foundation engineering - สำนักวิชา...

120
วิศวกรรมฐานราก วิศวกรรมฐานราก F F oundation oundation E E ngineering ngineering รองศาสตราจารย รองศาสตราจารย ดร ดร . . สุข สุข สันติสันติหอพิบูลสุข หอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุร สุร นารี นารี

Upload: dongoc

Post on 06-Sep-2018

230 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

วิศวกรรมฐานรากวิศวกรรมฐานราก

FFoundation oundation EEngineeringngineering

รองศาสตราจารยรองศาสตราจารย ดรดร.. สุขสุขสันติ์สันติ์ หอพิบูลสุขหอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรสุรนารีนารี

Page 2: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

โครงสรางกันดินโครงสรางกันดิน66 (RETAINING STRUCTURE)(RETAINING STRUCTURE)

Page 3: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.1 6.1 บทนําบทนํา

โครงสรางกันดินถูกสรางเพื่อปองกัน

การเคลื่อนตัวของดิน การประยุกตใช

โครงสรางกันดินในงานวิศวกรรรมมี

มากมาย อาทิเชน งานดินถม งานดินขุด

งานสะพาน และโครงสรางกันน้ําทวม

โครงสรางกันดินสวนมากจะเปน

กําแพงกันดินที่สรางจากคอนกรีต

Page 4: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดินเสถียรภาพของกําแพงกันดินชนิดนี้ขึ้นอยูกับน้ําหนักของตัวมันเอง กําแพงกันดินชนิดนี้จึงถูกเรียกวา

Gravity wall ในกรณีที่กําแพงกันดินมีความสูงมาก แรงดันดินดานขางมีแนวโนมที่จะทําใหกําแพงกัน

ดินพลิกคว่ํา (Overturning) เพื่อความประหยัด อาจเลือกใชกําแพงกันดินชนิด Cantilever wall ซึ่งมี

สวนฐานยื่นออกมาอยูใตดินถม น้ําหนักของดินถมที่อยูเหนือฐานนี้จะชวยปองกันการพลิกคว่ํา

(a) Gravity wall (b) Cantilever wall

Page 5: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

เมื่อมีการถมดินดานหลังกําแพงกันดิน กําแพงกันดินจะเกิดการเคลื่อนตัว เพื่อปองกันการพลิกคว่ํา

ของกําแพงกันดิน กําแพงกันดินจะถูกสรางใหมีความชันเอียงดานหนา ความชันนี้เรียกวา Batter

วัสดุที่ใชถมดานหลังกําแพงกันดินเรียกวา Backfill จะตองเปนวัสดุเม็ดหยาบที่มีความซึมผานสูง

เชน ทราย กรวด หรือหินบด (Broken stone) ถาเปนไปไดควรหลีกเลี่ยงการใชดินเม็ดละเอียดพวกดิน

เหนียวเปน Backfill เนื่องจากดินประเภทนี้กอใหเกิดความดันดานขางอยางมากตอกําแพงกันดิน วิศวกร

ผูออกแบบจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเลือกวัสดุที่ใชเปน Backfill ใหเหมาะสม และจะตองคํานึงถึงการเพิ่มขึ้น

ของระดับน้ําใตดิน ซึ่งจะเปนตัวเพิ่มความดันดานขางตอกําแพงกันดิน

Page 6: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

ลักษณะทั่วไปของกําแพงกันดินชนดิ Cantilever wall

Page 7: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

ลักษณะของฐานรากกําแพงกันดิน

Page 8: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

6.2.1 การวิบัติของกําแพงกันดิน

การออกแบบกําแพงกันดินตองคํานึงถึงสิ่งสําคัญสองประการดังนี้

1) กําแพงตองมีเสถียรภาพภายนอก (External stability) ซึ่งหมายความวากําแพงกันดินตองตั้ง

ดิ่งในตําแหนงเดิม

2) กําแพงกันดินตองมีเสถียรภาพภายใน โดยตองความสามารถตานความเคนที่เกิดขึ้นภายใน

โครงสรางโดยปราศจากการพังทลาย

(a) กําแพงกันดินขาดเสถียรภาพภายนอก (b) กําแพงกันดนิขาดเสถียรภาพภายใน

Page 9: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

6.2.2 การวิเคราะหเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน

วิธีการออกแบบกําแพงกันดินตานการวิบัติ

ภายนอก คือ การสมมติขนาดและรูปรางของกําแพง

กันดินและทําการตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพง

ถาพบวาเสถียรภาพของกําแพงกันดินมีคาต่ําหรือไม

เพียงพอ ก็ทําการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปรางใหม

และทําการตรวจสอบอีกครั้ง ขั้นตอนนี้จะถูกทําซ้ําๆ

จนกระทั่ งพบว า กํ า แพงกั นดิ นที่ อ อกแบบมี

เสถียรภาพเพียงพอตอการใชงาน

Page 10: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

6.2.2 การวิเคราะหเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน

กําแพงกันดินจะมีเสถียรภาพภายนอก เมื่อกําแพงกันดินไมมีการเคลื่อนตัวในสามทิศทาง อันไดแก

ในแนวนอน (การลื่นไถล) ในแนวดิ่ง (การทรุดตัวที่มากกวาปกติ และการวิบัติเนื่องจากแรงแบกทานของดิน

ใตฐานราก) และการพลิกคว่ํา

การออกแบบเปนการตรวจสอบเสถียรภาพของการเคลื่อนตัวในสามทิศทางนี้ เพื่อใหไดอัตราสวน

ปลอดภัยที่เหมาะสม การตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวนอนและการพลิกคว่ําอาศัยหลักการความสถิตย

(Law of statics) สําหรับการตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งนั้นอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทานของ

ดิน (Bearing capacity theory)

Page 11: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

6.2.2 การวิเคราะหเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน

Page 12: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล คืออัตราสวนระหวางแรงตานทานการลื่นไถล (Sliding

resistance force) ตอแรงกระทํา (Sliding force) แรงตานทานการลื่นไถล คือผลคูณของแรงลัพธใน

แนวดิ่งที่กระทําตอฐานของกําแพงกันดินกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (Coefficient of friction)

ระหวางฐานของกําแพงกันดินและดินดานใตฐาน สวนแรงที่กระทําใหเกิดการลื่นไถลสวนมากจะเปนแรงใน

แนวนอนเนื่องจากแรงดันดานขางของดิน Backfill แรงตานทานการลื่นไถล (S) สามารถคํานวณไดจาก

tan 0.67S V φ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= ′∑

23 uS S B=

สําหรับฐานรากที่เปนทราย

สําหรับฐานรากที่เปนดินเหนียว

51 2 ... vV W W W P= + + + +∑เมื่อ

Page 13: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

ถาในการออกแบบพบวากําแพงกันดินแบบฐาน

เรียบ (Flat-bottomed wall) มีอัตราสวนปลอดภัยไม

เปนไปตามที่ตองการ อาจทําการสรางตัวตานทานการลื่น

ไถลที่เรียกวา Key ที่ฐานของกําแพงกันดิน ดินดานหนา

ของ Key ทําหนาที่ตานทานการลื่นไถลในฐานะของ

ความดันที่สภาวะ Passive ดังแสดงโดยโซน BC แต

อยางไรก็ตาม ดินดานหนาของ Key อาจจะหายไป

เนื่องจากการกัดเซาะ ดังนั้น ตัว Key นี้จะมีประสิทธิผล

อยางมากถาถูกสรางใตดินแข็งหรือหิน

Retaining Wall

Passive Earth PressureProvided by Key

Key

A

BC

Page 14: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

3o hHM P= ×

51 2 ...r vrr rM M M M P B⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + + + ×∑

อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํา หาไดจากอัตราสวนระหวางโมเมนตตานทานการพลิกคว่ํา

ทั้งหมด (Total righting moment, ) ตอโมเมนตทั้งหมดที่กอใหเกิดการพลิกคว่ํา (Total

overturning moment, Mo) ที่สภาวะสมดุลและการพลิกคว่ําเริ่มเกิดพอดี แรงปฏิกิริยาระหวางดินและ

กําแพงกันดินจะอยูที่จุด Toe พอดี ดังนั้น เพื่อความสะดวกในการคํานวณ (ไมตองพิจารณาผลของแรง

ปฏิกิริยา) โมเมนตที่กอใหเกิดการพลิกคว่ํา และโมเมนตตานการพลิกคว่ําทั้งหมดสามารถคํานวณไดจาก

rM∑

ri i iM W x=

ix

เมื่อ

คือระยะในแนวนอนที่วัดจากจุด Toe จนถึง Wi

Page 15: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติเนื่องจากแรงแบกทานของดิน หาไดจากอัตราสวนระหวางกําลังรับ

แรงแบกทานประลัย (Ultimate bearing capacity) ตอความดันที่มากที่สุดที่กระทําตอฐานของกําแพงกัน

ดิน (Actual maximum contact pressure) แรงในแนวนอนอันเนื่องจากแรงดันดานขางของดินมัก

กอใหเกิดโมเมนตในฐานรากของกําแพงกันดิน ซึ่งอาจสงผลใหความเคนในดินใตฐานรากไมสม่ําเสมอ

dV Pt

∑=dV2 Pt

∑=

∑V ∑V ∑V

dV

38Pt∑=

∑H∑H ∑H

Page 16: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

ระยะเยื้องศูนยและความดันดินใตฐานราก สามารถคํานวณไดจากสมการดานลาง จากประสบการณ

การออกแบบ ควรทําการตรวจสอบการเสถียรภาพเนื่องจากการวิบัติของดินฐานรากและระยะเยื้องศูนยกอน

การตรวจสอบเสถียรภาพดานอื่น เนื่องจากเสถียรภาพดานนี้จะเปนตัววิกฤติที่สุด

2 6r oM MB Be V

⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

−= − <∑

max61 all

V eq qB B⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠

= + <∑

min61 0V eq B B

⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠

= − >∑

Page 17: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

อัตราสวนปลอดภัยที่ใชในการวิเคราะหเสถียรภาพของกําแพงกันดินควรไมนอยกวาคาที่แสดง

3.0วิบัติแบบกําลังรับแรงแบก

ทาน

Teng (1962)สําหรับ Backfill ที่เปนดินเม็ดละเอียด2.0

สําหรับ Backfill ที่เปนดินเม็ดหยาบ1.5การพลกิคว่ํา

Goodman and Karol (1968)สําหรับกรณีที่พิจารณาความดินดานขางที่สภาวะ Passive ที่ดานหนาของ

กาํแพงกันดิน

2.0

Goodman and Karol (1968) สําหรับกรณีที่ไมพิจารณาความดินดานขางที่สภาวะ Passive ที่ดานหนา

ของกาํแพงกันดิน

1.5การลื่นไถล

อางอิงหมายเหตุอัตราสวนปลอดภัยกรณี

Page 18: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.2 6.2 กําแพงกันดินกําแพงกันดิน

เ นื่ อ ง จ ากน้ํ า มั ก เ ป นตั ว

ปญหาอยางมากตอเสถียรภาพ

ภ า ยน อ ก ข อ ง กํ า แพ ง กั น ดิ น

ผูออกแบบสวนใหญจึงมักจัดวาง

ระบบระบายน้ํา เพื่อลดความดัน

น้ําอันเกิดเนื่องมาจากความดันน้ํา

สวนเกินและน้ําทวม

Page 19: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

เข็มพืดเปนแผนเหล็กยาวที่มีความกวางประมาณ 30 ถึง 50 เซนติเมตร เข็มพืดจะถูกนํามาตอกันเปน

แนวยาวตามแนวดินเพื่อใชเปนโครงสรางกันดินและน้ํา เข็มพืดยังสามารถใชรวมกับระบบค้ํายัน (ซึ่งอาจเปน

ไมหรือเหล็ก) เปนโครงสรางชั่วคราวสําหรับงานกอสรางใตดิน เชน งานวางทอน้ํา โครงสรางกันดิน และงาน

โครงสรางใตดิน แตถึงแมวาระบบค้ํายันจะมีความแข็งแรงเพียงใดก็ตาม เข็มพืดเปนแผนเหล็กที่มีความหนา

ไมมาก หากใชเปนโครงสรางกันดินในงานดินขุดที่มีความลึกมาก หรือใชเปนโครงสรางกันการเคลื่อนตัวของ

อาคารขางเคียงที่มีขนาดใหญ อาจกอใหเกิดการเสียรูปของเข็มพืดและสงผลใหเกิดเคลื่อนตัวของดินอยาง

มาก เพื่อหลีกเลี่ยงการเคลื่อนตัวที่มาก เราอาจใชเสาเข็มเจาะหรือเสาเข็มดินซีเมนตเปนโครงสรางกันดินได

Page 20: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

ตัวอยางเข็มพดืแบบตางๆ และการตอเข็มพดื

400 to 508

400 to 508

130 to 330

7.1 to28.6 mm

Lengths 6.000 to 26.000

32 mm diameter lifting hole positioned 150 mm down from one end

Larseen steel sheet piles

Interlocking joint

Junction pile – open and closed corner piles also avaliable

Page 21: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

ตัวอยางเข็มพดืแบบตางๆ และการตอเข็มพดื

400 to 483

Frodingham steel sheet piles

Interlocking joint

Junction pile – bent corner and coner piles also avaliable

32 mm diameter slinging hole positioned 75 mm down from one end

400 to 483 Lengths 6.000 to 24.000

6.1 to 19.8 mm

Page 22: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

ตัวอยางเข็มพดืแบบตางๆ และการตอเข็มพดื

Page 23: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

ตัวอยางการใชกําแพงกันดนิ (a) Cantilever sheet pile (b) Braced cut

Page 24: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

การใชเข็มพืดรวมกับค้ํายันเพือ่ทํางานกอสรางใตดิน

150 150 raking struts at 1.800 centres

Face timbering of steel or timber

150 150 puncheons at 1.800 centres225 38 binding to both sides

Cleats and distance pieces150 75 sole pieces

Grillage out of 225 75 timbers

150 150 walings

225 75 sole plate

Provide edge safety barriers as required

150 150 raking struts at 1.800 centres

Face timbering of steel or timber

150 150 puncheons at 1.800 centres225 38 binding to both sides

Sole piece and grillage if required

150 150 walings

225 75 sole plate

Page 25: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

การประยุกตใชเข็มพืดรวมกับค้ํายันสําหรับงานหองใตดนิ

Page 26: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

ระบบ Braced cuts ในการกอสรางบริเวณสถานีรถไฟ มาเกา ประเทศจีน

Page 27: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

การประยุกตใชเสาเข็มเจาะเปนโครงสรางกันดิน

Page 28: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

การขาดเสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดินทีต่ัง้อยูในชั้นดินเหนียวออน

Page 29: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

6.3.1 Cantilever Sheet Pile Wall

กําแพงกันดินประเภทนี้มักถูกนํามาใชเมื่อดินถมดานหลังเข็มพืดมีความสูงไมมากนัก เสถียรภาพของ

เข็มพืดชนิดนี้ขึ้นอยูกับความตานทานที่สภาวะ Passive ของดินใตระดับผิวดิน (Dredge line)

ความดนัดนิดานขางที่กระทําตอ Cantilever sheet pile wall

Page 30: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

การออกแบบเข็มพืดโดยทั่วไปมักทําโดยวิธีที่เรียกวา

Simplification ซึ่งแทนแรงลัพธที่สภาวะ Passive ใตจุด

O ดวยแรง R กระทําที่จุด C (อยูต่ํากวาจุด O เล็กนอย) ซึ่ง

จุด C นี้อยูที่ความลึก d ใตระดับดินขุด ความลึก d สามารถ

หาไดโดยอาศัยหลักสมดุลของโมเมนตรอบจุด C โดย

พิจารณาคาแรงตานทานดานหนาเข็มพืดเทากับแรงตานทาน

ที่สภาวะ Passive (Pp) หารดวยอัตราสวนปลอดภัย ดังนั้น

คาระยะฝง (Depth of embedment) ของเข็มพืดที่

ตองการจึงควรมีคาไมนอยกวา 1.2d แรง R สามารถหาได

โดยอาศัยหลักสมดุลในแนวนอน

Page 31: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

6.3.2 Anchored Sheet Pile Wall

เมื่อ Backfill หลังกําแพงเข็มพืดมีความสูงมาก (เกินกวา 6 เมตร) อาจมีการติดตั้งตัวเพิ่มความมั่นคง

ซึ่งเรียกวาตัวค้ํา (Tie-back or Prop) ที่ดานบนของเข็มพืดเปนชวงๆ การทําเชนนี้จะเปนการประหยัดกวา

การใช Cantilever sheet pile wall กําแพงกันดินระบบนี้เรียกวา Anchored sheet pile wall

วิธีการคํานวณหาเสถียรภาพของกําแพงกันดินชนิดนี้มีดวยกัน 2 วิธีคือ Free earth support

method และ Fixed earth support method วิธี Free earth support method จะเปนวิธีที่หา

ระยะฝงที่นอยที่สุดที่ไมทําใหเกิดการหมุนในตัวเข็มพืด ดังนั้น จุดรองรับที่ปลายเข็มพืดถูกพิจารณาเปนแบบ

หมุด (Pin)

Page 32: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

การกระจายของการเสียรูปและโมเมนตของ Anchored sheet pile wall

(a) Free earth support method (b) Fixed earth support method

Page 33: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

Free Earth Support Method

วิธีการนี้จะสมมติวาความลึกของระยะฝงใตระดับการขุดออกของดิน (Excavation level or

Dredge line) ไมมากเพียงพอที่จะทําใหเกิดสภาวะอยูกับที่ (Fixity) ที่จุดปลายของเข็มพืด ดังนั้น เข็มพืด

จะอิสระตอการหมุนที่จุดปลาย ลักษณะการวิบัติจะเปนการหมุนรอบจุดตอของตัวค้ํา (Tie) กับเข็มพืดที่จุด A

Page 34: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.3 6.3 เข็มพืดเข็มพืด (Sheet pile)(Sheet pile)

Free Earth Support Method

สิ่งที่สําคัญที่สุดในการออกแบบคือโมเมนตตานการหมุนรอบจุด A ตองมากกวาโมเมนตที่ทําใหเกิดการ

หมุน ระยะฝงที่ตองการ (d) สามารถหาไดโดยหลักการที่วาผลรวมของโมเมนตรอบจุด A ตองเทากับศูนย

การวิเคราะหลักษณะนี้จะเกี่ยวของกับการแกปญหาของตัวแปรยกกําลังสอง หลังจากไดคา d แรงที่กระทําใน

ตัวค้ํา (T) สามารถคํานวณไดโดยอาศัยหลักสมดุลของแรงในแนวนอน (ผลรวมของแรงทั้งหมดในแนวนอน

ตองเทากับศูนย) และทายสุดการออกแบบหนาตัดของเข็มพืดสามารถกระทําไดโดยอาศัยแผนภาพการ

กระจายโมเมนต

ระยะฝงควรเปนคาที่เพิ่มขึ้นจากระยะ d อีก 20 เปอรเซ็นต เพื่อใหไดระยะฝงที่เพียงพอสําหรับสภาวะ

อยูกับที่ (Fixity) ระยะฝงควรมีคาไมนอยกวา 1.2d

Page 35: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4 6.4 แผงเขม็พืดที่มีค้ํายันหลายระดับแผงเขม็พืดที่มีค้ํายันหลายระดับ ( (Braced CutsBraced Cuts))

ชนิดของ Braced cut (a) การประยุกตใชของคาน (b) การประยุกตใชของเข็มพืด

กําแพงกันดินระบบนี้เหมาะกับงานขุด

ที่มีความลึกมาก เสถียรภาพของกําแพงกัน

ดินจะขึ้นอยูกับตัวค้ํายัน (Strut) ที่กระทํา

ตามขวางของดินขุด

Page 36: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

1) งานตอกแผงเข็มพืดเหล็ก

ก) งานปกแผงเข็มพืดเหล็ก

กําหนดแนวของแผงเข็มพืดเหล็ก โดยศึกษาจาก

แบบแผนที่โดยสังเขป (Lay Out)

ทํา Leg Guides ตามแนวที่เกิดขึ้น เพื่อให

แผงเข็มพืดเหล็กอยูในแนวที่ถูกตอง

ขุดหนาดินจนถึงระดับความลึกประมาณ 0.50 -

1.00 เมตร จากผิวดิน เพื่อชวยใหการปกแผง

เข็มพืดเหล็กลงในดินทําไดสะดวกขึ้น

Page 37: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ใช Crane ยกแผงเข็มพืดเหล็กเขามาในแนวของ Leg Guides แลวปลอยใหแผงเข็มพืดเหล็ก

จมลงดิน ดวยน้ําหนักของแผงเข็มพืดเหล็กเอง

Page 38: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ใช Crane ยกแผงเข็มพืดเหล็กแผนใหม

เขามาสอดในรองเขี้ยวของแผนแผงเข็ม

พืดเหล็กที่ไดปกลงไปแลว และปลอยให

แผงเข็มพืดเหล็กเคลื่อนตัวลงในดิน แลว

ทําเชนนี้ตอไปเรื่อยๆ

Page 39: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

1) งานตอกแผงเข็มพืดเหล็ก

ข) การตอกแผงเข็มพืดเหล็ก

ใชหัวของ Vibro Hammer จับที่ปลายแผงเข็มพืดเหล็กแลวทําการตอกลงไปในดิน ดวยระบบสั่น

Page 40: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ตอกเสาเข็มพืดเหล็กตามแนวที่กําหนด

Page 41: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

2) การติดตั้ง Wale

เริ่มตนโดยการกําหนดแนวระดับของ Wale โดยศึกษาจากขั้นตอนการทํางานของโครงการ และ

กําหนดระดับของ Wale โดยแบงขั้นตอนการติดตั้งดังนี้

ขุดดินออกจนถึงระดับที่สามารถทํางานได

ติดตั้งหูชาง (Bracket) เพื่อใชเปน Support ของ Wale

Page 42: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ติดตั้ง Wale หางจากเสาเข็มพืดเหล็กประมาณ 0.10 เมตร โดยยาวตอกันเปนแนวตรง และติดตั้ง

Cover plate บริเวณรอยตอ โดยใหมีระยะไมนอยกวา 0.50 เมตร

เมื่อติดตั้งชิ้นสวนเสร็จแลว ใหทําการเทคอนกรีตบริเวณชองวางระหวาง Wale กับเสาเข็มพืดเหล็ก

Page 43: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

3) การติดตั้งตัวค้ํายัน (Strut) Strut จะเปนค้ํายันซึ่งวางขวางกับ Wale และอยูในแนวระดับเดียวกันกับ Wale โดยทั่วไป Strut

ตัวบนสุดจะรับน้ําหนักในแนวแกนและน้ําหนักจาก Plat form สวน Strut ตัวลางสุดจะรับน้ําหนักตาม

แนวแกนเพียงอยางเดียว

Page 44: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

Page 45: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

4) การอัดแรงในค้ํายัน (Pre-loading)

การทํา Pre-loading ในตัวค้ํายันจะชวยลดการเคลื่อนตัวของดินดานขางและลดการเสียรูปแบบ

ยืดหยุน (Elastic deformation) ของค้ํายันได รวมทั้งยังชวยลดชองวางจากการติดตั้ง Bolt และ Nut

ในตัวค้ํายัน คาการอัดแรงควรอยูระหวาง 40 – 50 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักออกแบบ (Design load)

ขั้นตอนการ Pre-loading แบงไดดังนี้

Page 46: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ตองทําการอัดแรงตัวค้ํายันใหครบทุกตัว โดยการติดตั้งแมแรง (Kirin jack) ไวที่ตัวค้ํายัน

Page 47: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.1 6.4.1 ขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับขั้นตอนการติดตั้งแผงเข็มพืดเหล็กที่มีค้ํายันหลายระดับ

ประกอบ Bracket เขากับตัวค้ํายันดวย Bolt & Nut เพื่อรองรับกระบอกไฮดรอลิค

อัดแรงที่กระบอกไฮดรอลิค แลวถายแรงไปยัง Bracket ที่ยึดติดกับ Strut แรงจะถูกสงผานจาก

ตัวค้ํายันไปยัง Wale แตละดาน

Page 48: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.2 6.4.2 แรงดันดินดานขางในแรงดันดินดานขางใน Braced CutsBraced Cuts

กําแพงกันดินแบบ Cantilever sheet pile มีแนวโนมที่จะเกิดการหมุนที่ปลายของเข็มพืดเมื่อตานรับ

ดินถม และแรงดันดานขางสามารถประมาณไดโดยอาศัยทฤษฎีของ Rankine หรือCoulomb ลักษณะการ

กระจายความดันดานขางของ Cantilever sheet pile ไมสามารถนํามาใชกับ Braced cuts ได เนื่องจาก

ลักษณะการเสียรูปที่ความแตกตาง การเสียรูปของกําแพงกันดินระบบ Braced cuts จะเพิ่มขึ้นตามความลึก

(a) กําแพงกันดนิ (b) Braced cut

Page 49: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.2 6.4.2 แรงดันดินดานขางในแรงดันดินดานขางใน Braced CutsBraced Cuts

ความดันดินดานขางที่ดานบนจะมีคาใกลเคียงกับคาที่สภาวะอยูนิ่ง (At rest) เนื่องจากเกิดการเคลื่อนตัว

นอย ในขณะที่ ดานลางของกําแพงกันดินจะเกิดการเคลื่อนตัวมาก และสงผลใหความดันดินดานขางมีคา

ใกลเคียงกับคาความดันดานขางของ Rankine active earth pressure

ความดันดินดานขางที่สภาวะ Active ที่ระดับเหนือระดับดินขุด (Excavation level) มีคามากกวาคาที่

คํานวณไดจากทฤษฎีของ Rankine มาก และเริ่มมีคาใกลเคียงกันที่ระดับดินต่ํากวาระดับดินขุด ในขณะที่

ความดันดินที่สภาวะ Passive ที่ไดจากการคํานวณและการวัดมีคาใกลเคียงกันมาก

Page 50: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.2 6.4.2 แรงดันดินดานขางในแรงดันดินดานขางใน Braced CutsBraced Cuts

การกระจายของความดันดินดานขางที่สภาวะ Active และ Passive ที่ไดจากการวัดและจากการคํานวณตามทฤษฎีของ Rankine (Balasubramaniam, 1996)

Page 51: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.2 6.4.2 แรงดันดินดานขางในแรงดันดินดานขางใน Braced CutsBraced Cuts

Peck (1969) ไดทําการทดสอบและบันทึก

ผลการกระจายความดันดินดานขาง และแนะนํา

เสนขอบเขตความดันดิน (Design pressure

envelopes) สําหรับการออกแบบ Braced cuts

ในทรายและในดินเหนียว แสดงผลการกระจาย

ความดันดินดานขางที่เกิดขึ้นจริง เปรียบเทียบกับ

คาที่คํานวณไดจากเสนขอบเขตความดันดิน จะเห็น

ไดวาความดันดินที่เกิดขึ้นจริงมีคาใกลเคียงกับคาที่

คํานวณไดจากเสนขอบเขตความดันของ Peck

Page 52: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.3 6.4.3 Braced Cuts Braced Cuts ในดินทรายในดินทราย

เสนขอบเขตความดันดินสําหรับ Braced cuts ในดินทราย ความดัน pa หาไดจากสมการดังตอไปนี้

0.65a ap HKγ=

เมื่อ γ คือหนวยน้ําหนักของดิน H คือความสูงของดินขุด และ Ka

คือสัมประสิทธิ์ความดันดินดานขางของ Rankine ซึ่งเทากับ

tan2(45° - φ′ / 2)

Page 53: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.4 6.4.4 Braced Cuts Braced Cuts ในดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลางในดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลาง

เสนขอบเขตความดันดินสําหรับดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลาง ซึ่งเหมาะสําหรับสภาวะที่

เมื่อ Su คือกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา (Undrained shear strength)

ความดัน pa จะเปนคาที่มากกวาระหวาง

0.75H

0.25H

pa

4a up H Sγ= −

0.3ap Hγ=

Page 54: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.5 6.4.5 Braced cuts Braced cuts ในดินเหนียวแข็งในดินเหนียวแข็ง

เสนขอบเขตความดันดินดานขางของดินเหนียวแข็ง ซึ่งเสนขอบเขตนี้เหมาะสําหรับสภาพที่

ความดัน pa คํานวณไดจาก

0.3ap Hγ=

/ 4.0uH Sγ ≤

Page 55: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.6 6.4.6 ขอจํากัดสําหรับการใชเสนขอบเขตความดันดินของขอจํากัดสําหรับการใชเสนขอบเขตความดันดินของ PeckPeck

เมื่อจะใชเสนขอบเขตความดันดินนี้ในการคํานวณ ควรพึ่งตระหนักวา

1) เสนขอบเขตความดันดินเหลานี้เหมาะสําหรับงานขุดที่มีความลึกมากกวา 6.0 เมตร

2) เสนขอบเขตความดันดินเหลานี้สรางขึ้นจากสมมติฐานที่วาระดับน้ําใตดินอยูต่ํากวาระดับขุด

3) สําหรับกรณีของงานขุดในทราย พิจารณาวาทรายอยู ในสภาพระบายน้ํ าได (Drained

condition) เพราะฉะนั้น ความดันน้ําสวนเกิน (Excess pore pressure) เทากับศูนย

4) สําหรับกรณีของงานขุดในดินเหนียว พิจารณาวาดินเหนียวอยูในสภาวะไมระบายน้ํา การวิเคราะห

จะตองใชพารามิเตอรกําลังรวม (Total strength parameters)

Page 56: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.7 6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

1) ตัวค้ํายัน (Strut)

ในการกอสรางทั่วไป ตัวค้ํายันถูกติดตั้งใหมีระยะหางในแนวดิ่งอยางนอย 2.75 เมตร ตัวค้ํายันจะทํา

หนาที่เหมือนเสาในแนวนอนที่รับแรงอัด ความสามารถในการรับน้ําหนักจะขึ้นอยูกับอัตราสวนความชะลูด

(Slenderness ratio, l/r) สําหรับการกอสรางในดินเหนียว ตัวค้ํายันตัวแรกควรอยูที่ระยะต่ํากวาผิวดิน

นอยกวาโซนแรงดึง (Tension crack, z0) ซึ่งเทากับ 2Su / γ เพื่อปองกันแรงดันน้ําที่อาจจะเพิ่มขึ้นเมื่อ

มีน้ําขัง

Page 57: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.7 6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

1) วาดเสนขอบเขตความดันดินสําหรับ Braced cut พรอมทั้งแสดงตําแหนงของตัวค้ํายัน

ขั้นตอนการออกแบบตัวค้ํายัน (Strut)สามารถกระทําดังนี้

Page 58: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.7 6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

2) คํานวณหาแรงปฏิกิริยาที่กระทําตอตัวค้ํายัน โดย

พิจารณาเปนแบบคานยื่น (Cantilever beam)

สําหรับตัวค้ํายันตัวบนสุดและตัวลางสุด และ

พิจารณาเปนคานธรรมดา (Simple beam)

สําหรับตัวค้ํายันระหวางตัวบนสุดและตัวลางสุด

แรงปฏิกิริยาเหลานี้คือ A1, B1, B2, C1, C2,

และ D

Page 59: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.7 6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

3) แรงกระทําในตัวค้ํายันสามารถหาไดดังนี้

FA = (A)(s)

FB = (B1 + B2)(s)

FC = (C1 + C2)(s)

FD = (D)(s)

เมื่อ FA, FB, FC, และ FD คือแรงที่กระทําตอตวัค้าํยันแตละตัวที่ระดบั A, B, C, และ D

ตามลําดบั และ s คอืระยะหางในแนวนอนของตัวค้าํยัน

4) เมื่อทราบแรงที่กระทําตอตัวค้ํายันแตละตัวแลว ทําการเลือกหนาตัดของตัวค้ํายันตามมาตรฐาน

การออกแบบโครงสรางเหล็ก

Page 60: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.7 6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

2) เข็มพืด

ขั้นตอนตอไปนี้จะเปนขั้นตอนการออกแบบเข็มพืด

1) สําหรับแตละชิ้นสวนคํานวณหาคาโมเมนตดัด (Bending moment) สูงสุด

2) หาคาโมดูลัสหนาตัดยอมให (Allowable section modulus, Z ) ของเข็มพืดที่ตองการจาก

3) เลือกเข็มพืดที่มีคาโมดูลัสหนาตัดมากกวาหรือเทากับคาโมดูลัสหนาตัดยอมให

เมื่อ Mmax คือโมเมนตดัดสูงสุด (Maximum bending moment) และσall คือความเคน

ยอมใหของวัสดุที่ใชทําเข็มพืด

maxall

MZ σ=

Page 61: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.7 6.4.7 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

3) Wales

Wales อาจถูกพิจารณาเปนชิ้นสวนที่ตอเนื่อง โมเมนตดัดสูงสุดที่กระทําตอ Wales (โดยการสมมติ

วา Wales ยึดติดกับตัวค้ํายัน) คือ

เมื่อไดโมเมนตดัดสูงสุดที่กระทําตอ Wales แตละระดับแลว ทําการเลือก Wales ที่มีโมดูลัสหนาตัด

ใหญกวาหรือเทากับ

( )2max 8

A sM

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠=

21 2

max 8C C s

M⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

+=

ที่ระดับ A:

ที่ระดับ C:

21 2

max 8B B s

M⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

+=

( )2max 8

D sM

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠=

ที่ระดับ B:

ที่ระดับ D:

maxall

MZ σ=

Page 62: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวม (Heave) ที่ระดับดินขุด (Excavation) ควรมีคาไมนอยกวา

1.20 สําหรับระบบ Braced cut ที่มีความลึกกนบอมากเมื่อเปรียบเทียบกับความกวางกนบอ Terzaghi

(1943) ไดวิเคราะหลักษณะการอูดบวมของดินใตระดับดินขุด โดยสมมติระนาบวิบัติ น้ําหนักในแนวดิ่งตอ

ความกวาง 1 หนวย ที่ฐานของดินขุดตลอดแนว bd และ af คือ

1 1 uQ qB HB S Hγ= + −

เมื่อ B1 = 0.7B และ Su คือกําลังตานทาน

แรงเฉือนของดินเหนียว (φ = 0)

Page 63: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

น้ําหนัก Q อาจถูกพิจารณาวาเปนน้ําหนักตอความกวาง 1 หนวย บนฐานรากที่ยาวตอเนื่องที่ระดับ bd

และ af และมีความกวางของฐาน (B1) เทากับ 0.7B โดยอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทานของ Terzaghi

กําลังรับแรงแบกทานตอความกวาง 1 หนวย ของฐานรากคือ

1 15.7u u c uQ S N B S B= =

11 1

5.7 4.00.7 0.7

uu uu u

S BQ S BFS Q qB HB S H qB HB S Hγ γ= = =+ − + −

ดังนั้น อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมของดินใตระดับดินขุดคือ

Page 64: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

อัตราสวนปลอดภัยที่คํานวณไดนี้ตั้งอยูบนสมมติฐานที่วาชั้นดินเหนียวมีความสม่ําเสมอตลอดชวง

0.7B ใตระดับดินขุด ถาพบชั้นดินแข็งที่ระดับความลึก D จากระดับดินขุด โดยที่ระยะ D มีคานอยกวา

0.7B อัตราสวนปลอดภัยจะกลายเปน

5.7 uu

S DFS qD HD S Hγ= + −

u cS NFS H qγ= +

Bjerrum and Eide (1956) ไดศึกษาปญหาการอูดบวมของดินเหนียวใตระดับดินขุด และเสนอ

อัตราสวนปลอดภัยดังนี้

Page 65: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity factor, Nc) จะมีคาแปรผันตามอัตราสวนของ

H/B และ L/B เมื่อ L คือความยาวของดินขุด (Length of the cut)

Page 66: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

ในระบบ Braced cuts ที่กนบอมีความกวางมาก ดังเชน อาคารจอดรถใตดิน การตรวจสอบ

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมที่ระยะปลายเข็มพืดสามารถคํานวณโดยการสมมติระนาบการวิบัติดัง

แสดงในรูป น้ําหนักของดินในสวน abcd จะเปนแรงที่ทําใหเกิดการอูดบวม ในขณะที่ แรงตานทาน S จะ

พัฒนาขึ้นเพื่อตานการเคลื่อนตัว

D1

H

q

Excavation level

Soft clay

Strong soil

B1 = D1

D1

a d

b c

e

Scd

a d

b c

e

HB1

2Su

Sce

Page 67: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

พิจารณาแผนภาพอิสระ น้ําหนักดินภายในพื้นที่ abcd และ

น้ําหนักบรรทุกบนผิวดิน (Surcharge, q) ถูกตานรับโดยแรงตานทาน

S ตามระนาบ cd และ ce (Scd และ Sce) และแรงตานทานที่สภาวะ

Passive บนระนาบ be

q

Scd

a d

b c

e

HB1

2Su

Sce

แรงตานทานบนระนาบ cd และ ce คํานวณไดดังนี้

102

uu u

S BS S H S zπ= + −

เมื่อ z0 คือโซนแรงดึง ซึ่งมีคาเทากับ 2Su/γ

Page 68: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

ในที่นี้จะพบวา σv มีคาเทากับศูนย เนื่องจากไมมีน้ําหนักกดทับ

ในบอเหนือระดับปลายเข็มพืด ความตานทานรวมที่สภาวะ Passive

(Total passive earth pressure) สามารถคํานวณไดจาก

2p uSσ =

1 1

1

2 2 2 /u u u uS B S H S S BFS

H q B

γ π

γ

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

+ − +=

+

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมสามารถคํานวณไดโดยการ

พิจารณาสมดุลการหมุนรอบจุด b

q

Scd

a d

b c

e

HB1

2Su

Sce

Page 69: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

ถาคํานวณแลวพบวาอัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมมีคาต่ํากวา 1.20 ผูออกแบบควรทําการ

ฝงเข็มพืดใหลึกลงอีก โดยระยะฝง (D2) ควรมีคาไมนอยกวา (2/3)D1 ดังแสดงในรูป

Page 70: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.8 6.4.8 การออกแบบสวนประกอบของการออกแบบสวนประกอบของ Braced cuts Braced cuts

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมของระบบ Braced cuts ในชั้นดินที่มีหลายชั้นสามารถคํานวณ

ไดเชนเดียวกับสมการ

เพียงแตความดันดินที่สภาวะ Passive ภายในบอขุดบนระนาบ be จะมีคาเพิ่มขึ้นเปน 2Su + γD2

ดังนั้น อัตราสวนปลอดภัยสามารถคํานวณไดดังนี้

1 2 2 1 2

1 2

2 2 2 /u u u uS D D S H D S S D DFS

H q D D

γ π

γ

⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠⎝ ⎠

− + + − + −=

+ −

1 1

1

2 2 2 /u u u uS B S H S S BFS

H q B

γ π

γ

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

+ − +=

+

Page 71: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.9 6.4.9 เสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทรายเสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทราย

งานดินขุดในชั้นทรายมีเสถียรภาพที่ระดับดินขุด

(Bottom of excavation) สูง เมื่อระดับน้ําดานดิน

ขุดอยูสูงกวาระดับน้ําใตดิน แตถามีการสูบน้ําออกจาก

บริเวณดินขุด (Dewatering) อัตราสวนปลอดภัยจะมี

คาลดลง และจําเปนตองตรวจสอบอัตราสวนปลอดภัย

ตานการเกิดทอกลวง (Piping) หรือทรายเดือด

(Boiling) ซึ่งทําโดยการวาดตาขายการไหลเพื่อหาคา

ความลาดเชิงชลศาสตรสูงสุด (iext(max)) ที่เกิดขึ้นที่จุด

A และ B

Page 72: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.9 6.4.9 เสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทรายเสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทราย

การหาคาความลาดเชิงชลศาสตรสูงสุด มีคาเทากับ

dext(max)

d

hN hi a N a= =

เมื่อ a คือความยาวของชิ้นสวนการไหล (Flow element) ที่จุด A หรือจุด B และ Nd คือจํานวนเสนสมะ

ศักยทั้งหมด

Page 73: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.9 6.4.9 เสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทรายเสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทราย

อัตราสวนปลอดภัยตานการเกิดทอกลวงคือ

( )c

ext max

iFS i=

เมื่อ ic คือความลาดเชิงชลศาสตรวิกฤติ (Critical hydraulic gradient) ซึ่งดินสวนใหญมีคา ic

อยูระหวาง 0.8 ถึง 1.1

Page 74: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.9 6.4.9 เสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทรายเสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทราย

อัตราสวนปลอดภัยตานทานการเกิดทอกลวงควรมีคาอยางนอย 1.5 โดยมีขั้นตอนดังนี้

1) หาคาโมดูลัส (m) จากคาของ 2L2/B

0.02 0.04 0.06 0.08 0.10

0.2

0.4

0.6

0.8

1.0

0

Modulus, m

2L2

B

(b)

2L1 =B

20 15 12 8 4 21

0.50

Page 75: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.9 6.4.9 เสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทรายเสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทราย

2) จากคาโมดูลัสและ 2L1/B หาคา (L2iext(max))/h

0.02 0.04 0.06 0.08 0.10 0.120

0.70

0.65

0.60

0.55

0.50

0.45

0.40

0

0.5

12412

816

20

Modulus, m(a)

2L1

B=

0.6

0.5

0.4

0.3

0.2

0.1

00.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2

2L1

B= 0

0.51

24

16

12

8

20

Modulus, m(b)

3) จากคา L2 และ h ที่ทราบ หาคา iext(max)

4) คํานวณหาอัตราสวนปลอดภัยจากสมการ( )c

ext max

iFS i=

Page 76: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

6.4.9 6.4.9 เสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทรายเสถียรภาพทีร่ะดับดินขุดในทราย

ชัยและคาซูโตะ (2546) เสนอวา ในทางปฏิบัติ อาจประมาณระยะฝงของเข็มพืดเหล็กในดินไดจาก

สมการตอไปนี้

1) เมื่อระดับน้ําใตดินสูงกวาระดับพื้นดิน 12

FS hd Hγ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

×≥ −′

12h FSd γ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

≥ −′2) เมื่อระดับน้ําใตดินต่ํากวาระดับพื้นดิน

Page 77: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

ขอมูล

1) กําแพงกันดินดังแสดงในรูป ถูกสรางจากคอนกรีตที่มีหนวยน้ําหนักเทากับ 24 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร

2) ดินเม็ดหยาบหลังกําแพงกันดินมีหนวยน้ําหนักเทากับ 19 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และพารามิเตอร

กําลังตานทานแรงเฉือนดังนี้ c′ = 0 และ φ′ = 30°

3) สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางกําแพงกัน

ดินกับดินใตฐานรากเทากับ 0.55

4) ดินใตฐานรากเปนดินทรายที่มีหนวยน้ําหนัก

เทากับ 20 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร และ

มุมเสียดทานภายในเทากับ 35 องศา ระดับ

น้ําใตดินอยูต่ํามาก

Page 78: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

จงตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพงกันดินนี้ โดยพิจารณาอัตราสวนปลอดภัยตาน

ก) การลื่นไถล (Sliding)

ข) การพลิกคว่ํา (Overturning)

ค) การวิบัติเนื่องจากกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) พรอมทั้งคํานวณการกระจายความดันดินใตฐานกําแพงกันดิน

วิธีทํา ความดนัดานขางที่สภาวะ Active ดานหลังของกําแพงกันดนิ คํานวณไดดังนี้

2 222 2

cos cos cos1 cos2 cos cos cos− − ′=+ − ′

aP H β β φγ ββ β φ

Page 79: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

เมตร

6.0 0.6tan15 6.16= = + °=H BC

2 222 2

1 cos15 cos 15 cos 3019.0 6.16 cos152 cos15 cos 15 cos 30°− °− °= × × × °′°+ °− °aP

134.4= =′a aP P กิโลนิวตนัตอเมตร

Page 80: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

695.1372.3

104.41.2 + 1.2 + 0.6 = 3.034.7Pv

98.31.2 + 1.2 + (2/3)(0.6) = 2.8(19)(0.5)(6.16)(0.6) = 35.14

112.31.2 + 1.2 + (1/3)(0.6) = 2.6(24)(0.5)(0.6)(6) = 43.23

311.01.2 + 1.2/2 = 1.8 (24)(1.2)(6) = 172.82

69.1(2/3)(1.2) = 0.8(24)(0.5)(1.2)(6) = 86.41

โมเมนตตานทานการพลิกคว่ํา

(กิโลนิวตัน- เมตร/เมตร)

แขนของโมเมนตวัดจากจุด A

(เมตร)

น้ําหนักของสวนประกอบของแรง

(กิโลนิวตันตอเมตร)

สวนประกอบ

ของแรง

แรงในแนวนอนเนื่องจากแรงดันดานขางรวม

แรงในแนวดิ่งเนื่องจากแรงดนัดานขาง

cos15 134.4cos15 129.8= °= °=ahP P

sin15 134.1sin15 34.7= °= °=v aP P กิโลนิวตนัตอเมตร

กิโลนิวตนัตอเมตร

โมเมนตทีก่ระทําใหเกิดการพลิกคว่ํา (M0) = (129.8)(2.05) = 266.1 กิโลนิวตนั-เมตรตอเมตร

Page 81: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

ก) อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล

Sliding resistanceSliding forcesFS =

0.55 372.3 1.57 1.50129.8Sh

VFS Pμ ×= = = >∑

ข) อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํา

Resisting momentOverturing momentoFS =

695.1 2.61 1.50266.1oFS = = >

(O.K.)

(O.K.)

Page 82: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

ค) อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบัติเนื่องจากกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการ

กระจายความดันดินใตฐานกําแพงกันดนิ

ตาํแหนงของแรงลัพธ R ที่วัดจากจุด A

r oAM M Mx V V−= =∑ ∑ ∑

∑ ∑

695.1 266.1 1.15372.3x −= =

1.2 1.2 0.6 1.15 0.35 ( 0.5)2 6Be + += − = < = (O.K.)

Page 83: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

ความเคนที่เกิดขึ้นทีฐ่านของกําแพงกันดินสามารถหาไดดังนี้

yxx y

M xM yRI IAσ = ± ±

เมื่อ R = แรงลัพธในแนวดิง่ = 372.3 กิโลนิวตัน

A = พื้นที่หนาตดัของฐานกําแพง = (1)(3) = 3 ตารางเมตร

Mx = 0

My = R × e = (372.3)(0.35) = 130.3 กิโลนิวตัน-เมตร

3 1.52x= =

3 31 3 2.2512 12ybhI ×= = =

372.3 130.3 1.53 2.25σ ×= ±

124.1 86.7 210.8leftσ = + =

124.1 86.7 37.4rightσ = + = กิโลนิวตันตอตารางเมตร

กิโลนิวตันตอตารางเมตร

เมตร 4

เมตร

Page 84: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

ความกวางประสิทธิผลมีคาเทากับ 3.0 - 2(0.35) = 2.3 เมตร

ตัวแปรกําลังรับแรงแบกทานของ Vesic

tan 352 35tan 45 33.302qN e

π ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

° °= °+ =

2 33.30 1 tan35 48.03Nγ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + °=

( )11 2qu netq q N B Nγγ⎛ ⎞

⎜ ⎟⎝ ⎠

= − +′ ′ ′

( )1 20.0 2.3 48.03 1104.72u netq = × × × =

กําลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเทากับ

กิโลปาสคาล

Page 85: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.1 6.1

แรงแบกทานประลัยสุทธิเทากับ

1104.7 2.3 2540.7uQ = × =

2540.7 6.82 3.0372.0FS = = >

อัตราสวนปลอดภัยตานการวิบตัิเนื่องจากกําลังรับแรงแบกทานมคีาเทากับ

กิโลนิวตันตอตารางเมตร

(O.K.)

Page 86: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.2 6.2

จากรูป จงคํานวณหาความดันที่กระทําใตฐานของกําแพง

กันดิน อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํ า และ

อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล เมื่อหนวยน้ําหนักของ

วัสดุที่ใชทํากําแพงกันดินมีคาเทากับ 23.5 กิโลนิวตันตอ

ลูกบาศกเมตร หนวยน้ําหนักของดินถมมีคาเทากับ 18

กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร พารามิเตอรกําลังประสิทธิผล

มีคาดังนี้ c′ = 0 และ φ′= 38° มุมเสียดทานระหวาง

กําแพงกันดินกับดินถม และระหวางกําแพงกันดินกับดิน

ใตกําแพงกันดินมีคาเทากับ 25°

Page 87: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.2 6.2

วิธีทํา เนื่องจากดานหลังของกําแพงกันดินและระดับของดินถมทํามุมเอียง Ka จะตองหาจากทฤษฎีของ

Coulomb โดย α = 180° - 100° = 80°, φ = 38°, δ = 25°, และ β = 20° ดังนั้น

2

2

2

sin

sin sinsin sin 1

sin sin

aKα φ

φ δ φ βα α δ

α δ α β

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎝ ⎠⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

+=

+ −− +

− +

2

2

2

sin 80 380.39

sin 38 25 sin 38 20sin 80 sin 80 25 1

sin 80 25 sin 80 20

aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎝ ⎠⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

°+ °= =

°+ ° °− °° °− ° +

°− ° °+ °

21 0.39 18 6 1262aP = × × × = กิโลนิวตันตอเมตร กระทําที่ระยะหนึ่งในสามของ

ความสูง และทํามุม 25° ตั้งฉากกับผิวของกําแพงกันดิน หรือ 35° กับแนวนอน

Page 88: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.2 6.2

= 492.8= 293.4

8.80.50(4) (1)(0.75)(23.5) = 17.6

25.60.83(3) (0.5)(0.5)(5.25)(23.5) = 30.8

133.21.35(2) (0.70)(6.0)(23.5) = 98.7

151.72.05(1) (0.5)(1.05)(6)(23.5) = 74.0

173.52.40Pa sin 35o = 72.3

แรงในแนวดิ่ง

M0 = 206.42.0Pa cos 35o = 103.2

แรงในแนวนอน

โมเมนตตอความกวาง 1 เมตร (กิโลนิว

ตนั-เมตร)

แขนของโมเมนต

(เมตร)

แรงตอความกวาง 1 เมตร (กิโลนิวตนั)

V∑ rM∑

พิจารณาโมเมนตรอบจุด Toe ของกําแพงกันดนิ

Page 89: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.2 6.2

ระยะเยื้องศูนยเนื่องจากโมเมนตที่กระทําบนฐานของกําแพงกันดินเทากับ

2.75 492.8 206.4 0.402 293.4e −= − = 2.75 0.466 6B< = = เมตร เมตร (O.K.)

ความดนัทีม่ากที่สุดและนอยที่สุดที่เกิดใตฐานของกําแพงกันดินเทากับ

61V eq B B⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

= ±∑

293.4 1 0.872.75q ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= ±

200q= และ 14 กิโลนิวตันตอตารางเมตร

Page 90: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.2 6.2

อัตราสวนปลอดภัยตานทานการพลิกคว่ําเทากับ

อัตราสวนปลอดภัยตานทานการลื่นไถลเทากับ

ro

o

MFS M=∑

492.8206.4oFS =

2.39oFS =

tans

h

VFS Pδ=∑

293.4tan25103.2sFS °=

1.33sFS =

Page 91: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.3 6.3

จงตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพงกันดินดังแสดงในรูป ตาน (ก) การลื่นไถล และ (ข) การพลิกคว่ํา โดย

ใชทฤษฎีของ Rankine

1.0 m

2.0 m

3.5 m

0.5 m

Sand = 20 kN/m3 ’ = 40o,

= 30o

C

BA0.5 m

D

Sand = 18 kN/m3

’ = 30o

= 24 kN/m3

C

B

W4

W2

W3

W1

x1x2

x3

x4

D

A

x1 = 0.5 mx2 = 1.25 mx3 = 1.75 mx4 = 2.5 m

(a) Cantilever wall (b) Forces on cantilever wall

87.8 kN/m

103.5 kN/m

Page 92: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.3 6.3

วิธีทํา สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active บนระนาบ BC มีคาเทากับ

2 30tan 45 0.3332aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

21 0.333 18.0 6.0 107.92aP ⎛ ⎞⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

= =

2 40tan 45 4.5992pK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °+ =

21 4.599 20.0 1.5 103.52pP ⎛ ⎞⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠

= =

แรงดันดินที่สภาวะ Active เทากับ

กระทําที่ระยะเทากับ 6/3 = 2 เมตร จากฐานกําแพงกันดิน

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive บนระนาบ DA มีคาเทากับ

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เทากับ

กิโลนิวตันตอเมตร

กระทําที่ระยะเทากับ 1.5/3 = 0.5 เมตร จากฐานกําแพงกันดิน

กิโลนิวตันตอเมตร

Page 93: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.3 6.3

ก) อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถล

น้ําหนักบรรทุกที่กระทาํบนฐานรากมีคาดงันี้

1 1.0 1.0 20.0 20.0W = × × =

2 0.5 5.5 24.0 66.0W = × × =

3 0.5 3.5 24.0 42.0W = × × =

4 2.0 5.5 18.0 198.0W = × × =

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

แรงเสียดทานใตฐานรากเทากับ

อัตราสวนปลอดภัยตานการลื่นไถลเทากับ

228.3 2.60 1.587.8SFS = = >

20.0 42.0 66.0 198.0 tan35 228.3S ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + + + × °= กิโลนิวตันตอเมตร

(O.K.)

Page 94: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.3 6.3

ข) อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ํา

โมเมนตทีก่อใหเกิดการพลิกคว่ําเทากับ

กิโลนิวตัน-เมตรตอเมตร

โมเมนตตานการพลิกคว่ําเทากับ

อัตราสวนปลอดภัยตานการพลิกคว่ําเทากับ

0687.8 175.63 3a

HM P= × = × =

1 1 2 2 3 3 4 4 3r pADM W x W x W x W x P= + + + + ×

20.0 0.5 66.0 1.25 42.0 1.75 198.0 2.5 103.5 0.5rM ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= × + × + × + × + ×

862.7rM =

862.7 4.91 1.5175.6OFS = = >

กิโลนิวตัน-เมตรตอเมตร

(O.K.)

Page 95: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.4 6.4

จากรูป จงคํานวณหาระยะฝงยึด (d) และความยาวของเข็มพืดที่ตองการ เพื่อใหไดอัตราสวนปลอดภัย

เทากับ 2.0

Page 96: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.46.4

วิธีทํา 2 35tan 45 0.2712aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− = 1 3.6900.271pK = =

20.94 + 2.76d0.27177.28 + (20 - 9.81) d

= 77.28 + 10.19d

(4.27 + d)

20.940.27118.1 × 4.27 = 77.284.27

00.27100

σ′a = Ka σ′v(กิโลปาสคาล)

Kaσ′v(กิโลปาสคาล)

ความลึก

(เมตร)

18.8d3.69(20 - 9.81)d/2 = 5.09d(4.27 + d)

03.6904.27

σ′p= Kp σ′v(กิโลปาสคาล)

Kpσ′v(กิโลปาสคาล)

ความลึก

(เมตร)

การกระจายความดันดินดานขางในสภาวะ Active

การกระจายความดันดินดานขางในสภาวะ Passive

Page 97: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.4 6.4

Page 98: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.4 6.4

เนื่องจากระดับน้ําใตดินที่ดานหนาและหลังเข็มพืดอยูที่ระดับเดียวกัน จึงไมจําเปนตองพิจารณาแรงดัน

น้ําในการคํานวณสมดุลรอบจุด O แรงและแขนของโมเมนตรอบจุดปลายของเข็มพืดแสดงดังตาราง

d/3P4 = 0.5 × 18.78d × d = 9.39d2

d/3P3 = 0.5 × 2.76d × d = 1.38d2

d/2P2 = 20.94d

d + (4.27/3)P1 = 0.5 × 20.94 × 4.27 = 44.71

แขนของโมเมนตรอบจุด O (เมตร)แรง (กิโลนวิตันตอเมตร)

แรงและแขนของโมเมนตรอบจุด O

Page 99: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.4 6.4

+ ΣMO = 0

2 24.2744.71 20.94 1.38 9.39 03 2 3 3d d dd d d d

⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠

× + + × + × − × =

3 22.67 10.47 44.71 63.64 0d d d− + + + =

1.2 6.87 8.24× =

8.24 4.27 12.51+ =

6.87d = เมตร

ดังนั้น ระยะฝงที่ตองการคือ

ความยาวทั้งหมดของเข็มพืด คือ

เลือกใชเข็มพืดยาว 12.50 เมตร

เมตร

เมตร

Page 100: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.5 6.5

กําแพงกันดินตัวหนึ่งถูกสรางโดยใชเข็มพืดแบบ Anchored sheet pile ดังแสดงในรูป หนวยน้ําหนัก

ของดินเหนือและใตระดับน้ําใตดินมีคาเทากับ 17 และ 20 กิโลนิวตันตอลูกบาศกเมตร ตามลําดับ

พารามิเตอรกําลังประสิทธิผลมีคาดังนี้ c′ = 0 และ φ′= 36° จงหาระยะฝงของเข็มพืดเพื่อใหได

อัตราสวนปลอดภัยสําหรับแรงตานทานที่สภาวะ Passive เทากับ 2.0 และหาแรงในเคเบิล ถาระยะหาง

ระหวางเคเบิลในแนวนอนเทากับ 2 เมตร

Page 101: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.56.5

วิธีทํา

0Tie = - T

2d/3 + 7.3 (4) (-0.5 × 3.85 × 10.2 × d2)/FS = - 9.82d2

2d/3 + 6.5(3) 0.5 × 0.26 × 10.2 × (d + 2.4)2 = 1.33d2 + 6.36d + 7.64

d/2 + 6.1(2) 0.26 × 17 × 6.4 × (d + 2.4) = 28.3d + 67.9

2.77(1) 0.5 × 0.26 × 17 × 6.42 = 90.5

แขนของโมเมนต (เมตร)แรงตอความยาว 1 เมตร (กิโลนิวตัน)

จากรูปการกระจายความดันดานขาง เนื่องจากระดับน้ําใตดินทางดานหนาและหลังเข็มพืดอยูที่ระดับ

เดียวกัน ดังนั้นไมจําเปนตองคํานึงถึงผลของระดับน้ําใตดิน ขั้นตอนการคํานวณคือพิจารณาผลรวม

ของโมเมนตรอบจุด A เทากับ 0 แรงและแขนของโมเมนตตางๆ แสดงในตาราง

สําหรับ φ′ = 36°

2 36tan 45 0.262aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= − = 2 36tan 45 3.852pK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= + =

Page 102: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.56.5

โดยการพิจารณาผลรวมโมเมนตรอบจุด A เทากับ 0 จะได

ดังนั้น ระยะฝงที่ตองการคือ 1.2d = 6.29 เมตร

แรงดึงในสายเคเบิลคํานวณหาโดยใชหลักการสมดุลของแรงลัพธในแนวนอน ดังนี้

กิโลนิวตัน

เมตร

ดังนั้น แรงในแตละเคเบิลเทากับ 2 × 144.6 = 289 กิโลนิวตัน

3 25.66 44.7 253.0 714.2 0d d d− − + + =

3 27.9 44.7 126.3d d d+ − =

5.24d =

90.5 216.2 77.5 269.6 0T+ + − − =

144.6T =

Page 103: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.6 6.6

จงออกแบบความยาวของเข็มพืดสําหรับกําแพงเข็มแบบสมอยึด (Anchored Sheet Pile) ดังรูป

กําหนดใหใชอัตราสวนปลอดภัยเทากับ 2.0 สําหรับความดันที่สภาวะ Passive

วิธีทํา

2 30tan 45 0.3332aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

2 40tan 45 0.2172aK⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

°= °− =

1 4.6080.217pK = =

ดิน 1

ดิน 2

Page 104: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.6 6.6

การกระจายความดันดินที่สภาวะ Active

17.19 + 2.24d0.2278.1 + 10.19d9.81 × (6 + d)= 58.9 + 9.81d

137 + 20d-(7 + d)

17.190.2278.158.9137+7

25.780.3378.19.81 × 6 = 58.917 + (20 × 6) = 137-7

5.610.3317017-1

00.330000

σ′a= Ka σ′v(กิโลปาสคาล)

Kaσ′v(กิโลปาสคาล)

u

(กิโลปาสคาล)σv

(กิโลปาสคาล)

ความลึก

(เมตร)

23.46d4.6/FS

= 4.6/2 = 2.3

10.19d9.81 × (6 + d)= 9.81d + 58.86

20d + (9.81 × 6)= 20d + 58.86

d

σ′p = Kpσ′v(กิโลปาสคาล)

Kpσ′v(กิโลปาสคาล)

u

(กิโลปาสคาล)σv

(กิโลปาสคาล)

ความลึก

(เมตร)

การกระจายความดันที่สภาวะ Passive

Page 105: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.6 6.6

จากผลการคํานวณการกระจายความดันประสิทธิผลที่สภาวะ Active และ Passive ลักษณะการกระจาย

ความดันประสิทธิผลดานหนาและหลังเข็มพืดสามารถสรุปไดดังรูป

Page 106: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.6 6.6

เนื่องจากระดับน้ําใตดินทั้งดานหนาและดานหลังเข็มพืดอยูที่ระดับเดียวกัน ดังนั้น จึงไมแสดงการ

กระจายของความดันน้ําในแผนภาพอิสระ แรงที่กระทําตอเข็มพืด และแขนของโมเมนตรอบจุด Tie rod

สามารถแสดงไดดังนี้

0Tie Rod = -T

6 + 2d/3 = 6 + 0.67dP6 = -0.5 × 23.46d × d = -11.73d2

6 + 2d/3 = 6 + 0.67dP5 = 0.5 × (17.2 + 2.24d - 17.2) × d = 1.12d2

6 + d/2 = 6 + 0.5dP4 = 17.19d

(2/3) ×6 = 4P3 = 0.5 × (25.78 - 5.61) × 6 = 60.49

3P2 = 5.61 × 6 = 33.66

-0.33P1 = 0.5 × 5.61 × 1 = 2.81

แขนของโมเมนตวัดจากระดับ Tie Rod (เมตร)แรงทีก่ระทําตอเข็มพืด (กิโลนิวตนัตอเมตร)

Page 107: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.6 6.6

+ ΣMO = 0

2

2

2.81 0.33 33.66 3 60.49 4 17.19 6 0.5 1.12 6 0.67

11.73 6 0.67 0

d d d d

d d

⎡ ⎤⎡ ⎤ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎢ ⎥⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎣ ⎦⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

− × + × + × + × + + × +

+ − × + =

2 2 3 2 30.93 100.98 242.4 103.2 8.6 6.72 0.75 70.38 7.86 0d d d d d d− + + + + + + − − =

3 27.11 55.06 103.2 342.45 0d d d+ − − =

3 27.74 14.51 48.17 0d d d+ − − =

2.91d = เมตร จากระดับดินขุด

เมตร1.2 2.91 7 10.5⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= × + =ดังนั้น ความยาวเข็มพืดที่ตองการเทากับ

Page 108: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

ระบบ Braced Cuts ในรูป เปนชั้นดินเหนียว

ออนถึงแข็งปานกลาง ระยะหางระหวางค้ํายัน

เทากับ 4.0 เมตร ศูนยกลางถึงศูนยกลาง จง

คํานวณหาแรงที่กระทําตอตัวค้ํายัน A, B และ

C และอัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวม เมื่อ

ความยาวของค้ํายันมีคานอยเมื่อเปรียบเทียบกับ

ความลึกของระดับดินขุด

Page 109: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.76.7

วิธีทํา

ดังนั้น ความดันที่กระทําตอเข็มพืดคือ 62.24 กิโลปาสคาล

โดยอาศัยเสนขอบเขตความดันดิน ความดันดินที่กระทําบนเข็มพืดคํานวณไดดังนี้

17.29 12 4.32 4.096/2u

HSγ

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

×= = ≥

ดังนั้น คํานวณหา pa

กิโลปาสคาล 4 17.29 12 192 15.48a up H Sγ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= − = × − =

0.3 0.3 17.29 12 62.24ap Hγ= = × × = กิโลปาสคาล

Page 110: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

การกระจายความดันดินดานขางแสดงดังรูป จากการพิจารณาขอตอที่จุด A, B, C และ D เปนบานพับ

จะไดแผนภาพอิสระของชิ้นสวนตางๆ

Page 111: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

จากรูป (a)

@ 0BM =∑

1 3 1.562.24 3 1.5 1.5 62.24 3.0 02 3 2 A⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎡ ⎤⎢ ⎥ ⎡ ⎤⎜ ⎟ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎢ ⎥⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎣ ⎦⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎣ ⎦⎢ ⎥⎣ ⎦

× × × + + × × − × =

101.14A= กิโลนิวตันตอเมตร

0xF =∑

11 1.5 4.5 62.24 101.142B⎡ ⎤

⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠⎢ ⎥⎣ ⎦

= × + × −

1 85.58B = กิโลนิวตันตอเมตร

Page 112: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

จากรูป (b)

@ 0CM =∑

กิโลนิวตันตอเมตร

กิโลนิวตันตอเมตร

0xF =∑

2 11 3 62.24 93.362B C= = × × =

จากรูป (c)

0xF =∑

4.53 4.5 62.24 02D⎡ ⎤

⎡ ⎤ ⎢ ⎥⎢ ⎥ ⎢ ⎥⎣ ⎦ ⎢ ⎥⎣ ⎦

× − × × =

210.06D=

2 4.5 62.24 210.06 70.02C ⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

= × − = กิโลนิวตันตอเมตร

Page 113: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

ดังนั้น

101.14 4 404.56AF ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= × =

85.58 93.36 4 715.76BF ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + × =

93.36 70.02 4 653.52CF ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + × =

210.06 4 840.24DF ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= × =

กิโลนิวตัน

48.0 5.14 1.1917.29 12FS ×= =×

อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมคํานวณไดโดยอาศัยสมการของ Bjerrum and Eide (1956) และไม

พิจารณาระยะฝงของเข็มพืดใตดินขุด (คาที่ไดจะต่ํากวาความเปนจริง) ดังนั้น

ใกลเคียง 1.20 OK.

กิโลนิวตัน

กิโลนิวตัน

กิโลนิวตัน

Page 114: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.8 6.8

จากรูป (ระบบ Braced cuts สําหรับหองใตดิน) จงคํานวณหา

ก) แรงในตัวค้ํายัน A, B และ C เมื่อ

ระยะหางระหวางค้ํายันในแนวนอนเทากับ

2 เมตร

ข) โมเมนตที่เกิดใน Wales

ค) อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวม

Page 115: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.86.8

วิธีทํา เนื่องจากชั้นดินเหนียวมีคาหนวยน้ําหนักและกําลังตานทานแรงเฉือนตางกัน ดังนั้นตองคํานวณหาคา

หนวยน้ําหนักและกําลังตานทานแรงเฉือนเฉลี่ย ซึ่งมีคาดังนี้

1 1 2 2 3 31

av H H HHγ γ γ γ⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

= + +

1 1.6 2.5 1.7 1 1.8 2.5 1.76avγ⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎣ ⎦

= × + × + + =

1 1 2 2 3 3( )1

u u uu avS S H S H S HH⎡ ⎤⎢ ⎥⎣ ⎦

= + +

( )1 1.5 2.5 2.0 1.0 3 2.5 2.26u avS⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎣ ⎦

= × + × + × =

1.7 6.0 4.6 4.02.2u

HSγ ×= = >

ตันตอลูกบาศกเมตร

ตันตอตารางเมตร

ความดันดินที่กระทําตอเข็มพืดคํานวณไดดังนี้

4 4 2.21 1.7 6.0 1 1.41.7 6.0ua

Sp H Hγ γ

⎧ ⎫⎛ ⎞ ⎧ ⎫⎪ ⎪⎜ ⎟⎪ ⎪ ⎪ ⎪⎨ ⎬ ⎨ ⎬⎜ ⎟⎪ ⎪ ⎪ ⎪⎜ ⎟ ⎩ ⎭⎝ ⎠⎪ ⎪⎩ ⎭

×= − = × × − =×

0.3 0.3 1.7 6.0 3.1ap Hγ= = × × =

ตันตอตารางเมตร

ตันตอตารางเมตร

Page 116: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.8 6.8

ดังนั้น ความดันที่กระทําตอเข็มพืดมีคาเทากับ 3.1 ตันตอตารางเมตร และการกระจายความดันดิน

แสดงดังรูป

Page 117: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.8 6.8

ก) แรงในตัวค้ํายัน A, B และ C คํานวณไดดังนี้

@ 0BM =∑

ตันตอเมตร

1.5 m

0.5 m

2 m

A

B

B

C

A

B1

B2

C

3.1 t/ m2

3.1 t/ m2

2 m

1.5 m

จากแผนภาพอิสระสวนบนของรูป

12 3.1 1.0 0.5 1.5 3.1 1.52A⎛ ⎞

⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠

= × × + × × ×

2.52A=

@ 0AM =∑

112 3.1 1 1.5 1.5 3.1 0.52B

⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

⎝ ⎠

= × × + × × ×

1 2.91B = ตันตอเมตร

Page 118: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.8 6.8

@ 0CM =∑

ตันตอเมตร

1.5 m

0.5 m

2 m

A

B

B

C

A

B1

B2

C

3.1 t/ m2

3.1 t/ m2

2 m

1.5 m

จากแผนภาพอิสระสวนลางของรูป

@ 0BM =∑

ตันตอเมตร

2 2 3.1 3.5 0.25B ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= × ×

2 1.36B =

2 3.1 3.5 1.75C ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= × ×

9.50C =

Page 119: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

เนื่องจากระยะหางของตัวค้ํายันในแนวนอนเทากับ 2 เมตร ดังนั้น แรงในตัวค้ํายัน A, B และ C มีคาดังนี้

ตัน

ตัน

ตัน

2 2.52 5.04AF = × =

2 2.91 1.36 8.54BF ⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= + =

2 9.50 19.00CF = × =

ข) โมเมนตที่เกิดใน Wales เทากับ

2 21 1 2.52 2 1.268 8AM As= = × × =

2 21 2

1 1 2.91 1.36 2 2.138 8BM B B s⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟

⎝ ⎠⎝ ⎠= + = + × =

2 21 1 9.50 2 4.758 8CM Cs= = × × =

ตัน-เมตร

ตัน-เมตร

ตัน-เมตร

Page 120: Foundation Engineering - สำนักวิชา ...eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf · วิิศวกรรมฐานราก Foundation Engineering รองศาสตราจารย

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 6.7 6.7

ค) อัตราสวนปลอดภัยตานการอูดบวมเทากับ

OK.

1 1

1

2 2 2 /u u u uS B S H S S BFS

H q B

γ π

γ

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

+ − +=

+

2 2.2 4.0 2 2.2 6 2 2.2/1.7 2.2 4.0

1.7 6 4FS

π⎛ ⎞⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠⎝ ⎠⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

× × + × − × + × ×=

× ×

60.3 1.47 1.2040.8FS = = >