f:standardnew stdtis57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให...

19
–1– ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1618 ( พ.ศ. 2533 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แกไขมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก (แกไขครั้งที่ 1) โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก มาตรฐาน เลขที่ มอก. 57–2530 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแกไขเพิ่มเติมมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบล็อก รับน้ําหนัก มาตรฐานเลขที่ มอก. 57–2530 ทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1294 (พ.ศ. 2530) ลงวันที24 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ดังตอไปนี1. ใหแกหมายเลขมาตรฐานเลขที่ “มอก. 57–2530” เปน “มอก. 57–2533” 2. ใหยกเลิกความในขอ 1.1 และใหใชความตอไปนี้แทน “1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้กําหนด ประเภท ชั้นคุณภาพและสัญลักษณ ขนาดและเกณฑ ความคลาดเคลื่อน วัสดุ คุณลักษณะที่ตองการ เครื่องหมายและฉลาก การชักตัวอยางและ เกณฑตัดสิน และการทดสอบคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก” 3. ใหยกเลิกความในขอ 2.2 ขอ 2.3 และขอ 2.4 และใหใชความตอไปนี้แทน “2.2 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก หมายถึง คอนกรีตบล็อกที่ใชสําหรับกอสรางผนังที่ออกแบบให รับน้ําหนักบรรทุกและน้ําหนักตัวเอง ประกอบดวยเปลือก (face–shell) และผนังกั้นโพรง (web) ดังรูปที่ 1 2.3 เปลือก หมายถึง ผนังของคอนกรีตบล็อก ซึ่งเชื่อมตอดวยผนังกั้นโพรง ดังแสดงในรูปที่ 1 2.4 ผนังกั้นโพรง หมายถึง ผนังซึ่งเชื่อมตอเปลือกทั้ง 2 ขางของคอนกรีตบล็อก ดังแสดงในรูป ที่ 1”

Upload: others

Post on 15-Feb-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

–1–

ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับที่ 1618 ( พ.ศ. 2533 )

ออกตามความในพระราชบญัญตัมิาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

พ.ศ. 2511

เรื่อง แกไขมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก (แกไขครั้งท่ี 1)

โดยทีเ่ปนการสมควรแกไขเพิม่เตมิมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม คอนกรีตบลอ็กรับน้ําหนกั มาตรฐานเลขที่ มอก. 57–2530

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแกไขเพ่ิมเติมมาตรฐานผลิตภณัฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบล็อก

รบัน้ําหนัก มาตรฐานเลขที ่มอก. 57–2530 ทายประกาศกระทรวงอตุสาหกรรม ฉบบัที ่1294 (พ.ศ. 2530) ลงวันที่24 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ดังตอไปนี้

1. ใหแกหมายเลขมาตรฐานเลขที่ “มอก. 57–2530” เปน “มอก. 57–2533”

2. ใหยกเลิกความในขอ 1.1 และใหใชความตอไปนี้แทน“1.1 มาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนีก้าํหนด ประเภท ชัน้คณุภาพและสญัลกัษณ ขนาดและเกณฑ

ความคลาดเคลื่อน วัสดุ คุณลักษณะที่ตองการ เครื่องหมายและฉลาก การชักตัวอยางและเกณฑตดัสิน และการทดสอบคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนกั”

3. ใหยกเลิกความในขอ 2.2 ขอ 2.3 และขอ 2.4 และใหใชความตอไปนี้แทน“2.2 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก หมายถึง คอนกรีตบล็อกท่ีใชสําหรับกอสรางผนังที่ออกแบบให

รับน้ําหนักบรรทุกและน้ําหนักตัวเอง ประกอบดวยเปลือก (face–shell) และผนังกั้นโพรง(web) ดังรูปท่ี 1

2.3 เปลือก หมายถึง ผนังของคอนกรีตบล็อก ซึ่งเชื่อมตอดวยผนังกั้นโพรง ดังแสดงในรูปที่ 1

2.4 ผนังกั้นโพรง หมายถึง ผนังซึ่งเชื่อมตอเปลือกท้ัง 2 ขางของคอนกรีตบล็อก ดังแสดงในรูปที่ 1”

Page 2: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

4. ใหเพิ่มรูปตอไปนีเ้ปนรูปที ่1

รปูที ่1 คอนกรตีบล็อกรบัน้ําหนกั(ขอ 2.2 ขอ 2.3 และขอ 2.4)

5. ใหยกเลิกความในขอ 3. และใหใชความตอไปนี้แทน

“3. ประเภท ชัน้คณุภาพและสัญลักษณ

3.1 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักแบงออกเปน 2 ประเภท คือ3.1.1 ประเภท 1 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักท่ีควบคุมความชื้น ใชสัญลักษณ 1

3.1.2 ประเภท 2 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักท่ีไมควบคุมความชื้น ใชสัญลักษณ 2”

3.2 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักแตละประเภท แบงออกเปน 3 ชั้นคุณภาพ คือ

3.1.1 ชั้นคุณภาพ ก ใชสําหรับกําแพงภายนอกท้ังต่ํากวาและเหนือระดับดิน โดยไมตองมีการปองกันผิวแตอยางใด ใชสัญลักษณ ก.

3.1.2 ชั้นคุณภาพ ข ใชสําหรับกําแพงภายนอกท้ังต่ํากวาและเหนือระดับดิน โดยตองมีการปองกันผิว ใชสัญลักษณ ข

3.2.3 ชัน้คณุภาพ ค ใชสาํหรบักาํแพงภายนอกเหนอืระดบัดนิ โดยตองมกีารปองกนัความเสยีหายเนือ่งจากลมฟาอากาศและใชท่ัวไปสําหรับกําแพงภายใน ใชสัญลักษณ ค”

6. ใหแกความจาก “รูปที่ 1” เปน “รูปท่ี 2” ทุกแหง

7. ใหยกเลิกความในขอ 6.2 และขอ 6.3 และใหใชความตอไปนี้แทน“6.2 ความตานแรงอดัและการดดูกลนืน้ําของคอนกรตีบลอ็กรับน้าํหนกั

ตองเปนไปตามตารางที่ 3

การทดสอบใหปฏิบัติตาม มอก. 109

6.3 ปริมาณความช้ืน (เฉพาะคอนกรตีบล็อกรับน้ําหนักประเภท 1)ตองเปนไปตามตารางที่ 4”

8. ใหยกเลิกชื่อตารางที่ 4 และใหใชความตอไปนี้แทน

“ตารางท่ี 4 ความช้ืน (เฉพาะคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักประเภท 1)”

–2–

เปลอืกเปลอืก

ผนังกั้นโพรง

ผนังกั้นโพรง

Page 3: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

9. ใหยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ทายตารางท่ี 4 และใหใชความตอไปนี้แทน“หมายเหตุ 1) ทดสอบตามมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม วิธทีดสอบการหดแหงของคอนกรตีบล็อก

(ในกรณทีีย่งัไมมกีารประกาศกาํหนดมาตรฐานดงักลาว ใหเปนไปตาม ASTM C 426)”

10. ใหยกเลิกความในขอ 7.1 และใหใชความตอไปนี้แทน

“7.1 ทีค่อนกรีตบลอ็กน้ําหนกัทุกกอน อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรือเครือ่งหมายแจงรายละเอยีดตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน

(1) สญัลกัษณแสดงประเภทและชัน้คณุภาพ

ตัวอยาง คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักประเภท 1 ชั้นคุณภาพ ก ใชสัญลักษณเปน 1–ก(2) ชื่อผูทําหรือโรงงานที่ทํา หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน

ในกรณทีีใ่ชภาษาตางประเทศ ตองมคีวามหมายตรงกบัภาษาไทยทีก่ําหนดไวขางตน”

11. ใหยกเลิกความในขอ 8.2 และใหใชความตอไปนี้แทน

“8.2 การชักตัวอยางเพือ่การทดสอบ ใหกระทํา ณ สถานที่ผลิต และตองใหเวลาสําหรบัการทดสอบจนครบทุกรายการอยางนอย 10 วัน”

12. ใหยกเลิกความในขอ 8.3.1 และขอ 8.3.2 และใหใชความตอไปนี้แทน

“8.3.1 การชักตวัอยางใหเปนไปตาม มอก. 109 โดยคัดตัวอยางที่บกพรองเนื่องจากการขนสงออกเสียกอน

แลวจงึชกัตวัอยางโดยวธิสีุมจากรุนเดยีวกนัมาทําเปนตวัอยางทดสอบ8.3.2 เกณฑตดัสนิ

ตัวอยางคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักตองเปนไปตามขอ 4. และขอ 6. ทุกขอ จึงจะถือวา

คอนกรตีบล็อกรับน้ําหนกัรุนนัน้เปนไปตามมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนี ้ในกรณทีีม่ีตวัอยางใดไมเปนไปตามขอ 4. ขอ 6.1 ขอ 6.2 หรอืขอ 6.3 รายการใดรายการหนึง่ใหชกัตวัอยางจากรุนเดียวกันจํานวน 2 เทาของชดุตัวอยาง มาทดสอบซํ้าในรายการนั้นผลการทดสอบซ้ํา

ตัวอยางทุกชุดตองเปนไปตามขอ 4. ขอ 6.1 ขอ 6.2 หรือขอ 6.3 แลวแตกรณีจึงจะถือวาคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักรุนนัน้เปนไปตามมาตรฐานผลติภัณฑอุตสาหกรรมนี้ยกเวนรายการความตานแรงอัด ตัวอยางตองมีความตานแรงอัดไมต่ํากวารอยละ 85

ของเกณฑที่กําหนดในตารางที่ 3 จึงจะยอมใหทดสอบซ้ําในรายการ ความตานแรงอัดได”ทั้งนี้ ใหมีผลเมื่อพนกําหนด 270 วัน นับแตวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2533

รฐัมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 107 ตอนที่ 119

วันที่ 10 กรกฎาคม พุทธศักราช 2533

พลตํารวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร

–3–

Page 4: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

สํานกังานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม UDC 691.327-478:69.022 ISBN 974-811-70-9

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD

มอก. 57 2530

คอนกรีตบลอกรับน้ําหนักSTANDARD FOR HOLLOW LOAD–BEARING CONCRETEMASONRY UNITS

Page 5: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

คอนกรีตบลอกรับน้ําหนัก

สํานกังานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 105 ตอนที่ 8วันที่ 14 มกราคม พุทธศักราช 2531

มอก. 57 2530

Page 6: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

(2)

คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 55มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมวสัดุกอสราง

ประธานกรรมการนายวรรณะ มณี ผูแทนคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวทิยาลยัศลิปากร

รองประธานกรรมการ

นายพงศพัน วรสุนทโรสถ ผูแทนสถาบนัวจิยัวทิยาศาตรและเทคโนโลยแีหงประเทศไทย

กรรมการพลตรีทวี วิเชียรโรจน ผูแทนกระทรวงกลาโหมนายปราโมทย วสึกชาติ ผูแทนกระทรวงศึกษาธิการนายธีระพันธ ทองประวัติ ผูแทนกรมโยธาธกิาร

นายกิตติรัตน สรอยคีรีนายอารีย วงศบุญมี ผูแทนกรมวทิยาศาสตรบรกิารนายชวลิต นิตยะ ผูแทนคณะสถาปตยกรรมศาสตร จฬุาลงกรณมหาวทิยาลยันายวิเชียร เต็งอํานวย ผูแทนคณะวศิวกรรมศาสตร จฬุาลงกรณมหาวทิยาลยันายวิศาล เชาวนชูเวชช ผูแทนกรงุเทพมหานครนางเรืองศักดิ์ กันตะบุตร ผูแทนสมาคมสถาปนกิสยาม ในพระบรมราชปูถมัภนายพูนศักดิ์ จารุจินดา ผูแทนสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยนายวิชัย สุวรรณสุขโรจน ผูแทนสมาคมอุตสาหกรรมไทยม.ร.ว. ศุภนิวัทธ เกษมสันต ผูแทนบริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัดนายวิชัย ภูษิตวิทย ผูแทนบริษัท ไมอัดไทย จํากัด

กรรมการและเลขานุการนายกิตติ อยูสินธุ ผูแทนสํานกังานมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม

Page 7: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

(3)

คณะกรรมการมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมไดพิจารณามาตรฐานนีแ้ลว เหน็สมควรเสนอรฐัมนตรีประกาศตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก นี้ ไดประกาศใชเปนครั้งแรกตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบลอกรับน้ําหนัก มาตรฐานเลขที่ มอก. 57–2516 ในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ เลม 91ตอนที่ 12 วันที่ 26 มกราคม พุทธศักราช 2517 ตอมาสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเห็นควรแกไขมาตรฐาน เนื่องจากมาตรฐานเดิมไมกําหนดขนาด แตกําหนดเฉพาะเกณฑความคลาดเคลื่อนของขนาด ทําใหเปนปญหาทางปฏิบัติในการพิจารณาออกใบอนุญาตใหแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เนื่องจากโรงงานผูผลติทาํแบบหลอทีม่ขีนาดตางๆ กนัจาํนวนมาก และทาํใหเกดิการแกไขขนาดในคาํขออนญุาตแสดงเครือ่งหมายมาตรฐาน เพือ่ปรบัขนาดดงักลาวใหสามารถผานเกณฑความคลาดเคลือ่นทีก่าํหนดในมาตรฐาน ซึง่การขอแกไขดงักลาวจะทําเมือ่ทราบผลการทดสอบจากสํานกังานมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม แลวมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมนี ้กําหนดขึน้โดยอาศยัเอกสารตอไปนีเ้ปนแนวทาง

ASTM C 90–81 Standard specification for hollow load–bearing concrete masonry units

Page 8: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

(5)

ประกาศกระทรวงอตุสาหกรรมฉบับที่ 1294 ( พ.ศ. 2530 )

ออกตามความในพระราชบญัญตัมิาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

พ.ศ. 2511

เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมคอนกรตีบลอกรับน้ําหนกั

และกําหนดมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม

คอนกรตีบล็อกรับน้ําหนกั

โดยทีเ่ปนการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม คอนกรีตบลอกรบัน้ําหนัก มาตรฐานเลขที่

มอก. 57–2516อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511

รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 62 (พ.ศ. 2516)ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ

อตุสาหกรรม คอนกรีตบลอกรับน้าํหนกั ลงวนัที ่31 ธนัวาคม พ.ศ. 2516 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลติภณัฑอุตสาหกรรม คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก มาตรฐานเลขที่ มอก. 57–2530 ขึ้นใหม ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้

ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2531 เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2530

รฐัมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม

ประมวล สภาวสุ

Page 9: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-1-

มอก. 57-2530

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก

1. ขอบขาย

1.1 มาตรฐานผลติภณัฑอุตสาหกรรมนีก้ําหนด ประเภทและชัน้คุณภาพ ขนาดและเกณฑความคลาดเคลือ่น วัสดุคณุลกัษณะทีต่องการ เครือ่งหมายและฉลาก การชกัตวัอยางและเกณฑตดัสนิ และการทดสอบคอนกรีตบลอ็กรบัน้ําหนกั

2. บทนิยาม

ความหมายของคําทีใ่ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี ้มดีงัตอไปนี้2.1 คอนกรีตบล็อก (hollow concrete block or hollow concrete masonry unit) หมายถึง กอนคอนกรีตทําจาก

ปนูซเีมนตปอรตแลนด น้าํ และวสัดผุสมทีเ่หมาะสมชนดิตางๆ และจะมสีารอืน่ผสมอยูดวยหรอืไมกไ็ด สําหรบักอผนังหรอืกําแพง มีรูหรือโพรงขนาดใหญทะลุตลอดกอน และมีพ้ืนที่หนาตัดสุทธิท่ีระนาบขนานกับผิวธารนอยกวารอยละ 75 ของพืน้ทีห่นาตัดรวมท่ีระนาบเดียวกัน

2.2 คอนกรีตบลอ็กรบัน้ําหนกั (hollow load–bearing concrete masonry unit) หมายถงึ คอนกรตีบลอ็กใชสําหรบัผนงัทีอ่อกแบบใหรับน้ําหนกับรรทุกและน้ําหนกัตวัเอง

2.3 เปลือก (face–shell) หมายถึง ผนังดานนอกของคอนกรีตบล็อก2.4 ผนงักัน้โพรง (web) หมายถงึ ผนงัภายในซึง่แบงโพรงในคอนกรีตบลอ็ก

3. ประเภทและชั้นคุณภาพ

3.1 ประเภทคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก ซึง่ทําขึน้ตามมาตรฐานผลติภัณฑอุตสาหกรรมนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

3.1.1 ประเภทควบคมุความช้ืน3.1.2 ประเภทไมควบคมุความชืน้

3.2 ชัน้คณุภาพคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักแตละประเภท แบงออกเปน 3 ชัน้คุณภาพ คือ

3.2.1 ชัน้คณุภาพ ก ใชสําหรับกําแพงภายนอกทัง้ต่ํากวาและเหนอืระดับดนิ โดยไมมีการปองกนัผิวแตอยางใดเชน ใชในกรณีซึง่การรัว่ซมึจากน้ําใตดินหรอืฝน ไมทําความเสยีหายตองานนัน้

3.2.2 ชัน้คณุภาพ ข ใชสําหรับกําแพงภายนอกทัง้ต่ํากวาและเหนือระดบัดนิ แตมีการปองกนัผวิ3.2.3 ชัน้คณุภาพ ค ใชทัว่ไปสาํหรบักาํแพงภายใน และกาํแพงภายนอกเหนอืระดบัดนิ ทีม่กีารปองกนัความเสยีหาย

เนือ่งจากดินฟาอากาศ

Page 10: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-2-

มอก. 57-2530

4. ขนาดและเกณฑความคลาดเคลื่อน

4.1 ความหนาของเปลือกและผนงักัน้โพรงตองเปนไปตามตารางที ่1หมายเหตุ คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักที่ออกแบบพิเศษใหมีโลหะทนตอการกัดกรอนเพื่อยึดระหวางเปลือก

ของกอน อาจอนุญาตใหทําได ในเมื่อการทดสอบแสดงวาโลหะยึดนั้นมีสภาพโครงสรางเทียบเทากับผนังกั้นโพรงคอนกรีตในทางความยึดตัวแข็งกําลังและการยึดกับผนังกั้นโพรง

4.2 ขนาดของคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนกัใหมีขนาดดังแสดงในรปูที่ 1 และตารางท่ี 2 โดยจะมีความคลาดเคลื่อนไดไมเกิน 2 มิลลิเมตร

ตารางที ่1 ความหนาของเปลือกและผนังกัน้โพรง(ขอ 4.1)

หนวยเปนมลิลเิมตร

หมายเหตุ 1) เฉลี่ยจากการวัด 5 กอน โดยวัดจากสวนที่บางที่สุดเมื่อวัดตามวิธีที่กําหนด ในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีชักตัวอยางและการทดสอบวัสดุงานกอ ซึ่งทําดวยคอนกรีต มาตรฐานเลขที่มอก. 109

2) ผลรวมจากการวัดความหนาของผนังกั้นโพรงทั้ งหมดในกอนคูณดวย 1 000 หารดวยความยาวของคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักเปนมิลลิเมตร

ความหนา ผนังกั้นโพรง ความหนาของผนัง

ของเปลือก กั้นโพรงเทียบเทา

ต่ําสุด 1) ตํ่าสุด 1)ต่ําสุด

ตอความยาว 1 เมตร

90 19 19 135

140 25 25 185

190 31 25 185

ความหนาของผนังกั้นโพรง 2)

ความหนา

ระบุ

ของกอน

Page 11: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-3-

มอก. 57-2530

มิติพิกัด 1 ด 2 ด 11/2

ขนาดที่ทํา 90 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 140 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 11/2 ด 2 ด 11/2

ขนาดที่ทํา 140 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 140 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 2 ด 2 ด 11/2

ขนาดที่ทํา 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 140 มิลลิเมตร

รปูที ่1 ขนาดของคอนกรตีบลอ็กรบัน้ําหนกั(ขอ 4.2)

Page 12: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-4-

มอก. 57-2530

มิติพิกัด 1 ด 2 ด 2ขนาดที่ทํา 90 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 11/2 ด 2 ด 2ขนาดที่ทํา 140 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 2 ด 2 ด 2ขนาดที่ทํา 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร

รูปที่ 1 ขนาดของคอนกรตีบล็อกรับน้ําหนกั (ตอ)

Page 13: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-5-

มอก. 57-2530

มิติพิกัด 1 ด 2 ด 3ขนาดที่ทํา 90 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 290 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 11/2 ด 2 ด 3ขนาดที่ทํา 140 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 290 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 2 ด 2 ด 3ขนาดที่ทํา 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 290 มิลลิเมตร

รูปที่ 1 ขนาดของคอนกรตีบล็อกรับน้ําหนกั (ตอ)

Page 14: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-6-

มอก. 57-2530

มิติพิกัด 1 ด 2 ด 4ขนาดที่ทํา 90 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 390 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 11/2 ด 2 ด 4ขนาดที่ทํา 140 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 390 มิลลิเมตร

มิติพิกัด 2 ด 2 ด 4ขนาดที่ทํา 190 มิลลิเมตร ด 190 มิลลิเมตร ด 390 มิลลิเมตร

รูปที่ 1 ขนาดของคอนกรตีบล็อกรับน้ําหนกั (ตอ)

Page 15: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-7-

มอก. 57-2530

ตารางที ่2 ขนาดของคอนกรตีบล็อกรับน้ําหนัก(ขอ 4.2)

หมายเหตุ ขนาดของคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักท่ีกําหนดนี้ เปนขนาดที่ออกแบบเพื่อใหเปนไปตามระบบการประสานงานทางพิกัด ในการกอสรางอาคาร ซึ่งไดกําหนดหนวยพิกัดมูลฐาน พ ใหเทากับ 100 มิลลิเมตร และกําหนดความหนาของปูนกอในรอยตอมาตรฐาน เทากับ 10 มิลลิเมตร

5. วัสดุ

5.1 ปูนซเีมนต ใหใชอยางใดอยางหนึ่งดงัตอไปนี้5.1.1 ปนูซเีมนตปอรตแลนด

ควรเปนไปตามมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรม ปนูซเีมนตปอรตแลนด เลม 1 ขอกําหนดเกณฑคณุภาพมาตรฐานเลขที่ มอก. 15 เลม 1

5.1.2 ปนูซเีมนตผสมควรเปนไปตามมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรม ปูนซีเมนตผสม มาตรฐานเลขที ่มอก. 80

1 ด 2 ด 11/2 90 ด 190 ด 140

11/2 ด 2 ด 1

1/2 140 ด 190 ด 140

2 ด 2 ด 11/2 190 ด 190 ด 140

1 ด 2 ด 2 90 ด 190 ด 190

11/2 ด 2 ด 2 140 ด 190 ด 190

2 ด 2 ด 2 190 ด 190 ด 190

1 ด 2 ด 3 90 ด 190 ด 290

11/2 ด 2 ด 3 140 ด 190 ด 290

2 ด 2 ด 3 190 ด 190 ด 290

1 ด 2 ด 4 90 ด 190 ด 390

11/2 ด 2 ด 4 140 ด 190 ด 390

2 ด 2 ด 4 190 ด 190 ด 390

ขนาดที่ทํา

หนา ด สูง ด ยาว

มิลลิเมตร ด มิลลิเมตร ด มิลลิเมตร

มิติพิกัด

หนา ด สูง ด ยาว

Page 16: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-8-

มอก. 57-2530

5.2 มวลผสมคอนกรตีควรเปนไปตามมาตรฐานผลิตภณัฑอุตสาหกรรม มวลผสมคอนกรีตมาตรฐานเลขที่ มอก. 566 ยกเวนเกณฑกําหนดการคดัขนาดมวลผสมคอนกรตี

5.3 สวนผสมอ่ืนๆตัวทําฟองอากาศ สี สารกันน้ํา ฯลฯ ทีน่ํามาใช ควรเปนสารที่เหมาะสมสําหรบัใชกับคอนกรีต และควรเปนไปตามมาตรฐานผลติภณัฑอตุสาหกรรมทีเ่กีย่วของ

6. คุณลักษณะที่ตองการ

6.1 ลกัษณะทัว่ไป6.1.1 คอนกรีตบลอ็กรับน้ําหนกัทุกกอน ตองแขง็แรง ปราศจากรอยแตกราวหรือสวนเสยีอืน่ใดอนัเปนอปุสรรค

ตอการกอคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักอยางถูกตอง หรือทําใหส่ิงกอสรางเสียกําลังหรือความคงทนถาวรรอยราวเล็กนอยที่มักเกิดขึ้นในกรรมวิธีผลิตตามปกติ หรือรอยปริเล็กนอยเนื่องจากวิธีการเคลื่อนยายหรือขนสงอยางธรรมดา จะตองไมเปนสาเหตอุางในการไมยอมรับ

6.1.2 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนัก ซึ่งตองการฉาบปูนหรือแตงปูน ตองมีผิวหนาหยาบพอควรแกการจับยึดของปนูฉาบ หรือปนูแตงไดอยางดี

6.1.3 คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนกั ซึง่ตองการกอแบบผิวเผย ดานผิวเผยจะตองไมมีรอยบิน่ รอยราว หรือตําหนิอืน่ๆ ถาในการสัง่คราวหนึง่มกีอนซึง่มรีอยบิน่เลก็นอยทีย่าวมากกวา 25 มลิลเิมตร เปนจํานวนไมมากกวารอยละ 5 จะตองไมถือเปนสาเหตุในการไมยอมรับ

การทดสอบใหทําโดยการตรวจพนิจิ6.2 ความตานแรงอดัและการดูดกลืนน้ําของคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักเมือ่สงถึงทีก่อสราง ตองเปนไปตามตาราง

ที่ 3การทดสอบใหปฏิบัติตาม มอก. 109

6.3 ปรมิาณความช้ืน (เฉพาะคอนกรีตบลอ็กรับน้ําหนกัประเภทควบคมุความชืน้)เมื่อสงถึงที่กอสราง ตองเปนไปตามตารางท่ี 4

Page 17: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-9-

มอก. 57-2530

ตารางที่ 3 ความตานแรงอัดและการดดูกลืนน้ํา(ขอ 6.2)

หมายเหตุ 1) ดูวัตถุประสงคในการใชคอนกรีตบล็อกชั้นคุณภาพตางๆ ตามภาคผนวก ก.

ตารางที ่4 ความชืน้ (เฉพาะคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนกัประเภทควบคมุความชืน้)(ขอ 6.3)

หมายเหตุ 1) ทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม วิธีทดสอบการหดแหงของคอนกรีตบล็อก (ในกรณีที่ยังมิไดมีการประกาศกําหนดมาตรฐานดังกลาว ใหเปนไปตาม ASTM C 426) และทดสอบกอนกําหนดจําหนายไมเกิน 12 เดือน

2) อาศัยสถิติตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยา สําหรับสถานีที่ ใกลแหลงผลิตมากที่สุด

นอยกวา 50 ถึง มากกวา

50 75 75

0.03 และนอยกวา 35 40 45

มากกวา 0.03 ถึง 0.045 30 35 40

มากกวา 0.045 20 30 35

การหดตวัทางยาว 1)

รอยละ

ความชื้น สูงสุด

รอยละของการดูดกลืนน้ําทั้งหมด

(เฉลี่ยจากคอนกรีตบล็อก 5 กอน)

ความชื้นสัมพัทธรายปเฉลี่ย รอยละ 2)

ชั้น

คุณภาพ 1) เฉลี่ยจาก เฉลี่ยจาก คอนกรีต 1 680 1 681 1 761 1 841 1 921 มากกวา

คอนกรีต คอนกรีต บล็อก และ ถึง ถึง ถึง ถึง

บล็อก บล็อก แตละ นอยกวา 1 760 1 840 1 920 2 000 2 000

5 กอน 5 กอน กอน

ก 7 5.5 14 11 240 224 208 192 176 160

ข 7 5.5 - - 288 272 256 240 224 208

ค 5 4 - - - - - - - -

คอนกรีต

บล็อก

แตละ

กอน

น้ําหนักคอนกรีตเมื่ออบแหง กิโลกรัมคอลูกบาศกเมตร

กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร

การดูดกลืนน้ํา สูงสุด เฉลี่ยจากคอนกรีตบล็อก 5 กอนความตานแรงอัด ต่ําสุด

เมกะพาสคัล

เฉลี่ยจากพื้นที่รวม เฉลี่ยจากพื้นที่สุทธิ

Page 18: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-10-

มอก. 57-2530

7. เคร่ืองหมายและฉลาก

7.1 ทีค่อนกรตีบลอ็กรบัน้าํหนกัทุกกอน อยางนอยตองมเีลข อกัษร หรอืเครือ่งหมายแจงรายละเอยีดตอไปนีใ้หเหน็ไดงาย ชัดเจน(1) ประเภท(2) ชัน้คณุภาพ(3) ชื่อผูทําหรือโรงงานที่ทํา หรือเครื่องหมายการคาในกรณทีีใ่ชภาษาตางประเทศ ตองมคีวามหมายตรงกบัภาษาไทยทีก่ําหนดไวขางตน

7.2 ผูทําผลติภณัฑอตุสาหกรรมทีเ่ปนไปตามมาตรฐานนี ้จะแสดงเครือ่งหมายมาตรฐานกบัผลติภณัฑอตุสาหกรรมนัน้ได ตอเมือ่ไดรบัใบอนญุาตจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภณัฑอตุสาหกรรมแลว

8. การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน

8.1 รุน ในที่นี้ หมายถึง คอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักประเภท ชั้นคุณภาพและขนาดเดียวกัน ที่ทําหรือสงมอบหรือซือ้ขายในระยะเวลาเดยีวกนั

8.2 การชักตัวอยางเพื่อการทดสอบ ใหกระทํา ณ สถานที่ผลิต และตองใหเวลาอยางนอย 10 วัน เพื่อทดสอบใหเสร็จ

8.3 การชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กําหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชกัตวัอยางอืน่ทีเ่ทยีบเทากนัทางวชิาการกับแผนทีก่ําหนดไว

8.3.1 การชักตวัอยางใหเปนไปตาม มอก. 109

8.3.2 เกณฑตดัสนิในกรณีท่ีทดสอบแลวไมผาน อาจคัดบางสวนออก แลวเลือกชกัตวัอยางใหมจากสวนทีเ่หลอืเพือ่ทดสอบใหม ถาตัวอยางจากชุดที่สองนีท้ดสอบแลวไมผานอกี ใหถือวาคอนกรีตบล็อกรับน้ําหนักทั้งรุนไมเปนไปตามมาตรฐานนี้

Page 19: F:StandardNew StdTIS57 2533 · 2016-11-28 · 9. ให ยกเลิกความในหมายเหตุ 1) ท ายตารางที่ 4 และให ใช

-11-

มอก. 57-2530

ภาคผนวก ก.

วตัถปุระสงคในการใชคอนกรีตบลอ็กชัน้คุณภาพตางๆ

หมายเหตุ 1) ควรทาผิวดานนอกของกําแพงดวยน้ํายากันซึม

ลักษณะของกําแพง ปองกันผิว ไมปองกันผิว

กําแพงฐานราก และ ชั้นคุณภาพ ก และ ชั้นคุณภาพ ก 1)

กําแพงขั้นฐาน ชั้นคุณภาพ ข

กําแพงภายนอก ทุกชั้นคุณภาพ ชั้นคุณภาพ ก 1)

(เหนือระดับดิน)

กําแพงภายใน ทุกชั้นคุณภาพ ทุกชั้นคุณภาพ