hypertension chronic care model 550727

2
การพัฒนางานบริการปองกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โดยใชรูปแบบการดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง Chronic Care Model (CCM) ดวยกระบวนการ PDCA วิธีจิตอาสาและนวัตกรรม สื่อ Multimedia อีสาน สรภัญญะ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานยา อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี นรากร สารีแหล, รัชฎาภรณ ชุมแวงวาป , วันทนา ไพศาลพันธ, จิรายุทธ มั่งมูล, สุดารัตน มีแสง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานยา สํานักงานสาธารณสุขอําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่มา โรคความดันโลหิตสูงในประเทศไทยมีอัตราการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องและมีแนวโนมที่เพิ่ม สูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น จากรายงานภาวะสุขภาพของคนไทย .. 2548 พบอัตราการเกิดโรคเพิ่มขึ้นจาก อันดับ 6 ในป .. 2544 เปนอันดับที4 ในป .. 2548 และมีผูปวยรายใหมเพิ่มขึ้น รอยละ 15 และในป .. 2549 เพิ่มเปนรอยละ 20.02 ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บานยา มีอัตราปวยดวยโรคความดันโลหิต สูงในปงบประมาณ 2551, 2552 และ 2553 จํานวน 21, 25 และ 28 คน คิดเปนรอยละ 10.65, 12.43 และ 13.72 ตามลําดับ จากผลการคัดกรองในชุมชนพบกลุมเสี่ยงในปงบประมาณ 2551, 2552 และ 2553 จํานวน 120, 167 และ 201 คน คิดเปนรอยละ 9.06, 12.18 และ 14.30 ตามลําดับ และมีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้น คณะผูวิจัย ไดรวมกันวิเคราะหปญหาเพื ่อรวมกันหาทางการแกไขที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นทีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนารูปแบบใหมของงานบริการปองกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงที่เหมาะสม กับ รพ.สต.บานยา และเพื่อเปรียบเทียบผลอัตราปวยของโรคความดันโลหิตสูง ระหวางกอนกับหลัง การนํา รูปแบบใหมที่พัฒนาขึ้นไปดําเนินการ ระเบียบวิธีวิจัย งานวิชาการนี้เปนงานพัฒนาเชิงทดลองแบบกลุมเดียววัดกอน-หลังการทดลอง กลุมตัวอยาง ผูปวยความดันโลหิตสูง จํานวน 28 คน กลุมเสี่ยงจํานวน 201 คน และกลุอสม.จิตอาสา 109 คน เปรียบเทียบผลการดําเนินงานระหวางกอนกับหลังการนํารูปแบบใหมมาดําเนินการ ดวยคาสถิติพรรณนา และคาสถิติไคสแควรที่ระดับแอลฟา=0.05 ดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม Epi Info Version 6 ผลการศึกษา รูปแบบใหมของงานบริการปองกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ที่พัฒนาขึ้นใชเพียง ทรัพยากรเทาที่มีอยู อยางเหมาะสมกับพื้นที่ปฏิบัติงาน คือ ใชเจาหนาที่และ อสม.ใหคุมคาและเกิด ประโยชนสูงสุด ใชทรัพยากรใหเกิดเปนนวัตกรรมนวัตกรรม สื่อ Multimedia อีสานสรภัญญะ ใชสถานทีใน รพ.สต.บานยาใหคุมคาในการอบรมแกนนํา อสม.จิตอาสา เกิดกลุบานยารักษสุขภาพและเครือขาย ที่เขมแข็ง; ผลการดําเนินงาน พบวา กลุมเปาหมายรอยละ 92.78 มีความพึงพอใจในรูปแบบใหมในระดับดี มาก กลุมจิตอาสามีความพึงพอใจในในระดับดีมากรอยละ 96.66 การพัฒนารูปแบบใหมของงานบริการ ปองกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ใชการประยุกตกระบวนการ PDCA แบบบูรณาการโดยใช ผูรับบริการเปนศูนยกลางทําใหกลุมเสี่ยงลดจํานวนลงจาก 201คนเหลือ 53 คน คิดเปนรอยละ 73.63 และ อัตราปวยลดลงจาก 13.72 ในป .. 2553 เปน 0ในป .. 2554 การนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในงานประจํา รพ.สต.บานยา ไดจัดใหมีกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพฟนฟู และคนหากลุมบุคคลที่มีจิตอาสา ในทุกหมูบาน เพื่อพัฒนาเปนเครือขายเพิ่มความครอบคลุมของงานบริการ

Upload: nkhemasakchai

Post on 26-Oct-2014

107 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Hypertension Chronic Care Model 550727

การพัฒนางานบริการปองกันและควบคุมโรคความดนัโลหิตสูง โดยใชรูปแบบการดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง Chronic Care Model (CCM) ดวยกระบวนการ PDCA วิธีจิตอาสาและนวัตกรรม สื่อ Multimedia อีสานสรภัญญะ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานยา อําเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี นรากร สารีแหล, รัชฎาภรณ ชุมแวงวาป, วันทนา ไพศาลพันธ, จิรายุทธ มั่งมูล, สุดารัตน มีแสง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานยา สํานักงานสาธารณสขุอําเภอหนองหาน จังหวัดอดุรธาน ี ท่ีมา โรคความดันโลหิตสูงในประเทศไทยมีอัตราการเกดิโรคเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องและมีแนวโนมที่เพิ่มสูงขึ้นตามอายทุี่เพิ่มขึ้น จากรายงานภาวะสุขภาพของคนไทย ป พ.ศ. 2548 พบอัตราการเกิดโรคเพิม่ขึ้นจากอันดับ 6 ในป พ.ศ. 2544 เปนอันดับที่ 4 ในป พ.ศ. 2548 และมีผูปวยรายใหมเพิ่มขึ้น รอยละ 15 และในป พ.ศ. 2549 เพิม่เปนรอยละ 20.02 ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บานยา มีอัตราปวยดวยโรคความดนัโลหิตสูงในปงบประมาณ 2551, 2552 และ 2553 จํานวน 21, 25 และ 28 คน คิดเปนรอยละ 10.65, 12.43 และ 13.72 ตามลําดับ จากผลการคัดกรองในชุมชนพบกลุมเสีย่งในปงบประมาณ 2551, 2552 และ 2553 จํานวน 120, 167 และ 201 คน คิดเปนรอยละ 9.06, 12.18 และ 14.30 ตามลําดับ และมีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้น คณะผูวิจยัไดรวมกนัวเิคราะหปญหาเพือ่รวมกันหาทางการแกไขทีเ่หมาะสมกับบริบทของพื้นที่ วัตถุประสงค เพื่อพัฒนารูปแบบใหมของงานบริการปองกนัและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงที่เหมาะสมกับ รพ.สต.บานยา และเพื่อเปรียบเทียบผลอัตราปวยของโรคความดันโลหิตสูง ระหวางกอนกับหลัง การนํารูปแบบใหมทีพ่ัฒนาขึ้นไปดาํเนินการ ระเบียบวิธีวิจัย งานวิชาการนี้เปนงานพัฒนาเชิงทดลองแบบกลุมเดยีววัดกอน-หลังการทดลอง กลุมตัวอยาง ผูปวยความดนัโลหิตสูง จํานวน 28 คน กลุมเสี่ยงจํานวน 201 คน และกลุม อสม.จติอาสา 109 คน เปรียบเทียบผลการดําเนินงานระหวางกอนกับหลังการนํารูปแบบใหมมาดําเนินการ ดวยคาสถิติพรรณนา และคาสถิติไคสแควรที่ระดบัแอลฟา=0.05 ดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม Epi Info Version 6 ผลการศึกษา รูปแบบใหมของงานบริการปองกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ที่พัฒนาขึ้นใชเพียงทรัพยากรเทาที่มีอยู อยางเหมาะสมกับพื้นที่ปฏิบัตงิาน คือ ใชเจาหนาทีแ่ละ อสม.ใหคุมคาและเกดิประโยชนสูงสุด ใชทรัพยากรใหเกิดเปนนวัตกรรมนวตักรรม ส่ือ Multimedia อีสานสรภัญญะ ใชสถานที่ใน รพ.สต.บานยาใหคุมคาในการอบรมแกนนํา อสม.จติอาสา เกิดกลุม “บานยารักษสุขภาพ” และเครือขายที่เขมแข็ง; ผลการดําเนนิงาน พบวา กลุมเปาหมายรอยละ 92.78 มีความพงึพอใจในรปูแบบใหมในระดับดีมาก กลุมจิตอาสามีความพึงพอใจในในระดับดีมากรอยละ 96.66 การพฒันารูปแบบใหมของงานบริการปองกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง ใชการประยุกตกระบวนการ PDCA แบบบูรณาการโดยใชผูรับบริการเปนศูนยกลางทําใหกลุมเสี่ยงลดจํานวนลงจาก 201คนเหลือ 53 คน คิดเปนรอยละ 73.63 และอัตราปวยลดลงจาก 13.72 ในป พ.ศ. 2553 เปน 0ในป พ.ศ. 2554 การนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในงานประจํา รพ.สต.บานยา ไดจัดใหมีกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพฟนฟูและคนหากลุมบุคคลที่มีจิตอาสา ในทุกหมูบาน เพื่อพัฒนาเปนเครือขายเพิ่มความครอบคลุมของงานบริการ

Page 2: Hypertension Chronic Care Model 550727

สุขภาพในพืน้ที่ของแตละหมูบานโดยใหมีการแลกเปลีย่นเรียนรูดวยกระบวนการจดัการความรู เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ใหเกิดความตอเนื่องและยั่งยืน งานวิจยันี้ รพ.สต.บานยา ไดนําไปเผยแพรและถายทอดความรูและประสบการณกับสถานบริการสาธารณสุขอื่นๆ ไดนําเสนอเปนตวัอยางของการทํางานประจําสูการวิจัยที่ดีและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสามารถพัฒนางานที่รับผิดชอบได โดยใชเพียงทรพัยากรเทาที่มอียู และเกิดประโยชนตอประชาชนตั้งแตเร่ิมตนทําวจิยั บทเรียนท่ีไดรับ การทํางานทุกอยางไมไดมีความราบรื่นเสมอไป ลวนแตมีปญหาใหเรานั้นไดแกไขเสมอ แตอยูทีว่า การแกไขปญหานัน้จะดําเนนิการแกไขปญหาอยางไร ตามบริบทของพื้นที่นั้นๆ และการทํางานเปนทีมที่ดีและสมบูรณแบบที่สุดนั้น คือการทํางานที่มีความสามัคคี มองทุกคนเปนองครวม มองทุกคนเปนเพื่อนรวมงานที่มีประสิทธิภาพ และศักยภาพในการทํางานเทากันทกุคน ปจจัยแหงความสําเร็จ เจาหนาที่ในรพ.สต.ตําบลบานยา มีความรวมมือ รวมใจ และจบัมือกาวเดินดวยกันดวยความมั่นคง มี อสม. ที่นารัก มีความเขม็แข็ง มีจิตอาสาในการพัฒนาคุณภาพชีวติของประชาชนรวมกับเจาหนาที่ มนีวัตกรรมรถรับ-สงที่รวมมือรวมใจกันระหวางรัฐกับประชาชน เกดิความพึงพอใจแกผูรับบริการมาก และมีพลังของเครือขายที่เขมแข็ง เหนือส่ิงอื่นใด คือ การที่ทุกภาคสวนมีเปาหมายเดียวกันในการแกไขปญหาสุขภาพของประชาชน การสนับสนุนท่ีไดรับจากผูบริหารหนวยงาน/องคกร ผูบริหารใหความสําคัญและสนับสนุนในการจัดเวทีวิชาการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู หนวยงานใหการสนบัสนุนบุคลากรใหโอกาสในการพัฒนาและการดําเนินงาน องคกรภาคีเครือขายใหการสนบัสนุนงบประมาณในการดําเนินการ