foundation engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/suksun/chapter1.pdfการทดสอบก าล...

75
วิศวกรรมฐานราก วิศวกรรมฐานราก F F oundation oundation E E ngineering ngineering รองศาสตราจารย รองศาสตราจารย ดร ดร . . สุข สุข สันติสันติหอพิบูลสุข หอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุร สุร นารี นารี

Upload: others

Post on 05-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

วิศวกรรมฐานรากวิศวกรรมฐานราก

FFoundation oundation EEngineeringngineering

รองศาสตราจารยรองศาสตราจารย ดรดร.. สุขสุขสันติ์สันติ์ หอพิบูลสุขหอพิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรสุรนารีนารี

Page 2: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

การสํารวจชั้นดนิและการทดสอบในสนามการสํารวจชั้นดนิและการทดสอบในสนาม11 (SITES INVESTIGATION AND IN(SITES INVESTIGATION AND IN--SITU TESTING)SITU TESTING)

Page 3: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.1 1.1 บทนําบทนํา

จากความรูในวิชาปฐพีกลศาสตร ทําใหไดทราบถึงขบวนการกําเนิดของดิน คุณสมบัติพื้นฐานและ

คุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน (กําลังตานทานแรงเฉือน การทรุดตัว และความซึมผานไดของน้ํา) กอนที่จะ

กลาวถึงการออกแบบในงานวิศวกรรมปฐพี วิศวกรจําเปนที่จะตองทราบลักษณะชั้นดินที่แทจริง และ

ผลทดสอบดินทั้งในหองปฏิบัติการและในสนามที่ความลึกตางๆ สําหรับการกอสรางโครงการใหญๆ ดังนั้น

การสํารวจชั้นดินอยางเหมาะสมเปนสิ่งที่จําเปนอยางมาก

Page 4: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.1 1.1 บทนําบทนํา

• เพื่อหาลักษณะชั้นดนิ

• เพื่อเก็บตัวอยางดินคงสภาพสําหรับหาคณุสมบตัิเชิงวิศวกรรม และตัวอยางดินแปรสภาพสาํหรับหาคุณสมบตัิพื้นฐานในหองปฏบิตัิการ

• เพื่อหาความลึกของชั้นดินแข็ง

• เพื่อทําการทดสอบในสนาม (In-situ tests) เชน การทดสอบการซึมผานไดของน้ํา การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนโดยใชใบพดั (Vane shear test) และการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน (Standard penetration test) เปนตน

• เพื่อสังเกตสภาพการระบายน้าํของชั้นดิน

• เพื่อวิเคราะหปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในสนาม โดยการสังเกตจากโครงสรางที่อยูใกลเคียง

จุดมุงหมายของการเจาะสํารวจชั้นดินมีดงันี้

Page 5: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

1) การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงสราง ขั้นตอนนี้จะทาํการรวมขอมูลที่จาํเปน เชน ชนิดของโครงสราง น้ําหนักจากเสาและกําแพง เปนตน

2) การรวบรวมขอมูลสภาพชั้นดนิทีม่ีอยู สามารถหาไดจากแผนที่สํารวจทางธรณี คูมือการทดสอบดนิของกรมทางหลวง และรายงานขอมูลดนิสําหรับโครงการกอสรางที่อยูใกลเคียง เปนตน

3) การสํารวจพื้นทีท่ี่จะทาํการกอสราง เชน ชนิดของพืชผักในสนาม การเปดหนาดนิ รอยแตกบนกําแพงของอาคารใกลเคียง เปนตน

4) การสํารวจพื้นที่อยางละเอียด ขั้นตอนนีป้ระกอบดวยการทําหลุมสํารวจหลายๆ หลุม และการเก็บตัวอยางคงสภาพและแปรสภาพที่ระดบัความลึกตางๆ เพื่อการจําแนกดวยตา และการทดสอบในหองปฏบิตัิการ

Page 6: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

ขอแนะนําสําหรับระยะหางระหวางหลุมเจาะ (Sower, 1979)

30-15150-60300-150บอยืม (สําหรับดินถมบดอัด)

30150300ทางหลวง

1-2 สําหรับแตละหนวย730ตอมอสะพาน หอสูง

3153060อาคารชั้นเดียวหรือสองชัน้

4153050อาคารหลายชั้น

ไมแนนอนธรรมดาสม่ําเสมอ

จํานวนหลุมเจาะอยางนอยระยะหางระหวางหลุมเจาะ (เมตร)

สภาพชั้นดินตามแนวราบ

โครงการ

Page 7: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

ขอแนะนําสําหรับการกําหนดความลึกหลุมเจาะสําหรับงานฐานรากตื้น (Sower, 1979)

6 (จํานวนชั้น)0.7กวางและหนัก

3 (จํานวนชั้น)0.7แคบและเบา

ความลึกหลุมเจาะ (เมตร)ประเภทของอาคาร

Page 8: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.2 แผนการเจาะและสํารวจชั้นดิน

การประมาณความลกึของหลุมสํารวจ

Page 9: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.3 1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจวิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธีที่งายที่สุดคือการใชสวาน สามารถใชเจาะหลุม

สํารวจไดไมลึกมากนัก (ประมาณ 3 ถึง 5 เมตร) สวาน

มือเหมาะสําหรับงานสรางอาคารเล็กๆ และงานกอสราง

ถนน

ดินตัวอยางที่ไดจากการเจาะสํารวจโดยวิธีนี้เปน

ดินตัวอยางแปรสภาพ (Disturbed samples) ซึ่ง

สามารถใชในการหาคุณสมบัติพื้นฐาน

สวานมือ (a) สวาน Iwan (b) สวาน Slip

Page 10: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.3 1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจวิธีการเจาะหลุมสํารวจ

สวานตอเนื่องแบบขั้นบันได

การเจาะสํารวจที่ระดับความลึกมาก วิธีที่นิยมใช

ทั่ ว ไ ป คื อ ก า ร ใ ช ส ว า น ต อ เ นื่ อ ง แ บ บ ขั้ น บั น ไ ด

(Continuous flight augers)

สวานประเภทนี้มีความยาวประมาณ 90 ถึง 150

เซนติเมตร ตอทอน ระหวางทําการเจาะ ทอนที่สอง

สามารถตอกับทอนที่หนึ่งได ทําใหเกิดความตอเนื่องใน

การเจาะ

Page 11: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.3 1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจวิธีการเจาะหลุมสํารวจ

กานเจาะ

หัวเจาะกระแทก

วิธีการเจาะแบบเปยก (Wash boring)

วิธีการที่ใชในการเจาะหลุมสํารวจโดยตอก

ปลอกกันดิน (Casing) ยาวประมาณ 2 ถึง 3

เมตร ลงไปในดิน

อุปกรณเจาะสํารวจประกอบดวย 1) หัวเจาะ

กระแทก (Chopping bit) และ 2) กานเจาะ

(Drill rod) ซึ่งจะเปนทอกลวงและใชประกอบกับ

หัวเจาะกระแทก กานเจาะยาวตั้งแต 0.5-3.0

เมตร และตอกันดวยขอตอเกลียว

Page 12: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.3 1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจวิธีการเจาะหลุมสํารวจ

การเจาะแบบเปยก (Wash boring)

Page 13: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.3 1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจวิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธีเจาะกระแทก (Percussion Drilling)

วิธีหนึ่งที่ใชเจาะหลุมทดสอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดินแข็งหรือหิน วิธีนี้คลายกับการเจาะแบบเปยก

(Wash boring) เพียงแตวาหัวเจาะจะมีขนาดใหญและหนักกวามาก ในบางกรณีอาจไมจําเปนตองใช

ปลอกกันดิน

Page 14: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.3 1.3 วิธีการเจาะหลุมสํารวจวิธีการเจาะหลุมสํารวจ

วิธี Rotary Drilling

ใชในการเจาะสํารวจสภาพหินและดิน อุปกรณที่ใชในการเจาะหลุม ประกอบดวย กานเจาะแบบกลวง

(Hollow drill rod) หลายๆ ทอนตอกัน โดยปลายลางติดกับหัวเจาะ (Bit) ซึ่งอาจจะเปนหัวเจาะตัด

(Cuting bit) หรือหัวเจาะเก็บตัวอยาง (Coring bit)

หัวตดั (Cutting bits) หัวเก็บตัวอยาง (Coring bits)

Page 15: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.4 1.4 วิธีการเก็บตัวอยางวิธีการเก็บตัวอยาง

1. ตัวอยางดินแปรสภาพ (Disturbed samples) คือ ตัวอยางดินที่ถูกรบกวนเนื่องจากวิธีการเก็บ

ตัวอยางดินหรือการขนสง จนทําใหโครงสรางของเม็ดดินและปริมาณความชื้นเปลี่ยนไป ไดแก ตัวอยางดิน

ที่เก็บจากการเจาะโดยใชสวานมือ หรือกระบอกผาซีก (Split spoon) เปนตน

ตัวอยางดินประเภทนี้เหมาะสําหรับใชในการทดสอบหาคุณสมบัติพื้นฐาน (Basic/Physical

properties) ของดิน ไดแก การกระจายขนาดของเม็ดดิน หนวยน้ําหนัก ปริมาณความชื้น และพิกัดอัต

เตอรเบอรก เปนตน

ตัวอยางดินออกเปน 2 ชนิด

Page 16: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.4 1.4 วิธีการเก็บตัวอยางวิธีการเก็บตัวอยาง

2. ตัวอยางดินคงสภาพ (Undisturbed sample) คือ ตัวอยางดินที่เก็บจากสนามโดยพยายามรักษา

องคประกอบและโครงสรางของดินใหเหมือนกับสภาพจริงในสนาม ไดแก ตัวอยางดินที่เก็บโดยใชกระบอก

เปลือกบาง (Thin-walled tube) หรือกระบอกลูกสูบ (Piston sampler) เปนตน

ดินตัวอยางชนิดนี้จะใชทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดิน อันไดแก การทดสอบการอัดตัวคาย

น้ํา การทดสอบแรงอัดสามแกน และการทดสอบการซึมผานไดของน้ํา เปนตน

Page 17: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.4 1.4 วิธีการเก็บตัวอยางวิธีการเก็บตัวอยาง

1.4.1 การเก็บตัวอยางโดยกระบอกผาซีกมาตรฐาน (Standard Spilt Spoon)

Page 18: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.4 1.4 วิธีการเก็บตัวอยางวิธีการเก็บตัวอยาง

1.4.2 การเก็บตัวอยางโดยกระบอกเปลือกบาง (Thin Wall Tube)

Page 19: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.4 1.4 วิธีการเก็บตัวอยางวิธีการเก็บตัวอยาง

1.4.3 การเก็บตัวอยางโดยกระบอกลูกสูบ (Piston Sampler)

Page 20: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.5 1.5 การรบกวนดินตวัอยางการรบกวนดินตวัอยาง

2 20

2(%) 100ir

i

D DAD−

= ×

(%) 100eiri

D DC D−= ×

อัตราสวนพื้นที่หนาตดั (Area ratio, Ar) และอัตราสวนชองวางภายใน (Inside clearance ratio, Cr)

ตัวอยางดนิคงสภาพ (Undisturbed sample) Ar 10 % และ Cr 1%≤ ≤

Page 21: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.5 1.5 การรบกวนดินตวัอยางการรบกวนดินตวัอยาง

(%) 100ari

LL L= ×

rL

iL

aL

คือ อัตราสวนการเก็บตัวอยาง (Recovery ratio)

คือ ความยาวของตัวอยางดินที่เก็บไดจริง

คือ ความยาวของตัวอยางดินทีค่วรเก็บไดดีเยี่ยม>90

ดี76-90

พอใช51-75

แย26-50

แยมาก< 25

ประสิทธิภาพLr (%)

อัตราสวนการเก็บตวัอยางและประสิทธิภาพการเก็บตัวอยาง

Page 22: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

ชนิดของตุมน้าํหนัก

Page 23: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานดวย Donut hammer

Page 24: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

Seed (1985) จึงไดเสนอเกณฑหลักในการทดสอบไวดังนี้

1. ใชวิธีการเจาะเปยก (Wash boring) เพื่อเจาะหลุมสํารวจใหมีขนาด 200 ถึง 250 มม. (4-5 นิ้ว)

2. ใชระบบตุมน้ําหนักที่มีประสิทธิภาพในการใหพลังงานเทากับ 60 เปอรเซ็นต

3. ปลอยตุมน้ําหนักกระทบแทนรับตุมน้ําหนักดวยอัตราเร็ว 30 ถึง 40 ครั้งตอนาที

Page 25: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

Skempton (1986) ไดเสนอคาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานที่ประสิทธิผล 60 เปอรเซ็นต (N60) เพื่อใชใน

การปรับแกผลทดสอบในสนาม ดังนี้

60 0.60m B RE C C NN =

คือ ประสิทธิภาพของตุมน้าํหนกั (Hammer efficient)

คือ คาปรับแกขนาดของหลุมเจาะ

คือ คาปรับแกความยาวของกานเจาะ (Drill rod)

mE

BC

RC

Page 26: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

0.45คลองผานรอก 2 รอบDonut

0.55-0.60คลองผานรอก 2 รอบSafety สหรฐัอเมริกา

0.73ตกอยางรวดเร็วอัตโนมัติสหราชอาณาจักร

0.65-0.67คลองผานรอก 2 รอบ

+ การปลอยตกแบบพิเศษ

Donut

0.78-0.85ระบบนกสับ (Trigger)Donutญี่ปุน

0.50เชือกคลองผานรอกDonutกัมพชูา

0.50เชือกคลองผานรอกDonut

0.55ตกอิสระDonut

ตกอิสระอัตโนมัติจีน

0.72ตกอยางรวดเร็วPin weightบราซิล

0.45เชือกคลองผานรอกDonutอารเจนตินา

ประสิทธิภาพ (Em)กลไกการปลอยตุมน้ําหนกัชนิดของตุมน้ําหนักประเทศ

ประสิทธิภาพของคอน SPT (Clayton, 1990)

Page 27: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

1.00>10 ม. (> 30 ฟุต)

0.956-10 ม. (20-30 ฟุต)

0.854-6 ม. (13-20 ฟุต)

0.753-4 ม. (10-13 ฟุต)ความยาวของกานเจาะ (CR)

1.15200 มม. (8 นิ้ว)

1.05150 มม. (6 นิ้ว)

1.006.5-115 มม. (2.5-4.5 นิ้ว)ขนาดของหลุมเจาะ (CB)

คาความเปลี่ยนแปลงของอุปกรณคาปรับแก

คาปรับแก

Page 28: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

Und

rain

ed sh

ear s

treng

th, S

u(to

n/m

2 )

Clay

s of h

igh p

lastic

ity

ความสัมพนัธระหวาง N60 และกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ํา (U.S. Navy, 1972)

สําหรับดินเหนียว

Page 29: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

>20.0แข็งมากที่สดุ>30

10.0-20.0แข็งมาก20-30

5.0-10.0แข็ง10-20

2.5-5.0แข็งปานกลาง5-10

1.2-2.5ออน2-5

0-1.2ออนมาก0-2

กําลังตานทานแรงเฉือน, Su

(ตันตอตารางเมตร)

ชนิดของดินตัวเลขการทะลุทะลวงมาตรฐาน

, N60

ความสัมพนัธระหวาง N60 และกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะไมระบายน้ําของดนิเหนียว(Terzaghi and Peck, 1967)

Page 30: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

Horpibulsuk et al. (2008) ทําการคํานวณกลับ (Back calculation) ผลทดสอบกําลังรับน้ําหนัก

บรรทุกของเสาเข็มขนาดเล็ก (Micro-pile) ในชั้นดินเหนียวปนดินตะกอนแข็งมากถึงแข็งมากที่สุดใน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (SUT silty clay) และสรุปวากําลังตานทานแรงเฉือนยังคงมีคาเพิ่มขึ้น

ตามคา N60 แมวา N60 จะมีคามากกวา 30 ก็ตาม และไดเสนอความสัมพันธระหวางกําลังตานทานแรง

เฉือนและ N60 ดังนี้

601.5uNS = 6029 68N< <เมื่อ

Page 31: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

อิทธิพลของน้ําหนักกดทบัประสิทธิผลตอคาการทะลุทะลวงมาตรฐาน

สําหรับทราย

ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน มีคาแปรผันตามกําลังตานทานแรงเฉือนในสภาวะระบายน้ําของดิน ขึ้นอยูกับ

น้ําหนักกดทับประสิทธิผล ( tan )fτ σ φ= ′ ′( )vσ′

Page 32: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

สําหรับทราย

ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานปรับแก แสดงไดดังนี้

คือ คาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานทีป่รับแกแลว

คือ ตัวคูณปรับแกตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน

คือ ความเคนประสิทธิผลในแนวดิง่ มีหนวยเปนกิโลปาสคาล

N′

NC

vσ′

60NN C N=′

100N v

C σ= ′

Page 33: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

0

100

200

300

400

500

0 1 2 3 4

Correction factor

Effe

ctiv

e ov

erbu

rden

pre

ssur

e (k

Pa)

Tomlinson (1969)

Bazaraa (1967)

Liao and Whitman (1986)

อิทธิพลของน้ําหนักกดทบัประสิทธิผลตอคาการทะลุทะลวงมาตรฐาน

Page 34: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

0

10

20

30

40

50

60

70

28 30 32 34 36 38 40 42 44

Loose

Ver

y lo

ose Medium dense Dense Very dense

Internal friction angle, φ' (Degree)

Cor

eect

ed st

anda

rd p

enet

ratio

n nu

mbe

r, N

'

ความสัมพนัธระหวางตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานปรับแกและมมุเสียดทานภายในประสิทธิผล

ของดินเมด็หยาบ (Peck et al., 1974)

Page 35: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.6 1.6 การทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐานการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน((Standard Penetration TestStandard Penetration Test))

>86>21แนนมาก>50

66-8520-21แนน31-50

36-6514-19ปานกลาง11-30

16-3514-16หลวม6-10

0-1511-13หลวมมาก0-5

ความหนาแนนสมัพัทธหนวยน้ําหนกั (กน.ตอลบ.ม.)คําบรรยายN′

ความสัมพนัธระหวาง N′ หนวยน้ําหนัก และความหนาแนนสัมพทัธของดินเมด็หยาบ (Peck et al., 1974)

Page 36: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.71.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัดการทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด ((Vane Shear TestVane Shear Test))

0 25 50 75

Torq

ue

Rotation (Degree)

Undisturbed

Remoulded

(a) เครื่องมือทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนโดยใชใบพดั (b) ผลทดสอบในสนาม

(c) การคํานวณกําลังตานทานแรงเฉือน

Page 37: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.71.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัดการทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด ((Vane Shear TestVane Shear Test))

22 22 4 2s e v hd dT M M dh S d Sππ β

⎡ ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎢ ⎥⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎣ ⎦

= + = + ×

การคํานวณกําลังตานทานแรงเฉือนแบบไมระบายน้ําของดิน คาแรงบดิ (T) จะมคีาเทากับผลรวมของ

โมเมนตตานทานแรงเฉือนตามผิวของดนิทรงกระบอก (Ms) และโมเมนตตานทานทีผ่ิวบนและผิวลาง

ของใบพัด (Me)

คือ กําลังตานทานแรงเฉือนของดินในแนวดิง่และแนวนอน ตามลาํดบั

คือ คาคงที่ ขึ้นอยูกับการกระจายของกําลังตานทานแรงเฉอืนที่ผิวบนและลาง

ของใบพัด = 1/2, 3/5, และ 2/3 สําหรับการกระจายแบบสามเหลี่ยม

พาราโบลา และสี่เหลี่ยม ตามลําดบั

,v hS S

ββ

Page 38: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.71.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัดการทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด ((Vane Shear TestVane Shear Test))

0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

20

0 20 40 60 80 100

UndisturbedRemolded

0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

20

1 2 3 4 5

Sensitivity

Dep

th (m

)

Undrained shear strength (kPa)

กําลังตานทานแรงเฉือนและคาความไวตัวของดนิเหนียวอําเภอบางพลี จังหวัดสมทุรปราการ

(Horpibulsuk et al., 2007)

Page 39: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.71.7 การทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัดการทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด ((Vane Shear TestVane Shear Test))

0 20 40 60 80 1000.4

0.6

0.8

1.0

1.2

μ

Plasticity Index, PI

μ = 1.7 - 0.54 log(PI)

ความสัมพนัธระหวางคาปรับแกกําลังที่ไดจากการทดสอบ

กําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพดั และดัชนีสภาพ

พลาสติก

( . ) (vane shear)u cor vane uS Sμ=

Bjerrum (1974) ไดเสนอวิธีการปรับแกคากําลัง

ตานทานแรงเฉือน ซึ่งแปรผันตามชนดิของดิน

(ดัชนีสภาพพลาสตกิ)

คือตัวคูณปรับแก = 1.7 – 0.54 log(PI) μ

Page 40: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

เครื่องมือการทดสอบการทะลุทะลวงแบบใชกรวย ขั้นตอนการทะลุทะลวง

Page 41: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

ผลทดสอบของการทดสอบแบบทะลุทะลวงดวยกรวยสําหรับชั้นดนิกรุงเทพ

0

4

8

12

16

20

24

28

0 2 4 6 8

qc (kg/cm2)

0

4

8

12

16

20

24

28

0 50 100 150 200

fsc (kg/cm2)D

epth

(m)

Dep

th (m

)

0

4

8

12

16

20

24

28

0 4 8 12 16 20 24

Rf (%)

Dep

th (m

)

Page 42: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

การทดสอบแบบนี้ไมสามารถเก็บดินตัวอยางขึ้นมาได แตการจําแนกดินสามารถกระทาํไดโดยอาศัย

ความสัมพนัธเชิงประสบการณ (Empirical relationship) ระหวางความตานทานทีป่ลายกรวย (Cone

end resistance, qc) และอัตราสวนความเสียดทาน (Friction ratio, Rf) อัตราสวนความเสียดทานหา

ไดดงัสมการตอไปนี้

100%scf c

fR q= ×

scf คือ ความเสียดทานระหวางดินกับปลอกหุม (Cone side friction)

ทราย จะมีคา Rf นอยกวา 1 เปอรเซ็นต

ดินเหนียว จะใหคา Rf สูงกวา 1 เปอรเซ็นต

ดินเหนียวทีม่ีสารอินทรียอยูมาก (Peat) คา Rf มีคามากกวา 5 เปอรเซ็นต

Page 43: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

การจําแนกชนิดของดินโดยอาศัยผลทดสอบการทดสอบทะลทุะลวงดวยกรวย

(Robertson and Campanella, 1983)

Page 44: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

Robertson and Campanella (1983) ไดเสนอความสัมพันธสําหรับทรายที่ไมมพีันธะเชื่อมประสาน

และอยูในสภาพอดัตัวปกติ สําหรับทรายที่อัดตัวมากกวาปกติ มมุเสียดทานภายในประสิทธิผล (Effective

internal friction angle) หาโดยการลบมุมเสียดทานภายในประสิทธิผลออกดวย 1o - 2o ความสัมพันธ

ดังกลาวสามารถแสดงไดในรูปของสมการดังนี้

035 11.5log 30

c

v

qφ σ

⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠

= °+′′

25 50φ°< < °′เมื่อ

Page 45: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

ความสัมพนัธระหวางมมุเสียดทานประสิทธิผลและความตานทานทีป่ลายโคน

(Robertson and Campanella, 1983)

0

50

100

150

200

250

300

350

400

0 100 200 300 400 500

Cone end resistance (kg/cm 2)

Effe

ctiv

e ve

rtica

l stre

ss (k

Pa)

φ' = 48o

46o

44o

42o

40o38o36o34o32o

30o

Page 46: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

สําหรับดินเหนียว จากทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทาน (Bearing capacity’s theory) จะได

กําลังตานทานแรงเฉือนที่สภาวะไมระบายน้ําหาไดดังนี้

0c vuk

qS Nσ−

=

0c u vkq N S σ= +

คือ ความดันกดทบั (Overburden pressure) ทีต่ําแหนงซึ่งวัดคาความตานทานทีป่ลายกรวย

ตัวแปรของกรวย (Cone factor) ซึ่งมีคาประมาณ 5 ถึง 75 ขึ้นอยูกับดัชนีสภาพพลาสตกิ

คาทีน่ิยมใชกันจะอยูระหวาง 15 ถึง 20 (Lunne and Eide, 1976)

0vσ

kN คือ

Page 47: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

Rashwan et al. (2004) ไดวิเคราะหการวิบัติของดินใตกรวยปลายแหลมโดยอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรง

แบกทาน และสรุปวา Nk มีคาแปรผันตามความลึกและความขรุขระของปลายกรวย และมีคาอยูระหวาง

9.3 ถึง 14.5

Budhu (2000) แสดงความสัมพันธระหวางคา Nk และดัชนีสภาพพลาสติกดังนี้

1019 5kPIN −= − เมื่อ 10PI >

Page 48: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.81.8 การทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวยการทดสอบทะลุทะลวงดวยกรวย ((Cone Penetration TestCone Penetration Test))

Trofimekov (1974) เสนอความสัมพันธระหวางโมดูลัส (E) และความตานทานที่ปลายกรวย (qc) สําหรับ

ทรายและดินเหนียวดังนี้

สําหรับทราย 3 cE q=

7 cE q= สําหรับดินเหนียว

Page 49: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.9 1.9 การทดสอบดวยวิธีการทดสอบดวยวิธี Kunzelstab PenetrationKunzelstab Penetration

อุปกรณทดสอบ Kunzelstab penetration

Page 50: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.9 1.9 การทดสอบดวยวิธีการทดสอบดวยวิธี Kunzelstab PenetrationKunzelstab Penetration

ผลทดสอบ Kunzelstab Penetration ของชั้นดินบริเวณอาคารสุรนิเวศ 9

มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

Page 51: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.9 1.9 การทดสอบดวยวิธีการทดสอบดวยวิธี Kunzelstab PenetrationKunzelstab Penetration

ตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน และกําลังรับแรงแบกทานยอมให หาไดจากความสัมพันธ ดังนี้

0.539 0.954KPTN N⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= +′

(ksc) 0.64 3.57a KPTq N⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= −

(ksc) 0.64 0.954a KPTq N⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= +

สําหรับทราย

สําหรับดินเหนียว

คือ จํานวนตอกดวยวิธี Kunzelstab penetration

คือ กําลังรับแรงแบกทานยอมให aqKPTN

Page 52: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.10 1.10 Borehole Pressuremeter TestBorehole Pressuremeter Test

Pressuremeter test

Pressuremeter เปนเครื่องมือที่ถูกพัฒนาขึ้น

โดย Menard ในป 1965 เพื่อทดสอบหาโมดูลัส

ของความเคน-ความเครียด

ในการทดสอบ จะทําการอัดความดันเพื่อทําให

Pressure cell ขยายตัวในหลุมเจาะ แลวทํา

การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น

ทฤษฎีที่ใชในการคํานวณคือ Expansion of an

Infinitely Thick Cylinder

Page 53: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.10 1.10 Borehole Pressuremeter TestBorehole Pressuremeter Test

การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของ Pressure cell กับความดนั

โซน I คือ สวนที่ดนิถูกผลักดวยความดันเพื่อใหกลับคืนสู

สภาพเริ่มตน (สภาพที่ยังไมมกีารเจาะหลุมสํารวจ) โซนนี้

เรียกวา Reloading zone

โซน II เรียกวา Pseudo-elastic zone ซึ่งความสัมพนัธ

ระหวางปรมิาตรและความดนัคอนขางเปนเสนตรง

โซน III คือ Plastic zone

Page 54: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.10 1.10 Borehole Pressuremeter TestBorehole Pressuremeter Test

สําหรับ Pseudo-elastic zone

02 1 pE V Vν⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

Δ= + Δ

คือ โมดูลัสยืดหยุน

1slope of straight line of zone II

pVΔ =Δ

E

ν

0V

คือ อัตราสวนโพซอง (Poisson’s ratio)

คือ ปริมาตรของ cell ทีค่วามดัน p0 ซึ่งคือความดันเริ่มตนของโซน II

Page 55: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.10 1.10 Borehole Pressuremeter TestBorehole Pressuremeter Test

Menard (1965) แนะนําใหแทนคา ในสมการ ดวย 0.33 จะได ν 02 1 pE V Vν⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

Δ= + Δ

02.66 PE V VΔ= Δ

จากทฤษฎียืดหยุน (Elastic theory) ความสัมพันธระหวางโมดูลัสยืดหยุน (Elastic modulus, E)

และโมดูลัสเฉือนสามารถแสดงไดดังนี้

2 1E Gν⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= +

0ΔΔ

pG V V=

Page 56: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.10 1.10 Borehole Pressuremeter TestBorehole Pressuremeter Test

นอกจากนี้ Pressuremeter test ยังสามารถใชคํานวณหาสัมประสิทธิ์ความดันที่สภาวะอยูนิ่ง (At-rest

earth pressure coefficient, K0) ไดดังนี้

00 0v

pK σ= ′

คือ ความดันดินดานขาง (Lateral earth pressure) ที่เกิดขึ้นในสนาม

คือ ความเคนกดทบัในแนวดิง่ประสิทธิผล ซึ่งคํานวณไดจากผลคูณของหนวยน้ําหนักจมน้ํา

(Submerged unit weight) และความลึก ณ จุดทีพ่ิจารณา 0vσ′

0p

Page 57: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.11 1.11 รายงานการเจาะสํารวจชั้นดินรายงานการเจาะสํารวจชั้นดิน

หัวขอที่จําเปนตองมีในรายงานการเจาะสํารวจไดแก

1. บทนํา ไดแก บทสรุปอยางคราวๆ ของโครงการ ขั้นตอนการสํารวจ ตําแหนงและชื่อของโครงการ

2. ลักษณะของตําแหนงโครงการ ไดแก คําบรรยายลักษณะทั่วไปของบริเวณที่เจาะสํารวจ และแผนที่

แสดงตําแหนงของโครงการ พื้นที่ใกลเคียง และตําแหนงของหลุมเจาะ

3. สภาพชั้นดิน ไดแก ลักษณะของชั้นดินอยางละเอียด ซึ่งแสดงผลทดสอบในหองปฏิบัติการและใน

สนาม ระดับน้ําใตดิน และสภาพการระบายน้ํา

4. ขอเสนอแนะ ไดแก คําแนะนําที่จําเปนและถูกตองตามหลักวิชาการสําหรับการออกแบบและกอสราง

5. เอกสารอางอิง

6. ภาคผนวก ควรประกอบดวยขอมูลที่สําคัญที่ไดจากการเจาะสํารวจ อันไดแก Boring log

ผลทดสอบในหองปฏิบัติการ และผลทดสอบในสนาม เปนตน

Page 58: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.11 1.11 รายงานการเจาะสํารวจชั้นดินรายงานการเจาะสํารวจชั้นดิน

Boring log เปนรูปแบบของเอกสารที่แสดงเชิง

กราฟของขอมูลรายละเอียดชั้นดิน และตอง

ประกอบดวย ชื่อของบริษทัที่เจาะสํารวจ ชื่อโครงการ

สถานที่เจาะสํารวจ วันทีท่าํการเจาะสํารวจและวันทีแ่ลว

เสร็จ ระดับน้าํใตดิน สภาพชั้นดิน และผลทดสอบใน

สนาม

Page 59: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

การสํารวจจะไมมีการเจาะหลุมสํารวจเพื่อเก็บตัวอยางดินขึ้นมาทําการทดสอบในหองปฏิบัติ นอกจากนี้

ยังใชเวลาและคาใชจายต่ํา ขอมูลที่ไดสามารถครอบคลุมบริเวณกวาง อยางไรก็ตาม การเจาะหลุมสํารวจ

เพื่อหาคุณสมบัติพื้นฐานและคุณสมบัติทางวิศวกรรมของดินฐานรากก็ยังคงตองดําเนินการควบคูเพื่อใหได

ผลทดสอบที่ถูกตองและนาเชื่อถือ

ในที่นี้จะขอกลาวถึงการสํารวจธรณีฟสิกส 2 วิธีคือ

1. การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)

2. การสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา (Electrical Resistivity Method)

Page 60: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)

ลักษณะผลทดสอบการสํารวจชั้นดินโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน

Page 61: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)

ผลทดสอบการสํารวจชั้นดินโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน

ความเร็วของคลื่นผานชั้นดินคาํนวณไดจากสวนกลับของ

ความชันของเสนตรงที่ 1 ดังสมการ

2 11 2 1

L Lv t t−

= −

L1 และ L2 คือ ระยะทางจากจุดกําเนดิถึงตัวรบั

สัญญาณที่ 1 และ 2 ตามลาํดบั

t1 และ t2 คือ เวลาของคลื่นลูกแรกถึงตัวรับ

สัญญาณที่ 1 และ 2 ตามลําดบั

Page 62: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

การสํารวจโดยอาศัยคลื่นการสั่นสะเทือน (Seismic Refraction Method)

สําหรับชั้นดินหลายชั้น ซึ่งความหนาของชั้นดินชั้นบนมคีวามสม่ําเสมอ เราสามารถประมาณความหนาของดิน

ชั้นบนไดจาก

2 11 2 12

v vLH v v−

= +

คือ ความหนาของดนิชั้นแรก

คือ ความยาวจากกราฟที่เสนความลาดสองเสนตัดกัน 1H

L

Page 63: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

การสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา (Electrical Resistivity Method)

การสํารวจเพื่อหาลักษณะของชั้นดินโดยวิธีนี้สามารถหาไดทั้งในแนวราบและแนวลึก การหาลักษณะชั้น

ดินในแนวราบ (Electrical profiling) ทําโดยจัดวางตัว Electrode ทั้ง 4 ตัวตามแนวที่ตองการสํารวจ โดย

ระยะหางระหวาง Electrode จะเทากัน ระยะหางของ Electrode ที่นอยที่สุดไมควรเกินครึ่งหนึ่งของความ

หนาของดินชั้นแรกและไมควรเกิน 1 เมตร และระยะหางที่มากที่สุดควรมีคาประมาณ 5 ถึง 10 เทา ของความ

ลึกที่ตองการสํารวจ

การจัดเรียงอุปกรณความตานทานไฟฟา

แบบ Wenner method

Page 64: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

การสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา (Electrical Resistivity Method)

ผลทดสอบการเปลี่ยนแปลงชั้นดินจากการสํารวจโดยอาศัยความตานทานทางไฟฟา

Page 65: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

1.12 1.12 การสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกสการสํารวจโดยวิธีธรณีฟสิกส ( (Geophysical MethodGeophysical Method))

คาความตานทานของดนิและหนิตาง ๆ (Sowers, G.B., and Sowers, G.F., 1970)

Material Resistivity (ohm-centimeters)

Saturated organic clay or silt 500-2,000

Saturated inorganic clay or silt 1,000-5,000

Hard partially saturated clays and silts; saturated sands and gravels 5,000-15,000

Shales, dry clays and silts 10,000-50,000

Sandstone, dry sands and gravels 20,000-100,000

Sound crystalline rocks 100,000-1,000,000

Page 66: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.11.1

จากผลการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน ทีค่วามลึก 15 เมตร ในชั้นดินทรายทีม่ีหนวยน้ําหนัก 18.0 กิโลนิว

ตันตอลูกบาศกเมตร ไดคา N60 เทากับ 35 ระดบัน้าํใตดนิอยูต่ํากวาผิวดนิ 1.0 เมตร จงหาคาตวัเลขทะลุ

ทะลวงมาตรฐานปรับแก

จากความสัมพันธ

ความเคนประสิทธิผลมีคาเทากับ กิโลปาสคาล

ดังนั้น

เพราะฉะนั้น

วิธีทํา 100N v

C σ= ′

18.0 1 8.2 14 132.8voσ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠

= × + × =′

100 0.87132.8NC = =

35 0.87 30N = × =′

Page 67: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.21.2

จากผลการทดสอบกําลังตานทานแรงเฉือนดวยใบพัด (Vane shear test) ในชั้นดินเหนียว ที่ระดับความ

ลึกหนึ่ง ไดคาแรงบิดสูงสุดเทากับ 250 กิโลกรัม-เซนติเมตร ใบพัดที่ใชในการทดสอบมีขนาด 55 x 110

มิลลิเมตร จงคํานวณหากําลังตานทานแรงเฉือนของดิน เมื่อดินเหนียวมีคาดัชนีสภาพพลาสติกเทากับ 65

เปอรเซ็นต

วิธีทํา (Vaneshear) 2 32 6

uTS

d h dπ⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

=+

(Vaneshear) 2 3250 10 4.1

5.5 11 5.52 6

uSπ

⎡ ⎤⎢ ⎥⎢ ⎥⎢ ⎥⎣ ⎦

×= =× +

1.7 0.54log 1.7 0.54log 65 0.72PIμ ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟

⎝ ⎠ ⎝ ⎠= − = − =

( . ) 0.72 4.1 3.0u cor vaneS = × =

ตันตอตารางเมตร

ตันตอตารางเมตรดังนั้น

Page 68: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.31.3

จาก Boring log ดังแสดงในรูป จงแสดงชั้นดินเพื่อการออกแบบ

Page 69: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.31.3

วิธีทํา

หนวยน้ําหนักในชั้นดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็ง

ปานกลางคํานวณไดจากคาเฉลี่ยตลอดความลึก ดังนี้

1.65 1.59 1.58 1.57 1.52 1.53 1.576softclayγ + + + + += =

1.61 1.59 1.58 1.593mediumclayγ + += =

ตันตอลูกบาศกเมตร

ตันตอลูกบาศกเมตร

Page 70: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.31.3

( )1.87 1.61 1.99 1.55 2.14 2.38 1.926u UCtestS + + + + += =

( )3.98 3.39 2.89 5.01 4.84 3.81 4.34 4.047u vaneshearS + + + + + += =

( . ) 1.7 0.54log 70 4.04 2.84u cor vaneS⎡ ⎤⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠⎣ ⎦

= − × =

ชั้นดินเหนียวออน

ตันตอตารางเมตร

ตันตอตารางเมตร

ตันตอตารางเมตร

กําลังตานทานแรงเฉือนในชั้นดินเหนียวออนและดินเหนียวแข็งปานกลางคํานวณไดจากทั้ง

ผลทดสอบแรงอัดแกนเดียวและผลทดสอบดวยใบพัด เนื่องจากโจทยไมไดกําหนดดัชนีสภาพพลาสติก จึง

สมมติใหดัชนีสภาพพลาสติกมีคาคงที่ตลอดความลึกประมาณเทากับ 70 เปอรเซ็นต

Page 71: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.31.3

( )4.41 3.06 4.61 4.033u UCtestS + += =

( )5.32 6.63 7.11 6.353u vaneshearS + += =

( . ) 1.7 0.54log 70 6.35 4.47u cor vaneS⎡ ⎤⎛ ⎞⎢ ⎥⎜ ⎟⎢ ⎥⎝ ⎠⎣ ⎦

= − × =

ชั้นดินเหนียวแข็งปานกลาง

ตันตอตารางเมตร

ตันตอตารางเมตร

ตันตอตารางเมตร

จะเห็นไดวากําลังตานทานแรงเฉือนที่ไดจากการทดสอบดวยใบพัดใหคาสูงกวาคาที่ไดจากการ

ทดสอบแรงอัดแกนเดียว เนื่องจากดินเหนียวออนถึงแข็งปานกลางไดรับการกระทบกระเทือนจากการเจาะ

สํารวจและการขนสงดิน จึงทําใหกําลังตานทานแรงเฉือนมีคานอยกวาคาจริงในสนาม

Page 72: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.41.4

จงวาดชั้นดินพรอมทั้งแสดงพารามิเตอรที่จําเปน

สําหรับการออกแบบเสาเข็มตอก

รูปแสดง Boring log สําหรับงานกอสราง

อาคารหอพักแหงหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา

Page 73: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.41.4

เนื่องจากชั้นดินดังกลาวเปนชั้นทราย ตองมีการ

ปรับแกคาตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐานเนื่องจาก

อิทธิพลของความเคนในแนวดิ่งประสิทธิผล

ระดับน้ําใตดินอยูที่ระดับความลึก 1.20 เมตร

จากผิวดิน

สมมติใหหนวยน้ําหนักของดินมีคาคงที่โดยเปน

คาเฉลี่ยของหนวยน้ําหนักซึ่งเทากับ 1.80 ตัน

ตอลูกบาศกเมตร

วิธีทํา

Page 74: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.41.4

Depth (m) σ′v (kPa) N60 CN N′

1.9 (1.20×18.0) + (0.70×8.0) = 27.2 3 100 1.9227.2

= 1.92×3 = 6

3.2 27.2 + (1.3×8.0) = 37.6 11 100 1.6337.6

= 1.63×11 = 18

4.9 37.6 + (1.7×8.0) = 51.2 25 100 1.4051.2

= 1.40×25 = 35

6.2 51.2 + (1.3×8.0) = 61.6 100 100 1.2761.6

= 1.27×100 = 127

7.9 61.6 + (1.7×8.0) = 75.2 105 100 1.1575.2

= 1.15×105 = 121

9.3 75.2 + (1.4×8.0) = 86.4 108 100 1.0786.4

= 1.07×108 = 116

Page 75: Foundation Engineeringeng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter1.pdfการทดสอบก าล งต านทานแรงเฉ อนโดยใช ใบพ ด (Vane shear

ตัวอยางที่ตัวอยางที่ 1.41.4

ความลึก 0.0-3.0 เมตร - ทรายหลวม

ความลึก 3.0-5.5 เมตร - ทรายแนนปานกลาง

ความลึก 5.5-9.5 เมตร - ทรายแนนมาก

N′ = 6

N′ = (18+35)/2 = 22

N′ = (127+121+116)/3 = 121

จากการปรับแกตัวเลขทะลุทะลวงมาตรฐาน สามารถแบงชั้นดินออกเปนสามชั้น