ลดตําแหนง ลดขั้นเงินเดือน ตัดเงินเดือนหรือไลออก

3. อํานาจจากกฏหมาย (legitimate power) เปนอํานาจที่เกิดจากตําแหนงหนาที่ใน องคการ อํานาจนี้จะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามขอกําหนดในกฏระเบียบขอบังคับจะไมเกี่ยวพันกับบุคลิกภาพและความสามารถในการดํารงตําแหนง

4. อํานาจจากความเชี่ยวชาญ (expert power) เปนความสามารถที่จะมีอํานาจเหนือบุคคลอื่นเนื่องจากมีความรูและความชํานาญเฉพาะดาน (Schermerhorn,Jr., 1999) โดยแสดงใหบุคคลอื่นเห็นวามีความรูและมีความสามารถในดานตางๆใหเปนที่ประจักษและยอมรับ อํานาจจะไดมาจากการทํางานโดยใชความรูความสามารถในการแนะนําชวยเหลือ ผลักดัน สงเสริมให ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติงานตามเปาหมาย

5. อํานาจจากการอางอิง (reference power) เปนความสามารถสวนบุคคลที่จะทําใหบุคคลอื่นยอมรับนับถือ และตองการเลียนแบบ สรางแรงบันดาลใจใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติเหมือนที่ผูนําปฏิบัติ

6. อํานาจจากการมีขอมูลขาวสาร (information power) บุคคลจะเกิดอํานาจนี้ไดถามีความสามารถในการเก็บรวบรวมหรือลวงรูในขอมูลขาวสารเกี่ยวกับบุคคลเหตุการณหรือความจริงตางๆสามารถทําใหทํานายพฤติกรรมหรือเหตุการณในอนาคตไดใกลเคียงกับความเปนจริงตามแนวคิดของการบริหารงานการมีขอมูลขาวสารที่ถูกตองทันสมัยครบถวนมากกวา จะสามารถตัดสินใจดําเนินการไดถูกตอง ทันเหตุการณและมีอํานาจในการตอรองมากกวา (อวยพร, 2540)

อํานาจไมใชความสามารถที่มีมาแตกําเนิด แตเปนความสามารถที่พัฒนาใหเกิดขึ้นไดในบุคคล ผูบริหารที่รอบรูและเฉลียวฉลาดจะพยายามพัฒนาใหเกิดขึ้นไดในตัวบุคคล ใหมีอํานาจและใชอํานาจอยางมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็จะพัฒนาผูรวมงานใหใชศักยภาพตนเองที่มีอยูใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุดโดยกระบวนการที่ทําใหบุคคลพัฒนาพลังอํานาจขึ้นมาไดเรียกวาการเสริมสรางพลัง อํานาจ (empowerment) (ปรางทิพย, 2543)

Page 3: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

10

ความหมายของการเสริมสรางพลังอํานาจ

การเสริมสรางพลังอํานาจ หมายถึง กระบวนการที่ผูบังคับบัญชาทําใหผูใตบังคับบัญชามีความสามารถและรูสึกถึงประสิทธิภาพนั้น (Chandler,1992) เปนกระบวนการทางสังคมที่แสดงถึงการยอมรับและชื่นชม (recognizing) การสงเสริม (promoting) การพัฒนาและเสริมสรางของบุคคล (enchancing people’s abilities) (Kinlaw, 1995) ทําใหบุคคลเกิดความสามารถที่จะดําเนินการตอบสนองความตองการของตนเอง แกไขปญหาตนเอง (อวยพร, 2540) เปนการสรางแรงกระตุนหรือเพิ่มแรงจูงใจของบุคลากรเพื่อใหเกิดเชื่อมั่นจากความรูสึกภายในของผูปฏิบัติงานและรับรูในความสามารถนั้นๆ (Conger & Kanungo, 1988) มีโอกาสเลือกที่จะตัดสินใจ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีการทํางานไดอยางอิสระและรับรูวาตนเองมีความสําคัญตอความสําเร็จของ องคการ (Thomus & Velhouse, 1990) และสามารถควบคุมและจัดการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ(Laschinger, Finegan, Shamain & Wilk, 2001)

จากความหมายขางตนสรุปไดวา การเสริมสรางพลังอํานาจ หมายถึง การปฏิบัติของผูบังคับบัญชาในการทําใหผูใตบังคับบัญชามีความสามารถในการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายขององคกร โดยการสรางแรงกระตุนเพิ่มแรงจูงใจเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นรับรูความสามารถและศักยภาพ ของตนเองและสามารถควบคุมและจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ

ทฤษฎีการเสริมสรางพลังอํานาจ

การเสริมสรางพลังอํานาจเปนแนวคิดที่ไดรับความสนใจของผูบริหารองคกรในยุคปจจุบัน ในการบริหารจัดการดานทรัพยากรบุคคล เปนกลยุทธที่สําคัญในการพัฒนาองคกร (บุญใจ, 2539) พัฒนาคุณภาพการดําเนินงานขององคการ พัฒนาคุณภาพงานและคุณภาพบุคคลตลอดจนเปนกลยุทธในการพัฒนาสังคมที่เนนการพัฒนาของมนุษย (จินตนา, 2539) แนวคิดและทฤษฎีการเสริมสรางพลังอํานาจที่ไดรับการยอมรับจากผูบริหารหลายสาขาวิชาชีพไดแก แนวคิดการเสริมสรางพลังอํานาจของแทบบิท (Tebbit,1993) ทฤษฎีการเสริมสรางพลังอํานาจของแคนเตอร (Kanter, 1979, 1983) แนวคิดการเสริมสรางพลังอํานาจของเทรซี่ (Tracy, 1990) และแนวคิดการเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโก (Conger & Kanungo, 1988)

การเสริมสรางพลังอํานาจของแทบบิท

Page 4: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

11

แทบบิทกลาวถึงการเสริมสรางพลังอํานาจวาประกอบดวยแนวคิดสําคัญ 5 ข้ันตอนดังนี้คือ

1. มีการเสริมสรางพลังอํานาจเกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองคกรคือมีการกําหนดวิธีการขึ้นมาใหมหรือปรับปรุงสิ่งที่มีอยูเดิมแตคงไวซึ่งคานิยมที่สําคัญตอความสําเร็จขององคการ

2. ปรับปรุงและกําหนดรูปแบบขององคการ ผูบริหารสูงสุดจะตองมีคณะทํางานที่เปนทีมงานที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนเลิศและเชี่ยวชาญในการทํางานซึ่งเปนสิ่งที่จําเปนตองานที่ไดรับมอบหมาย

3. การรวบรวมรูปแบบการเปลี่ยนแปลงในองคการ โดยเชื่อในความสามารถขององคการแนวคิดและพฤติกรรมของบุคลากรโดยเปลี่ยนอํานาจจากการควบคุมขององคการมาเปนการมีสวนรวมของบุคลากรและผูรวมงาน

4. การเปลี่ยนแปลงในเรื่องความเชื่อ ความคิดหรือการกระทําอันเปนผลใหผูปฏิบัติงานเกิดความรูสึกผูกพัน ถือเปนการเริ่มตนของการเสริมสรางพลังอํานาจ คือ ผูปฏิบัติงานมีอิสระในการเลือกทํางาน มีความรูสึกเปนเจาของและมีความผูกพัน

5. จากการยึดมั่นผูกพันตอองคการของผูปฏิบัติ เปนผลใหองคการสามารถทบทวนหรือวางแผนงานในการกําหนดจุดมุงหมาย บทบาท กฎระเบียบ ระบบงาน ตลอดจนการบริหารจัดการและดําเนินงานเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

การเสริมสรางพลังอํานาจของเทรซี่

การเสริมสรางพลังอํานาจมีความสําคัญยิ่งในการนํามาเปนหลักในการบริหารเพื่อการพัฒนาองคการและบุคลากรทางการพยาบาล เปนกระบวนการที่เกิดจากการปฏิสัมพันธของบุคคล 2 ฝาย คือ ฝายผูใหการเสริมสรางพลังอํานาจกับฝายผูรับการเสริมสรางพลังอํานาจ โดยฝายผูรับการเสริมสรางพลังอํานาจก็จะตองมีความเต็มในที่รับการเสริมสรางพลังอํานาจ ทั้งนี้ทั้ง 2 ฝายควรตองมีเปาประสงคที่ตรงกัน คือความสําเร็จในการดําเนินงานขององคการทางการพยาบาล (บุญใจ, 2539) จึงจําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารควรเสริมสรางพลังอํานาจใหบุคลากรในองคการ โดยเทรซี่มีแนวคิดในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากรดังนี้

1. การมอบหมายความรับผิดชอบ (responsibility) โดยตองระบุความรับผิดชอบที่ชัดเจนภายในขอบเขตงานนั้น ๆ

Page 5: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

12

2. การมอบอํานาจหนาที่ (delegation of authority) โดยคํานึงถึงความเทาเทียมกันคือ อํานาจหนาที่ควรเทาเทียมกับความรับผิดชอบ

3. การกําหนดเกณฑมาตรฐาน (standard of excellence) โดยเกณฑมาตรฐานของงาน ตองคํานึงถึงศักยภาพของบุคลากรผูปฏิบัติ

4. การฝกอบรมพัฒนา (training and development) เพื่อใหผูปฏิบัติงานมีทักษะและความมั่นใจในการปฏิบัติงานใหบรรลุตามเกณฑมาตรฐาน

5. การใหความรูและขอมูล (knowledge and information) เพื่อใหผูปฏิบัติงานไดนําความรูและขอมูลที่จําเปนมาประกอบการตัดสินใจในการปฏิบัติงานที่ถูกตอง

6. การใหขอมูลยอนกลับ (feedback) เพื่อใหผูปฏิบัติงานไดทราบถึงผลงานและความสามารถในการปฏิบัติงาน (performance) ของตนตามที่ผูบริหารมองเห็น เพื่อจะไดนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาตนเอง

7. การยอมรับและชื่นชม (recognition) เพื่อใหผูปฏิบัติงานเกิดความรูสึกมีคุณคาในตนเอง (self esteem) และเกิดแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

8. การใหความไววางใจ (trust) เพื่อใหผูปฏิบัติงานเกิดความรูสึกอิสระในการปฏิบัติงานสงผลใหเกิดความตั้งใจและปฏิบัติงานใหดีที่สุด 9. การยอมรับความลมเหลว (permission to fail) การปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงสูงตองใชทักษะหลาย ๆ ดาน หรือเปนประสบการณแรกของผูปฏิบัติงาน ผูบริหารควรเปดโอกาสใหผูปฏิบัติไดเรียนรูอยางเต็มที่ และหากผูปฏิบัติกระทําแลวไมประสบความสําเร็จผูบริหารตองยอมรับและใหอภัยแกผูปฏิบัติงานโดยถือวาขอผิดพลาดเปนบทเรียนของการเรียนรู

10. ปฏิบัติตอบุคลากรดวยความมีศักดิ์ศรีและใหการนับถือพวกเขา

การเสริมสรางพลังอํานาจของแคนเตอร

จากงานวิจัยของแคนเตอร (Kanter, 1979 cited in Lashinger,Finegan, Shamian & Wilk, 2001) ชี้ใหเห็นวาประสิทธิภาพการทํางานของบุคคลเปนผลมาจากสิ่งแวดลอมในการทํางานซึ่งขึ้นอยูกับการปฏิบัติหนาที่ตามตําแหนง โดยตําแหนงนั้นจะตองถูกจัดวางใหสามารถเขาถึงอํานาจและโอกาสอํานาจในที่นี้หมายถึง การไดรับการชวยเหลือสนับสนุน การไดรับขอมูล ขาวสาร การไดรับทรัพยากรรวมถึงความสามารถในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคการ และโอกาสในที่นี้หมายถึงการไดรับความกาวหนาในการทํางาน การไดรับการสงเสริมใหเพิ่ม

Page 6: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

13

พูนความรู ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน ทําใหบุคลากรเกิดแรงจูงใจในการทํางานมากขึ้นปฏิบัติงานไดเต็มศักยภาพและสงผลตอความพึงพอใจในงาน

โครงสรางพลังอํานาจตามแนวคิดของแคนเตอร ประกอบดวย 1. การไดรับอํานาจ (power) โดยอํานาจ หมายถึง กระบวนการหรือผลลัพธจากการที่สามารถปฏิบัติการไดสําเร็จ โดยใชอํานาจซึ่งไดรับมาจากองคการทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการซึ่งอํานาจที่เปนทางการนั้นไดมาจากการทํางานที่ทาทาย งานที่ไดรับความคิดสรางสรรค งานที่เกี่ยวของกับผูอ่ืนไดแกการบริหารแบบมีสวนรวม เพื่อนําไปสูการบรรลุเปาหมายขององคการ สวนอํานาจที่ไมเปนทางการเปนอํานาจที่ไดมาจากการมีความใกลชิดกับบุคคลสําคัญในองคการ พันธมิตรทางการเมือง ผูสนับสนุน ซึ่งอํานาจที่เปนทางการและไมเปนทางการนี้ประกอบดวย

1.1 ดานการชวยเหลือสนับสนุน (support) หมายถึง การใหการยอมรับในส่ิงที่ผูปฏิบัติงานกระทํา และใหการเห็นชอบ รวมไปถึงการสนับสนุนใหผูปฏิบัติงานมีพฤติกรรมที่กอใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ไดแก การสงเสริมใหเกิดความริเร่ิมสรางสรรค การใหโอกาสตัดสินใจ การใหโอกาสในการแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน การใหขอมูลยอนกลับ การใหความยืดหยุนในการปฏิบัติงาน การยอมรับความผิดพลาด การแสดงความพึงพอใจในการทํางานและชื่นชมเมื่องานประสบความสําเร็จ ซึ่งการชวยเหลือสนับสนุนที่ไดรับนี้ทั้งจากแรงกายและแรงใจของหัวหนาและเพื่อนรวมงาน

1.2 ดานขอมูลขาวสาร (information) หมายถึง การใหขอมูลขาวสารซึ่งเปนสิ่งจําเปนและสําคัญในการปฏิบัติงาน และขอมูลขาวสารนั้นมีความถูกตองครบถวน ทันสมัย ทันตอเหตุการณ เพื่อนํามาใชในการตัดสินใจในการปฏิบัติงานแกผูใตบังคับบัญชา ทําใหสามารถปฏิบัติงานไดถูกตอง

1.3 ดานทรัพยากร (resources) หมายถึง ความสามารถในการจัดหาสิ่งที่จําเปนเพื่อสนับสนุนการทํางานและการที่หัวหนาใหการสนับสนุนทรัพยากรซึ่งไดแก เงิน บุคลากร วัสดุอุปกรณตาง ๆ ในการปฏิบัติงานแกผูใตบังคับบัญชาเพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคการไดแกบุคลากรที่เพียงพอ ดานงบประมาณที่สนับสนุนในการปฏิบัติงานของหนวยงาน ดานวัสดุอุปกรณในการปฏิบัติงานมีความเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ ตองคํานึงถึงเวลาในการปฏิบัติการพยาบาลเนื่องจากปจจุบันการทํางานของหนวยงานตาง ๆ จะมีการทํากิจกรรมตาง ๆ รวมดวย ไดแก เวลาดานการจัดการเกี่ยวกับเอกสารและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ยุงยาก 2. ดานโอกาส (opportunity) หมายถึง การใหโอกาส ความกาวหนาในหนาที่การงาน รวมทั้งมีโอกาสในการเพิ่มพูนความรูความสามารถและทักษะในการทํางาน และใหการยอมรับ

Page 7: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

14

ความสามารถของผูใตบังคับบัญชา ใหผูใตบังคับบัญชาเกิดความภาคภูมิใจ รูสึกตนเองมีคุณคา ซึ่งจะสงผลตอความพึงพอใจในงานของผูปฏิบัติ

แคนเตอร (Kanter, 1997) ไดกลาวถึงภาวะไรอํานาจ (powerless) วาเปนภาวะที่บุคคลขาดซึ่งสิ่งที่ใหการสนับสนุน ขอมูลขาวสาร ทรัพยากรและโอกาส ที่สามารถใหบุคคลเหลานั้นมีความสามารถที่จะปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพไดสงผลตอประสิทธิภาพองคการและปจจัยที่ทําใหเกิดภาวะไรอํานาจ (powerlessness) ในองคการไดแก การที่มีกฏระเบียบมากเกินไปขาดความยืดหยุน ลักษณะงานที่ซ้ําซากจําเจและเปนงานประจํามากเกินไป การใหรางวัลที่ไมเหมาะสม มีความตองการตัดสินใจมาก งานที่มีการควบคุมสูง มีปฏิสัมพันธกับงานในระดับตํ่า ไมมีการกระจายอํานาจ โอกาสในความกาวหนามีนอยมาก

ผูวิจัยไดใหความสนใจศึกษาการเสริมสรางพลังอํานาจดานจิตใจของคองเกอรและ คารนันโก ซึ่งไดใหความสําคัญตอการสรางแรงกระตุนหรือเพิ่มแรงจูงใจ จากความรูสึกภายในของผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับรูและความเชื่อในความสามารถของตนเพื่อใหเกิดการรับรูและเชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพของตนเอง จากการศึกษาของลาซิงเจอร, ไฟนแกนและชาเมน (Laschinger, Finegan & Shamain, 2001) พบวา การไดรับการเสริมสรางพลังอํานาจดานโครงสรางและเสริมสรางพลังอํานาจดานจิตใจสงผลตอการปฏิบัติงานและเพิ่มระดับความพึงพอใจในงาน

การเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโก

การเสริมสรางพลังอํานาจคองเกอรและคารนันโก เปนการเสริมสรางพลังอํานาจดาน จิตใจซึ่งเปนแนวทางหนึ่งที่สามารถจะเสริมสรางใหแกบุคลากรได โดยเปนการสรางแรงกระตุนหรือเพิ่มแรงจูงใจจากความรูสึกภายในของบุคลากรเกี่ยวกับการรับรูและความเชื่อในความสามารถแหงตน เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในความสามารถและศักยภาพของตนเอง (Conger &Kanungo , 1988) โดยเนนกระบวนการเพิ่มความรูสึกของความสามารถในตนเองระหวางสมาชิกในองคการ ตลอดจนการแสดงถึงภาวะไรอํานาจและการทําใหหลุดพนจากภาวะไรอํานาจ คองเกอรและคารนันโกไดเสนอกระบวนการเสริมสรางพลังอํานาจดานจิตใจอยางเปนขั้นตอน 5 ข้ันตอนคือ

ข้ันตอนที่ 1 วิเคราะหเงื่อนไขที่นําไปสูภาวะไรอํานาจ ซึ่งประกอบดวย

Page 8: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

15

1. ปจจัยดานองคการ เชน การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในองคการ องคการที่มีกระบวนการหลายขั้นตอน ระบบการสื่อสารที่ไมมีประสิทธิภาพและจํากัดระบบการสรางเครือขาย การกระจายอํานาจในองคกรสูง มีภาวะการแขงขันสูงและเสี่ยงภัย

2. ปจจัยดานการนิเทศ ติดตามงาน เชน การใชอํานาจหนาที่ในการทํางานมากเกินไป การลงโทษเมื่อผิดพลาด กระทําโดยขาดเหตุผล

3. ปจจัยดานการใหรางวัล เชน ใหคาตอบแทนต่ํา มีระบบการใหรางวัลที่ไมยุติธรรม การตอบแทนไมอยูบนพื้นฐานของความสามารถ การปรับปรุงสิ่งใหม ๆ

4. ปจจัยดานการออกแบบงาน เชน ขาดความชัดเจนในบทบาท ขาดอํานาจหนาที่และการสรางสรรคงานที่เหมาะสม ขาดการฝกอบรมและสนับสนุนดานเทคนิค งานมีความหลากหลายนอยมีขอจํากัดของการมีสวนรวม การพบปะและการตัดสินใจซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอการปฏิบัติงาน ขาดแหลงทรัพยากรที่เหมาะสม มีการกําหนดงานประจํา กฎระเบียบและแนวปฏิบัติในการทํางานมากเกินไป มีโอกาสกาวหนาในงานนอย ขาดเปาหมายงานที่สําคัญและมีขอจํากัดในการรวมงานกับผูอาวุโสกวา

ข้ันตอนที่ 2 การใชกลยุทธและเทคนิคการบริหารจัดการ เปนกลยุทธของผูบริหารที่จะทําใหผูปฏิบัติงานมีความรูสึกในศักยภาพของตนเอง ประกอบดวย

1. บริหารงานแบบมีสวนรวม โดยใหผูปฏิบัติงานเขามามีสวนรวมในการกําหนดเปาหมาย วางแผนดําเนินงานรวมตัดสินใจและรับผิดชอบรวมกัน เนนการทํางานเปนทีม การทํางานมีลักษณะพึ่งพาอาศัยกัน

2. สรางเปาหมายงาน เปนวิธีการสรางแรงจูงใจในการทํางานใหบรรลุผลสําเร็จ โดยการกําหนดเปาหมายที่เฉพาะเจาะจง ทาทาย เปนที่ยอมรับ ชัดเจนและเปนไปได

3. สรางระบบการใหขอมูลยอนกลับ เปนการสื่อสารขอมูลโดยผูบังคับบัญชาหรือผูรวมงาน เปนเครื่องมือชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของบุคคล

4. จัดระบบเสริมแรง เปนสวนสําคัญในการสรางแรงจูงใจของผูบริหารที่จะทําให พฤติกรรมที่ตองการมีความเหมาะสมมากขึ้น

5. จัดระบบงานที่ทาทาย เปนการปรับระบบงานโดยเพิ่มโอกาสในการทํางาน เพิ่มความรับผิดชอบ ใหอิสระในการดูแลและกําหนดแผนงาน และเปดโอกาสใหเรียนรูเพื่อหาประสบการณใหม

Page 9: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

16

6. ทําตัวเปนแบบอยาง เปนกระบวนการที่กระทําบทบาทหรือสาธิตเพื่อใหเขาถึง พฤติกรรมที่คาดหวังโดยใชทักษะการเปนพี่เลี้ยง การสอนงาน การสื่อสารและพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม จะสามารถทําใหเกิดความรวมมือและเกิดพฤติกรรมการเสริมสรางพลังอํานาจได

ข้ันตอนที่ 3 การดูแลผูใตบังคับบัญชา ใหรับรูความสามารถแหงตน การเสริมสรางพลังอํานาจที่มีประสิทธิภาพ ในการปฎิบัติจะตองดูแลขอมูลขาวสารถึงบุคลากรเกี่ยวกับการรับรูความสามารถของตนโดยตรงซึ่งระบุได 4 แหลง (Bandura, 1986; cited in Conger & Kanungo, 1988) ไดแก

1. การสงเสริมเพื่อเพิ่มความสามารถแกบุคลากร (enactive attainment) หมายถึงการใหขอมูลขาวสารจากประสบการณความเชี่ยวชาญโดยตรงที่สัมพันธกับงาน เมื่อบุคลากรปฏิบัติงานที่ยุงยากซับซอนหรือไดรับความรับผิดชอบในงานมากขึ้นทําใหมีโอกาสที่จะทดสอบความสามารถแหงตนในงานของเขา เร่ิมตนจากประสบการณที่ประสบความสําเร็จ โดยเพิ่มงานที่มีความซับซอนและความรับผิดชอบตลอดจนการฝกอบรมอยางตอเนื่อง ทําใหไดมาซึ่งทักษะใหมจะทําใหรูสึกวามีความสามารถและไดรับพลังอํานาจเพิ่มข้ึน

2. สงเสริมบุคลากรใหเห็นตัวอยางเพื่อนรวมงานที่ประสบความสําเร็จ (vicarious experience) โดยการสังเกต ใชความรูสึกรวมในประสบการณระหวางการฝกงาน ไดเห็นแบบอยางในการทํางาน ซึ่งเปนพฤติกรรมของหัวหนาในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากรบอยๆจะทําใหเกิดความมั่นใจวาตนเองก็ทําไดเชนกัน 3. การใชคําพูดจูงใจโนมนาวใหบุคลากรรูสึกวาตนเองเปนผูมีความสามารถ (verbal persuasion) โดยใหกําลังใจ ใหขอมูลยอนกลับโดยใชคําพูดโนมนาวจะทําใหเกิดการรับรูความสามารถ ความคาดหวังที่เขมแข็ง เกิดความพยายามในการปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย แตผลลัพธจากการโนมนาวที่ทําใหเกิดความคาดหวังในการรับรูความสามารถจะไมเขมแข็งเทาการไดรับการพัฒนาจากความสําเร็จของบุคคลอื่น

4. การใชการกระตุนทางอารมณ (emotional arousal) การกระตุนทางอารมณเปนผลลัพธจากความเครียด ความกลัว ความวิตกกังวล ความเก็บกด ทั้งในงานและที่ไมใชงาน จะทําใหความคาดหวังในการรับรูความสามารถแหงตนต่ําชึ่งตองใชเทคนิคและกลยุทธในการเสริมสรางพลังอํานาจโดยดูแลประคับประคองอารมณ สนับสนุน ใหความไววางใจ และสรางความสัมพันธที่เหนียวแนนระหวางบุคลากรในหนวยงานจะทําใหบุคลากรรูสึกวาตนเองมีความสามารถเพิ่มข้ึน

ข้ันตอนที่ 4 ผลของการไดรับการเสริมสรางพลังอํานาจ ทําใหผูใตบังคับบัญชามีความแข็งแกรง มีความพยายามเกิดความคาดหวัง และมีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง

Page 10: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

17

ข้ันตอนที่ 5 การนําไปสูพฤติกรรมที่มีประสิทธิผล ความพยายามและความคาดหวังในความสามารถของตนเอง จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งจะนําไปสูความสําเร็จบรรลุวัตถุประสงค

กลยุทธการเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโก

จากการศึกษาแนวคิดการเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโกผูวิจัยไดใชข้ันตอนที่ 2 ซึ่งเปนกลยุทธในการบริหารจัดการเพื่อเสริมสรางพลังอํานาจมาเปนแนวทางในการปฏิบัติในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากร เนื่องจากเปนกลยุทธที่เหมาะสมกับการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองคการ ซึ่งเปนแนวทางในการบริหารที่พยายามทําใหองคการเกิดศักยภาพในการแขงขันสูงที่สุดโดยผานกระบวนการพัฒนาคุณภาพทั้งของผลิตภัณฑ บริการ คนและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง (สิทธิศักดิ์, 2544) กลยุทธการเสริมสรางพลังอํานาจมีดังนี้

1. บริหารงานแบบมีสวนรวม (participative management) คือ กระบวนการของการใหผูใตบังคับบัญชามีสวนเกี่ยวของในกระบวนการตัดสินใจ (พวงรัตน, 2546) เนนการใชความคิดสรางสรรคและความเชี่ยวชาญของผูใตบังคับบัญชาในการแกปญหาการบริหารที่สําคัญ โดยอยูบนพื้นฐานของแนวคิดการแบงอํานาจหนาที่ที่ถือวา ผูบริหารแบงอํานาจหนาที่การบริหารของผูบริหารใหแกผูใตบังคับบัญชาและตองการใหผูใตบังคับบัญชามีสวนเกี่ยวของอยางแทจริงในกระบวนการตัดสินใจที่สําคัญขององคการโดยสวนเกี่ยวของดังกลาวนี้เนนการมีสวนเกี่ยวของทางดานจิตใจ (สมยศ, 2540) กลยุทธดังกลาวนี้ผูบริหารตองมีทักษะทางดานความสัมพันธระหวางบุคคลที่ดี ตองเขาใจคน เปนผูส่ือสารที่ดีและสามารถจัดการความขัดแยงตางๆได ตองรูจักใชประโยชนจากจุดแข็งจุดออนของแตละบุคคลไดและสามารถประนีประนอมเพื่อใหตอบสนองความคาดหวังของกลุมและองคการไดโดยการมอบหมายอํานาจ ของการบริหารและจัดการใหบุคลากรเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจ จะทําใหบุคลากรเกิดการเรียนรูส่ิงใหมๆในการทํางานและนําไปปรับปรุงทักษะในการทํางาน ทําใหการตัดสินใจมีคุณภาพ เปนการจูงใจใหบุคลากรผูกพันกับงาน ทุมเทใหกับทีมงานดวยความสมัครใจและเต็มใจ (ณัฐพันธ, 2545) การมีสวนรวมจะชวยเสริมสรางพลังอํานาจดานจิตใจสามารถกระตุนใหบุคลากรสนับสนุนเปาหมายของกลุมไดเปนอยางดี(ศิริพงษ, 2546) จากการศึกษางานวิจัยพบวาการบริหารงานที่ใหผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น รวมวางแผนและรวมตัดสินใจในการดําเนินงานขององคการโดยยึดหลักเหตุผลและหลักการตามระบอบประชาธิปไตยจะชวยเพิ่มบรรยากาศในการทํางาน กอใหเกิดความกลมเกลียว

Page 11: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

18

สามัคคีระหวางผูรวมงานหรือทีมงานและประสิทธิผลในการทํางานเปนทีม ( Liwit & Stringer, 1968; อางตามบุญใจ, 2544) องคการยุคใหมจะใชการบริหารแบบมีสวนรวมในการบริหารจัดการโดยมีหลักการดังนี้คือ

1.1 ใหผูปฏิบัติงานเขามามีสวนรวมในการกําหนดเปาหมาย วางแผนดําเนินงาน รวมตัดสินใจและรับผิดชอบรวมกัน

1.2. เนนการบริหารที่ใหความสําคัญกับคนและเนนการทํางาน แกไขปญหารวมกันเปนทีม

1.3. ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาเปนไปในลักษณะผูรวมงานพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน (บุญใจ, 2544)

2. สรางเปาหมายงาน (goal setting) เปาหมาย หมายถึงจุดหมายปลายทางที่ชี้นําการปฏิบัติ (ธัญญา, 2546)เปนความหวังหรือแรงผลักดันที่มีระยะเวลานาน เปนการกําหนดสิ่งที่ตองการในอนาคตซึ่งองคการตองพยายามใหเกิดขึ้น (นิตยา, 2545) การสรางเปาหมายงานหมายถึงการออกแบบในอนาคตหรือสรางเงื่อนไขในการปฏิบัติงาน เปาหมายควรจะเดนชัด มีความเฉพาะเจาะจงและเปนไปได (Lancaster, 1999) โดยทฤษฎีกําหนดเปาหมายกลาววาบุคคลจะทํางานไดดีข้ึนถาเขายอมรับเปาหมายหรือวัตถุประสงคในการปฏิบัติงาน (Pierce,Gardner &Dunham, 2002) การดําเนินงานใหบรรลุผลสําเร็จนั้นเปนวิธีการหนึ่งในการสรางแรงจูงใจในการทํางาน โดยใหบุคลากรตระหนักและเห็นคุณคาเปาหมายของงานที่รับผิดชอบ

หลักการในการสรางเปาหมายงานมีดังนี้คือ 2.1 การกําหนดเปาหมายตองเจาะจง เพื่อนําไปสูการปฏิบัติงานที่สูงกวาปกติ 2.2 การกําหนดเปาหมายที่ทาทายโดยมองเห็นภาพของความเปนจริงและความตั้งใจเปาหมายที่ยากขึ้นจะนําไปสูการปฏิบัติที่สูงขึ้นกวาธรรมดา 2.3 กําหนดเปาหมายที่ยอมรับและผูกพันโดยบุคลากรจะทํางานหนักเพื่อเปาหมายที่เขายอมรับและเชื่อถือ ทําใหแรงตอตานลดลง

2.4 การกําหนดเปาหมายตองชัดเจนเพื่อใหเกิดความคาดหวังวาเปาหมายจะตองสําเร็จในครั้งแรก 2.5 ใหรางวัลเมื่อบรรลุเปาหมาย โดยใหรางวัลสําหรับงานที่บุคลากรพยายามที่จะทําไมเฉพาะงานที่สําเร็จเทานั้นและการมีสวนรวมเปนองคประกอบที่สําคัญ (Certo, 2002) ซึ่งกระบวนการในการกําหนดเปาหมายประกอบดวย 1) คานิยมของบุคลากร 2) คานิยมของบุคลากรที่เปนสวนหนึ่งของสถานการณนั้น 3) ต้ังเปาหมายที่เปนแบบเดียวกัน ใชการมีสวนรวม

Page 12: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

19

มีการมอบหมายงานและทํางานใหดีที่สุด 4) คุณลักษณะของเปาหมายประกอบดวย ความยาก ความเฉพาะเจาะจง การยอมรับและความผูกพันตอเปาหมาย 5)ผลที่ตามมาคือการปฏิบัติงานความพึงพอใจและรางวัล (Pierce,Gardner & Dunham, 2002 ) การกําหนดเปาหมายจึงถือวาเปนกิจกรรมที่สําคัญที่กระตุนใหบุคลากรและองคการมีการตื่นตัว มีการติดตามงาน การที่ผูบริหารและผูปฏิบัติงานรวมกันกําหนดเปาหมายถือวาเปนการสงเสริมพัฒนาทักษะความเปนผูนําและสนับสนุนแนวคิดการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากร เปนการชวยใหผูปฏิบัติงานทํางานตามความสามารถและมีความรูสึกเปนเจาของงาน เปนสวนหนึ่งขององคกรและตระหนักในคุณคาของตนเอง

3. สรางระบบการใหขอมูลยอนกลับ (feed back system) การใหขอมูลยอนกลับคือกระบวนการบอกกลาวกับบุคคลอื่นเกี่ยวกับส่ิงซึ่งบุคลากรไดพูดหรือกระทําไปแลววาเปนอยางไร(Schermerhorn,Jr., 1999) เปนขอมูลส่ือสารที่บุคลากรไดรับเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Mondy, 2002) ส่ือสารใหทราบถึงการปฏิบัติงานของบุคลากรโดยผูบังคับบัญชาหรือผูรวมงานโดยการสังเกตติดตามและใหความสนใจการปฏิบัติงาน (Desimone,Werner & Harris, 2002) เปนเครื่องชี้วัดการเปลี่ยนแปลงบุคคลแตละคนหรือองคการที่เกิดขึ้นจากผลของการติดตอส่ือสาร (ศิริวรรณสมชาย สุดา ชวลิตและสมศักดิ์, 2545) โดยมีแนวปฏิบัติในการใหขอมูลยอนกลับดังนี้

3.1 การใหขอมูลยอนกลับตองเปนความจริง และตั้งอยูบนพื้นฐานของความไววางใจระหวางผูใหและผูรับ

3.2 การใหขอมูลยอนกลับตองแนใจวาเปนการใหแบบเฉพาะเจาะจงโดยเลือกตัวอยางที่ใหม ที่ดีและชัดเจนเพื่อชี้จุดที่ตองการบอก

3.3 เวลาในการใหขอมูลยอนกลับ ตองเปนเวลาที่ผูรับมีความตั้งใจและยอมรับได 3.4 การใหการใหขอมูลยอนกลับตองมีเหตุผล ฟงขึ้น และมีขอจํากัดที่ผูรับคาดวาจะ

ทําตามสิ่งนั้นได 3.5 การใหขอมูลยอนกลับ เปนการกระทําเพียงเล็กนอยซึ่งไมมากเกินไปกวาที่ผูรับจะ

ถือวาเปนเรื่องเฉพาะหรือพิเศษ4. จัดระบบเสริมแรง (contingent/competence based reward) กระบวนการเสริมแรง

คือ พฤติกรรมของบุคคลที่เปนผลจากการกระทําอยางตอเนื่องและสิ่งแวดลอมภายนอกที่เกิดขึ้นบอยๆ (Desimone, Werner & Harris, 2002)โดยตั้งอยูบนพื้นฐานของความพอใจโดยสกินเนอร(Skinner) อางตามศิริวรรณและคณะ (2545) นักจิตวิทยาไดใหความหมายวาเปนกระบวนการประยุกตใชผลของความสําเร็จไปควบคุมพฤติกรรม โดยเปนการควบคุมอยางตอเนื่อง เนนย้ําแรง

Page 13: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

20

จูงใจเปนพื้นฐานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Rue & Bayrs, 2000) โดยมีกลยุทธในการเสริมแรง 4 ประเภทคือ

4.1 การเสริมแรงบวก (positive reinforcement) เปนสวนสําคัญในการสรางแรงจูงใจของผูบริหาร เปนวิธีการที่จะทําใหพฤติกรรมที่ตองการดํารงอยูและมีความเหมาะสมมากขึ้น กระทําโดยใหรางวัลหรือผลตอบแทนในทางบวกหลังจากไดกระทําการใดๆเสร็จส้ินลง เชน การไดรับการยอมรับชื่นชม การขึ้นเงินเดือน การเลื่อนตําแหนงและการใหรางวัล โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้

4.1.1 ระบุพฤติกรรมที่ปรารถนาในการทํางานใหชัดเจน 4.1.2 คงไวซึ่งการประเมินเพื่อใหการยอมรับความแตกตางระหวางบุคคลเมื่อจัด

สรรการอบรมให 4.1.3 ติดตามกฏของการเสริมแรงที่เปนปจจุบัน และมีความเปนไปได(Schermerhorn, Jr., 1999) 4.2 การเสริมแรงดานลบ (negative reinforcement) เปนการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมหรือเปนการเรียนรูถึงวิธีการปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงผลลัพธที่ไมนาพึงพอใจเนื่องจากกลัวผลรายที่จะไดรับ เชน บุคลากรจะทํางานใหเสร็จตามกําหนดเพราะไมตองการถูกผูบังคับบัญชาตําหนิวาทํางานลาชา

4.3 การลงโทษ (punishment) หมายถึง การปรับพฤติกรรมที่เกี่ยวของภายใตเงื่อนไขที่วา ผลที่ตามมาดานลบจะชวยลดหรือยับยั้งพฤติกรรม เปนการลดพฤติกรรมเนื่องจากไดรับ ผลลัพธที่ไมพอใจ แมวารางวัลจะเปนวิธีการที่มีอิทธิพลในการกําหนดพฤติกรรมของผูใตบังคับบัญชาแตผูบังคับบัญชาอาจใชวิธีการสวนตัวเขามาแทนเชนวากลาวตักเตือน ลดอํานาจหนาที่ (ศิริวรรณและคณะ, 2545) โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้ 4.3.1 บอกกับบุคลากรวามีความผิดอะไร 4.3.2 บอกกับบุคลากรวาอะไรคือส่ิงที่ถูกตอง 4.3.3 สรางความมั่นใจวาการลงโทษสอดคลองกับพฤติกรรม 4.3.4 ติดตามกฏของการเสริมแรงที่เปนปจจุบันและมีความเปนไปได(Schermerhorn,Jr., 1999)

4.4 การหยุดพฤติกรรมบางอยาง (extinction) หมายถึง การลดความถี่ของพฤติกรรมโดยหลีกเลี่ยงไมใหกระทําหรือเพิกเฉยไมแสดงพฤติกรรมนั้นออกมา (Bateman and Scott, 1999) เปนการเลิกใหรางวัลเพื่อจุดมุงหมายในการยับยั้งพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่งในอนาคต เปนการลดการเสริมแรงบวกซึ่งเกี่ยวของกับพฤติกรรมบางอยางโดยการลดการเสริมแรงเกี่ยวกับ

Page 14: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

21

การกระทํา เชนผูบังคับบัญชาตองการใหบุคลากรทํางานลวงเวลานอยลงและทํางานในเวลาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นอาจใชวิธีการเลิกขอบคุณพนักงานที่ทํางานลวงเวลาหรือทํางานในวันหยุด วิธีนี้จะกระตุนไมใหพนักงานมีพฤติกรรมที่ตอเนื่อง (ศิริวรรณและคณะ, 2545)

5. จัดระบบงานที่ทาทาย คือ กระบวนการของการกระตุน จูงใจใหเขาสูสถานการณงานนั้นๆ (Certo, 2002) เปนการปรับระบบงานโดยเพิ่มโอกาสในการทํางาน เพิ่มความรับผิดชอบตลอดจนทําใหงานนั้นเปนที่นาสนใจ เปนที่ทาทายโดยอนุญาตใหบุคลากรวางแผนในการทํางานดวยตนเองแทนการควบคุม (Dessler, 2003) เปนการเพิ่มงานโดยการวางแผนและควบคุมดวยตนเองในแนวดิ่ง (Pierce,Gardner & Dunham, 2002) ปรับโครงสรางรายละเอียดและระดับความรับผิดชอบของงานใหมเพื่อเพิ่มความทาทาย เพิ่มความตั้งใจและความสนใจใหผูปฏิบัติงาน(Mondy,Noe & Premeaux, 2002) โดยมีหลักการปฏิบัติดังนี้

5.1 เพิ่มความตองการงาน โดยเพิ่มระดับความยากและความรับผิดชอบของงาน 5.2 เพิ่มความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน โดยใหอํานาจหนาที่และควบคุมตนเองในขณะที่ผูบังคับบัญชายังคงรับผิดชอบงานอยู

5.3 ใหอิสระในการดูแลและกําหนดแผนงาน 5.4 เปดโอกาสใหเรียนรูเพื่อหาประสบการณงานใหม6. ทําตัวเปนแบบอยาง การทําตัวเปนแบบอยาง หมายถึง กระบวนการซึ่งบุคคลแสดง

หรือสาธิตบทบาทหรือการกระทําเพื่อใหเขาถึงพฤติกรรมที่บุคลากรคาดหวัง (Schermerhorn,Jr., 1999) ซึ่งทักษะที่ใชไดแก

6.1 การเปนพี่เลี้ยง (mentoring) หมายถึงการทําตัวเปนแบบอยางและการอํานวยความสะดวกในการพัฒนาความกาวหนาในงานแกบุคคลอื่นโดยเปดโอกาส การเปนผูสอน ชี้แนะหรือการเปนผูที่ไดรับการไววางใจ เปนคุณลักษณะที่รวมถึงความอดทนอดกลั้น ความมีขันติซึ่งเปนสิ่งที่ผูนําตองปฏิบัติ (Bower, 2000) เปนการใชประสบการณและความสามารถที่มองเห็นและเขาใจอยางลึกซึ้งระหวางบุคคลที่มีประสบการณและไมมีประสบการณ (Schermerhorn,Jr.,1999) โดยผูบริหารที่มีประสบการณสูงกวาและเปนผูที่มีความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานมากกวาตลอดจนมีความสามารถในการบริหารจัดการ และทักษะผูนํา มีสัมพันธภาพที่อบอุน ไววางใจซึ่งกันและกัน มีความสมัครใจจะปฏิบัติงานรวมกันกับผูมีประสบการณตํ่ากวาเปนระยะเวลาที่คอนขางนาน อาจเปนระยะ 3/6 เดือนหรือ 1/ 2 ปก็ได ในกระบวนการของการปฏิบัติงานรวมกันนี้ผูมีประสบการณสูงกวาจะเปนผูสอนงาน ทําใหดูเปนแบบอยาง สนับสนุนและใหคําปรึกษาและชวยเหลือผูมีประสบการณตํ่ากวาใหมีการพัฒนาดานความสามารถในการทํางาน

Page 15: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

22

ดานบุคลิกภาพ การดํารงชีวิต ตลอดจนพัฒนาการเปนผูนํา พรอมที่จะปฏิบัติงานใหมีคุณภาพอยางอิสระ มั่นใจและสามารถเปนผูสอนงาน หรือพี่เลี้ยงใหแกผูมีประสบการณนอยกวาตอไปได (Taylor, 1992 cited by Bower, 2000)

6.2 การสอนงาน (coaching) การเสริมสรางพลังอํานาจไดใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากร ผูบริหารคือบุคคลที่ตองรับผิดชอบในการพัฒนาผูใตบังคับบัญชา และการสอนงานเปนทักษะพื้นฐานที่จําเปนในการทํางาน การสอนงาน หมายถึง การสนทนาในการติดตามกระบวนการที่คาดการณไวและนําไปสูการนิเทศการปฏิบัติงาน เปนขอผูกมัดที่ไดรับความชวยเหลือ สนับสนุนและเปนการสรางสัมพันธภาพในทางบวก ซึ่งโดยปกติการสอนงานจะเปนการสนทนาแบบตัวตอตัว (Osland, Kolb & Rubin, 2001) เปนวิธีการซึ่งมีเปาหมายชวยเหลือผูใตบังคับบัญชาใหมีประสิทธิผลมากขึ้นและบรรลุศักยภาพไดเต็มที่ (Bateman & Scott, 1999) เปนลักษณะความเปนผูนําซึ่งสอนผูตามใหรูถึงวิธีการที่จะทํางานใหมๆที่ทาทายไดอยางเหมาะสม (Certo, 2002) สามารถมอบหมายอํานาจหนาที่และใหการยกยองแกผูที่ทํางานไดดี ผูสอนงานจะตองเปนผูที่มีความเฉลียวฉลาดและมีความอดทนสูงซึ่งในการสอนงานควรเปดโอกาสใหผูเขาอบรมไดมีสวนรวมในการอภิปราย แสดงความคิดเห็นและแกไขปญหาที่สําคัญ การสอนงานแบงออกเปน 4 ชนิดไดแก

6.2.1 การฝก (tutoring) ใชสอนบุคลากรในทักษะที่จําเปนที่ไมเคยเรียนมากอนซึ่งกระบวนการสอนประกอบดวย 1) อธิบายถึงจุดมุงหมายและความสําคัญในเรื่องที่จะสอน 2) อธิบายถึงขั้นตอนที่จะใช 3)แสดงใหดูวาทําอยางไร 4) สังเกตขณะที่บุคลากรฝกปฏิบัติ 5) ดูแลและใหขอมูลยอนกลับในทันที(สอนซ้ําหรือเสริมแรงจนสําเร็จ) 6)ใหความมั่นใจในความสามารถของบุคลากรที่ทํางานสําเร็จอยางเปดเผย 7) เห็นดวยกับการติดตามการปฏิบัติงาน

6.2.2 การปรึกษาหารือ (counseling) มีจุดมุงหมายเพื่อชวยเพิ่มความสามารถที่จะมองและเขาใจอยางชัดเจนถึงความรูสึกและพฤติกรรมที่ชัดเจนของบุคลากร เปนความเหมาะสมสําหรับบุคลากรในการแกปญหาที่ไมไดรับการยอมรับ 6.2.3 การเปนพี่เลี้ยง (mentoring) เปนการชวยใหบุคลากรเพิ่มความเขาใจใน เปาหมายและความกาวหนาขององคการไดดียิ่งขึ้น 6.2.4 การเผชิญหนา (confronting) จุดมุงหมายของการเผชิญหนาคือการปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ตํ่ากวามาตรฐานโดยการเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่ชัดเจนซึ่งกระบวนการที่ใชสําหรับปรึกษาหารือ การเปนพี่เลี้ยงและการเผชิญหนาประกอบดวย

Page 16: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

23

1. กอนการสอน/ประชุม ผูนิเทศ/ผูบริหารตองมีความจริงเกี่ยวกับสถานการณนั้นตองทราบชนิดของการสอน ทราบปฏิกริยาและความรูสึกของบุคคลที่สนทนาดวยและคิดถึงแนวทางที่ดีที่สุดที่จะสนทนากับผูเขาประชุม

2. ระหวางการประชุม ผูนิเทศ/ผูบริหารตองอธิบายเปาหมายของการประชุม ทําใหผูเขาประชุมเกิดการยอมรับโดยการสื่อสารที่เปดเผย สรางความไววางใจ ยกยองการปฏิบัติงานของบุคลากรในดานบวก รวมอธิบายหรือตรวจสอบหาสาเหตุเพื่อแกไขปญหา ใหความชวยเหลือบุคลากรโดยรวมกําหนดแผนปฏิบัติงานและสรางความมั่นใจในความสามารถของบุคลากรในสิ่งที่เปลี่ยนแปลง

3. ติดตามเพื่อดูความกาวหนาของบุคลากรและอาจดัดแปลงแผนการปฏิบัติเมื่อจําเปน

6.3 การสื่อสาร (communication) หมายถึงกระบวนการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกับบุคคลอื่น (Certo, 2000) สงมอบขาวสารและสิ่งที่มีความหมายตางๆ (Dessler, 1998) เปนการเคลื่อนยายขอมูลขาวสารจากผูสง (sender)ไปยังผูรับ (reciever)ดวยขอมูลขาวสารที่ทําใหผูรับเขาใจ (ศิริวรรณและคณะ, 2545) ถายทอดขอมูลและความเขาใจจากบุคคลหนึ่งไปสูอีกบุคคลหนึ่งโดยอาศัยชองทางการสื่อสารและสัญญลักขณตางๆอาจจะเปนคําพูดหรือไมใชคําพูดก็ได (นิตยา, 2545) เปนกระบวนการที่มีความสลับซับซอน ดําเนินไปอยางไมหยุดยั้งซึ่งขาวสารไดถูกสงและไดรับอยางถูกตองแมนยํา (Schermerhorn,Jr., 1999) การเสริมสรางพลังอํานาจจะใหความสําคัญกับการใชทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและใชคําพูดที่เหมาะสม ดังนั้นผูบิหารจะตองพัฒนาการใชภาษา คําพูดที่สนับสนุนผูใตบังคับบัญชา ใหเหตุผลอันสมควรเพื่อปฏิบัติงานที่เฉพาะและชวยเหลือผูใตบังคับบัญชาใหพัฒนาไปสูงานที่ยากขึ้น (Henry & Leclair, 1987 cited in Marriner-Tomey, 1993) โดยมีกระบวนการสื่อสารประกอบดวย 1)ผูสงขาวสาร 2) ขาวสาร 3) ผูรับขาวสาร 4)ตัวกรองขาวสาร 5) ชองทางสื่อสาร 6) ขอมูลยอนกลับ

ในการบริหารการพยาบาลจะตองมีการติดตอเกี่ยวของกับบุคคลหลายฝายทั้งใน องคการพยาบาลเองและหนวยงานอื่นๆการติดตอส่ือสารจึงมีความสําคัญคือ 1) เปนการหาขอมูลในการดําเนินการตางๆเพื่อชวยในการตัดสินใจในการดําเนินงาน 2) เปนเทคนิคในการบริหารงานเพราะนโยบายตางๆ คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคับของผูบริหารจะตองแจงใหผูใตบังคับบัญชาและผูรวมงานทราบ จําเปนตองอาศัยเทคนิคในการสื่อสาร 3) เปนการกระตุนและจูงใจในการทํางานชวยใหเขาใจตรงกัน 4) เปนการเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นและทัศนคติของบุคลากรโดยผูบริหารมีวิธีติดตอ

Page 17: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

24

ส่ือสารที่ดี 5) เปนการสรางความเขาใจใหบุคลากรภายนอก โดยมีหลักการติดตอส่ือสารภายในองคการที่สําคัญ 5 ประการคือ

6.3.1 มีขอมูลเพียงพอในการติดตอส่ือสารโดยตระหนักวาการติดตอส่ือสารไมใชเพียงการใหขาวสารเทานั้น แตเปนการใหขอมูลที่จําเปนในการปฏิบัติงาน ซึ่งตองอาศัยความรวมมือ การรับรูรวมกัน โดยผูรับขอมูลขาวสารตองมีการตอบสนองตอขาวสารนั้น มีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของผูรับขาวสารที่ชัดเจน โดยใหขาวสารอยางเปดเผย สอดคลองเหมาะสมกับพฤติกรรมของบุคคลและสถานการณในองคการ 6.3.2 มีชองทางติดตอส่ือสารหลายชองทาง ทั้งที่ติดตออยางเปนทางการและไมเปนทางการ อาจเปนชองทางคูขนาน โดยใหชองทางหนึ่งเสริมกับอีกชองทางหนึ่ง เชนการมอบหมายดวยวาจา โดยมีตารางการปฏิบัติงานควบคูไปดวย 6.3.3 มีขอมูลที่ชัดเจน ใชภาษางายตรงจุด บอกสาระสําคัญ 6.3.4 ติดตอส่ือสารตามขอบเขตบังคับบัญชา

6.3.5 การติดตอส่ือสารตองทําใหรวดเร็ว ถูกตองมีประสิทธิภาพ โดยทิศทางการติดตอส่ือสารในการบริหารงานในองคการ (Certo, 2000) มีลักษณะดังนี้คือ

1. การติดตอส่ือสารจากระดับบนสูระดับลาง (downward communication) เปนการสงขาวสารจากผูบังคับบัญชาสูผูใตบังคับบัญชา เกิดขึ้นในแนวดิ่งตามสายบังคับบัญชาและขอบเขตการบังคับบัญชาดวยวาจา เปนลายลักษณอักษร ภาพ หรือหลายๆแบบผสมผสานกัน เชน คําสั่งการปฏิบัติงาน การมอบหมายงาการประชุมการใหขอเสนอแนะ การชี้แจงนโยบายองคการ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในรูปแบบของการใหขอมูลยอนกลับจะทําใหบุคลากรเกิดการพัฒนาสงผลตอความสําเร็จขององคการ

2. การติดตอส่ือสารจากระดับลางสูระดับบน (upward communication) เปนการติดตอส่ือสารโดยการแสดงความคิดเห็นจากผูใตบังคับบัญชาไปสูผูบังคับบัญชาตามสายบังคับบัญชาและขอบเขตการบังคับบัญชาเชน ขอคําปรึกษา การรายงานความกาวหนาและผลการปฏิบัติงาน การอธิบายปญหาที่เกิดขึ้นหรือการแสดงความคิดเห็นตางๆ

3. การติดตอส่ือสารในแนวนอน (horizontal communication) เปนการติดตอส่ือสารในระดับเดียวระหวางบุคคลที่ไมมีอํานาจในการบังคับบัญชาซึ่งกันและกัน เกิดขึ้นในหนวยงานเดียวกันหรือตางหนวยงาน การทํางานเปนกลุมในรูปของกรรมการ ตลอดจนเปนการใหขอมูลเกี่ยวกับแผนงานและกิจกรรมเพื่อแกปญหาสรางความเขาใจรวมกัน ไดแก การประชุมคณะกรรมการ การสนทนาทางโทรศัพท

Page 18: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

25

4. การติดตอส่ือสารขามสายงาน (cross-channel communication) เปนการติดตอส่ือสารที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือหนวยงานที่ไมอยูในสายบังคับบัญชาของตน ติดตอส่ือสารในระดับเดียวกันหรือตางระดับก็ไดและเกิดขึ้นในแนวนอน (Lancaster, 1999)

5. การสื่อสารทางเดียว (communication) เปนการสงขาวสารโดยไมมี ขอมูลยอนกลับ เปนการสั่งการใหความรูคําแนะนําโดยที่ฝายผูรับไมมีโอกาสซักถามขอสงสัย จะทําในกรณีรีบดวน ขาวสารจึงตองสั้นกระทัดรัด

6.4 พฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม (assertiveness) หมายถึง การแสดงความรูสึก ความคิดเห็น ความเขาใจตนเองใหผูอ่ืนรับรูดวยสิทธอันชอบธรรมโดยวิธีการแสดงออกที่เหมาะสมคือไมกาวราว ไมออนนอมถอมตนจนเกินไปและรักษาเอกลักษณของตนไวอยางมั่นคง(เรมวล, 2542) เปนลักษณะของการแสดงความมั่นใจ มีเปาหมายชัดเจน ตัดสินใจได รับผิดชอบการกระทําของตนเอง เขาใจและยอมรับสิทธิของผูอ่ืน (นิตยา, 2546) เปนพฤติกรรมที่พึงประสงคเพราะเชื่อวาการแสดงออกแบบนี้เปนการสงเสริมการสื่อสารสองทางที่ไดประโยชนทั้งสองฝาย(วัลลภา, 2544 อางถึงใน ไขแสง ยุพดีและวัลลภา, 2544) มีความสําคัญตอการทํางานรวมกันคือ 1) ส่ือสารไดอยางเปดเผยตรงไปตรงมา ครบถวน 2) ลดความวิตกกังวลในการติดตอกับผูอ่ืน 3) กลาพิทักษสิทธิของตัวเองแตไมละเมิดสิทธิของผูอ่ืน 4) ลด/ขจัดความขัดแยง 5) เพิ่มความมีคุณคาในตัวเอง 6) อยูรวมกับผูอ่ืนได 7) เปดตัวเอง เขาสังคมไดดี รวมงานกับผูอ่ืนได 8)ตอบโตคูสนทนาไดเหมาะสมโดยไมมีความโกรธแคนเสียใจคางอยูโดยแบงไดเปน 5 ลักษณะคือ 6.4.1 การแสดงออกโดยทั่วไป เปนการแสดงออกในลักษณะเชิญชวน บอกเลา ปฏิเสธ แสดงการปลอบใจ เห็นใจ การขอความชวยเหลือ 6.4.2 การแสดงออกแบบเอาใจเขามาใสใจเรา 6.4.3 การแสดงออกถึงการยืนยัน เปนการแสดงออกเมื่อบุคคลอื่นลมเหลวตอการตอบสนอง ควรทําใหประโยคของการยืนยันเพิ่มข้ึนทีละนอยและมากขึ้นตามลําดับ

6.4.4 การแสดงออกแบบเผชิญหนา เปนการแสดงออกเมื่อบุคคลใชคําพูด ขัดแยงกับการกระทําของเขา โดยอธิบายสิ่งที่ผูตามตองทําใหเสร็จและเปนเรื่องที่ผูนําตองการ

6.4.5 การแสดงออกโดยใชสรรพนาม ฉัน เปนการแสดงความรูสึกสวนตัวของเราโดยไมทําใหคูสนทนาไดรับ ความไมสบายใจในเชิงตําหนิ

Page 19: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

26

บทบาทของหัวหนาหอผูปวยในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากร

จากการศึกษาแนวคิดการเสริมสรางพลังอํานาจของคองเกอรและคารนันโก ผูวิจัยไดใชเปนกลยุทธของการเสริมสรางพลังอํานาจมาเปนแนวปฏิบัติของหัวหนาหอผูปวยในการเสริมสรางพลังอํานาจแกบุคลากรในการทํางานดังนี้

1. บริหารงานแบบมีสวนรวม โดยหัวหนาหอผูปวยผลักดันใหบุคลากรเขามามีสวนรวมในการทํางานโดยมอบหมายอํานาจหนาที่ของการบริหารจัดการใหเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจรวมปรึกษาหารือหรือรวมแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่เกี่ยวของกับงานโดยใชความคิดสรางสรรและความเชี่ยวชาญของบุคลากรในการแกไขปญหา จะทําใหบุคลากรเกิดการเรียนรูส่ิงใหมๆในการทํางานและนําไปปรับปรุงทักษะในการทํางาน ซึ่งหัวหนาหอผูปวยตองใชทักษะทางดานความสัมพันธระหวางบุคคลที่ดี ตองเขาใจคน เปนผูส่ือสารที่ดีและสามารถจัดการกับความขัดแยงได เชน ใหโอกาสบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดปรัชญา เปาหมาย วัตถุประสงคและนโยบายของหนวยงาน มีสวนรวมในการกําหนดขอบเขตหนาที่ของตนเอง เปดโอกาสใหรวมแสดงขอคิดเห็นเพื่อพัฒนางานและรวมตัดสินใจในเรื่องสําคัญที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของบุคลากร เปดโอกาสใหบุคลากรมีสวนรวมในการริเร่ิมงานใหมๆของหนวยงาน มีสวนรวมในการเปนคณะกรรมการของหนวยงาน ใหโอกาสบุคลากรรับผิดชอบงานอยางเต็มที่ เปดโอกาสใหมาปรึกษาหารือเมื่อมีปญหา /ขอสงสัยและใหโอกาสพยาบาลวิชาชีพหมุนเวียนรักษาการเปนหัวหนาหอผูปวยเปนตน เปนตน จากการศึกษาของสุมาลี (2541) พบวาหัวหนาหอผูปวยปฏิบัติงานดานบริหารงานอยูในระดับมาก มีความสามารถในการบริหารงานแบบมีสวนรวมอยูในระดับสูง (กัลยา, 2543) มีรูปแบบการบริหารงานแบบมีสวนรวมและแบบปรึกษาหารือ (ศิริพร, 2541)

2. สรางเปาหมายงาน โดยหัวหนาหอผูปวยกระตุนใหบุคลากรตระหนักและเห็นคุณคาเปาหมายของงานที่รับผิดชอบโดยใชวิธีอธิบายงานและเชื่อมโยงงาน ใหโอกาสบุคลากรมีสวนรวมกําหนดเปาหมายตามกระบวนการกําหนดเปาหมาย ซึ่งจะทําใหบุคลากรเกิดแรงจูงใจภายในและรูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งที่สําคัญของงาน ไดแก การวางแผนการปฏิบัติงาน การจัดลําดับความสําคัญและการใชทรัพยากร การกําหนดกลยุทธการดําเนินงานเชน ชี้แจงใหบุคลากรทราบถึงลักษณะงานของหนวยงานและเปาหมายของหนวยงาน รวมกําหนดแนวทางที่สอดคลองกับ เปาหมาย รวมกําหนดเปาหมายที่ทาทาย ใหรางวัลเมื่อบุคลากรทํางานบรรลุเปาหมาย เปนตน

3. สรางระบบการใหขอมูลยอนกลับ โดยหัวหนาหอผูปวยสื่อสารใหบุคลากรทราบถึงผลการปฏิบัติงานโดยวิธีการสังเกตและใหความเอาใจใสตอการควบคุมการปฏิบัติงาน เพื่อจะไดนําผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาตนเอง เพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติงานใหดี

Page 20: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

27

ยิ่งขึ้นและหรือสนับสนุนใหบุคลากรมีโอกาสใหขอมูลยอนกลับที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (สายสมร,2544) เชน กลาวชมเชยเมื่อบุคลากรปฏิบัติงานดี แจงใหบุคลากรทราบผลการประเมินหลังจากการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย ชี้ใหบุคลากรเห็นขอบกพรองในการปฏิบัติงานทั้งดวยวาจาและเปนลายลักษณอักษรและเมื่อพรอมที่จะรับฟง เปนตน

4. จัดระบบเสริมแรง โดยหัวหนาหอผูปวยออกแบบระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เปนธรรม ใหโบนัส จายคาตอบแทนตามตัวชี้วัด / ตามระดับทักษะในการปฏิบัติงาน ใหโอกาสกาวหนาในงานสงเสริมทักษะการเรียนรู / ฝกอบรม แสดงการยอมรับชื่นชมเมื่อทํางานไดดีซึ่งการเสริมสรางพลังอํานาจในงานชวยใหบุคลากรรับรูความสามารถของตน (กุลวดี, 2542; ภัสรา, 2544) และการเสริมสรางพลังอํานาจดานจิตใจชวยลดความเครียดจากการปฏิบัติงานได (Laschinger, Finegan, Shamain & Wilk, 2001) เชนสนับสนุนใหบุคลากรมีโอกาสพัฒนาทักษะในการทํางานใหมๆ เปดโอกาส /สงเสริมใหไปอบรมสัมนาในเรื่องที่เกี่ยวของกับงานในหนาที่ แจงขาวการอบรมสัมนาใหบุคลกรทราบ สงเสริมการเรียนรูทักษะในการทํางานระหวางบุคลากรดวยกันเอง พิจารณาความดีความชอบในการเลื่อนขั้นเงินเดือนโดยใชเกณฑความสามารถ และผลการปฏิบัติงานเปนตน

5. จัดระบบงานที่ทาทาย โดยหัวหนาหอผูปวยปรับระบบงานโดยเพิ่มโอกาสในการทํางาน เพิ่มความรับผิดชอบ อนุญาตใหบุคลากรวางแผนงานดวยตัวเอง ใหอิสระในการดูแลและกําหนดแผนงาน เปดโอกาสใหเรียนรูและหาประสบการณใหม เชน ใหโอกาสบุคลากรไดทดลองทํางานในแนวใหมเพื่อพัฒนางาน และใหอิสระในการคิดคนหาวิธีใหมๆในการทํางานแมบางครั้งจะไมประสบผลสําเร็จ ใหอิสระบุคลากรในการจัดการที่มีคุณภาพ มอบหมายงานใหบุคลากรตามความสามารถและการมอบหมายงานแตละครั้งจะไมเรงรัดใหเกิดผลสําเร็จของงานใหโอกาสปรับปรุงแกไขตนเองเมื่อมีขอผิดพลาดเปนตน

6. ทําตัวเปนแบบอยาง โดยหัวหนาหอผูปวยแสดง/สาธิตบทบาท/ การกระทําเพื่อใหเขาถึงพฤติกรรมที่บุคลากรคาดหวังโดยใชทักษะการเปนพี่เลี้ยง การสอน การสื่อสาร การปฏิบัติงานรวมกันและพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม เชนใหการสนับสนุนและใหความรวมมือในกิจกรรมตางๆที่นอกเหนือจากงานประจํา อาสาเขารวมกิจกรรมหรือโครงการตางๆเปนตัวอยางที่ดีในการศึกษาหาความรู เปนตัวอยางที่ดีในการใหบริการผูปวยสามารถควบคุมอารมณไดดีเมื่อไมพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร มีการปฐมนิเทศบุคลากรเมื่อข้ึนปฏิบัติงานใหม ใหการฝกอบรมเมื่อบุคลากรขาดความสามารถหรือขาดทักษะเปนตน จากการศึกษาของศิริวรรณ (2546) พบวาหัวหนาหอผูปวยมีภาวะผูนําที่เปนแบบอยางอยูในระดับสูงโดยเฉพาะดานการสนับสนุนทาง

Page 21: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

28

สังคมและการเห็นคุณคาในตัวเอง เปนผูนําที่มีประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะการเปนนักพัฒนา (พิชญา, 2539)

แนวคิดการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ความหมายของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล หมายถึง กลไกกระตุนใหเกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอยางเปนระบบ และพัฒนาทั้งองคการ ทําใหองคการเกิดการเรียนรู มีการประเมินและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อคุณภาพบริการที่ดีข้ึนอยางตอเนื่องโดยลดความเสี่ยงในการทํางานของบุคลากร ผูปวยและญาติไดรับบริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สังคมมีความเชื่อมั่นในระบบบริการสุขภาพวาสามารถใหความไววางใจได ผูบริหารมีโอกาสที่จะคิดพัฒนาและองคกรวิชาชีพมีมาตรฐานหรือขอกําหนดตางๆนําสูการปฏิบัติ (สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล, 2546)

วิวัฒนาการของกระบวนการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

จุดเริ่มตนของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล เร่ิมในอเมริกาเมื่อประมาณ 70 ปที่แลว โดยมีวัตถุประสงคที่จะรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสําหรับเปนที่ฝกอบรมศัลยแพทย ซึ่งในชวง 70 ปที่ผานมา ไดมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการมาเปนลําดับ ไดแก

1. เปลี่ยนจากการเนนที่ตัวแพทยมาสูจุดเนนของการทํางานรวมกันระหวางวิชาชีพตาง โดยใหความสําคัญเรื่องการทํางานเปนทีมและการเปนลูกคาภายในระหวางกัน

2. เปลี่ยนจากจุดเนนเรื่องโครงสรางและเอกสาร มาสูการเนนกระบวนการและผลลัพธ แตยังใหความตระหนักวาโครงสรางและเอกสารมีความสําคัญนอยกวาการพัฒนากระบวนการทํางาน สําหรับประเทศไทยซึ่งโครงสรางและระบบเอกสารยังมีขอดอยอยูมาก ก็จําเปนตองไดรับการพัฒนาควบคูกันไป

3. เปลี่ยนจากการเนนที่ตัวผูปฏิบัติงานมาสูการเนนผูปวยเปนศูนยกลาง โดยศึกษาความตองการของผูปวย นําเอามาตรฐานวิชาชีพมาตอบสนองความตองการเหลานั้น

4. เปลี่ยนจากกระบวนการตรวจสอบมาเปนกระบวนการเรียนรู โดยการวิเคราะหจุดออนแลวปรับปรุงจุดออนเหลานั้นแลวนําผลมาเรียนรูรวมกัน

Page 22: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

29

หลักการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

1. แสดงคุณคาความเปนไทย โดยกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพจะตองเสริมสรางศรัทธาของประฃาชนตอโรงพยาบาลและบริการทางการแพทยควบคูไปกับการเสริมสรางความรับผิดชอบของผูใหบริการบนฐานของความมีเมตตา กรุณาและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ 2. พัฒนาคน โดยกระบวนการพัฒนาคุณภาพมุงเนนการพัฒนาศักยภาพ คุณธรรมและจริยธรรมของคนในองคการ เพื่อรวมมือกันปรับปรุงระบบงานดวยวิธีการที่มีเหตุผล ตรวจสอบได และตอบสนองปญหา/ความตองการของผูปวย เปนการใหคุณคาวาคนคือทรัพยสินที่พัฒนาได และมีคาสูงสุดสําหรับองคการ

3. มีการทบทวนการเรียนรู โดยกระบวนการทั้งหมดเปนกระบวนการเรียนรูที่จะรักษาวินัยดวยตนเองและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลอื่น 4. มีจิตวิญญาณของคุณภาพ โดยคุณภาพเกิดจากความมุงมั่นของผูปฏิบัติงานทุกคน การทํางานเปนทีมและการเนนผูปวยเปนศูนยกลาง

5. มีมาตรฐานการปฏิบัติ โดยมีกรอบสําหรับประเมินและพัฒนาที่เนนเปาหมายและเปดโอกาสใหมีความยืดหยุนในการนําไปปฏิบัติจะสามารถรับรองความหลากหลายของโรงพยาบาลตางๆซึ่งมีศักยภาพและภาระงานแตกตางกัน

6. มีการประเมินตนเอง โดยการทบทวนตรวจสอบตนเองของเจาหนาที่แตละคนและระบบทบทวนตรวจสอบภายในองคกรเพื่อสรางความรับผิดชอบตอวิชาชีพและตอสังคมเปนหลักประกันที่สําคัญสําหรับการบริการที่มีคุณภาพใหดีข้ึนอยูเสมอ

7. มีการประเมินจากภายนอก เพื่อเปนการยืนยันผลการประเมินตนเองพยาบาลและชี้ใหเห็นโอกาสพัฒนาในมุมมองที่กวางขึ้นในลักษณะของกัลยาณมิตร

8. มีการรับรองคุณภาพ เปนการรับรองกระบวนการเพื่อผลลัพธที่ตองการการรับรองมีลักษณะเปนพลวัตร มุงสงเสริมใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง

สาเหตุที่ตองมีการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Page 23: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

30

1. อุดมการณของชาติ เนื่องจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไดระบุถึงอุดมการณของชาติในเรื่องที่เกี่ยวกับบริการสุขภาพไวดังนี้คือ “มาตรา 52 บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ไดมาตรฐานและผูยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไมเสียคาใชจาย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติและการบริการทางสาธารณสุขของรัฐตองเปนไปอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยจะตองสงเสริมใหองคการปกครองทองถิ่นและเอกชนมีสวนรวมดวยเทาที่จะกระทําไดและ”มาตรา 82 รัฐตองจัดและสงเสริมการสาธารณสุขใหประชาชนไดรับบริการที่ไดมาตรฐานและมีประสิทธิภาพอยางทั่วถึง” 2. ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่9 ซึ่งระบุระบบสุขภาพที่พึงประสงคไววาเปนระบบสุขภาพเชิงรุกมีหลักประกันในการเขาถึงบริการสุฃภาพที่เอื้ออาทรและมีคุณภาพ สังคมทุกระดับมีความพอเพียงทางสุขภาพ มีศักยภาพและมีสวนรวมในการสรางและจัดสุขภาพโดยมีการเรียนรูและใชประโยชนอยางรูเทาทันเพื่อใหสังคมไทยดํารงอยูอยางพึ่งตนเองได 3. ความตองการของสังคม โดยผูจายเงินเชนสํานักงานประกันสังคม กระทรวงการคลัง บริษัทประกันสุขภาพ ตองการใชเงินเพื่อสุขภาพเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและไดผลลัพธที่มี คุณภาพ องคกรคุมครองผูบริโภคตองการขอมูลสาธารณะที่เปนประโยชนแกผูบริโภค องคกรวิชาชีพตองการผดุงไวซึ่งศักดิ์ศรีและจริยธรรมวิชาชีพ 4. สถานการณของระบบบริการสุขภาพ จากสถานการณในปจจุบันพบวามีความซับซอนดานความรู เทคโนโลยี่และระบบบริการ ผูบริโภคไมไวใจในการบริการของโรงพยาบาล โรงพยาบาลขาดการตรวจสอบที่รัดกุม การฟองรองมีแนวโนมมากขึ้น และประชาชนมีความคาดหวังมากขึ้นตองการเห็นความโปรงใสมากขึ้นซึ่งหากปลอยใหโรงพยาบาลมีการพัฒนาตนเองไปเร่ือยๆจะไมสามารถตอบสนองความตองการไดทันการณ จึงจําเปนที่ตองสรางกระบวนการเพื่อใหเกิดการคิดและทํางานเปนระบบสรางนวัตกรรมและมาเรียนรูรวมกันจึงจะสามารถตอบสนองความตองการของสังคมได (สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล, 2544)

5. ความคาดหวังตอการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล เปาหมายของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลคือคุณภาพบริการสุขภาพที่ดีอยางตอเนื่องโดยสิ่งที่ไดรับคือ ผูปฏิบัติมีความเสี่ยงในการทํางานลดลงมีการนํานวตกรรมตางๆมาปรับปรุงวิธีการทํางานไดพัฒนาศักยภาพตนเองและมีโอกาสแสดงออก เกิดความภาคภูมิใจที่ไดทํางานในหนวยงานที่มีระบบดี ผูปวยและญาติไดรับบริการที่มีคุณภาพ คุณภาพการรักษาดีข้ึน ไดรับการพิทักษสิทธิและศักดิ์ศรีของความเปนคนมากข้ึน ผูบริหารไมตองคอยแกปญหาโรงพยาบาล จะเปนองคกรเรียนรูสามารถรองรับการเปลี่ยน

Page 24: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

31

แปลงและมีการพัฒนาอยางตอเนื่องทําใหองคการอยูรอดและยั่งยืน องคการผูจายเงินมีขอมูลในการคัดเลือกโรงพยาบาล และพิจารณาระดับการจายเงินที่เหมาะสม องคกรวิชาชีพมีมาตรฐานนําไปสูการปฏิบัติ

6. ความคาดหวังตอการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โดยมีเปาหมายเพื่อกระตุนใหโรงพยาบาลเกิดแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง สรางความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อใหสังคมมีความมั่นใจตอระบบบริการของโรงพยาบาล ดวยการยินยอมใหองคการภายนอกซึ่งมีความรูความเขาใจระบบการดูแลผูปวยเขาไปประเมินตามกรอบที่ตกลงรวมกัน ใหขอมูลขาวสารในการตัดสินใจของผูบริโภคและสรางสังคมแหงการเรียนรูโดยการที่ผูบริหารและผูประกอบวิชาชีพของโรงพยาบาลตางๆทําหนาที่เปนที่ปรึกษาและผูประเมินในลักษณะอาสาสมัคร

กระบวนการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

กระบวนการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลประกอบดวยขั้นตอนหลัก 3 ข้ันตอนคือ1)การพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล ตามแนวทางที่กําหนดไวในมาตรฐานโรงพยาบาล 2) การประเมินตนเองเพื่อตรวจดูความกาวหนาและความพรอมที่จะใหองคกรภายนอกมาเยี่ยมและ 3) การเยี่ยมสํารวจและรับรองโดยองคการภายนอก

1. การพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล คือ การจัดระบบบริหารและระบบการทํางานในโรงพยาบาลตามแนวทางที่กําหนดไวในมาตรฐานโรงพยาบาลซึ่งมุงเนนการทํางานดวยใจที่มุงมั่นตอคุณภาพของเจาหนาที่ การทํางานเปนทีม การตอบสนองความตองการของผูปวยและผูรับผลงาน มีระบบตรวจสอบเพื่อแกไขปรับปรุงดวยการประสานกิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (risk management-RM) การประกันคุณภาพ (quality assurance – QA) และการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง เขาดวยกัน

2. การประเมินตนเอง (quality assessrment) เปนการคนหาโอกาสพัฒนา ตรวจสอบความกาวหนาในการพัฒนาคุณภาพและตรวจสอบความพรอมที่จะไดรับการประเมินและรับรองจากภายนอก การประเมินตนเองของโรงพยาบาลควรประเมินโดยทีมที่เกี่ยวของ โดยควรครอบคลุมการประเมินเพื่อคนหาโอกาสพัฒนา การตรวจเยี่ยมเพื่อสังเกตการปฏิบัติงานจริง การทบทวนแนวคิด แนวทางปฏิบัติ การปฏิบัติงานจริงและผลลัพธที่เกิดขึ้น เพื่อนําไปสูการแกปญหาและพัฒนาวิธีการทํางานอยางตอเนื่อง การใชแบบประเมินตนเองเพื่อบันทึกและวิเคราะหระบบงานตามขอกําหนดในมาตรฐานโรงพยาบาล

Page 25: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

32

3. การเยี่ยมสํารวจและรับรองโดยองคการภายนอก การเยี่ยมสํารวจ คือการไปรับทราบ หลักฐานและความจริงวาโรงพยาบาลไดมีการปฏิบัติตามขอกําหนดในมาตรฐานโรงพยาบาล ส่ิงที่ระบุไวในนโยบาย / คูมือการปฏิบัติงานของโรงพยาบาล ขอเสนอแนะของหนวยงาน ผูเชี่ยวชาญที่ปรึกษา และการเยี่ยมสํารวจที่ผานมาเครื่องมือสําคัญที่ผูเยี่ยมสํารวจจะใช คือ ขอมูลที่โรงพยาบาลประเมินตนเองตามแบบฟอรมที่กําหนดไวซึ่งผูเยี่ยมสํารวจจะตองศึกษาลวงหนากอนที่จะไปประเมินในพื้นที่ เพื่อใหสอดคลองกับแนวคิดของมาตรฐานซึ่งเนนผูปวยเปนศูนยกลางและการพัฒนาอยางตอเนื่อง การประเมินจะเนนกิจกรรมสําคัญที่เกี่ยวกับการดูแลผูปวยและการบริหารองคการเพื่อตอบคําถามตอไปนี้

3.1 มีการออกแบบหรือจัดระบบงานไวอยางเหมาะสมหรือไม ( system design) มีการปฏิบัติตามกระบวนการที่กําหนดไวหรือไม (deployment)

3.2 มีการประเมินผลกระบวนการเหลานั้นหรือไม ผลการประเมินเปนอยางไร(assessment & result)

3.3 โรงพยาบาลกําลังปรับปรุงการปฏิบัติงานของตนหรือไม (continualimprovement)

ขอมูลจากการเยี่ยมสํารวจจุดแข็งและโอกาสพัฒนาจะถูกนําเสนอใหคณะกรรมการ รับรองคุณภาพพิจารณาตัดสิน การรับรองจะมีอายุ 2 ปในรอบแรก หลังจากใหการรับรองแลวจะมีการเยี่ยมสํารวจใน 3 ลักษณะคือ - การเยี่ยมสํารวจเฉพาะเรื่อง (focused survey) เปนการเยี่ยมสํารวจในประเด็นที่เปนจุดออนเฉพาะโรงพยาบาลภายในชวงเวลา 3-6 เดือน

- การเยี่ยมเมื่อเปลี่ยนผูบริหารระดับสูง (verification survey) เพื่อใหมั่นใจวา โรงพยาบาลยังคงมีการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ - การเยี่ยมสํารวจเฝาระวัง (surveillance survey) เปนการเยี่ยมสํารวจในชวง6-12 เดือนหลังจากการรับรองเพื่อติดตามการปฏิบัติตามขอเสนอแนะที่ไดใหไวและสงเสริมพัฒนาในประเด็นที่สําคัญ

ประเด็นหลักในการรับรองและมาตรฐาน

Page 26: ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒʵÃì ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂʧ¢ÅÒ¹¤⤼듑䓞ၩ듦搲 · 9 1.อํานาจจากการให รางวัล (reward power) เป นอํานาจท

33

ประเด็นหลักในการรับรองโรงพยาบาลมี 6 ประการ ไดแก1. โรงพยาบาลมีความมุงมั่นที่จะใหบริการอยางมีคุณภาพโดยเนนผูปวยเปนศูนยกลาง2. โรงพยาบาลมีทรัพยากรเพียงพอและมีการบริหารจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ3. โรงพยาบาลมีระบบปองกันความเสี่ยง การพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง และการธํารง

ไวซึ่งคุณภาพที่พัฒนาได 4. โรงพยาบาลมีการกํากับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ

5. โรงพยาบาลมีการพิทักษสิทธิผูปวยและดูแลดานจริยธรรมองคการ6. โรงพยาบาลมีกระบวนการทํางานและการดูแลผูปวยซึ่งเนนการนํามาตรฐานวิชาชีพ

และความรูที่ทันสมัยเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจสังคมมาตอบสนองความตองการที่จําเปนของ ผูปวย

นอกจากนั้นการรับรองคุณภาพจะตองครอบคลุมมาตรฐาน 20 บทในประเด็นตอไปนี้ คือการนําองคการ ทิศทางนโยบาย การบริหารทรัพยากรและประสานบริการ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล การบริหารสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย เครื่องมือและการจัดการเกี่ยวกับเครื่องมือ ระบบสาระสนเทศในโรงพยาบาล กระบวนการคุณภาพทั่วไป กระบวนการคุณภาพดานคลินิกบริการ การปองกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล องคการแพทย การบริหารการพยาบาล สิทธิผูปวย จริยธรรมองคการ และการทํางานเปนทีมในการดูแลผูปวย การเตรียมความพรอมสําหรับผูปวยและครอบครัว การประเมินและวางแผนการดูแลรักษา กระบวนการใหบริการดูแลผูปวย การบันทึกขอมูลผูปวย ตลอดจนการเตรียมจําหนายและการดูแลตอเนื่อง (สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล, 2546)

สรุปจากการทบทวนวรรณกรรมผูวิจัยพบวาการเสริมสรางพลังอํานาจนั้นศึกษาในหลายหนวยงานและการเสริมสรางพลังอํานาจมักศึกษาความสัมพันธระหวางการเสริมสรางพลังอํานาจรวมกับปจจัยอื่น เชน ความพึงพอใจในงาน ความยึดมั่นผูกพันตอองคการ ระดับความเครียดในงาน การกําหนดเอกสารดําเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ แตยังไมมีการศึกษาถึงการนํามาปฏิบัติในการดําเนินการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเพื่อการรับรองคุณภาพซึ่งใชแนวคิดการจัดการคุณภาพทั้งองคการมาเปนแนวทางในการปฏิบัติ