key success factors for municipal solid waste separation ...ชุมชนกลางนา...

358
(1) ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนปาลมซิตีชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation: Case Studies of Palm City, Klangna and Khuansanti Communities, Amphoe Hat Yai, Changwat Songkhla. อโนทัย ชูสุวรรณ Anothai Chusuwan วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Environmental Management Prince of Songkla University 2551 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Upload: others

Post on 14-Mar-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(1)

ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคดัแยกมูลฝอยชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนปาลมซิต้ี

ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation: Case Studies of

Palm City, Klangna and Khuansanti Communities, Amphoe Hat Yai, Changwat Songkhla.

อโนทัย ชูสุวรรณ Anothai Chusuwan

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Environmental Management

Prince of Songkla University 2551

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 2: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(2)

ชื่อวิทยานิพนธ ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวดัสงขลา

ผูเขียน นางสาวอโนทยั ชูสุวรรณ สาขาวิชา การจัดการสิ่งแวดลอม อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก คณะกรรมการสอบ ....................................................................... ..............................................ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.โรจนัจฉริย ดานสวัสดิ์) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมทิพย ดานธีรวนิชย)

............................................................กรรมการ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ผูชวยศาสตราจารย ดร.พนาลี ชีวกิดาการ) ....................................................................... ............................................................กรรมการ (ดร.เสาวลักษณ รุงตะวันเรอืงศรี) (รองศาสตราจารย ดร.ชาติ เจยีมไชยศร)ี

............................................................กรรมการ

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.โรจนัจฉริย ดานสวัสดิ์) ............................................................กรรมการ (ดร.เสาวลักษณ รุงตะวันเรอืงศรี)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบบันีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการส่ิงแวดลอม

............................................................... (รองศาสตราจารย ดร.เกริกชัย ทองหนู)

คณบดีบณัฑิตวิทยาลัย

Page 3: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(3)

ชื่อวิทยานิพนธ ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

ผูเขียน นางสาวอโนทยั ชูสุวรรณ สาขาวิชา การจัดการสิ่งแวดลอม ปการศึกษา 2551

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยหลัก และกลไกแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา วิธีการศึกษาแบงเปน 3 ขั้นตอน เร่ิมจากการวิจัยเอกสารเพื่อศึกษาปจจัยในการคัดแยกมูลฝอยและนําไปสรางสมมติฐานความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปทวนสอบในขั้นตอนที่ 2 ดวยขอมูลจากแบบสอบถาม และทวนสอบดวยขอมูลจริงในขั้นตอนที่ 3 ดวยการสํารวจพื้นที่และการเก็บขอมูลเชิงประจักษ ผลจากการทวนสอบในขั้นตอนที่ 1 ไดตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยประกอบดวย 1) ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 2) ปริมาณวัสดุที่เขาสูกระบวนการแปรรูป 3) ปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า 4) ความสะอาด และปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จทั้ง 4 ตัวช้ีวัดไดแก 1) ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคล เพศ อายุ ประกอบอาชีพ รายได ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน ลักษณะที่อยูอาศัย การไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ปจจัยผูนําชุมชน รณรงคเร่ืองการคัดแยกมูลฝอย ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย มีการประสานงานระหวางหนวยงาน มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน อดทน กระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย มีความเสียสละ รับฟงความคิดเห็น ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย 3) ปจจัยโครงการ ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย รณรงคใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย มีการประสานงานระหวางองคกร สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 4) ปจจัยเทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยมีเพียงพอ จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวันและเวลาที่กําหนด จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย สงเสริมการมีสวนรวม

Page 4: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(4)

ของประชาชน มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล มีการติดตอส่ือสารและรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ 5) ปจจัยซาเลง การเขามารวบรวมมูลฝอย การใหผลตอบแทน มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย ความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย จากปจจัยดังกลาวสรุปเปนสมติฐานของรูปแบบความเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

ผลของการวิเคราะหความสัมพันธเชิงกระบวนการจากขั้นตอนที่ 2 พบวาตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยที่มีคารอยละสูงสุดทั้ง 3 ชุมชน คือ ความสะอาดโดยชุมชนปาลมซิตี้จาก 11 โซน มีคารอยละสูงสุดของตัวช้ีวัดความสะอาด 9 โซน ชุมชนกลางนาจาก 14 โซน มีคารอยละสูงสุดของตัวช้ีวัดความสะอาด 11 โซน และชุมชนควนสันติจาก 22 โซน มีคารอยละสูงสุดของตัวช้ีวัดความสะอาด 19 โซน โดยพบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสะอาดสอดคลองกันทั้ง 3 ชุมชน ประกอบดวย 1) คุณสมบัติสวนบุคคล คือ 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) มีรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) ระยะเวลาอาศัยในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) การไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 2.3) เปนตัวอยางในการ คัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงวันเวลาที่กําหนด 3.3) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.4) เห็นความสําคัญของการคัดแยกมูลฝอย 3.5) สนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

ผลการวิเคราะหจากการสํารวจเชิงประจักษ พบวาตัวช้ีวัดที่ไดคารอยละสูงสุดจากขั้นตอนที่ 2 คือความสะอาดจากการสํารวจในพื้นที่พบวาสะอาดจริง พื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้รอยละ 88.89 พื้นที่ชุมชนกลางนารอยละ 81.81 และพื้นที่ชุมชนควนสันติรอยละ 78.95 โดยพบวาปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จความสะอาด ขึ้นอยูกับคุณลักษณะสวนบุคคลที่เหมือนกันของทั้ง 3 ชุมชน คือ อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ มีรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน ระยะเวลาอาศัยในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป และการไดรับขอมูลขาวสาร นอกจากคุณลักษณะของประชากรแลวปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จยังขึ้นอยูกับลักษณะบริบทของชุมชน ความสัมพันธของประชาชน และระบบการการจัดเก็บมูลฝอยของหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนั้นชุมชนท่ีตางกันรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดก็จะตางกัน

Page 5: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(5)

Thesis Title Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation: Case Studies of Palm City, Klangna and Khuansanti Communities, Amphoe Hai Yai, Changwat Songkhla

Author Miss Anothai Chusuwan Major Program Environmental Management Academic Year 2008

ABSTRACT

The objective of this research is to study main factors and strategy for successful of Municipal Solid Waste Separation: Case Studies of Palm City, Klangna and Khuansanti Communities, Amphoe Hatyai, Changwat Songkhla. The research methods are divided into 3 steps, step 1: studying documents to determine factors of Municipal Solid Waste Separation and building the relation hypothesis of processing for verifying in the step 2 from questionnaire and verify from true data in the step 3 by survey an area and collection an obvious data. Documentary research disclosed that success indicators comprise cleanliness, recyclables, reusable, and the amount of solid waste to be disposed and that key success factors include 1) persal characteristic: gender, age, occupation, income, education level, social status, living time in the community, living place characteristic, getting the information about solid waste separation. 2) community leader: introduce an information about solid waste separation, share an information about solid waste separation, introduction an information or training about solid waste separation, coordinate work between organization, there is the attractive for holds, there is diligence , endure , enthusiasm , example about solid waste separation and sacrifice, share viewpoint, interesting about solid waste problems. 3) project: share an information about solid waste separation, introduction about solid waste separation to the population, prepare an activities about solid waste separation, coordinate work between organization, supplement the performance about solid waste separation continuously. 4) local government or organization: prepare the receptacles the solid waste, put down the receptacles the solid waste just enough and appropriate, kept the solid waste on day and on time appoint, kept the solid waste cover an area, kept the solid waste

Page 6: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(6)

for separation, supplement the performance about solid waste management, supplement the participation of population, effort to performance the activities of solid waste separation, have positive relation between community with local government, communication and battle field about solid waste separation always. 5) Saleng: gather together the solid waste, offer the reward, honest, frequency of gather together the solid waste. Those factors are summarized to process format hypothesis of factors to success indicator about solid waste separation. The analysis’s result the processing relation from step 2 indicated that the success indicator of solid waste separation have highest percentage all 3 communities such as the communities were cleanliness , by Palm City Community is divided 11 zones, have indicator’s highest percentage that cleanliness 9 zones. Klangna Community is divided 14 zones, have indicator’s highest percentage that cleanliness 11 zones and Khuansanti Community is divided 22 zones, have indicator’s highest percentage that cleanliness 19 zones. The finding indicated that the processing relation factors bring to success indicator that communities are clean up to consistent all 3 communities are consist of 1) person characteristic 1.1) age more than or equal to 25 years old 1.2) occupation 1.3) income more than or equal to 5,000 baths / month 1.4) living time in the community more than or equal to 5 years 1.5) getting the information 2) community’s leader 2.1) battle field about solid waste separation 2.2) reliability 2.3) for example of solid waste separation 3) Municipal 3.1) put down the receptacles opportunity 3.2) kept the solid waste on day and on time appoint 3.3) kept the solid waste cover area 3.4) foresee the important of solid waste separation 3.5) supplement the performance about solid waste management. The analysis’s result from obvious data indicated that the indicator have highest percentage from step 2 that clean up are following : Palm City community area percentage 88.89 , Klangna Community area percentage 81.81 and Khuansanti Community area percentage 78.95, to found out that the factors were bring to success indicator that cleanliness on person characteristic that same all 3 communities such as : age more than or equal to 25 years old, occupation, income more than or equal to 5,000 baths per month, living time in the community more than or equal to 5 years and getting an information. In addition the population’s characteristic, the factors that bring to success indicator depend on community’s context characteristic, population’s relation and kept management system the solid waste of related

Page 7: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(7)

organization. Therefore, the different communities in the part processing relation format of factors for bring to indicator’s different so.

Page 8: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(8)

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงเปนไปตามวัตถุประสงคไดดวยดี ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร .โรจนัจฉริย ดานสวัสดิ์ ประธานกรรมการที่ปรึกษา และดร.เสาวลักษณ รุงตะวันเรืองศรี กรรมการที่ปรึกษารวม ที่ไดใหคําปรึกษา คําแนะนํา ในการตรวจทานแกไขวิทยานิพนธ ขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.สมทิพย ดานธีรวนิชย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พนาลี ชีวกิดาการ และรองศาสตราจารย ดร.ชาติ เจียมไชยศรีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธที่กรุณาใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม และตรวจสอบแกไขขอบกพรองอันเปนประโยชนตอวิทยานิพนธเลมนี้เพื่อใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น

ขอขอบคุณประชาชน และผูนําชุมชนในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลาที่ไดใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม และการสัมภาษณ เพื่อใหวิทยานิพนธเลมนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

ขอขอบคุณเหลาคณาจารยคณะการจัดการสิ่งแวดลอมที่คอยช้ีแนะแนวทางในการทําวิทยานิพนธ และการดําเนินชีวิต ใหคําปรึกษา และสรางแรงกระตุนในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้จนสําเร็จลุลวง ขอขอบคุณเจาหนาที่คณะการจัดการสิ่งแวดลอมทุกทานที่กรุณาอํานวยความสะดวกและชวยเหลือในดานตาง ๆ ดวยดีเสมอมา และขอขอบคุณศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอม และของเสียอันตราย-ศูนยเครือขายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รวมทั้งขอขอบคุณ คุณปรียนันท เทพนวล คุณอํามาตย ไชยทวีวงศ และเพื่อนๆ ชาวส่ิงแวดลอมรุนที่ 16 พี่ๆ นองๆ คณะการจัดการสิ่งแวดลอมทุกคน สุดทายขอกราบขอบคุณ คุณพอ คุณแม และพี่ชายท่ีคอยเปนแรงสนับสนุน ใหกําลังใจ ความรักความหวงใย และชวยเหลือในดานตางๆ รวมทั้งใหโอกาสทางการศึกษาแกผูวิจัยซ่ึงผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้

อโนทัย ชูสุวรรณ

Page 9: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(9)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (3) Abstract (5) กิตติกรรมประกาศ (8) สารบัญ (9) รายการตาราง (13) รายการภาพประกอบ (14) บทที่ 1 1. บทนํา 1

1.1 ความเปนมาของปญหาและปญหา 1 1.2 วัตถุประสงค 2 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2 1.4 การตรวจเอกสาร 2

1.4.1 การคัดแยกมูลฝอย 2 1.4.2 แนวคดิเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย 5 1.4.3 รูปแบบของการคัดแยกมูลฝอย 5 1.4.4 ปจจัยทีส่งผลตอการคัดแยกมูลฝอย 6 1.4.5 ตัวช้ีวดัความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 14 1.4.6 งานวิจยัที่เกี่ยวของ 15

1.5 ขอมูลทั่วไปของพื้นที่ศึกษา 16 1.6 นิยามศัพทที่ใชในการวิจยั 25

2. วิธีการวิจยั 26 2.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั 26 2.2 ขอบเขตการวิจัย 27

2.2.1 ขอบเขตดานขอมูล 27 2.2.2 ขอบเขตดานวิธีการวิจยั 27 2.2.3 ขอบเขตดานพื้นที่ศกึษา 27

Page 10: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(10)

สารบัญ (ตอ)

หนา 2.3 ขั้นตอนการวิจัย 27

2.3.1 การศึกษาขอมูลจากเอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วของเพือ่สรางสมมติฐาน 28 2.3.2. เก็บขอมูลดวยแบบสอบถามเพื่อทวนสอบสมมติฐานจากขั้นตอนที่ 1 29

2.3.2.1 ประชากรและกลุมตวัอยางในการเกบ็ขอมูลดวยแบบสอบถาม 29 2.3.2.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 31 2.3.2.3 การตรวจสอบแบบสอบถาม 31 2.3.2.4 การคัดเลือก และกรองขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล 31

2.3.3 การเก็บขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจักษ 32 2.3.3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางในการสํารวจเชิงประจักษ 32 2.3.3.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 32 2.3.3.3 การวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ 32 2.3.3.4 การคัดเลือก และกรองขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล 33

2.4 การสรุปและอภิปรายผล 33 3. ผลการวิจัย 34

3.1 ผลจากการวิจัยเอกสาร 34 3.1.1 ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 34 3.1.2 ปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย 34 3.1.3 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัด

ความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 39

3.2 ผลจากการทวนสอบดวยแบบสอบถาม 47 3.2.1 ผลการทวนสอบขอมูลดวยแบบสอบถามชุมชนปาลมซิตี้ 47 3.2.2 ผลการทวนสอบขอมูลดวยแบบสอบถามชุมชนกลางนา 63 3.2.3 ผลการทวนสอบขอมูลดวยแบบสอบถามชุมชนควนสันติ 82

3.3 ผลจากการทวนสอบดวยการสํารวจเชิงประจักษ 111 3.3.1 ผลการทวนสอบขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจักษชุมชนปาลมซิตี้ 111 3.3.2 ผลการทวนสอบขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจกัษชุมชนกลางนา 132

Page 11: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(11)

สารบัญ (ตอ)

หนา 3.3.3 ผลการทวนสอบขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจกัษชุมชนควนสันติ 155

4.สรุป อภิปรายผลการวิจยัและเสนอแนะ 185 4.1 สรุปผลการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอย 185

4.1.1 สรุปตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 185 4.1.2 สรุปปจจัยที่นําไปสูตวัช้ีวัดความสําเร็จ 185 4.1.3 สรุปกลไกขับเคลื่อนเพือ่นําไปสูตัวช้ีวดัความสําเร็จ 187

4.2 สรุปผลจากการทวนสอบดวยแบบสอบถาม 188 4.2.1 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถามชุมชนปาลมซิตี้ 188 4.2.1 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถามชุมชนกลางนา 189 4.2.1 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถามชุมชนควนสันติ 191

4.3 สรุปผลจากการสํารวจเชิงประจักษ 197 4.3.1 สรุปผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนปาลมซิตี้ 197 4.3.1 สรุปผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนกลางนา 198 4.3.1 สรุปผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนควนสันต ิ 200

4.4 อภิปรายผลการวิจัย 207 4.5 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนนิการจัดการมูลฝอย 209 4.6 เสนอแนะ 209

บรรณานุกรม 211 ภาคผนวก 218

ภาคผนวก ก แหลงที่มาของตัวช้ีวดัและปจจัยที่สงผลตอการคัดแยกมลูฝอย 219 ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 225 ภาคผนวก ค ตวัแปรที่ใชในการเก็บขอมูลจากแบบสอบถาม 233 ภาคผนวก ง จาํนวนและรอยละของปจจัยทีน่ําไปสูตัวช้ีวดัในแตละโซน ของ

แตละชุมชน 238

ภาคผนวก จ แผนที่แสดงพื้นที่ศึกษา 287

Page 12: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(12)

สารบัญ (ตอ)

หนา ภาคผนวก ฉ รูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากแบบสอบถามในแตละโซน

ของชุมชนปาลม ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ 294

ภาคผนวก ช ลักษณะบริบทจาํเพาระของแตละโซน ในพืน้ที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

326

ภาคผนวก ซ ลักษณะของโซนที่สะอาดพืน้ที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

333

ประวัติผูเขียน 336

Page 13: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(13)

รายการตาราง

ตาราง หนา 2-1 จํานวนประชากรตัวอยางที่ใชในการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม 31 2-2 จํานวนประชากรตัวอยางที่ใชในการเก็บขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจักษ 32 3-1 คุณลักษณะและบทบาทของบุคคลที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ในการ

คัดแยกมูลฝอย 37

3-2 ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 39 3-3 ปจจัยสนับที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ 40 3-4 จํานวนและรอยละของรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยก

มูลฝอย ชุมชนปาลมซิตี้ 58

3-5 จํานวนและรอยละของรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยก มูลฝอยชุมชนกลางนา

76

3-6 จํานวนและรอยละของรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยก มูลฝอยชุมชนควนสันติ

104

3-7 จํานวน และรอยละของปริมาณมูลฝอยในโซนที่ 3, 7 และ 8 ชุมชนปาลมซิตี้ 123 3-8 จํานวน และรอยละของปริมาณมูลฝอยในโซนที่ 3, 11 และ 12 ชุมชนกลางนา 147 3-9 จํานวน และรอยละของปริมาณมูลฝอยในโซนที่ 10, 20 และ 21 ชุมชนควนสันติ 177 4-1 ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากการวิจัยเอกสาร

และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 186

4-2 ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัด จากการสํารวจดวยแบบสอบถาม พื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

194

4-3 ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ี จากการสํารวจเชิงประจักษ ในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

202

4-4 สรุปคุณลักษณะและบทบาทของบุคคลที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ในการคัดแยกมูลฝอย

205

Page 14: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(14)

รายการภาพประกอบ

ภาพประกอบ หนา 1-1 แผนภูมกิระบวนการและเสนทางการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใช

ประโยชน 4

1-2 การคัดแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิด 9 2-1 กรอบแนวคิดการวิจัยปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย 26 2-2 ปจจัยหลักและปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 29 3-1 รูปแบบหลักที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ 39 3-2 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัด

ลดลง จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 43

3-3 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัด ลดลง จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

44

3-4 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใช ซํ้าจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

45

3-5 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาดขึ้น จาก เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

46

3-6 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 1 ชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

48

3-7 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 2 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

49

3-8 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลง โซน 3 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

50

3-9 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 4 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

51

3-10 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 5 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

52

3-11 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 6 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

53

Page 15: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(15)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-12 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจัดลงโซน 7 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม 54

3-13 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลงโซน 8 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

54

3-14 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 9 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

55

3-15 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 10 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

56

3-16 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 11 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

57

3-17 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

59

3-18 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสู กระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

60

3-19 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นํากลับมาใชใหมในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

61

3-20 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดขึ้นในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

62

3-21 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

63

3-22 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 1 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

64

3- 23 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 2 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

65

3-24 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงโซน 3 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

66

Page 16: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(16)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-25 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 4

ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม 67

3-26 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 5 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

68

3-27 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 6 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

69

3-28 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 7 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

70

3-29 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 8 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

71

3-30 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 9 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

72

3-31 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 10 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

73

3-32 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงโซน 11 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

74

3-33 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงโซน 12 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

74

3-34 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 13 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

75

3-35 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 14 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

76

3-36 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงในภาพรวม ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

78

3-37 รูปแบบความสัมพันธ เชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสู กระบวนการแปรรูปลดลงในภาพรวม ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

79

Page 17: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(17)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-38 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมา

ใชใหมในภาพรวม ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม 80

3-39 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาดขึ้นในภาพรวม ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

81

3-40 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูรายไดจากการคัดแยกมูลฝอย ในภาพรวมชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

82

3-41 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 1 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

83

3-42 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 2 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

84

3-43 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 3 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

85

3-44 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 4 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

86

3-45 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 5 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

87

3- 46 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 6 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

88

3- 47 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 7 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

89

3-48 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 8 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

90

3-49 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 9 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

91

3-50 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงโซน 10 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

92

Page 18: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(18)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-51 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 11

ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม 93

3-52 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 12 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

94

3-53 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 13 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

95

3-54 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 14 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

96

3-55 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 15 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

97

3-56 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 16 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

98

3-57 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 17 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

99

3-58 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 18 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

100

3-59 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 19 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

101

3-60 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงโซน 20 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

102

3- 61 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงโซน 21 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

103

3-62 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 22 ชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

104

3-63 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

106

Page 19: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(19)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-64 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขา

สูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม 107

3-65 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชใหมในภาพรวมชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

108

3-66 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาด ในภาพรวม ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

109

3-67 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยในภาพรวม ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

110

3-68 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนปาลมซิตี้โซนที่ 1 ที่มีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 112 3-69 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 1 112

3-70 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 2 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 113 3-71 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 2 114

3-72 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 4 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 115 3-73 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 4 115

3-74 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 5 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 116 3-75 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 5 116

3-76 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 6 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 117 3-77 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ชุมชน

ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 6 118

3-78 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 9 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 119 3-79 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 9 119

Page 20: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(20)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-80 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนปาลมซิตี้โซนที่ 10 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 120 3-81 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 10 121

3-82 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 11 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 122 3-83 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 11 122

3-84 รถเก็บขนมูลฝอยที่ทํ าการจัดเก็บวัสดุ รีไซเคิลที่ประชาชนคัดแยกไว ชุมชนปาลมซิตี้

125

3-85 รูปแบบความสมัพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไป กําจัดลดลง ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 3

125

3-86 รูปแบบความสมัพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไป กําจัดลดลง ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 7

126

3-87 รูปแบบความสมัพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไป กําจัดลดลง ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 8

127

3-88 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดใน ภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

129

3-89 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

130

3-90 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ เขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ การสํารวจเชิงประจักษ

131

3-91 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นํากลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

131

3-92 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

132

3-93 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 1 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 133

Page 21: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(21)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-94 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน

กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 1 134

3-95 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 2 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 135 3-96 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 2 135

3-97 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 5 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 136 3-98 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 5 136

3-99 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 6 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 137 3-100 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 6 138

3-101 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 7 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 139 3-102 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 7 139

3-103 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 8 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 140 3-104 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 8 141

3-105 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 9 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่สะอาดจริง 142 3-106 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 9 142

3-107 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 13 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 143 3-108 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 13 143

3-109 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 14 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 144 3-110 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 14 145

Page 22: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(22)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-111 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนกลางนาโซนที่ 4 ซ่ึงมีลักษณะของพืน้ที่ที่ไมสะอาด 146 3-112 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 10 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด 146 3-113 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจดัลดลง ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 3 148

3-114 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลง ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 11

149

3-115 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลง ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 12

150

3-116 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดใน ภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

152

3-117 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

152

3-118 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ เขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนกลางนา การสํารวจเชิงประจักษ

153

3-119 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นํากลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจกัษ

154

3-120 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยในภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

154

3-121 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 1 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 155 3-122 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 1 156

3-123 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 2 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 157 3-124 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 2 157

3-125 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 3 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 158 3-126 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด 159

Page 23: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(23)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 3

3-127 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 4 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 160 3-128 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน4 160

3-129 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 5 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 161 3-130 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 5 162

3-131 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 6 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 163 3-132 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 6 163

3-133 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 7 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 164 3-134 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 7 164

3-135 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 8 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 165 3-136 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 8 166

3-137 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 13 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 167 3-138 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 13 167

3-139 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 15 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 168 3-140 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 15 168

3-141 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 16 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 169 3-142 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 16 170

3-143 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 17 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 171

Page 24: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(24)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-144 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 17 171

3-145 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 18 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 172 3-146 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 18 172

3-147 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 19 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 173 3-148 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 19 174

3-149 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 22 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง 175 3-150 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 22 175

3-151 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนควนสันติโซนที่ 9 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด 176 3-152 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนควนสันติโซนที่ 11 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด 176 3-153 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 12 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด 176 3-154 ลักษณะพื้นทีชุ่มชนควนสันติโซนที่ 14 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด 177 3-155 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจดัลดลง ชุมชนควนสันติจากการสาํรวจเชิงประจกัษ โซน 10 179

3-156 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง ชุมชนควนสันติจากการสาํรวจเชิงประจกัษ โซน 20

180

3-157 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง ชุมชนควนสันติจากการสาํรวจเชิงประจกัษ โซน 21

181

3-158 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดใน ภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

182

3-159 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

182

Page 25: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(25)

รายการภาพประกอบ (ตอ)

ภาพประกอบ หนา 3-160 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

เขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนควนสันติ การสํารวจเชิงประจักษ 183

3-162 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นํากลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

184

3-162 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

184

4-1 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัย

187

4-2 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากการวิจัยแบบสอบถาม ชุมชนปาลมซิตี้

189

4-3 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากการวิจัยแบบสอบถาม ชุมชนกลางนา

190

4-4 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากการวิจัยแบบสอบถาม ชุมชนควนสันติ

192

4-5 สรุปรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

198

4-6 สรุปรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในพื้นที่ชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

199

4-7 สรุปรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในพื้นที่ชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

201

4-8 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยสนับสนุนทั้งหมดใน 3 ชุมชนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จใน

204

4-9 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยสนับสนุนที่เหมือนกันทั้ง 3 ชุมชนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จใน

205

Page 26: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(26)

รายการตารางภาคผนวก

ตารางภาคผนวก หนา ก-1 ตัวช้ีวดัความสาํเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 220 ก-2 ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบคุคล 221 ก-3 ปจจัยดานผูนําชุมชน 222 ก-4 ปจจัยดานเทศบาล /หนวยงาน 223 ก-5 ปจจัยดานโครงการ 224 ก-6 ปจจัยดานซาเลง 224 ค-1 ช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 234 ค-2 ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคล 234 ค-3 ปจจัยดานผูนําชุมชน 236 ค-4 ปจจัยดานโครงการ 236 ค-5 ปจจัยเทศบาลหรือหนวยงาน 237 ค-6 ปจจัยดานซาเลง 237 ง-1 จํานวนและรอยละของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในแตละโซนของพื้นที่

ชุมชนปาลมซิตี้ 239

ง-2 จํานวนและรอยละของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในแตละโซนของพื้นที่ชุมชนกลางนา

250

ง-3 จํานวนและรอยละของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในแตละโซนของพื้นที่ชุมชนควนสันติ

264

ฉ-1 รูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากแบบสอบถาม ชุมชนปาลมซิตี้ 295 ฉ-2 รูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากแบบสอบถาม ชุมชนกลางนา 305 ฉ-3 รูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากแบบสอบถาม ชุมชนควนสันติ 315 ช-1 ลักษณะบริบทจําเพาะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ 327 ช-2 ลักษณะบริบทจําเพาะพื้นที่ชุมชนกลางนา 329 ช-3 ลักษณะบริบทจําเพาะพื้นที่ชุมชนควนสันต ิ 331 ซ-1 ลักษณะของโซนที่สะอาดในชุมชนปาลมซิตี้ 334 ซ-2 ลักษณะของโซนที่สะอาดในชุมชนกลางนา 334

Page 27: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(27)

รายการตารางภาคผนวก (ตอ)

ตารางภาคผนวก หนา ซ-3 ลักษณะของโซนที่สะอาดในชุมชนควนสันติ 335

Page 28: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

(28)

รายการภาพประกอบภาคผนวก

ภาพประกอบภาคผนวก หนา จ-1 ที่ตั้งพื้นที่ศึกษาชุมชนปาลมซีตี้ ตําบลคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 288 จ-2 การแบงโซนของชุมชนควนสันติ ตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัด

สงขลา 289

จ-3 ที่ตั้งพื้นที่ศึกษาชุมชนกลางนา ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวดัสงขลา 290 จ-4 การแบงโซนของชุมชนกลางนา ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวดั

สงขลา 291

จ-5 ที่ตั้งพื้นที่ศึกษาชุมชนควนสันติ ตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 292 จ-6 การแบงโซนของชุมชนควนสันติ ตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัด

สงขลา 293

Page 29: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาของปญหาและปญหา

ปจจุบันปญหามูลฝอยเปนปญหาสําคัญที่เกิดขึ้นในทุกชุมชน แตในขณะที่การจัดการมูลฝอยในชุมชนยังขาดประสิทธิภาพ ทั้งในดานการรวบรวมมูลฝอย การเก็บขน การกําจัดมูลฝอยชุมชน และการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชประโยชนใหม จึงทําใหปริมาณมูลฝอย พ.ศ. 2548 มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ 14.3 ลานตัน หรือ 39,221 ตันตอวัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2551)

การคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชใหมเปนวิธีการหนึ่งที่ภาครัฐเริ่มนํามาพิจารณาในการจัดการมูลฝอย ในการคัดแยกมูลฝอยเปนขั้นตอนที่สามารถดําเนินการไดตั้งแตการคัดแยกจากแหลงกําเนิด โดยประชากรที่กอมูลฝอยเปนผูคัดแยกมูลฝอย การคัดแยกมูลฝอยจากการรวบรวม และเก็บขนมูลฝอยโดยพนักงานที่จัดเก็บมูลฝอยเปนผูคัดแยก และการคัดแยกมูลฝอยจากสถานที่กําจัดมูลฝอย ซ่ึงจะเห็นไดวาการคัดแยกมูลฝอยชุมชน สวนใหญจะเปนการดําเนินการแบบแยกสวน เชน ในขณะที่มีแผนการดําเนินงานสงเสริมการแยกมูลฝอยในครัวเรือน แตขาดกระบวนการจัดเก็บ และกําจัดมูลฝอยแตละประเภทมารองรับ ทําใหมูลฝอยเหลานั้นถูกนําไปกําจัดรวมกันอีก ในปจจุบันหนวยงานตางๆ ไดทําการศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีความสัมพันธกับการคดัแยกมูลฝอยชุมชน ไมวาจะเปนการศึกษาวิจัย เร่ืองปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยก มูลฝอยของครัวเรือน (ภัทราภรณ กฤษณะพันธ, 2547) การมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย (สุดธิดา สุวรรณะ, 2545) ความรู และพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน (สุพรรณี พลอยพุม, 2541) และระบบการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอย (กรมควบคุมมลพิษ, 2547) ซ่ึงจากการวิจัยตางๆ จะเห็นไดวาปจจัยทั้งหมดมีผลตอการคัดแยกมูลฝอยของประชาชนในชุมชน

เพื่อใหเห็นถึงความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่สงผลตอการคัดแยก มูลฝอย และกลไกในการขับเคลื่อนการคัดแยกมูลฝอยใหบรรลุผลสําเร็จ จึงควรมีการพิจารณาทั้งระบบการคัดแยกมูลฝอย ไมวาจะเปนปจจัยที่เกี่ยวกับคุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย การกักเก็บ และรวบรวมมูลฝอย คุณลักษณะของผูที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอย ผูวิจัยจึงเสนอโดยการศึกษาความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทั้งหมดที่ขับเคลื่อนความสําเร็จในการคัดแยก มูลฝอยในชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ ซ่ึงเปนพื้นที่ที่เคยมีดําเนินการ

Page 30: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

2

โครงการเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย และเสนอแนะรูปแบบ และกลไกในการจัดการคัดแยกมูลฝอยใหมีประสิทธิผลในในชุมชนอื่นๆ ตอไป

1.2 วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาปจจัยหลัก และกลไกที่นําไปสูความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 1.3 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.3.1 ไดปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน และกลไกที่สามารถนําไปเพิ่มประสิทธิภาพในการคัดแยกมูลฝอย ในชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 1.3.2 สามารถนําผลที่ไดไปประยุกตใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการระบบการคัดแยกมูลฝอยชุมชนเมืองหรือเทศบาลที่มีพื้นที่หรือบริบทที่คลายคลึงกันตอไป 1.4 เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การคัดแยกมูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมไดโดยผูคาของเกา และพนักงานเก็บขนมูลฝอยชุมชน ไดมีการคัดแยกมาเปนเวลาหลายปแลว ตามบานเรือนทั่วไปนิยมคัดแยกมูลฝอยประเภทหนังสือพิมพ กระดาษแข็ง ขวดแกว และขวดพลาสติกไวสําหรับขายใหรานรับซื้อของเกา รวมท้ังพนักงานเก็บขนมูลฝอยยังทําการคัดแยกมูลฝอยที่สามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมไดจากมูลฝอยที่ทําการเก็บรวบรวมดวย มูลฝอยเดียวกันในบริเวณที่กําจัดมูลฝอยก็ยังมีกลุมคนที่มาทําการคุยมูลฝอยที่สามารถขายได มูลฝอยที่คัดแยกออกมาก็จะมีคนมารับซื้อตอไป ดังนั้นการคัดแยกมูลฝอยจะอยูในกระบวนการตางๆ ของการจัดการมูลฝอย

1.4.1 การคัดแยกมูลฝอย การคัดแยกมูลฝอยเปนขั้นตอนที่เกิดขึ้นหลังจากการเกิดมูลฝอย และเปน

กิจกรรมสําคัญของการนํามูลฝอยกลับมาใชใหม รวมทั้งลดปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดในขั้นสุดทาย การคัดแยกมูลฝอยสามารถดําเนินการไดดังตอไปนี้ (กรมควบคุมมลพิษ, 2550)

1) การคัดแยกมูลฝอยในแหลงท่ีพัก มูลฝอยจําพวก เศษอาหาร แกว กระดาษ โลหะ พลาสติก และมูลฝอย

อันตรายที่เกิดขึ้นจากครัวเรือน อาคารสํานักงาน สถาบันการศึกษา โรงแรม จะถูกคัดแยก และเก็บรวบรวมไว เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําไปใชประโยชนหรือนําไปกําจัดตอไป

Page 31: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

3

2) การคัดแยกมูลฝอยรวมในชุมชน หนวยงานที่เกี่ยวของจะมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่แบงตาม

ประเภทหรือชนิดของมูลฝอยที่ตองการใหมีการคัดแยกโดยภาชนะรองรับมูลฝอยถูกจัดวางอยูในบริเวณพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยูอยางหนาแนน เชน ตลาด ที่พักอาศัย สถาบันการศึกษา ชุมชนและแหลงอุตสาหกรรม เปนตน

3) การคัดแยกในสถานที่จัดการมูลฝอย สถานที่จัดการมูลฝอยรวมถึงโรงงานคัดแยก และแปรสภาพมูลฝอย

โรงงานหมักปุย เตาเผา และสถานที่ฝงกลบมูลฝอย โดยทั่วไปมูลฝอยจะถูกคัดแยกตามขอกําหนดในการดําเนินงานของโรงงานหรือสถานที่จัดการ

4) รูปแบบของการคัดแยกมูลฝอย การคัดแยกมูลฝอยสามารถดําเนินการไดหลายรูปแบบตามประเภทหรือ

ชนิดของมูลฝอย ลักษณะการใชประโยชน ความพรอมของชุมชน และศักยภาพในการเก็บรวบรวมขนสงโดยทั่วไปแลว จะพิจารณาไดดังนี้

- การคัดแยกมูลฝอยยอยสลาย และมูลฝอยทั่วไป โดยมูลฝอยยอยสลายประเภทเศษอาหาร ผลไม ใบไม จะถูกแยกออกแลวนําไปเก็บรวบรวมไวในภาชนะรองรับ สวน มูลฝอยทั่วไป และมูลฝอยรีไซเคิล ประเภท แกว กระดาษ พลาสติก โลหะ นําไปเก็บรวบรวมไวในภาชนะรองรับมูลฝอยทั่วไป

- การคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยยอยสลาย และมูลฝอยทั่วไป โดย มูลฝอยทั้ง 3 ชนิดจะถูกแยกออกในภาชนะรองรับแยกออกจากกัน

- การคัดแยกมูลฝอยทุกประเภท โดยการคัดแยกมูลฝอยออกเปน 4 ประเภท ไดแก มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยยอยสลาย มูลฝอยอันตราย และมูลฝอยทั่วไป แผนพัฒนาทองถ่ินกรมการปกครอง (2539) ไดศึกษาการพัฒนากลไกที่สงเสริมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงมีกลุมบุคคลที่ เกี่ยวของกับกระบวนการคัดแยกมูลฝอยอยู 3 กลุม ดังแสดงในภาพประกอบ 1-1 ซ่ึงจากภาพประกอบ 1-1 เห็นไดวามีกลุมบุคคลที่เกี่ยวของกับกระบวนการคัดแยกมูลฝอย ประกอบดวย กลุมผูคัดแยกมูลฝอย คือ ผูกอมูลฝอยที่ทําการคัดแยกมูลฝอยเอง พนักงานเก็บขนมูลฝอย และผูคุยเขี่ยมูลฝอย และเมื่อมีการคัดแยกมูลฝอยแลวมีพอคาคนกลางรับซื้อวัสดุหรือ มูลฝอยมีคา ไดแกซาเลง รานคายอยหรือรานคาใหญ ก็เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหมูลฝอยที่ถูกคัดแยกเขาสูกระบวนการแปรรูป เพื่อผลิตเปนสินคาตอไป

Page 32: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

4

ภาพประกอบ 1-1 แผนภูมิกระบวนการ และเสนทางการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชประโยชน ที่มา: บริษัท แมคโครคอนซัลแตนท จํากดั พ.ศ.2539

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม (2547) จากการศึกษาพบวามูลฝอยที่เกิดขึ้นตามบานเรือน อาคาร ตลาด สถานที่ประกอบการคา และที่สาธารณะ ที่ถูกทิ้งรวมกันในถุงหรือถังเดียวกันโดยไมมีการแยกประเภทนั้น มูลฝอยบางสวนมีมูลคา สามารถคัดแยกนํามาขายเพื่อนํากลับเขาสูกระบวนการรีไซเคิล โดยกลุมคนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยเร่ิมตั้งแต

1. ผูบริโภค คัดแยกมูลฝอยที่มีคาไวขาย (นิยมขายใหกับ “ซาเลง”) 2. ผูคุยเขี่ยมูลฝอยเดินเทา ที่อาศัยรายไดจากการคัดมูลฝอยมีคาจากกองมูลฝอย

ออกขาย (นิยมขายใหกับ “ซาเลง” หรือรานรับซื้อของเกา) 3. รถสามลอรับซื้อของเกา รับซื้อมูลฝอยตามบาน หรือตามแหลงตางๆ แลวนําไป

ขายตอยังรานรับซื้อของเกา 4. รานรับซื้อของเกา รวบรวมมูลฝอยใหโรงงานแปรสภาพนํากลับมาใชประโยชน

ใหม (นิยมเรียกกัน“โรงงานรีไซเคิล”) 5. พนักงานเก็บขนของเทศบาล จะทําการคัดแยกมูลฝอยมีคาออกไวเพื่อนําไป

จําหนายเปนรายไดพิเศษ 6. คนคุยมูลฝอยเดินเทา จะทําการคัดแยกมูลฝอยมีคาที่เหลืออยูเปนกลุมสุดทาย

กอนที่มูลฝอยจะถูกนําไปกําจัดที่หลุมฝงกลบมูลฝอย

1.กลุมผูคัดแยกมูลฝอย

2.พอคาคนกลางรับซื้อ วัสดุมีคา

3. โรงงานผูผลิตสินคา

แหลงกําเนิดผูกอมูลฝอย

พนักงานเก็บขนมูลฝอย

ผูคุยเขี่ย มูลฝอย

ซาเลง รานคายอย รานคาใหญ

โรงงานอุตสาหกรรม

สินคาหรือผลิตภัณฑ

Page 33: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

5

1.4.2 แนวคิดเก่ียวกับการคัดแยกมูลฝอย เทวัญ พัฒนาพงศศักดิ์ (2540) ไดกลาววาการคัดแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิดเปนกระบวนการที่สามารถลดการปนเปอนของมูลฝอยในการนํากลับมาใชใหม และชวยใหปริมาณมูลฝอยที่ตองกําจัดขั้นสุดทายนอยลง การคัดแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิดจําเปนจะตองคํานึงถึงปจจัยตางๆ ซ่ึงประกอบดวย 1) องคประกอบทางกายภาพของมูลฝอยที่ทําการคัดแยก ในแตละแหลงกําเนิดมูลฝอยจะมีลักษณะทางกายภาพที่แตกตางกัน จึงตองพิจารณาดูวาแหลงกําเนิดใดมีองคประกอบมูลฝอยที่เหมาะสม และเพียงพอตอการคัดแยก 2) การเลือกถังใสมูลฝอย หรือภาชนะใสมูลฝอยที่จะทําการแยก จะตองพิจารณาถึงขนาดของวัสดุ จํานวนที่ใช ราคา และความเหมาะสมในการรวบรวมนําไปจัดการในขั้นตอนตอไป 3) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูทิ้ง ปจจุบันผูทิ้งมูลฝอยจะทิ้งมูลฝอยลงในถังรวมกันโดยไมไดมีการคัดแยก และใหเจาหนาที่นําไปกําจัด ดังนั้นทางเทศบาลควรมีการแนะนําใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยกอนทิ้ง 4) การมีสวนรวมของประชาชน ในการแยกมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด จะประสบความสําเร็จไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับความรวมมือของประชาชน 5) การกําหนดเปาหมายของการแยกมูลฝอย เปนการประเมิน และกําหนดเปาหมายวาหลังจากการดําเนินงานตามแผนงานแลว จะสามารถนําวัสดุที่อยูในมูลฝอยมาใชประโยชนใหมไดเทาไร ซ่ึงสัมพันธกับการลดปริมาณมูลฝอยที่จะนําไปฝงกลบ 6) คาใชจายในการดําเนินงาน ระบบการแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิดจะตองใชภาชนะใสมูลฝอยมากกวามูลฝอยรวม รวมถึงการเก็บขนมูลฝอยก็ตองมีการจัดเก็บแบบแยกประเภทดวย ทําใหคาใชจายในการแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิดจะมากกวาระบบมูลฝอยรวม 1.4.3 รูปแบบของการคัดแยกมูลฝอย รังสรรค ปนทอง (2534) อางถึงใน สุนีย มัลลิกามาลย (2543) ไดจําแนกรูปแบบการคัดแยกมูลฝอย โดยอาศัยลักษณะการใชประโยชนจากมูลฝอยเปนเกณฑจําแนกไดดังนี้ 1) การใชประโยชนจากมูลฝอยโดยเจาของเคหะสถาน ลักษณะมูลฝอยที่เจาของเคหะสถานนํากลับมาใช ไดแก ขวดแกว กระดาษหนังสือพิมพ ภาชนะพลาสติกชํารุด เศษโลหะ ยางรถยนต เปนตน โดยเจาของเคหะสถานจะขายมูลฝอยดังกลาวแกสามลอ หรือที่เรียกวา “ซาเลง” ซ่ึงมารับซื้อมูลฝอยดังกลาวแลวนําไปขายตอเปนทอดๆ จนเขาถึงโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป

Page 34: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

6

2) การใชประโยชนจากมูลฝอยโดยเจาของรานอาหาร ลักษณะของ มูลฝอยที่เกิดจากรานอาหารสวนใหญจะเปนมูลฝอยเปยก เศษอาหาร หรือขวดแกว โดยเจาของรานอาจจะขายหรือใหเปลามูลฝอยเปยกหรือเศษอาหารแกผูประกอบการคาเศษอาหาร ซ่ึงจะนําไปขายแกผูเล้ียงสัตวหรือขายใหแกโรงงานผลิตนําไปแปรรูปเปนอาหารสัตวสําเร็จรูปตอไป 3) การใชประโยชนจากมูลฝอยโดยเจาหนาที่เก็บขนมูลฝอย ลักษณะ มูลฝอยที่เจาหนาที่เก็บขนมูลฝอยนําไปใชประโยชน เชน ขวด แกว พลาสติก โลหะ เปนตน โดยเจาหนาที่จะทําการคัดแยกในระหวางที่ทําการเก็บขน และเจาหนาที่จะขายมูลฝอยใหแกรานรับซื้อของเการายยอย และจะถูกขายตอไปถึงโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชประโยชนมูลฝอยเปนวัตถุดิบในการผลิตตอไป 4) การใชประโยชนมูลฝอยโดยผูคุยมูลฝอย ลักษณะมูลฝอยที่ผูคุยมูลฝอยเก็บขนมูลฝอยไดแก ขวด แกว พลาสติก โลหะ หนัง ยาง ฯลฯ โดยผูคุยมูลฝอยสวนใหญจะทําการคุยมูลฝอย ณ สถานที่ทิ้งมูลฝอย จากนั้นนํามูลฝอยที่คัดแยกไดไปขายใหแกรานรับซื้อของเกา รายยอย ซ่ึงรานดังกลาวจะถูกขายมูลฝอยตอไปถึงโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชประโยชนมูลฝอยเปนวัตถุดิบในการผลิตตอไป 5) การใชประโยชนจากมูลฝอยโดยโรงงานหมักทําปุย ซ่ึงมูลฝอยที่นํามาทําปุย คือ มูลฝอยผสม ที่มีทั้งเศษผัก ผลไม หรือเศษอาหารเจือปนในอัตราสูง โดยโรงงานหมักปุยนํามูลฝอยบางสวนที่เก็บขนไดมาคัดแยกเอาสารที่หมักทําปุยไมไดออกไปจากระบบการหมัก

1.4.4 ปจจัยท่ีมีผลตอการคดัแยกมูลฝอย การคัดแยกมูลฝอยเปนกิจกรรมที่มีความสําคัญตอระบบการนํามูลฝอยกลับมาใช

ประโยชนใหมซ่ึงมีปจจัยที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยตาง ๆ ประกอบดวย 1) ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคล ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอ

การคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษา ชุมชนคลองหวะ ชุมชนควนสันติ และชุมชนกลางนา พบวาปจจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะสวนบุคคลที่มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยประกอบดวย อายุ อาชีพ สถานภาพทางสังคม ลักษณะที่อยูอาศัย ระยะเวลาอยูอาศัย การเขามามีสวนรวม และการไดรับขอมูลขาวสาร ซ่ึงลักษณะดังกลาวสงผลตอพฤติกรรมการคัดแยก มูลฝอย นอกจากนี้จากการศึกษาของ สุดธิดา สุวรรณะ (2545) เร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยในชุมชนรัตนวิบูลยและชุมชนไทยโฮเต็ล ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ พบวาปจจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะสวนบุคคล เพศ รายได อายุ มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย และจากการศึกษาของไกรชาติ ตันตระการ และคณะ (2549) เร่ืองปจจัยที่มีอิทธิพลตอการคัดแยกมูลฝอยในเขต

Page 35: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

7

เทศบาลตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาปจจัยลักษณะสวนบุคคลในเรื่องของระดับการศึกษามีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอย และกมลศักด ธรรมศักดิ์ (2545) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยของเทศบาลนครหาดใหญ จังหวัดสงขลา พบวาคุณลักษณะสวนบุคคล คือระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชนมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย

อรพรรณ มั่งมีศรี (2543) ไดศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ คัดแยกมูลฝอยของชุมชน กรณีศึกษาการเคหะชุมชนบางบัว พบวาปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคลคือ อายุ อาชีพ และรายได มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอย สอดคลองกับ วิภาเพ็ญ เจียสกุล (2536) ไดศึกษาพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยของประชาชน ในเขตพื้นที่ ช้ันกลางกรุงเทพมหานคร พบวาปจจัยลักษณะสวนบุคคล เพศ และอาชีพ มีผลตอพฤติกรรมการคัดแยก มูลฝอยของประชาชน

2) การมีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย ปจจัยดานการมีสวนรวมของชุมชนในการคัดแยกมูลฝอยเปนปจจัยที่จะทําใหการ

คัดแยกมูลฝอยสามารถดําเนินการไปไดอยางมีประสิทธิภาพและมีความตอเนื่อง การมีสวนรวมของประชาชนในการลดปริมาณมูลฝอยดวยการคัดแยกมูลฝอยกอนทิ้ง จําเปนจะตองรวมมือตั้งแตการยอมรับแนวทางการคัดแยกมูลฝอยตามประเภทมูลฝอยที่กําหนด รวมดําเนินการคัดแยกมูลฝอย รวมชักจูงเผยแพรใหผูอ่ืนดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และรวมแกไขปญหาอุปสรรคการคัดแยก มูลฝอย (สุนีย มัลลิกามาลย, 2543) วิธีการที่จะไดรับความรวมมือ จะตองคํานึงถึงองคประกอบ ดังนี้

1. สรางความยุงยากในการดําเนินการหรือการปฏิบัติแกชุมชน (ครัวเรือน) ใหนอยที่สุด

2. พยายามโนมนาวจิตใจดวยวิธีการตางๆ เพื่อชักชวนใหชุมชน (ครัวเรือน) ใหความรวมมือกับโครงการ

3. ช้ีแจงใหชุมชนรูวาโครงการจะใหประโยชนอะไรแกครัวเรือน และชุมชน สุดธิดา สุวรรณะ (2545) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยก มูลฝอยในชุมชนรัตนวิบูลย และชุมชนไทยโฮเต็ล ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา พบวา การที่ประชาชนเขามามีสวนรวมในกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยมากขึ้นก็จะสงผลใหปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกไดมากขึ้นดวย 3) การไดรับสื่อและขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย การไดรับรูขอมูลขาวสาร คือ การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยโดยไดรับผานสื่อชนิดตางๆ เชน วิทยุ โทรทัศน แผนพับ ใบปลิว รวมท้ังการไดรับคําแนะนําจาก

Page 36: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

8

เจาหนาที่ และการรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนตระหนัก และใหความรวมมือกับทองถ่ินในการจัดการมูลฝอย ไกรชาติ ตันตระการ และคณะ (2549) ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการคัดแยก มูลฝอยในเขตเทศบาลตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาการที่ประชาชนไดรับขอมูลขาวสาร และการรณรงคเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอพฤติกรรมการคัดแยก มูลฝอย ซ่ึงสอดคลองกับ ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) สุพรรณี พลอยพุม (2541) และสุดธิดา สุวรรณะ (2545) จากการศึกษาพบวาการไดรับสื่อ และขอมูลขาวสารมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย

4) ผลตอบแทนในการคัดแยกมูลฝอย สุนีย มัลลิกามาลย (2543) พบวาปจจัยดานเศรษฐศาสตร เปนปจจัยที่สงเสริม และ

ผลักดันใหประชาชนเกิดความสนใจในการที่คัดแยกมูลฝอย ถาประชาชนในแตละครัวเรือนสามารถคัดแยกมูลฝอยที่มีคาออกมาได และดูวาผลประโยชนที่แตละครัวเรือนจะไดรับมากนอยเพียงใดจะเปนแรงจูงใจใหประชาชนนํามูลฝอยที่คัดแยกไดไปใช เชน อาจมีการขายใหพอคาทั่วไป หรือใหทางเทศบาลเปนผูดําเนินการจัดการมูลฝอยตอไป ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษา ชุมชนคลองหวะ ชุมชนควนสันติ และชุมชนกลางนา พบวาการคัดแยกมูลฝอยเพื่อการขาย ซ่ึงไดแกการขายมูลฝอยใหกับซาเลงหรือใหกับโครงการคัดแยกมูลฝอยในชุมชนมีความสัมพันธกับการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงสอดคลองกับ ธนาพร ประสิทธิ์นราพันธ (2544) ไดศึกษาถึงการจัดการมูลฝอยชุมชนในเขตเทศบาลนครลําปาง พบวา ประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย เพื่อตองการผลตอบแทนหรือรายไดจากการคัดแยก 5) ปจจัยดานการเก็บกัก และรวบรวมมูลฝอย

ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยเปนการดําเนินงานของเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยในชุมชนนั้นๆ โดยการดําเนินงานแบงออกเปน 5.1 การกักเก็บมูลฝอย

การกักเก็บมูลฝอย เปนการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่สอดคลองกับรูปแบบของการคัดแยกเพื่อใหระบบการคัดแยกมูลฝอยของประชาชนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในปจจุบันรูปแบบการคัดแยกมูลฝอยที่ใชอยูในแตละพื้นที่ มีความหลากหลาย และแตกตางกัน ซ่ึงจะแลวแตความเหมาะสมของแตละพื้นที่ โดยรูปแบบของการคัดแยกมูลฝอยนี้เปนปจจัยที่สงเสริมใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น ถาในชุมชนมีการแบงประเภทของมูลฝอยอยางชัดเจนในการทิ้งจะทําใหชุมชนประสบความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย สมทิพย ดานธีรวนิชย (2541) ไดกําหนดรูปแบบประเภทมูลฝอยออกเปน 2 ประเภท ดังภาพประกอบ 1-2

Page 37: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

9

ภาพประกอบ 1-2 การคัดแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิด ที่มา: สมทิพย ดานธีรวนิชย, 2541 จากภาพประกอบ 1-2 เห็นไดวาในการกําหนดรูปแบบในการคัดแยกมูลฝอยนั้น ก็จะสงผลตอระบบการจัดเก็บมูลฝอย เพราะถาเทศบาลหรือหนวยงานมีการกําหนดรูปแบบของการ คัดแยกมูลฝอยออกเปนมูลฝอยเปยก และมูลฝอยแหง เทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของก็จะตองมีการจัดเก็บหรือการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพื่อรองรับมูลฝอยเปยก และมูลฝอยแหงดวย

เมื่อประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยแลว หนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการ มูลฝอยในพื้นที่ ควรมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยตามรูปแบบที่หนวยงานกําหนดไว โดยจัดวางตามสถานที่สาธารณะใหเปนระเบียบ สวยงาม เหมาะสม และหากเปนบานพักอาศัยของประชาชนควรกําหนดใหประชาชนนําภาชนะรองรับมูลฝอยมาวางไวหนาบานเฉพาะเวลาที่กําหนดไวหรือหลังเวลานัดเทานั้น

รูปแบบการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล Niterói เมืองริโอ เดอ จาเนโร มีการใหบริการจัดเก็บมูลฝอยที่แยกแลว 2 แบบ คือ ระบบนํามาทิ้งในถังที่จัดไวใหกระจายทั่วไป (Voluntary System) ประชาชนนํามูลฝอยไปทิ้ง ณ จุดที่ตั้งถัง และระบบเก็บถึงบาน (Door-to-Door System) ซ่ึงสวนใหญใชกับอาคารสูง โดยพนักงานจะนํารถที่ออกแบบไวสําหรับเก็บขนมูลฝอย

มูลฝอย

มูลฝอยแหง มูลฝอยเปยก

แยก ทําปุย

โลหะ

พลาสติก

แกว

กระดาษ ดิน หิน ฝงกลบหรือเผา ปุย

กระดาษที่ใชบรรจุอาหาร

ฝงกลบ

Page 38: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

10

แตละชนิดแยกออกจากกันใหบริการจัดเก็บถึงหนาบาน (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม, 2547)

5.2 การรวบรวม เก็บขนมูลฝอย การรวบรวมมูลฝอย เปนการรวบรวม ณ แหลงกําเนิดเพื่อรอการเก็บขน

ไปกําจัดทําลาย เพื่อใหการจัดเก็บรวบรวมมูลฝอยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และลดการปนเปอนของมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนํากลับมาใชใหม จะตองมีการจัดตั้งจุดรวบรวม และมีการแยกประเภทถังรองรับมูลฝอยตามสีตางๆ โดยมีถุงบรรจุภายในถังเพื่อความสะดวก และไมตกหลน (กรมควบคุมมลพิษ, 2547) นอกจากนี้ในการรวบรวมมูลฝอย ควรมีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยประเภทตางๆ ใหเพียงพอ เพื่อเปนการแกไขปญหาความเดือนรอนรําคาญ และปญหาตอสุขภาพอนามัยที่เกิดจากมูลฝอยที่ไมถูกการจัดเก็บรวบรวม (วิชาญ วงศวิวัฒน, 2536 อางถึงใน วิธวัฒน สวาศรี และคณะ, 2548) นอกจากการจัดวางภาชนะที่เพียงพอแลวการจัดระบบการคัดแยกประเภทมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพจําเปนตองจัดการจากแหลงกําเนิด โดยการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และสอดคลองกับระบบการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชใหม (ไพจิตร วสันตเสนานนท, 2548)

การเก็บขนมูลฝอย เปนกระบวนการตั้งแตการเก็บขนมูลฝอยจากจุดรวบรวมเขาสูยานพาหนะเก็บขน แลวขนมูลฝอยไปยังสถานีปลายทางโดยอาจจะเปนสถานีขนถายหรือสถานีกําจัดมูลฝอยก็ได (สมทิพย ดานธีรวนิชย, 2541) แตในปจจุบันการเก็บขนมูลฝอยของหนวยงานไดดําเนินการจัดเก็บมูลฝอยที่ไมสอดคลองกับการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน โดยสงผลใหไมสามารถดําเนินการคัดแยกมูลฝอยจากแหลงกําเนิดไดสะดวก และประชาชนไดรับความเดือดรอนจากการเก็บขนมูลฝอยที่ไมเหมาะสม

กรมควบคุมมลพิษ (2547) พบวาในการเก็บขนมูลฝอย เปนปจจัยที่มีความสําคัญตอระบบการคัดแยกมูลฝอยชุมชนในการเก็บขนมูลฝอยจะตองจัดเก็บมูลฝอยแยกตามประเภทหรือชนิดของมูลฝอยที่ไดคัดแยกไว เชน

1. มีการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลแยกออกจากมูลฝอยยอยสลาย มูลฝอยทั่วไป และ มูลฝอยอันตราย

2. จัดใหมีการเก็บรวบรวมพิเศษสําหรับมูลฝอยรีไซเคิล และมูลฝอยอันตรายอยางนอยสัปดาหละหนึ่งครั้ง

3. หามใหใชรถเก็บรวบรวมที่มีระบบอัดมูลฝอยเก็บรวบรวมมูลฝอยอันตราย มีการจัดเก็บมูลฝอยใหหมดทุกวัน และทําการจัดเก็บโดยไมใหมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่

Page 39: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

11

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (2547) จัดทําแผนยุทธศาสตรในการจัดการบรรจุภัณฑ และของเสียบรรจุภัณฑ พบวาในการเก็บขนที่มีประสิทธิภาพจําเปนตองอาศัยปจจัยหลายประการทั้งทางดานภาชนะรองรับที่มีปริมาณเพียงพอ สะดวก ทั่วถึง มีบริการรถเก็บขนครอบคลุมทุกเสนทาง มีการกําหนดวันเวลาที่แนนอน ตรงเวลา มีบริการที่ดี และประชาชนใหความรวมมือในการทิ้งของเสียลงในภาชนะหรือจุดที่กําหนดนัดหมายไว การเก็บขนที่เปนระบบจะชวยประหยัดเวลา และคาใชจายอยูในระดับที่เหมาะสม เชน คาจางพนักงานเก็บขน คาน้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน นอกจากนี้ การจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยอยูใหอยูใกลกับที่พักอาศัย จะทําใหสะดวกในการทิ้งมูลฝอย สงผลตอการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน (สุรศักดิ์ สุนทรลาพ, 2537 อางถึงใน สถาบันดํารงราชานุภาพ, 2540)

นอกจากการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่แลว หนวยงานหรือเทศบาลก็ยังมีบทบาทในการดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอย ไกรชาติ ตันตระการ และคณะ (2549) ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการคัดแยกมูลฝอยในเขตเทศบาลตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาการที่เทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของมีบทบาทในการรณรงค และใหขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอยกับประชาชนจะทําใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยเพิ่มขึ้น นอกจากนี้หนวยงานควรมีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับมูลฝอย อาทิ โครงการมูลฝอยรีไซเคิลแลกของ การจัดใหมีตลาดนัด รีไซเคิล การจัดตั้งธนาคารวัสดุเหลือใช การจัดตั้งรานคารีไซเคิลในชุมชน เพื่อสนับสนุนใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย นอกจากการนี้โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการคัดแยกมูลฝอย (2549) จากการศึกษา พบวา เทศบาลควรมีความมุงมั่นของผูบริหารระดับสูง และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอยระดับชุมชนอยางจริงจัง สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล และมีการสื่อสารที่เหมาะสม และสม่ําเสมอกับกลุมเปาหมาย กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถ่ิน (2549) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล พบวาการที่หนวยงานคือองคกรปกครองสวนทองถ่ินควรมีการดําเนินการเสริมสรางศักยภาพของประชาชนในการจัดการมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลโดย 1. การใหความรูความเขาใจในการจัดการมูลฝอยส่ิงปฏิกูลโดยใหความรูในสวนของผลกระทบที่มีตอส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตของประชาชนในทองถ่ิน 2. การประชาสัมพันธ โดยรณรงคการคัดแยกมูลฝอยใหประชาชนคัดแยกเพื่อจําหนายหรือนํากลับไปใชประโยชนใหม

Page 40: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

12

3. การจัดกิจกรรมสงเสริม โดยองคกรปกครองสวนทองถ่ินควรริเร่ิมทําโครงการเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยจากแหลงกําเนิดอยางตอเนื่อง และสม่ําเสมอเพื่อเปนการกระตุนชุมชนใหมีการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

6) ผูนําชุมชน โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพื่อการจัดการมูลฝอย (2549)ไดดําเนินกิจกรรม

เกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํามูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ในพื้นที่ชุมชนกลางนา ชุมชนควนสันติ และชุมชนปาลมซิตี้ จากการศึกษา พบวาบุคลิกภาพ และความนาเชื่อถือของผูนําชุมชนเปนปจจัยสําคัญตอการสรางการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชน ผูนําที่มีความเสียสละ และกระตือรือรน สามารถชักจูงใหสมาชิกตระหนักถึงความสําคัญของการมีสวนรวมในการแกไขปญหาของชุมชน ทําใหการคัดแยกมูลฝอยในชุมชนประสบความสําเร็จ ผูนําชุมชนตองเปนผูนําทั้งในดานความคิด และการปฏิบัติ รวมทั้งความนาเชื่อถือของผูนําสามารถดึงใหประชาชนในชุมชนเขามามีสวนรวมในกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย โดยผูนําอาจไมตองมีตําแหนงเปนทางการ แตมีความนาเชื่อถือ จากคุณลักษณะของผูนําดังกลาว การที่ผูนําชุมชนมีศักยภาพ และความพรอมเพียงพอที่จะรวมกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ถาผูนําชุมชนเขมแข็งโอกาสที่ชุมชนจะมีศักยภาพก็มีสูง แตถาผูนําชุมชนออนแอโอกาสที่ชุมชนจะมีศักยภาพก็จะต่ํา ผูนําชุมชนเขมแข็งในที่นี้หมายถึง ผูนําชุมชนที่มีลักษณะการเปนผูนําที่ดี เปนที่ยอมรับของชุมชน มีความเขาใจในทองถ่ินของตนเปนอยางดี มีอัธยาศัยดี มีแนวคิดเพื่อส่ิงแวดลอม มีความขยันมุงมั่นในการทํางาน มีความซื่อสัตยอดทน มีความเสียสละ มีวิสัยทัศน มองการณไกล เปนผูใฝหาความรู และเปนผูออนนอมถอมตน (บัณฑิต เอื้อวัฒนานุกูล และ ไพฤทธิ์ สุขเกิด, 2546) ก็จะนําไปสูการพัฒนาของชุมชนในเรื่องการจัดการมูลฝอยได

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2543) กลาวถึงผูนําที่มีศักยภาพในการพัฒนาชุมชนวา“เปนผูที่มีความรู ผูที่ใหเหตุผล สามารถประยุกตใชความรูนั้นไดอยางชาญฉลาด ใชความรูไดถูกที่ ถูกคน ถูกเวลา สามารถวิเคราะหอดีต เขาใจปจจุบัน และคาดการณอนาคตได รวมทั้งเปนผูที่มีอุดมการณในการดําเนินชีวิต”

สุนีย มัลลิกามาลย (2543) กลาวถึงคุณลักษณะของผูนําที่นําไปสูการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย คือ ผูนํารับฟงความคิดเห็นของประชาชน ทําใหประชาชนเห็นวาผูนําใหความสนใจกับปญหามูลฝอยของชุมชน และพอใจกับการปฏิบัติงานของผูนําชุมชน ทาํใหประชากรกลุมนี้ทําการคัดแยกมูลฝอย

จากคุณลักษณะตางๆ ของผูนําที่ไดกลาวมานั้นเปนคุณลักษณะที่สามารถนํามาใชเปนแนวทางในการดําเนินการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งในเรื่องของคัดแยกมูลฝอยในชุมชนได

Page 41: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

13

บทบาทของผูนํา หมายถึงการดําเนินงานที่ผูนําชุมชนไดเขามามีสวนรวม และเปนตัวกระตุนใหประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนัก และทําการคัดแยกมูลฝอย

ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ศึกษาพบวาการที่ประชาชนเห็นผูนําชุมชนมีบทบาทในการจัดการมูลฝอยอยางชัดเจน เชน การเดินรณรงคพบปะตามบานเรือนเพื่อประชาสัมพันธในการขอความรวมมือในการทํากิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือนอยางตอเนื่องใหกลุมตัวอยางใหความสนใจในการคัดแยก นอกจากบทบาทดังกลาวแลว ธนาพร ประสิทธิ์นราพันธ (2544) ไดศึกษาบทบาทของผูนําชุมชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน เทศบาลนครลําปาง พบวา ผูนํามีบทบาทในการเปนตัวแทนของกลุมเพื่อติดตอเชื่อมโยง ประสานงานระหวางหนวยงาน เพื่อนําไปสูการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย 7) โครงการที่เก่ียวของกับการคัดแยกมูลฝอย นอกจากการดําเนินการจัดการมูลฝอยของเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่แลวการสนับสนุนของหนวยงานภายนอกที่เขามาดําเนินการสนับสนุนในการดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย ในรูปแบบการฝกอบรม การจัดกิจกรรมตางๆ เปนการชวยสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย (ธนาพร ประสิทธิ์นราพันธ, 2544 อางถึงใน ภัทราภรณ กฤษณะพันธ, 2547) โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพื่อการคัดแยกมูลฝอย (2549) ไดดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนําเขาสูกระบวนการแปรรูป ในพื้นที่ชุมชนกลางนา ชุมชนควนสันติและชุมชนปาลมซิตี้ ซ่ึงจากการดําเนินการในการจัดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย และการใหขอมูลขาวสารแกประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยนั้น เพื่อเปนการกระตุนใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงในปจจุบันโครงการดําเนินการสิ้นสุดแลว แตประชาชนในชุมชนก็ยังดําเนินการคัดแยกมูลฝอยอยู 8) ซาเลง

ปจจุบันมูลฝอยที่นํากลับมาใชใหมไดเกือบทั้งหมดมาจากซาเลง โดยซาเลงเขาไปรับซื้อมูลฝอยในชุมชนประมาณวันละ 1,895 ตันตอวัน (มูลนิธิชุมชนไท, 2550) โดยมูลฝอยท่ีซาเลงเขาไปรับซื้อก็จะเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยครัวเรือน พบวาประชาชนที่ทําการคัดแยก มูลฝอยเนื่องจากมีซาเลงเขามารับซื้อมูลฝอยในชุมชนทําใหประชาชนทําการคัดแยก และขาย มูลฝอยใหกับซาเลง ดังนั้นจะเห็นไดวาซาเลงเปนปจจัยสงผลตอการคัดแยกมูลฝอย

ในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอยจะตองมีตัวที่บงบอกถึงผลที่ไดจากการดําเนินการในการคัดแยกมูลฝอยไมวาจะเปนโครงการ งานวิจัยตางๆ ผูวิจัยจึงไดศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

Page 42: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

14

1.4.5 ตัวชี้วัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ในการดําเนินกิจกรรมหรือโครงการที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอย จะมีการ

กําหนดตัวช้ีวัดหรือผลของการดําเนินงานที่ได ซ่ึงตัวช้ีวัดจะชี้ใหเห็นวาการดําเนินงานบรรลุผลสําเร็จโดยที่ไมมีใครโตแยงได และมีรองรอยหรือหลักฐานปรากฏชัดเจน สามารถตรวจสอบไดหรือวัดได ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ในแตละพื้นที่หรือแตละโครงการจะมีการกําหนดตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยที่แตกตางกัน สุนีย มัลลิกามาลย และคณะ (2543) ทําการวิจัยเพื่อใหไดรูปแบบของการคัดแยกมูลฝอยชุมนไดมีการอภิปรายผลของการดําเนินงานโดยใชตัวช้ีวัดหรือ เปาหมายเพื่อกําหนดความสําเร็จของการวิจัย

1. อัตราการผลิตมูลฝอยที่ลดลง 2. ความสามารถในการคัดแยกมูลฝอยไดถูกตอง 3. รอยละของมูลฝอยที่คัดแยกไดเพิ่มขึ้น 4. สัดสวนของมูลคามูลฝอยมีมูลคาตอปริมาณมูลฝอยที่เพิ่มขึ้น (บาทตอกิโลกรัม) องคการสิ่งแวดลอมแหงสหภาพยุโรป (2549) ไดกําหนดตัวช้ีวัดเกี่ยวกับการ

จัดการมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล คือมูลฝอยชุมชนที่นํากลับมาใชใหมตอมูลฝอยที่เกิดขึ้น (รอยละ) ซ่ึงไดกํ าหนดตัวช้ีวัดที่ ใช เปนเกณฑหรือเป าหมายใหมีการใชประโยชนจากมูลฝอยในเขตกรุงเทพมหานคร และชุมชนทั่วประเทศในอัตราไมนอยกวารอยละ 30 ของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในป พ.ศ. 2549 (แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9)

การจัดการมูลฝอยชุมชนเมือง จังหวัดพิษณุโลก (2548) หนวยงานรับผิดชอบมีการดําเนินงานระบบการจัดการมูลฝอยในจังหวัดพิษณุโลกอยางเปนขั้นตอน และมีประสิทธิภาพ โดยไดมีการกําหนดตัวช้ีวัดที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยชุมชน คือ มีการนํามูลฝอยรีไซเคิล มา รีไซเคิลในอัตราที่เพิ่มขึ้น และมูลฝอยอินทรียถูกนํามาหมักอยางนอยรอยละ 20 ของมูลฝอยในชุมชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (2547) ไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการบริหารการจัดการมูลฝอยชุมชน และมูลฝอยอันตรายระดับประเทศ โดยมีการกําหนดตัวช้ีวัดความสําเร็จของแผนยุทธศาสตร เพื่อเปนการนําเสนอหลักเกณฑการตรวจสอบความสําเร็จของแผนยุทธศาสตรเอาไว ซ่ึงตัวช้ีวัดที่เกี่ยวของกับการคัดแยกนํามูลฝอย ประกอบดวย 1. ปริมาณมูลฝอยที่ถูกนํามาใชเพิ่มขึ้น 2. จํานวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น (ปริมาณนําไปกําจัดลดลง) 3. พื้นที่สวนใหญในเขตชุมชนสะอาด และมีสภาพแวดลอมที่ดี

Page 43: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

15

4. ประชาชนสามารถทิ้งมูลฝอยแยกประเภทที่สามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมเพิ่มขึ้น โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการคัดแยกมูลฝอย (2549) ไดกําหนดเปาหมายในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่โครงการนํารองคือ ชุมชนกลางนา ชุมชนควนสันติ และชุมชนปาลมซิตี้ โดยกําหนดเปาหมายหรือตัวช้ีวัดไวในการดําเนินการคือ การลดปริมาณมูลฝอยและการนําวัสดุใชแลวที่สามารถเขาสูกระบวนการแปรรูปได (วัสดุรีไซเคิลและมูลฝอยอินทรีย)

1.4.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยที่สงผลตอการคัดแยกมูลฝอย พบวาตัวช้ีวัด และปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกในแตละพื้นที่มีความแตกตางกัน ผูวิจัยจึงนําเสนองานวิจัยจากการศึกษาคนควาที่เกี่ยวของกับปจจัยในการคัดแยกมูลฝอยดังนี้

ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการ คัดแยกมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษา ชุมชนคลองหวะ ชุมชนควนสันติ และชุมชนกลางนา พบวาปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย ไดแก อาชีพ รายได สถานภาพทางสังคม ประเภทที่อยูอาศัย ผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย การไดรับสื่อและขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และความรูความเขาใจในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ สุพรรณี พลอยพุม (2541) เกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอยในเรื่องของรายได และปจจัยในการไดรับสื่อและขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และสุดธิดา สุวรรณะ (2545) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอยในชุมชนรัตนวิบูลยและชุมชนไทยโฮเต็ล ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา พบวาปจจัยในสวนของระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน และการไดรับสื่อและขอมูลขาวสารมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย

เทวัญ พัฒนาพงศักดิ์ (2540) ศึกษาการแยกมูลฝอย และการจัดการมูลฝอยที่แยกแลวในแหลงกําเนิดตางๆ ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม พบวาปจจัยดานผูนําชุมชนมีผลตอการ คัดแยกมูลฝอยในพื้นที่ ซ่ึงสอดคลอง กับภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษา ชุมชนคลองหวะ ชุมชนควนสันติ และชุมชนกลางนา พบวาการที่ประชาชนเห็นผูนําชุมชนมีบทบาทในการจัดการมูลฝอยอยางชัดเจนมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงสอดคลองกับการวิจัยของ บัณฑิต เอื้อวัฒนานุกูล และ ไพฤทธิ์ สุขเกิด (2544) ศึกษาการมีสวนรวมของชุมชน: กรณีศึกษาศูนยวัสดุรีไซเคิล และธนาคารขยะ เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร พบวาบทบาทของผูนํามีผลตอการคัดแยกมูลฝอยของชุมชน

Page 44: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

16

ในการจัดการมูลฝอยโครงการที่เขามาดําเนินการเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย ผูวิจัยไดศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับองคกร และหนวยงานที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย พบวาจากการวิจัยของ ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยก มูลฝอยของครัวเรือนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษา ชุมชนคลองหวะ ชุมชนควนสันติ และชุมชนกลางนา พบวาบทบาทของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการคัดแยกมูลฝอย เขามามีบทบาทในการรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย การใหขอมูลขาวสาร และการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย เพื่อกระตุนใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย ทําใหการดําเนินการคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น นอกจากการรณรงคใหเกิดการคัดแยกมูลฝอยแลวในการดําเนินการเกี่ยวกับการกักเก็บ หรือการรวบรวมมูลฝอยขององคกรหรือหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยก็มีผลตอการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน จากการศึกษางานวิจัยพบวาการดําเนินการในการคัดแยกมูลฝอยในเร่ืองของรูปแบบในการคัดแยกมูลฝอยโดยแบงประเภทของมูลฝอยในการคัดแยก ออกเปน 2 ประเภท คือมูลฝอยแหง และมูลฝอยเปยกสงผลตอการคัดแยก คือสามารถที่จะดําเนินการคัดแยกไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (วิภาเพ็ญ เจียสกุล, 2536 อางถึงใน สถาบันดํารงราชานุภาพ, 2540) ดังนั้นจะเห็นไดจากการที่หนวยงานหรือโครงการมีสวนสงเสริมการเขามามีสวนรวมในกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน ทําใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยเพิ่มขึ้น

1.5 ขอมูลท่ัวไปของพื้นท่ีศึกษา ผูวิจัยไดทําการศึกษาในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติโดยทั้ง 3 ชุมชน ไดเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพื่อการจัดการมูลฝอย ซ่ึงเปนโครงการวิจัยรวมระหวางคณะทํางานจากมหาวิทยาลัยบุนเกียว ประเทศญี่ปุน และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตหาดใหญ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย โดยใชพื้นที่นํารองในอําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 3 พื้นที่ คือ 1) ชุมชนปาลมซิตี้ ในเขตเทศบาลเมืองคอหงส 2) ชุมชนกลางนา ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ และ 3) ชุมชนควนสันติ ในเขตเทศบาลตําบลควนลัง ในการคัดเลือกพื้นที่ชุมชนนํารองทั้ง 3 พื้นที่ ไดคัดเลือกบนพื้นฐานของความสําเร็จของโครงการนํารอง โดยคัดเลือกชุมชนที่ไดรับความรวมมือดวยดีจากประชาชนผูพักอาศัย เพราะโครงการเชื่อวาการสรางตัวอยางที่ประสบความสําเร็จเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากความสําเร็จจะนําไปสูความเชื่อมั่นที่จะนําระบบนํารองไปขยายผลในพื้นที่อ่ืนๆ ตอไป

โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพื่อการจัดการมูลฝอยไดดําเนินโครงการตั้งแตป พ.ศ. 2545 โดยเปาหมายของโครงการ คือ เพื่อนําวัสดุใชแลวที่สามารถนํากลับมาแปรรูปใชประโยชน และแนะนําระบบการนําวัสดุใชแลวกลับมาใชใหมในระดับชุมชน รวมถึงการวางแผน และการจัดการ

Page 45: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

17

โครงการเพื่อประโยชนในระยะยาวของชุมชน โดยกระตุนใหเกิดการคัดแยกมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด ในการดําเนินงานของโครงการแบงออกเปน 3 ขั้นตอน ประกอบดวย 1) การดําเนินโครงการตนกลา 2) การดําเนินโครงการนํารอง และ 3) การขยายพื้นที่โครงการ โดยโครงการตนกลาไดเร่ิมดําเนินงานตั้งแตเดือนมิถุนายน พ.ศ.2546 ผลจากการดําเนินโครงการตนกลาไดถูกนําไปพัฒนาเปนโครงการ นํารองในเดือนเมษายน พ.ศ.2548 สวนขั้นตอนที่ 3 ยังไมไดมีการดําเนินการขยายพื้นที่โครงการ ในการดําเนินงานทางโครงการไดมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยตามจุดตางๆ ในแตละชุมชนเพื่อทําการศึกษาปริมาณมูลฝอย จัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอย โดยชุมชนปาลมซิตี้มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยตามจุดตางๆ ในพื้นที่รวม 11 จุด ชุมชนกลางนามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยตามจุดตางๆ ในพื้นที่รวม 14 จุด และชุมชนควนสันติมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยตามจุดตางๆ รวม 22 จุด โดยมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย และภาชนะรองรับมูลฝอยรีไซเคิลจุดละหนึ่งถัง และทางโครงการทําการจัดเก็บมูลฝอยแยกตามภาชนะที่วางไว โดยมูลฝอยอินทรียที่ไดจากการจัดเก็บจะเขาสูโรงหมัก เพื่อจะทําปุยหมักตอไป วัสดุรีไซเคิลจะเขาสูโรงคัดแยก โดยวัสดุรีไซเคิลที่รวบรวมไดจะนํามาเก็บรวบรวมไว ณ จุดรับที่ลานเก็บ จากนั้นพนักงานจะทําการคัดแยกกระดาษออกจากวัสดุใชแลวอ่ืนๆ และนําไปเขาเครื่องอัด วัสดุรีไซเคิลอ่ืนๆ จะถูกวางบนสายพานคัดแยกซึ่งพนักงาน คัดแยกจะแยกแตละประเภทของวัสดุรีไซเคิล เชน กระปอง พลาสติก และแกว ออกจาก กระปอง โลหะ จะถูกนําไปเขาเครื่องอัด พลาสติก และแกวซ่ึงถูกแยกประเภทไวจะถูกนําไปเก็บในลานเก็บ ทั้งนี้วัสดุที่ถูกเก็บรวบรวมไดจะถูกขายใหแกผูตองการนําไปใชประโยชน เชน โรงงานอุตสาหกรรมตอไป หลังจากโครงการดําเนินงานมาจนสิ้นสุดโครงการ พ.ศ.2549 โดยการดําเนินงานโรงหมักปุย และโรงคัดแยกวัสดุรีไซเคิลก็จะถูกมอบโอนใหเทศบาล โดยจะดําเนินการรวบรวมมูลฝอยอินทรียและมูลฝอยรีไซเคิลจากพื้นที่หรือจุดที่กําหนด และนําเขาสูกระบวนการของโรงงานนํารองตอไป ซ่ึงในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยในแตละพื้นที่มีขอมูลทั่วไปของพื้นที่ ดังนี้ (โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย, 2548)

1.5.1 ชุมชนปาลมซิตี้ 1.5.1.1 ความเปนมา และลักษณะความสัมพันธของคนในชุมชน ชุมชน

ปาลมซีตี้เปนชุมชนที่เพิ่งเกิดใหม กอตั้งมาประมาณ 9 ป ลักษณะที่อยูอาศัยเปนแบบทาวนเฮาส ผูคนที่เขามาอยูอาศัยในชุมชนสวนใหญเปนผูที่มาจากตางถิ่น จึงทําใหสมาชิกในชุมชนไมคอยมีความสัมพันธกัน ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพรับราชการ รับจางทั่วไป และประกอบธุรกิจสวนตัว ดังนั้นประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนปาลมซิตี้จึงออกไปทํางานตอนเชา และกลับมาอีกครั้งตอนเย็นหรือกลางคืน ฉะนั้นผูที่จะเขาติดตอกับสมาชิกภายในหมูบานจึงคอนขางที่จะยาก และทําใหการจัดกิจกรรมในชุมชนเปนไปไดยากดวย

Page 46: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

18

เนื่องจากสมาชิกที่เขามาอยูในชุมชนมีความหลากหลาย โดยสวนมากเปนผูที่ยายมาจากจังหวัดอื่นๆ หรือภาคอื่นๆ ที่ เขามาตั้ง ถ่ินฐานเพื่อประกอบอาชีพ จึงทําใหความสัมพันธของสมาชิกภายในชุมชนเปนความสัมพันธแบบเพื่อนบานกัน

เนื่องจากชุมชนปาลมซิตี้เปนชุมชนที่เพิ่งเกิดใหมกลุมประชากรที่เขามาอยูจะประกอบอาชีพ จึงทําใหหมูบานนี้ไดรับการขนานนามจากสมาชิกในชุมชนอีกซื่อหนึ่งวา “หมูบานคนทํางาน”

ลักษณะที่อยูอาศัยในชุมชนปาลมซิตี้เปนบานแบบทาวนเฮาสประมาณ 130 หลังคาเรือน และบานเดี่ยว 5 หลังคาเรือน

1.5.1.2 ลักษณะของพื้นท่ี ชุมชนปาลมซิตี้ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมือง คอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ลักษณะของพื้นที่เปนที่ราบ มีความสะดวกในการเดินทางเขาไปยังชุมชน (รายละเอียดพื้นที่ศึกษาดังแสดงในภาคผนวก จ) พื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้เปนชุมชนที่มีขนาดเล็กซึ่งมีพื้นที่สาธารณะเพียงสนามเด็กเลน และสถานที่ที่ใชในการประชุมของสมาชิกในชุมชนตั้งอยูบริเวณดานขางสนามฟุตบอลซึ่งเปนพื้นที่ของเอกชน ซ่ึงเปนพื้นที่เพื่อใชในการรวมในการทํากิจกรรมรวมกันของสมาชิกในชุมชน

1.5.1.3 การมีสวนรวม กิจกรรมภายในชุมชนที่กอใหเกิดการมีสวนรวม เร่ิมตนจากคณะกรรมการชุมชนเปนผูริเร่ิม ซ่ึงมีกิจกรรมที่กอใหเกิดการรวมตัว เชน กิจกรรมการพัฒนาหมูบาน เนื่องในวันสําคัญตางๆ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมวันลอยกระทง และชุมชนไดเขารวมกับโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย เปนตน

1.5.1.4 สภาพเศรษฐกิจ เนื่องจากสมาชิกในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพรับราชการ และลูกจางบริษัทเอกชนเปนหลัก จึงทําใหประชาชนในชุมชนมีสภาพเศรษฐกิจที่ดี นอกจากนี้สมาชิกชุมชนสวนหนึ่งประกอบอาชีพอิสระ เชน ซักรีด รับจางทั่วไป และประกอบธุรกิจสวนตัว เปนตน

1.5.1.5 ความสัมพันธระหวางสมาชิกของชุมชนกับเทศบาลเมือง จากการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย พบวาทางเทศบาลมักไมคอยเขามาใหความสนใจชวยเหลือกิจกรรมของทางชุมชนมากนัก จะเขามาเปนบางครั้งเทานั้น ทําใหชาวชุมชนสวนมากเกิดความไมพอใจตอวิธีการทํางานของเทศบาล ดังนั้นการรวมมือกันระหวางเทศบาล และชาวชุมชนจึงคอนขางนอย ซ่ึงชาวชุมชนตองการใหเทศบาลไดแสดงความรับผิดชอบและใหความชวยเหลือเพื่อแกปญหาตางๆ เพิ่มมากขึ้น

1.5.1.6 แหลงกําเนิดมูลฝอย กิจกรรมที่กอใหเกิดมูลฝอย และการจัดการ มูลฝอยชุมชนปาลมซิตี้ เนื่องจากในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้เปนชุมชนที่เปนที่อยูอาศัยมูลฝอยที่เกิด

Page 47: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

19

ขึ้นมาจากแหลงที่อยูอาศัย เปนมูลฝอยที่เกิดจากการดํารงชีพของคนที่อยูอาศัยในบานพักอาศัย ไดแก เศษอาหารจากการเตรียมอาหารหรือจากการเหลือใช เศษอาหาร เศษพืชผัก ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ใบไม ภาชนะหรืออุปกรณที่ชํารุด เศษแกว เปนตน

ปจจุบันการจัดการมูลฝอยในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โดยเทศบาลเมืองคอหงสเปนผูดําเนินการจัดเก็บมูลฝอยตามภาชนะรองรับมูลฝอยที่เทศบาลวางไวในชุมชน จากการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยไดทําการศึกษาปริมาณมูลฝอยในชุมชนปาลมซิตี้พบวามีมูลฝอยที่เปนเศษอาหาร และเศษใบไม รอยละ 55.8 มูลฝอยรีไซเคิล ไดแก พลาสติก กระดาษ อลูมิเนียม รอยละ 8.6 และมูลฝอยอ่ืนๆ รอยละ 35.7

1.5.2 ชุมชนกลางนา 1.5.2.1 ความเปนมา และลักษณะความสัมพันธของคนในชุมชน ชุมชน

กลางนาในอดีตนั้นมีลักษณะภูมิประเทศเปนทองทุงนา มีวิถีชีวิตแบบเรียบงาย มีการพึ่งพาอาศัยกัน คนในชุมชนสวนใหญมักเปนเครือญาติกัน ดังนั้นชุมชนกลางนาจึงมีลักษณะเดนของความสัมพันธ เชิงเครือญาติมาจนถึงปจจุบัน แตตอมาเมื่อมีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีทําใหชุมชนถูกรายลอมไปดวยบานเรือน ส่ิงกอสรางรวมถึงอาคารสถานที่ราชการตางๆ สงผลใหชุมชนกลางนาเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางดานวัตถุ และวิถีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงมาจนถึงปจจุบัน

ภายในชุมชนกลางนามีความสัมพันธทางสังคมแบงออกเปน 2 กลุม คือ ความสัมพันธเชิงเครือญาติ ซ่ึงทําใหความสัมพันธของสมาชิกชุมชนสวนหนึ่งเปนไปอยางใกลชิด และความสัมพันธเชิงการเมือง เนื่องมาจากการรวมกลุมกันทางการเมืองทองถ่ินทําใหผูที่มารวมกลุมกันเกิดความสัมพันธกัน เนื่องจากมีโอกาสในการปฏิสัมพันธกัน นอกจากนี้ชุมชนกลางนามีความหลากหลายของผูคนที่เขามาอยูอาศัย ทั้งนี้เนื่องจากชุมชนกลางนามีลักษณะเปนชุมชนเมืองที่ตั้งอยูใกลกับบริเวณสถานศึกษา สถานที่ราชการ ดังนั้นจึงจําแนกกลุมบุคคลไดดังนี้

- กลุมนักเรียน นักศึกษา ตั้งแตระดับมัธยมศึกษาจนถึงอุดมศึกษา - กลุมคนทํางาน ทั้งที่รับราชการ และประกอบธุรกิจสวนตัว - กลุมพอบาน แมบาน จากความหลายหลายของประชากรทําใหลักษณะของที่อยูอาศัยในชุมชน

จําแนกออกเปน 3 ลักษณะดังนี้ (โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพื่อการคัดแยกมูลฝอย, 2548) - บานเดี่ยวหลังใหญ ซ่ึงสวนใหญเปนของบุคคลดั้งเดิม - บานทาวนเฮาส สวนใหญเปนขาราชการ และพนักงานบริษัท - บานหองแถว มีความหลากหลายของผูพักอาศัย เชน นักเรียน นักศึกษา

คนทํางานรับจาง และผูประกอบอาชีพอิสระ เปนตน

Page 48: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

20

1.5.2.2 ลักษณะของพื้นท่ี ชุมชนกลางนาตั้งอยูในเขตเทศบาลนครหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ลักษณะของพื้นที่เปนที่ราบมีการเชื่อมตอของแตละซอยภายในชุมชนและพื้นที่รอบๆ ทําใหมีความสะดวกในการเดินทางเขาไปยังชุมชน (รายละเอียดพื้นที่ศึกษา ดังแสดงในภาคผนวก จ) และมีพื้นที่ที่เปนพื้นที่สาธารณะในชุมชน ประกอบไปดวย ลานกีฬาสําหรับเตนแอโรบิค และสนามเด็กเลน

1.5.2.3 การมีสวนรวม กิจกรรมตางๆ ภายในชุมชนซึ่งสวนใหญเปนกิจกรรมที่ทางเทศบาลนครหาดใหญใหการสนับสนุน เชน กิจกรรมเทศบาลพบประชาชน กิจกรรมการแขงขันกีฬาระหวางชุมชน และการเขารวมกิจกรรมในโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย เปนตน

1.5.2.4 สภาพเศรษฐกิจ เนื่องจากชุมชนกลางนามีกลุมประชากรที่เขามาอยูอาศัยมีความหลากหลาย สมาชิกในชุมชนสวนใหญเปนกลุมคนทํางาน ประกอบอาชีพรับราชการและธุรกิจสวนตัว จึงทําใหประชาชนในชุมชนมีสภาพเศรษฐกิจที่ดี นอกจากนี้สมาชิกชุมชนสวนหนึ่งยังเปนกลุมพอบาน และแมบาน รวมทั้งกลุมประชากรที่ประกอบอาชีพคาขาย และอาชีพรับจางทั่วไป (โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย, 2548)

ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดทําการศึกษาสภาพเศรษฐกิจในพื้นที่ชุมชนกลางนาพบวารายไดของประชากรเฉลี่ยตอเดือนอยูระหวาง 5,001-10,000 บาทตอเดือน รองลงมามีรายไดต่ํากวา 2,500-5,000

1.5.2.5 ความสัมพันธระหวางสมาชิกของชุมชนกับเทศบาล จากการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย พบวาความสัมพันธระหวางคณะกรรมการของชุมชนซึ่งเปนตัวแทนของชุมชนชาวกลางนามีความสัมพันธที่ดีกับทางเทศบาลนครหาดใหญโดยภาพรวมแลวมีความสัมพันธกันดวยดี

1.5.2.6 แหลงกําเนิดมูลฝอย กิจกรรมที่กอใหเกิดมูลฝอย และการจัดการ มูลฝอยชุมชนกลางนา เนื่องจากในพื้นที่ชุมชนกลางนามีความหลายของที่อยูอาศัย และการประกอบอาชีพที่หลากหลาย ทําใหมูลฝอยที่เกิดขึ้นจึงมีทั้งมูลฝอยที่เกิดจากการดํารงชีพของคนที่อาศัยอยูในแหลงที่พักอาศัย ไดแก เศษอาหารจากการเตรียมอาหาร เศษพืชผัก ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และ ขวดแกว เปนตน นอกจากนี้ในพื้นที่ชุมชนกลางนายังมีรานคา และรานขายอาหารทําใหมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิลมาก

ปจจุบันการจัดการมูลฝอยของชุมชนกลางนา โดยเทศบาลนครหาดใหญเปนผูดําเนินการจัดเก็บมูลฝอยตามภาชนะรองรับมูลฝอยที่เทศบาลวางไวในชุมชน จากการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยไดทําการศึกษาปริมาณมูลฝอยในชุมชนกลางนา

Page 49: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

21

พบวามีมูลฝอยที่เปนเศษอาหาร และเศษใบไม รอยละ 55.8 มูลฝอยรีไซเคิล ไดแก พลาสติก กระดาษ อลูมิเนียม รอยละ 31.0 และมูลฝอยอ่ืนๆ รอยละ 14.0 นอกจากนี้ในพื้นที่ชุมชนกลางนาไดมีรานรับซื้อของเกาในบริเวณพื้นที่ใกลเคียงดวย

1.5.3 ชุมชนควนสันติ 1.5.3.1 ความเปนมา และลักษณะความสัมพันธของคนในชุมชน ชุมชน

ควนสันติแตเดิมนั้นพื้นที่มีลักษณะเปนเนินเขาเตี้ยมีประชาชนอาศัยรวมกันอยางสงบสุข และมีความเอื้ออาทรกัน ดวยเหตุนี้จึงเปนที่มาของชื่อชุมชนมาจนถึงปจจุบัน สําหรับบุคคลดั้งเดิมของชุมชนมีคอนขางนอย ซ่ึงในปจจุบันพบวา ผูที่อาศัยอยูภายในชุมชนสวนใหญเปนผูที่มาจากตางถิ่นที่เขามาอยูอาศัยเพื่อทํางานรับจาง คาขาย และทําธุรกิจสวนตัว ดังนั้นในชุมชนจึงมีผูคนเขามาอาศัยอยูอยางหลากหลาย และเขามาอยูอาศัยในระยะเวลาสั้นๆ จึงทําใหสมาชิกในชุมชนไมคอยมีโอกาสปฏิสัมพันธกันมากนัก ยกเวนเมื่อมีกิจกรรมภายในชุมชนเทานั้น แตอยางไรก็ตาม เนื่องจากชุมชนควนสันติเปนชุมชนที่มีชาวมุสลิมอาศัยอยูจํานวนมาก จึงทําใหความสัมพันธของประชาชนสวนใหญก็ยังมีความใกลชิดกัน

ชุมชนควนสันติ เปนชุมชนที่มีผูคนเขามาอยูอยางหลากหลาย เนื่องจากไดช่ือวาเปนชุมชน “ทางผาน” มีผูคนเขามาอยูอาศัยกันในระยะเวลาสั้นๆ จึงทําใหสมาชิกในชุมชนไมคอยมีโอกาสในการปฏิสัมพันธกันมากนัก ยกเวนเมื่อมีกิจกรรมของชุมชนเทานั้น สมาชิกในชุมชนจะเขามามีสวนรวมกันดวยดี นอกจากนี้ความสัมพันธระหวางพี่นองชาวพุทธ และชาวมุสลิมยังเปนไปไดดวยดี

เนื่องจากชุมชนควนสันติเปนชุมชนเมืองที่มีลักษณะเปนชุมชนคนเดินทางหรือชุมชนทางผานทําใหผูคนที่เขามาอยูอาศัยมักจะอยูในระยะเวลาสั้นๆ จึงทําใหการดําเนินกิจกรรมที่มีความตอเนื่องเปนไปไดยาก ซ่ึงบุคคลเหลานี้มีภารกิจสวนตัว และประกอบอาชีพ ทําใหไมสามารถเขารวมกิจกรรมไดอยางตอเนื่อง และความหลากหลายของผูเขามาอยูอาศัย ทาํใหมีผลตอการสื่อสาร และปฏิสัมพันธระหวางบุคคลตองใชเวลาในการทําความเขาใจ

จากลักษณะความหลากหลายของประชากรทําใหลักษณะที่อยูอาศัยของประชาชนในพื้นที่มีทั้งบานเชาที่เปนหองแถว บานทาวนเฮาส และบานเดี่ยว

1.5.3.2 ลักษณะของพื้นท่ี ชุมชนควนสันติตั้งอยูในเขตเทศบาลตําบล ควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ลักษณะของพื้นที่เปนพื้นที่ที่มีความหลากหลาย โดยพื้นที่ชุมชนควนสันติมีถนนสายหลักตัดผานชุมชน และแยกออกเปนซอยยอยๆ ซ่ึงแตละซอยมีความแตกตางของพื้นที่ (รายละเอียดพื้นที่ศึกษาดังแสดงในภาคผนวก จ) และชุมชนควนสันติมีพื้นที่ที่เปนพื้นที่สาธารณะเพื่อใชในการรวมตัวของชาวชุมชน ในการทํากิจกรรมรวมกันของสมาชิกใน

Page 50: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

22

ชุมชน คือ พื้นที่เพื่อการออกกําลังกาย ไดแก ลานกีฬา และสนามฟุตบอล พื้นที่สําหรับทํากิจกรรมดานศาสนา ไดแก วัด และมัสยิด พื้นที่สําหรับเยาวชน และเด็กๆ ไดแก สนามเด็กเลน ซ่ึงตั้งอยูภายในโรงเรียนสอนเด็กเล็กของชุมชนหรือที่เรียกวาโรงเรียนตาฏีกา รานคาตางๆ เชนรานน้ําชา รานคา รานอาหาร เปนตน และมีสํานักงานคณะกรรมการชุมชนช่ัวคราว ซ่ึงตั้งอยูภายในบานของคณะกรรมการชุมชนโดยใชเปนสถานที่ในการประชุมรวมกับหนวยงานของเทศบาลหรือหนวยงานภายนอก

1.5.3.3 การมีสวนรวม ซ่ึงภายในชุมชนควนสันติไดมีการจัดกิจกรรมตางๆ เปนกิจกรรมที่กอใหเกิดการรวมตัวระหวางชาวชุมชนดวยกัน และระหวางชาวชุมชนกับเทศบาล โดยเทศบาลไดเขามาใหความรวมมือ และสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนดวยดี ซ่ึงกิจกรรมที่จัดขึ้นในชุมชนไดแก กิจกรรมวันที่ 5 ธันวาคม โดยการใหชาวชุมชนออกมาชวยกันพัฒนา และทําความสะอาดบริเวณชุมชน กิจกรรมการทําละหมาดซึ่งถือเปนกิจกรรมที่ทําใหพี่นองชาวมุสลิมออกมาปฏิบัติศาสนกิจกันในทุกๆ วันศุกร กิจกรรมการแขงขันกีฬาระหวางชุมชน ซ่ึงมีการจัดเปนประจําทุกป เปนตน และชุมชนไดเขารวมกับโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยดวย

1.5.3.4 สภาพเศรษฐกิจ ในปจจุบันพบวา ผูที่อาศัยอยูภายในชุมชนแบงออกเปนกลุมที่อยูอาศัยเปนระยะเวลานาน (ประมาณ 10 ป ขึ้นไป) และกลุมคนที่เขามาอยูอาศัยในระยะเวลาสั้น (ประมาณ 2-3 ป) โดยกลุมคนที่อยูอาศัยเปนระยะเวลานานนั้นสวนหนึ่งประกอบอาชีพทําสวนยางพาราเปนหลัก คาขาย และอาชีพอิสระ สวนผูที่อยูอาศัยในระยะเวลาสั้นสวนใหญเปนผูที่มาจากตางถิ่นที่เขามาอยูอาศัย ซ่ึงสวนใหญทํางานรับจางโรงงาน และรับจางทั่วไป

ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดทําการศึกษาสภาพเศรษฐกิจในพื้นที่ชุมชนควนสันติพบวารายไดของประชากรเฉลี่ยตอเดือนอยูระหวาง 2,500-5,000 บาทตอเดือน รองลงมามีรายได 5,001-10,000 บาทตอเดือน

1.5.3.5 ความสัมพันธระหวางสมาชิกของชุมชนกับเทศบาล จากการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย พบวาคณะกรรมการชุมชนมีความไมพอใจในวิธีการปฏิบัติงานของนายกฯ คนใหมที่มีตอชุมชน ซ่ึงมีความสัมพันธทางดานการเมืองเขามาเกี่ยวของ ดังนั้นเมื่อเขามาทํางานรวมกันจึงทําใหเกิดความขัดแยงในการทํางาน

1.5.3.6 แหลงกําเนิดมูลฝอย กิจกรรมที่กอใหเกิดมูลฝอย และการจัดการ มูลฝอยชุมชนควนสันติ ประชากรที่อาศัยอยูในพื้นที่ดังเดิมสวนใหญจะประกอบอาชีพทําสวนยางพารา คาขาย และอาชีพอิสระ สวนประชากรที่มาจากตางถิ่นที่เขามาอยูอาศัย ซ่ึงสวนใหญทํางานรับจางโรงงาน และรับจางทั่วไป ดังนั้นมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนเปนมูลฝอยท่ีเกิดจากการ

Page 51: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

23

ดํารงชีพของคนที่อาศัยอยูในแหลงที่พักอาศัย ไดแก เศษอาหาร เศษพืชผัก ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก และขวดแกว เปนตน

ปจจุบันการจัดการมูลฝอยของชุมชนควนสันติ โดยเทศบาลตําบลควนลังเปนผูดําเนินการจัดเก็บมูลฝอยตามภาชนะรองรับมูลฝอยที่เทศบาลวางไวในชุมชน ซ่ึงมีอัตราการเกิดมูลฝอยในพื้นที่ตําบลควนลังโดยเฉลี่ย 0.61 กิโลกรัมตอคนตอวัน มีมูลฝอยเกิดขึ้นในพื้นที่ 15 ตันตอวัน ปริมาณมูลฝอยที่สามารถเก็บขนได 8.14 ตันตอวัน หรือคิดเปนรอยละ 54 ของปริมาณ มูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมของชุมชนทั้งหมด (ธเนศ ทิพยศ, 2542)

จากการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยไดทําการศึกษาปริมาณมูลฝอยในชุมชนควนสันติพบวามีมูลฝอยที่เปนเศษอาหาร และเศษใบไม รอยละ 41.7 มูลฝอยรีไซเคิล ไดแก พลาสติก กระดาษ อลูมิเนียม รอยละ 35.8 และมูลฝอยอ่ืนๆ รอยละ 22.6

สําหรับพื้นที่ทั้ง 3 ชุมชนทางโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการ มูลฝอยไดทําการศึกษาปจจัยทางสังคมที่สนับสนุนหรือเปนอุปสรรคตอการสรางความรวมมือของประชาชนในการดําเนินกิจกรรมสาธารณะในภาพรวมไดเปน 3 กลุม ไดแก กลุมที่เกี่ยวของกับเทศบาล กลุมที่เกี่ยวของกับชุมชน และกลุมที่เกี่ยวของกับคณะทํางานโครงการ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

1) ปจจัยที่เกี่ยวของกับเทศบาล ก) ความมุงมั่นของผูบริหารระดับสูง และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ

จําเปนอยางยิ่งที่ผูบริหารระดับสูงของเทศบาล และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของใหการสนับสนุนการจัดการ มูลฝอยอยางจริงจัง โดยแสดงไวในวิสัยทัศน และนโยบายของเทศบาล และสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชนในการดําเนินโครงการการจัดการมูลฝอย

ข) ทรัพยากรของเทศบาล ถึงแมวาเจาหนาที่ของเทศบาลตั้งใจที่จะสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน แตเนื่องจากเจาหนาที่ของเทศบาลมีภารกิจมาก จึงไมมีเวลาที่จะดําเนินกิจกรรม และจากการสอบถามเจาหนาที่ของเทศบาล พบวานโยบายของผูบริหารเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยยังไมใชประเด็นเรงดวน เวลาที่มีใหเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยจึงนอง ประกอบกับการสงเสริมการสนับสนุนยังไมเพียงพอ นอกจากนั้นเทศบาลยังมีทรัพยากรที่จํากัด เจาหนาที่ที่เขารวมโครงการนํารองตองทํางานดวยตัวเอง การมีสวนรวมในโครงการจึงมีขอจํากัด และขาดการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

ค) ความสัมพันธระหวางชุมชนกับเทศบาล ความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาลตอการขับเคล่ือนการมีสวนรวมของชุมชน จะมีสวนชวยใหมีการ

Page 52: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

24

ประสานงานของโครงการในชุมชนเปนไปไดดวยดี เจาหนาที่เทศบาลมีบทบาทในการสนับสนุนโครงการอยางเขมแข็ง และสามารถชวยแกไขปญหาตางๆ ได

ง) วิ ธีการติดตอส่ือสารที่ เหมาะสม และสม่ําเสมอสําหรับกลุมเปาหมายในเมืองที่แตกตางกัน เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชนเมืองที่แตกตางกันจําเปนจะตองมีการออกแบบวิธีการสื่อสารที่หลากหลาย เหมาะสม และสม่ําเสมอ เพื่อนําเสนอวัตถุประสงค และรายละเอียดของโครงการที่เขาใจงาย สําหรับแตละกลุมเปาหมาย

2) ปจจัยที่เกี่ยวของกับชุมชน ก) ผูนําชุมชน บุคลิกภาพ และความนาเชื่อถือของผูนําชุมชนเปน

ปจจัยสําคัญตอการสรางการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชน ผูนําที่มีความเสียสละ และกระตือรือรนสามารถชักจูงใหสมาชิกเกิดความตระหนักถึงความสําคัญตอการมีสวนรวมในการแกไขปญหา มูลฝอยของชุมชน

ข) ความเปนเอกภาพของสมาชิกในชุมชน เปนปจจัยสําคัญอีกอยางหนึ่งในการสรางการมีสวนรวม เชน จากการศึกษาของโครงการในพื้นที่ชุมชนควนสันติพบวา สมาชิกชุมชนควนสันติไดใหความรวมมือในการคัดแยกมูลฝอย เนื่องจากพวกเคามีความเปนเอกภาพซึ่งมีพื้นฐานมาจากการนับถือศาสนาเดียวกัน

ค) ระดับการศึกษา และทรัพยากรทางเศรษฐกิจของชุมชน มีสวนสัมพันธกับความรวมมือในโครงการของสมาชิกในชุมชนในระดับหนึ่ง เชน จากการศึกษาของโครงการในพื้นที่ชุมชนกลางนาซึ่งเปนชุมชนในเมือง มีสถานภาพทางดานการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ และความมั่งคงทางดานอาชีพในระดับหนึ่ง และไมตองดิ้นรนหาเลี้ยงชีพจึงมีโอกาสที่จะเขารวมกิจกรรมในโครงการมากกวา

ง) ความรู ความเขาใจและทัศนคติเชิงบวกในการจัดการมูลฝอย เปนปจจัยสําคัญสําหรับการจัดการมูลฝอยอยางยั่งยืน แตกระบวนการการพัฒนาเพื่อสงเสริมใหประชาชนมีความรับผิดชอบในการจัดการมูลฝอยในระยะยาว ตองอาศัยระยะเวลา และทรัพยากรตางๆ จากทุกฝายที่เกี่ยวของ

3) ปจจัยที่เกี่ยวของกับการบริหารโครงการ ก) การสนับสนุนของโครงการ โดยใหการสนับสนุนดานการเงินใน

การขับเคลื่อนกิจกรรมของชุมชน วัสดุอุปกรณ รวมทั้งการประสานงานระหวางคณะกรรมการของชุมชน และเจาหนาที่เทศบาล

ข) ขอจํากัดของโครงการ เนื่องจากเจาหนาที่โครงการที่มีจํานวนจํากัด ทําใหมีอุปสรรคตอการดําเนินงาน รวมทั้งการสรางความชัดเจนในการติดตอส่ือสารในชุมชน

Page 53: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

25

1.6 นิยามศัพทท่ีใชในการวิจัย มูลฝอย ตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ.2535 ไดใหความหมายของมูลฝอย

วา “มูลฝอย” หมายถึง เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว หรือ ซากสัตว รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เล้ียงสัตว หรือที่อ่ืนๆ

ปจจัย ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใหความหมายวา “ปจจัย” หมายถึง ส่ิงหรือเหตุที่ทําใหเกิดผล หนทาง หรือสวนประกอบในแตละตัวของสิ่งที่จะนําไปสูเปาหมาย

ปจจัยหลัก คําวาหลักตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง สําคัญ ถารวมกับ ปจจัย หมายถึงสิ่งหรือเหตุผลที่มีความสําคัญ

ปจจัยหลักแหงความสําเร็จ จากคําวาปจจัยหลัก หมายถึงสิ่งหรือเหตุผลที่มีความสําคัญ ดังนั้นปจจัยหลักแหงความสําเร็จ หมายถึง ส่ิงหรือเหตุผลหลักที่สําคัญที่นําไปสูความสําเร็จ

ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย คือ ส่ิงหรือเหตุผลหลักที่สําคัญที่นําไปสูความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยซ่ึงเปนขั้นตอนที่ดําเนินการภายหลังการเกิดขึ้นของมูลฝอยแลว

กลไกแหงความสําเร็จ คือ ขั้นตอนการดําเนินงานตาง ๆ ที่มีความสัมพันธ และเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบโดยมีปจจัยตาง ๆ เปนกลไกในการดําเนินงานบรรลุเปาหมาย

Page 54: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

26

บทที่ 2 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ ซ่ึงใชวิธีการเก็บขอมูลจากเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยเพื่อสรางสมมติฐานเกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธ เชิงกระบวนการในการคัดแยกมูลฝอย แลวทําการเก็บขอมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถามเพื่อทวนสอบสมมติฐานที่สรางจากการวิจัยเอกสาร และทําการทวนสอบอีกครั้งดวยการสํารวจเชิงประจักษเพื่อหารูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในพื้นที่จริง โดยกรอบแนวคิดของการวิจัยจึงอยูในขอบเขตของการสรางรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยโดยบุคคลกลุมปจจัยตางๆ ประกอบดวย ประชากร การคัดแยกมูลฝอย ตัวช้ีวัด และปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ประกอบดวย คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน และซาเลง โดยกําหนดกรอบแนวคิดในการดําเนินการ วิจัยดังนี้ 2.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ภาพประกอบ 2-1 กรอบแนวคิดการวิจัยปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย

ตัวช้ีวัดความสําเร็จ ประชากร การคัดแยกมูลฝอย

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

โครงการ ซาเลง คุณลักษณะสวนบุคคล

ความสัมพันธเชิงกระบวนการ/กลไก

ขับเคลื่อน

เทศบาลหรือหนวยงาน

Page 55: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

27

2.2 ขอบเขตของการวิจัย 2.2.1 ขอบเขตดานขอมูล 2.2.1.1 ขอมูลทุติยภูมิ ศึกษาขอมูลปจจัยที่มีผลการคัดแยกมูลฝอย และตัวช้ีวัดความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย จากแหลงขอมูลที่เปนเอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวของ และแหลงขอมูลตางๆ 2.2.1.2 ขอมูลปฐมภูมิ ขอมูลจากแบบสอบถาม และขอมูลจากสํารวจเชิงประจักษเพื่อนํามาทวนสอบปจจัยในการคัดแยกมูลฝอย และทวนสอบตัวช้ีวัดความสําเร็จในการ คัดแยกมูลฝอย 2.2.2 ขอบเขตดานวิธีการวิจัย

2.2.2.1 ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอย เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับตัวช้ีวัดความสําเร็จ และปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยก มูลฝอยชุมชน และสรางสมมติฐานความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยในแตละตัวช้ีวัด 2.2.2.2 ทวนสอบสมมติฐานความสัมพันธที่สรางขึ้นในขั้นตอนที่ 1 ดวยขอมูลเชิงความคิดเห็นจากแบบสอบถาม

2.2.2.3 ทวนสอบรูปแบบความสัมพันธที่ปรับปรุงจากขอมูลแบบสอบถามดวยขอมูลเชิงประจักษกับการสํารวจพื้นที่จริง เพื่อทวนสอบโดยอาศัยขอมูลจากแบบสอบถามในแตละโซนของพื้นที่ศึกษา

2.2.2.4 สรุป และเสนอแนะผลจากการทวนสอบดวยการสํารวจเชิงประจักษ เพื่อนํารูปแบบความสัมพันธในการคัดแยกมูลฝอยนําไปประยุกตใชตอไป 2.2.3 ขอบเขตดานพืน้ท่ีศึกษา พื้นที่ในการศึกษาประกอบไปดวยชุมชนปาลมซิตี้ ตั้งอยู เทศบาลเมือง คอหงส ชุมชนกลางนา ตั้งอยูเทศบาลนครหาดใหญ และชุมชนควนสันติ ตั้งอยูเทศบาลตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 2.3 ขั้นตอนการวิจัย

การวิจัยนี้ใชวิธีการเชิงสํารวจเพื่อ ในการหาปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการ คัดแยกมูลฝอยในชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ โดยแบงขั้นตอนการวิจัยออกเปน 3 ขั้นตอนหลัก ดังนี้

Page 56: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

28

2.3.1 การศึกษาขอมูลจากเอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของเพื่อสรางสมมติฐาน 2.3.1.1 ศึกษาขอมูลตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยที่

สงผลตอการคัดแยกมูลฝอยจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของตางๆ ที่ไดมาจากงานวิจัย รายงานวิชาการ ตําราที่เกี่ยวของกับตัวช้ีวัด และปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ศึกษาเอกสาร งานวิจัยเพิ่มเติมในการวิจัยในบทที่ 3)

2.3.1.2 การคัดเลือก และกรองขอมูลจากการวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เปนการวิเคราะหเพื่อนําขอมูลตัวช้ีวัดความสําเร็จ และปจจัยที่มีผลตอการ คัดแยกมูลฝอยมาสรางสมมติฐานของรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ โดยทําการคัดเลือก และวิเคราะหขอมูล 3 สวนดังนี้

ก. ในการคัดเลือกตัวช้ีวัดความสําเร็จ ผูวิจัยทําการวิเคราะห และคัดเลือกตัวช้ีวัดที่บงชี้ความสําคัญ มีความไมซับซอน และสามารถเปนตัวช้ีวัดเชิงกระบวนการเทานั้น

ข. การวิเคราะห และคัดเลือกปจจัยที่มีผลตอตัวช้ีวัดที่ไดจากขอ ก โดยเกณฑที่ใชในการพิจารณา คือ ปจจัยทั้งหมดที่ไดจากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ถือวาปจจัยทุกตัวมีความสําคัญตอการคัดแยกมูลฝอย แลวนําปจจัยที่ไดมากําหนดตัวแปรเพื่อสรางรูปแบบความสัมพันธ ค. สรางรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย โดยนําขอมูลที่วิเคราะหไดจากขั้นตอนที่ 2.3.1.2 ขอ ก และ ข มาสรางเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จดวยโปรแกรม Vensim PLE เวอรชัน 5.4 (โปรแกรม Vensim PLE ใชในการสรางโครงสรางความสัมพันธเชิงระบบ (ดังแสดงในภาพประกอบ 2-2) โดยไมไดนําไปใชประมวลผลใดๆ) ตามขั้นตอนดังนี้ - กําหนดโครงสรางหรือรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการ(ดังแสดงในภาพประกอบ 2-2) จากขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลในขอ ก และ ข จากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

- วิ เคราะห จําแนกปจจัยสนับสนุนที่ เกี่ ยวของหรือนําไปสูกระบวนการหลัก โดยจากขั้นตอนการวิจัยเอกสารประกอบดวย คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน และซาเลง

- มีตัวแปรหรือปจจัยอ่ืนๆ ที่ขับเคลื่อนหรือสงผลตอปจจัยสนับสนุน

Page 57: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

29

ปริมาณมลูฝอย (Input)ประชากร การคัดแยก (Process)

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

เพศ อายุ ประกอบอาชีพ

รายได

ระดับการศึกษา

ระยะเวลาอาศัยในชุมชน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

ลักษณะท่ีอยูอาศัย สถานภาพทางสังคม

ตัวช้ีวดั (Output)สัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ซาเลง

หมายเหตุ หมายถึง ตัวแปรหรือปจจัยนั้นสงผลตอปจจัยหรือตัวแปรอื่น กระบวนหลัก หมายถึง กระบวนการที่ประกอบไปดวย ประชากร ปริมาณมูลฝอย (Input) การคัดแยก

(Process) และตัวช้ีวัด (Output) ปจจัยสนับสนุน หมายถึง ปจจัยที่นําไปสูกระบวนการหลักประกอบดวย คุณลักษณะสวนบุคคลของผู

กอมูลฝอย ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน ปจจัยอื่นๆ หมายถึง ปจจัยที่ทําใหนําไปสูคุณลักษณะหรือกิจกรรมของปจจัยสนับสนุน ประชากร หมายถึง กลุมตัวอยางประชากรที่ทําการคัดแยกมูลฝอย ปริมาณมูลฝอย หมายถึง ปริมาณมูลฝอยของที่เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน การคัดแยก หมายถึง กิจกรรมที่เกิดจากปจจัยสนับสนุนและปจจัยอื่นๆ ตัวช้ีวัด หมายถึง ผลที่ไดจากกิจกรรมการคัดแยก ภาพประกอบ 2-2 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ จากภาพประกอบ 2-2 เปนกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จประกอบดวยกระบวนการหลักคือ ประชากรซึ่งสงผลตอกิจกรรมการกอมูลฝอยแลวนําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีเกิดขึ้น กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ โดยมีปจจัยสนับสนุนคือคุณลักษณะสวนบุคคลที่ปะกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ รายได ระดับการศึกษา ระยะเวลาอาศัยในชุมชน สถานภาพทางสังคม การไดรับขอมูลขาวสาร และปจจัยสนับสนุนอื่นๆ คือ ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ และซาเลง

2.3.2. เก็บขอมูลดวยแบบสอบถามเพื่อทวนสอบสมมติฐานจากขั้นตอนที่ 1 2.3.2.1 ประชากร และกลุมตัวอยางในการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม

ประชากรเปาหมายในการศึกษาวิจัยคือ ครัวเรือนที่อาศัยในชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ โดยการคํานวณหากลุมตัวอยางที่มีจํานวนประชากรแนนอนที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 95 (สุดธิดา สุวรรณะ, 2545 อางถึงใน Yamane, 1973)

กระบวนการหลกั (ตัวแปร 1)

ปจจัยสนับสนุน (ตัวแปร 2)

ปจจัยอื่น ๆ (ตัวแปร 3)

Page 58: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

30

จากสูตร n = N / (1+Ne2) โดยที่ n = ขนาดของกลุมตัวอยาง

N = ขนาดของประชากร e = ความคลาดเคลื่อนของกลุมตัวอยางในที่นี้กําหนดใหเทากับ 0.05

แทนคา n = 548 / (1+548(0.052)) = 232 ในการเก็บตัวอยางประชากรดวยแบบสอบถามในแตละชุมชน ผูวิจัยทําการจัดเก็บ

มูลฝอยโดยแบงพื้นที่ที่ใชในการเก็บแบบสอบถามออกเปนโซน ประกอบดวย ชุมชนปาลมซิตี้ 11 โซน ชุมชนกลางนา 14 โซน และชุมชนควนสันติ 22 โซน หลักเกณฑในการจัดแบงโซน คือ จัดแบงตามจุดวางภาชนะรองรับมูลฝอยแยกประเภทของโครงการวิจัยรวมไทย–ญ่ีปุนเพื่อการ คัดแยกมูลฝอย โดยทางโครงการไดจัดวางภาชนะรองรับตามจุดตางๆ โดยมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย และภาชนะรองรับมูลฝอยรีไซเคิลอยางละถัง ถังละหนึ่งจุด ซ่ึงในการจัดแบงโซนผูวิจัยไดกําหนด เปาหมายในการจัดแบงโซนเพื่อ

- เขาใจวาระบบการจัดวางถังทําใหเกิดการคัดแยกมูลฝอย เพราะฉะนั้นการมีถัง และประชากรที่อยูรอบๆ ถังในแตละโซนที่แบงจะมีการใชถังคัดแยกเหลานั้น ทําใหเกิดพฤติกรรมการ คัดแยก

- ไดกลุมคนในโซนที่มีระบบการคัดแยกจริงๆ - ไดขอมูลในโซนยอยๆ และไดขอมูลลักษณะกลุมประชากรที่ทําใหเกิดการประเมิน

หรือตรวจสอบไดในภาคสนามไดละเอียดขึ้น (จํานวนตัวอยางนอยลง) พรอมสามารถนํามาเปนขอมูลของแตละโซนยอยในการใหเหตุใหผลประกอบหรือกรองปจจัยหรือกลไกในขณะนี้ศึกษาไดมากกวาการมองในภาพรวมทั้งหมดของชุมชน

- นําขอมูลที่ไดมาทําการพิจารณากรองปจจัยหลักเปรียบเทียบลักษณะ และความแตกตางของแตละโซนวาลักษณะขอมูลพื้นฐานของประชากร และลักษณะของพื้นที่ในแตละโซนนั้นมีผลตอตัวช้ีวัดความสําเร็จความสําเร็จ และปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จหรือไม

Page 59: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

31

ตาราง 2-1 จํานวนประชากรตัวอยางที่ใชในการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม

พื้นที่ศึกษา จํานวนครัวเรือน

รอยละของจํานวนครัวเรือน

ขนาดของกลุมตัวอยาง

ขนาดของกลุมตัวอยางที่เหมาะสม

ชุมชนปาลมซิต้ี 130 23.72 54.85 55 ชุมชนกลางนา 234 42.70 98.73 99 ชุมชนควนสันติ 184 33.58 77.64 78 รวม 548 100 231.22 232

2.3.2.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล ในการเก็บขอมูลเพื่อหาปจจัย

และตัวช้ีวัดความสําเร็จในขั้นตอนนี้ ใชแบบสอบถามเพื่อทวนสอบสมมติฐานที่ไดจากการวิจัยเอกสาร โดยแบงแบบสอบถามออกเปน 2 สวน คือ

1. ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย 2. ปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย

2.3.2.3 การตรวจสอบแบบสอบถาม นําแบบสอบถาม ไปตรวจสอบกับ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เพื่อทําการตรวจสอบความถูกตอง ปรับปรุง และแกไขใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย แลวนําแบบสอบถามที่แกไขเสร็จแลวจํานวน 30 ชุดไปสอบถามกับกลุมตัวอยางในชุมชนที่มีลักษณะใกลเคียงกับชุมชนตัวอยางที่ผูวิจัยทําการศึกษา แลวทําการเก็บรวบรวมขอมูลมาหาคารอยละดวยโปรแกรม Excel ซ่ึงผลที่ไดจากการวิเคราะหสอดคลองกับวัตถุประสงค จึงนําแบบสอบถามที่ไดไปทําการเก็บขอมูลในพื้นที่จริง

2.3.2.4 การคัดเลือก และกรองขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการแบบสอบถาม โดยการใชขอมูลเชิงปริมาณจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามโดยทําการคัดเลือก และวิเคราะหขอมูล 3 สวนดังนี้

ก. ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ในการวิเคราะหหาตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ผูวิจัยกําหนดใหตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุดในแตละโซน ของแตละชุมชนเปนตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยที่สําคัญที่สุดในโซนนั้นๆ

ข. ปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย ในการวิเคราะหหาปจจัยในการคัดแยกมูลฝอย ผูวิจัยกําหนดใหปจจัยที่ตรงกันทุกรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จที่มีคารอยละสูงสุดในแตละโซน เปนปจจัยหลักของโซนนั้นๆ

Page 60: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

32

ค. สรางรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําตัวช้ีวัดความสําเร็จ จากตัวช้ีวัดและปจจัยที่ไดจากหัวขอ 2.3.2.4 ขอ ก และ ข มาสรางเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนดวยโปรแกรม Vensim รูปแบบใหมของแตละโซน และในแตละชุมชน

2.3.3 การเก็บขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจักษ เพื่อทวนสอบตัวช้ีวัด และรูปแบบความสัมพันธของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากขั้นตอนที่ 2

2.3.3.1 ประชากร และกลุมตัวอยางในการสํารวจเชิงประจักษ ในการเก็บขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจักษ จํานวนกลุมตัวอยางที่ใช คอื

จํานวนโซนที่จัดแบงตามแบบสอบถามโดยทําการจัดเก็บขอมูลในทุกโซน ดังตาราง 2-2 ตาราง 2-2 จํานวนกลุมตัวอยางที่ใชในการเก็บขอมูลดวยการสํารวจเชิงประจักษ

พื้นที่ศึกษา จํานวนโซน ชุมชนปาลมซิต้ี 11 ชุมชนกลางนา 14 ชุมชนควนสันติ 22 รวม 47

2.3.3.2 เครื่องมือขอมูลการสํารวจเชิงประจักษ ทําการ Check list ขอมูล

จากการสํารวจพื้นที่จริงในสวนของระบบการจัดเก็บรวบรวมมูลฝอยของหนวยงานหรือเทศบาล สังเกตพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน การจัดการมูลฝอย และความสัมพันธของประชาชนในชุมชน คุณลักษณะ และบทบาทของผูที่มีสวนไดสวนเสียในการคัดแยกมูลฝอย โดยวิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลประกอบดวย

2.3.3.3 การวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ ก. ทวนสอบตัวช้ีวัดวาสอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถาม

โดยใชการวิเคราะหเชิงคุณภาพเพื่อพิจารณาตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยที่ไดจากการสํารวจเชิงประจักษ วาสอดคลองกับแบบสอบถามหรือไม โดยผูวิจัยกําหนดเกณฑในการพิจารณาตัวช้ีวัดออกเปน 2 สวนคือ

สวนที่ 1 ตัวช้ีวัดความสะอาด ในการพิจารณาวาในโซนนั้นสะอาดจริงตองมีเกณฑทั้งหมด ดังนี้

- ไมมีกล่ินเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย - ไมมีปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย

Page 61: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

33

- มีทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) - ลดปญหาแหลงเพาะพันธุและแพรกระจายของเชื้อโรค

ในการพิจารณาวาสะอาด ตองมีทั้ง 4 จึงจะมีตัวช้ีวัดดานความสะอาด หากมีไมครบแสดงวาไมไดนําไปสูตัวช้ีวัดความสะอาด

สวนที่ 2 ตัวช้ีวัดที่เกี่ยวกับปริมาณมูลฝอย ใชการศึกษาปริมาณองคประกอบมูลฝอยที่คัดแยกได ข. เลือกโซนที่สะทอนถึงตัวช้ีวัดความสําเร็จจริงเพื่อนํามาพิจารณาตอวารูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนของปจจัย รูปแบบใด ที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดของการคัดแยกมูลฝอย ค. พิจารณาขอมูลบริบทจําเพาะที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอยในแตละพื้นที่ ง. ปรับปรุงรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จโปรแกรม Vensim จากขอมูลที่ไดในหัวขอ 2.3.3.3 ขอ ก ข และ ค ของพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ เพื่อไดขอมูลที่เกิดขึ้นจริงในแตละพื้นที่

2.3.3.4 การคัดเลือก และกรองขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ โดยใชการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ และปริมาณ (การศึกษาปริมาณมูลฝอย) เพื่อพิจารณาตัวช้ีวัดความสําเร็จที่มีคารอยละสูงสุดของโซนนั้นๆ ในแตละพื้นที่ที่ไดจากแบบสอบถาม แลวทําการทวนสอบดวยการสํารวจเชิงประจักษวาปจจัย และกลไกสอดคลองกันหรือไม 2.4 สรุปผลการวิจัย

สรุปตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย และรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย จากทุกขั้นตอนของการวิจัย และสรุปความแตกตางของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยในระดับชุมชนและในภาพรวม

Page 62: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

34

บทที่ 3 ผลการวิจัย

ผลการศึกษาวิจัยเพื่อคนหาปจจัยหลักแหงความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยดวยวิธีการเชิงกระบวนการในพื้นที่ ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา นําเสนอแยกเปน 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. ผลการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย เพื่อสรางสมมติฐานความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

2. ผลจากการสํารวจดวยแบบสอบถาม เพื่อทวนสอบสมมติฐานความสัมพันธที่สรางขึ้นจากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอย

3. ผลจากการสํารวจเชิงประจักษ เพื่อทวนสอบรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่ไดจากแบบสอบถาม 3.1 ผลจากการวิจัยเอกสาร 3.1.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ (ตารางภาคผนวก ก-1) ไดตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยที่สําคัญมี 4 ตัวช้ีวัด ดังนี้ 1. ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 2. ปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป (Recycle คือ การหมุนเวียนนํากลับมาใชใหมโดยผานกระบวนการแปรรูป เชนการอัด การหลอมละลาย หรือหลอขึ้นรูปใหม) 3. ปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า (Reuse คือ เปนการนําวัสดุของใชกลับมาใชซํ้าในรูปแบบเดิมหรือนํามาซอมแซมใชใหม)

4. ความสะอาด (ลดกลิ่นเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย ลดปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) 3.1.2 ปจจัยท่ีมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย จากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของไดปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย ดังนี้

Page 63: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

35

- ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคลมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตารางภาคผนวก ก-2) สรุปไดดังนี้ 1. เพศ

2. อายุ 3. อาชีพ

4. รายได 5. การศึกษา 6. สถานภาพทางสังคม 7. ระยะเวลาอาศัยในชุมชน 8. ลักษณะที่อยูอาศัย 9. ไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย 10. ไดรับสื่อ และขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 11. เขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย - ปจจัยดานผูนําชุมชนที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตารางภาคผนวก ก-3) สรุปไดดังนี้ 1. รณรงคเร่ืองการคัดแยกมูลฝอย 2. ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3. ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย 4. มีการประสานงานระหวางหนวยงาน 5. มีความนาเชื่อถือ 6. มีความขยัน อดทน กระตือรือรน 7. เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 8. มีความเสียสละ 9. รับฟงความคิดเห็น 10. ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย - ปจจัยดานเทศบาลหรือหนวยงานที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตารางภาคผนวก ก-4) สรุปไดดังนี้ 1. มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 2. จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

Page 64: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

36

3. จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 4. จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 5. จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

6. จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท 7. มีการสนับสนุนการการดําเนินการจัดการมูลฝอย 8. สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน 9. มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 10. มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล 11. มีการติดตอส่ือสาร และรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ - ไดปจจัยดานโครงการที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตารางภาคผนวก ก-5) สรุปไดดังนี้ 1. ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2. รณรงคใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย 3. จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย 4. มีการประสานงานระหวางองคกร 5. มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 6. มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 7. มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง - ไดปจจัยดานซาเลงที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตารางภาคผนวก ก-6) สรุปดังนี้ 1. การเขามารวบรวมมูลฝอย 2. การใหผลตอบแทน 3. มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย 4. ความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย จากการวิจัยเอกสารพบวาปจจัยเหลานี้ เปนปจจัยของกลุมบุคคลผูที่มีสวนได สวนเสีย (Stakeholder) ที่เกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย ดังนั้นแตละกลุมจะมีคุณลักษณะ และบทบาทดังตาราง 3-1

Page 65: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

37

ตาราง 3-1 คุณลักษณะ และบทบาทของบุคคลที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ในการคัดแยกมูลฝอย จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยเกี่ยวของ

คุณลักษณะ กลุมบุคคล คุณลักษณะที่

ติดตัว คุณลักษณะที่ไดรบั

การสงเสริม

บทบาทหรือหนาที่ (กิจกรรม)

หนวยงานที่เก่ียวของกับการดําเนินกิจกรรม

ตัวช้ีวัด

1.ประชากร - เพศ และอายุ - การศึกษา อาชีพ รายไดสถานภาพทางสั งคม ระยะเวลาอาศัยในชุมชนไดรับขอมูลขาวสารในคัดแยกมูลฝอย ได รับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย และเขามามีสวนรวมในการคัดแยก

- พฤติกรรมการกอ มูลฝอย - คั ดแยกมู ลฝอยอิ น ท รี ย แ ล ะ รีไซเคิล (คัดแยกใหโ ค ร งก า รนํ า ไปจัดการตอ หรือคัดแยกเพื่อขายจะไดรายไดจากการขาย)

- ผู นํ า ชุ ม ช นโครงการ เทศบาลหรือหนวยงานใหขอมูลขาวสาร - ผู นํ า ชุ ม ช น โ ค ร ง ก า ร ห รื อเ ท ศ บ า ล ห รื อห น ว ย ง า น จั ดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยที่

- ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัด - ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป - ปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซํ้า - รายได

2 . ผู นํ าชุมชน

- มี ค ว า มนาเชื่อถือ มีค ว า ม ข ยั น อ ด ท น กระตือรือรน มีความเสียสละ แ ล ะ รั บ ฟ งความคิดเห็น

- เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

- รณรงค เร่ืองการคัดแยกมูลฝอย ใหขอมูลข าวสารในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย และมีการประสานงานระหวางหนวยงาน

- มีการประสานงานระหว างโครงการและเทศบาลหรื อหนวยงาน เพื่ อจัดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- ปริมาณมูลฝอยนําไปกําจัดลดลง - ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

3.เทศบาลหรือ

หนวยงาน

- มีความมุงมั่นรับผิดชอบในการจัดการมูลฝอย และ มีความสัมพันธเ ชิ ง บ ว กระหวางชุมชนกับเทศบาล

-ส นั บ ส นุ น ก า รดําเนินการจัดการมูลฝอยอยางจริงจัง และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

- มี ก า รติดตอส่ือสารและรณรงคการคัดแยก - จั ด ว า งภ าชนะรองรับมูลฝอยแยกประเภทใกล มีเพียงและเหมาะสม แลวทํ าการจัดเก็บมูลฝอยตามชนิด และ ประเภทที่

- มีการประสานงานระหว างโครงการและผูนําชุมชน เพื่อจัดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- ปริมาณมูลฝอยนําไปกําจัดลดลง - ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป - ความสะอาด

Page 66: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

38

ตาราง 3-1 (ตอ)

คุณลักษณะ กลุมบุคคล คุณลักษณะที่

ติดตัว คุณลักษณะที่ไดรบั

การสงเสริม

บทบาทหรือหนาที ่(กิจกรรม)

หนวยงานที่เก่ียวของกับการดําเนินกิจกรรม

ตัวช้ีวัด

ประชาชนคัดแยก - ทํ าการจัดเก็บ มูลฝอยตรงเวลา แ ล ะ ทั่ ว ถึ ง ไ มปลอยใหมูลฝอยตกคางเนาเหม็น

4. โครงการ (โครงการวิจัยรวมไทยญี่ปุนเ พื่ อ ก า ร คั ดแยกมูลฝอย)

- มี ก า ร ส ง เ ส ริ มกิจกรรมการคัดแยกมู ล ฝ อ ย มี ก า รส นั บ ส นุ น ก า รดําเนินการคัดแยกมูลฝ อ ย แ ล ะ มี ก า รดํ า เ นิ น ง า น อ ย า งตอเนื่อง

- ใ ห ข อ มู ลขาวสารในการคัดแ ย ก มู ล ฝ อ ยร ณ ร ง ค ใ หประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรมในการคัดแยกมู ลฝอย แ ล ะ มี ก า รป ร ะ ส า น ง า นระหวางองคกร

- มีการประสานงานระหว าง เทศบาลหรือหนวยงาน และผูนําชุมชน เพื่อจัดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

5.ซาเลง (ผูที่เข ามารับซ้ือมู ลฝอยจ ากครัวเรือน)

- มี ค ว า มซ่ือสัตยในการรับซ้ือมูลฝอย

- เขามารวบรวมมู ล ฝ อ ย ใ หผลตอบแทนจากการรับซ้ือมูลฝอย และความถี่ในการเข ามารวบรวม มูลฝอย

- ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

จากตาราง 3-1 ประชากรเปนผูกอใหเกิดมูลฝอยโดยมีพฤติกรรมการกอมูลฝอยมาจากคุณลักษณะที่ติดตัวคือ เพศ และอายุ ซ่ึงนอกจากคุณลักษณะที่ติดตัวมาก็ยังมีคุณลักษณะที่ไดรับการสงเสริมคือระดับการศึกษา อาชีพ รายได สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาอาศัยในชุมชน ไดรับขอมูลขาวสารในคัดแยกมูลฝอย ไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย และเขามามีสวนรวมในการคัดแยกซึ่งคุณลักษณะทั้งสองอยางมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยเชนกัน ซ่ึงจะเห็นไดวา

Page 67: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

39

คุณลักษณะที่ไดรับการสงเสริมมีการไดรับขอมูลขาวสาร และการเขามามีสวนรวมในกิจกรรมนั้น ซ่ึงทั้งสองอยางมาจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยไมวาจะเปนโครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน และผูนําชุมชน เปนผูใหขอมูล และสงเสริมใหเกิดกิจกรรมแลวทําใหประชาชนทําการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกนั้นจะสงผลตอตัวช้ีวัด เชน ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงมาจากพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชากร เมื่อประชากรทําการคัดแยกมูลฝอยแลวเทศบาลจะทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยทั้งมูลฝอยที่ประชากรคัดแยกเพื่อนําไปจัดการตอไป ซ่ึงทําใหปริมาณมูลฝอยอ่ืนๆที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง 3.1.3 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย จากตัวช้ีวัดความสําเร็จ และปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย ผูวิจัยไดนํามาสรางเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการซึ่งประกอบดวยกระบวนการหลัก (บทที่ 2 หัวขอ 2.3.1) ดังภาพประกอบ 3-1

ประชากร ตัวชี้วัดปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยกอัตราการกอมูลฝอย อัตราคัดแยก

สัดสวนที่นําไปกําจัด/ใชใหม

ภาพประกอบ 3-1 รูปแบบหลักที่นําไปสูตวัช้ีวดัความสําเร็จ จากภาพประกอบ 3-1 ประกอบดวยกระบวนการหลัก คือ ประชาชนซึ่งมีผลตออัตราการกอมูลฝอยแลวนําไปสูปริมาณมูลฝอย (Input) แลวนําไปสูการคัดแยกมูลฝอย (Process) ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยก็จะสงผลตอตัวช้ีวัดความสําเร็จ (Output) โดยผูวิจัยไดกําหนดตัวแปรของตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยแสดงในตาราง 3-2 และปจจัยสนับสนุนที่จะนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จดังแสดงในตาราง 3-3 เพื่อนําไปสรางรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยในการวิจัยขั้นตอนที่ 1 และ 2 ตอไป ตาราง 3-2 ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ตัวแปร 1) ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง Z1 2) ปริมาณวัสดุที่เขาสูกระบวนการแปรรูป Z2 3) ปริมาณวัสดุเพื่อนํากลับมาใชซํ้า Z3 4) ความสะอาด Z4

Page 68: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

40

ตาราง 3-3 ปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ

ปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ตัวแปร 1.คุณลักษณะสวนบุคคล X

เพศ X1 อายุ X2 อาชีพ X3 รายได X4 การศึกษา X5 สถานภาพทางสังคม X6 ระยะเวลาอาศัยในชุมชน X7 ประเภทที่อยูอาศยั X8 ไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย C1 ไดรับส่ือ และขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย D1 เขามามีสวนรวมในการคัดแยกมลูฝอย P1

2. ผูนําชุมชน E 2.1 บทบาทของผูนําในการคัดแยกมูลฝอย E1

รณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย E11 ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย E12 ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย E13 มีการประสานงานระหวางหนวยงาน E14

2.2 ลักษณะของผูนํา E2 มีความนาเชื่อถือ E21 มีความขยัน อดทน กระตือรือรน E22 เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย E23 มีความเสียสละ E24 รับฟงความคิดเห็น E25 ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย E26

3. โครงการ R 3.1 บทบาทของโครงการ R1

ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย R11 รณรงคใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย R12 จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย R13 มีการประสานงานระหวางองคกร R14

3.2 ลักษณะของโครงการ R2 มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย R21 มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมลูฝอย R22

Page 69: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

41

ตาราง 3-3 (ตอ)

มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง R23 4. เทศบาลหรือหนวยงาน M 4.1 บทบาทของเทศบาลหรือหนวยงาน

จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยหางจากจุดคัดแยกถึงจดุทิ้งมูลฝอยใกล (0-5 เมตร) S11 จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ S21 จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม S31 จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด T11 มีการจัดเก็บมลูฝอยอยางทั่วถึง T21 มีการจัดเก็บมลูฝอยแยกประเภท T31

4.2 ลักษณะของเทศบาลหรือหนวยงาน V มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย V1 สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน V2 มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย V3 มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล V4 มีการติดตอส่ือสาร และรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ V5

5.ซาเลง N 5.1 บทบาทของซาเลง N1

การเขามารวบรวมมูลฝอย N11 การใหผลตอบแทน N12

5.2 ลักษณะของซาเลง N2 มีความซื่อสัตยในการรับซ้ือมลูฝอย N21 ความถี่ในการเขารวบรวมมูลฝอย N22

จากตาราง 3-3 เปนปจจัยสนับสนุนเพื่อทําใหเกิดการขับเคลื่อนของกระบวนการ

หลัก แลวนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยนํามาสรางเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยหรือกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัด 4 ตัวช้ีวัด (โดยเกณฑที่ใชในการสรางรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยบทที่ 2 หัวขอ 2.3.1.2 (ค)) ซ่ึงไดรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการตามตัวช้ีวัด ดังนี้ ก) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (ตัวแปรที่อยูในวงเล็บเปนปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง) ไดความสัมพันธของปจจัยดังนี้

A1: {X{X1, X2, X3, X4, X5, X6, X7, X8, D1}, E{E11,E12, E13, E14, E21, E22, E23, E24, E25, E26}, R{R11, R12, R13, R14, R21, R22, R23}, M{S11, S21, S31, T11, T21, T31, V1, V2, V3, V4, V5}} Z1

Page 70: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

42

A1 หมายถึง รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย Z1 (ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง)

, หมายถึง และ หมายถึง ปจจัยทั้งหมดที่อยูในวงเล็บเปนปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ

X หมายถึง ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวยปจจัยยอย คือ เพศ {X1} อายุ {X2} อาชีพ {X3} รายได {X4} ระดับการศึกษา {X5} สถานภาพทาง {X6} ระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน {X7} ลักษณะที่อยูอาศัย {X8} และการไดขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย {D1} E หมายถึง ปจจัยดานผูนําชุมชนประกอบดวยปจจัยยอย คือ ผูนํารณรงคเร่ืองการคัดแยกมูลฝอย {E11} ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย {E12} ใหความรูหรือจัดอบรมในเร่ืองการคัดแยกมูลฝอย {E13} มีการประสานงานระหวางหนวยงาน {E14} มีความนาเชื่อถือ {E21} มีความขยัน อดทน กระตือรือรน {E22} เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย {E23} มีความเสียสละ {E24} รับฟงความคิดเห็น {E25} และใหความสนใจกับปญหามูลฝอย {E26}

R หมายถึง ปจจัยดานโครงการประกอบดวยปจจัยยอย คือ การใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย {R11} รณรงคใหประชากรทําการคัดแยกมูลฝอย {R12} จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย {R13} มีการประสานงานระหวางองคกร {R14} สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย {R21} สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย {R22} และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง {R23} M หมายถึง ปจจัยดานเทศบาลหรือหนวยงาน ประกอบดวยปจจัยยอย คือ มีการ จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) {S11} จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยมีเพียงพอ {S21} จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม {S31} จัดเก็บมลูฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด {T11} จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง {T21} จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท {T31} มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย {V1} สงเสริมการมีสวนรวมของประชากร {V2} มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย {V3} มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล {V4} และมีการติดตอส่ือสาร และรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ {V5} จากปจจัยสนับสนุนดังกลาวผูวิจัยนํามาสรางเปนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-2

Page 71: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

43

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ เทศบาล/หนวยงาน

เพศ

อายุ ประกอบอาชีพรายได

ระดับการศึกษาระยะเวลาอาศัยในชุมชน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

ลักษณะที่อยูอาศัยสถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็นใหความสนใจกับปญหา

มูลฝอย

การสนับสนุนการดําเน ินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการประสานงานระหวางองคกร1

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

มีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

รวบรวมมูลฝอยรีไซเคิลและมูลฝอยอินทรีย

หมายเหตุ: การมีสวนรวมเปนกิจกรรมที่เกิดจากปจจัยสนับสนุน ภาพประกอบ 3-2 รูปแบบความสัมพันธเชงิกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยทีน่ําไปกําจดั

ลดลง จากการวิจัยเอกสาร และงานวจิัยที่เกี่ยวของ

จากภาพประกอบ 3-2 เปนกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงโดยมีกระบวนการหลักคือ ประชากรซึ่งสงผลตอกิจกรรมการกอมูลฝอย กิจกรรมการ คัดแยกมูลฝอย ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัด ซ่ึงมีปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูกลไกดังกลาว ประกอบดวย คุณลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ อาชีพ รายได ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน ลักษณะที่อยูอาศัย และการไดขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงเปนคุณลักษณะที่สงผลตอพฤติกรรมการกอมูลฝอย และการคัดแยก ปจจัยสนับสนุนเพิ่มเติมดานผูนําชุมชน โครงการ และเทศบาลหรือหนวยงาน เปนผูสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย และมีการประสานงานกันระหวางหนวยงานหรือองคกรดังกลาวเพื่อทําใหเกิดกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการคัดแยกไมวาจะเปนการใหความรูหรือจัดอบรม ใหขอมูลขาวสาร จัดกิจกรรม รณรงคในการคัดแยกเพื่อสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย (มูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิล) เมื่อประชาชนทําการคัดแยกแลวเทศบาลก็เขามาดําเนินการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยดวยการจัดวางภาชนะใหใกลกับจุดคัดแยก ภาชนะจะตองมีความ

Page 72: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

44

เหมาะสม และเพียงพอตอปริมาณมูลฝอย แลวเมื่อถึงเวลาจะทําการจัดเก็บใหตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บแยกประเภทตามที่ประชาชนคัดแยกไว ซ่ึงเปนการกระตุนใหประชาชนเห็นถึงผลที่ไดจากการคัดแยก เมื่อประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยที่เทศบาลจะตองนําไปกําจัดลดลง ข) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีเขาสูกระบวนการแปรรูป (ตัวแปรที่อยูในวงเล็บ เปนปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ เขาสูกระบวนการแปรรูป) ไดความสัมพันธของปจจัยดังนี้

A2:{X{X11,X21,X31,X41,X52,X61,X71,X81,D1,C1},E{E11,E12,E13,E14,E21,E22,E23, E24, E25,E26},R{R11R12,R13,R14,R21,R22,R23},N{N11,N12N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2, V3,V4,V5} Z2

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

เพศอายุ

ประกอบอาชีพ รายไดระดับการศึกษาระยะเวลาอาศัยในชุมชน

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

ลักษณะที่อยูอาศัย สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็น

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการประสานงานระหวางองคกร1

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

ปริมาณมลูฝอยทีเ่ขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ความถ่ีในการรวบรวมมูลฝอย

ความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ไดรับขอมูลขาวสาร

รวบรวมมูลฝอยริไซเคิลและมูลฝอยอินทรีย

ภาพประกอบ 3-3 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

จากภาพประกอบ 3-3 เปนกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป โดยมีกระบวนการหลัก ประชากรซึ่งสงผลตอกิจกรรมการกอมูลฝอยนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัด ซ่ึงมีปจจัยสนับสนุน คือคุณลักษณะสวนบุคคลของประชากรซึ่งประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ รายได ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน ลักษณะที่อยูอาศัย และการได

Page 73: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

45

ขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงคุณลักษณะดังกลาวมีผลตอพฤติกรรมการกอมูลฝอย และการคัดแยกมูลฝอย โดยมีการประสานงานกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยคือผูนําชุมชน โครงการ และเทศบาล เปนผูสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยดวยการใหความรูจัดอบรม ใหขอมูลขาวสาร จัดกิจกรรมรณรงคในการคัดแยกเพื่อสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย เมื่อประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยเพื่อขายวัสดุที่คัดแยกไดใหกับซาเลงที่เขามารวบรวมมูลฝอย หรือประชาชนคัดแยกวัสดุใหกับเทศบาลหรือหนวยงานเพื่อนําวัสดุเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป ค) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า (ตัวแปรที่อยูในวงเล็บเปนปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีนํากลับมาใชซํ้า) ไดความสัมพันธของปจจัยดังนี้

A3: {X{X11,X21, X31,X41,X52,X61,X71,X81,D1},E{E11,E12,E13,E14,E21,E22,E23,E24,E25, E26},R{R11,R12,R13,R14,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3,V4, 5}} Z3

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

เพศ อายุประกอบอาชีพ รายไดระดับการศึกษา

ระยะเวลาอาศัยในชุมชน

ไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

ลักษณะที่อยูอาศัยสถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็นใหความสนใจกับปญหา

มูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการประสานงานระหวางองคกร1

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้าสัดสวนใชซ้ํา

ภาพประกอบ 3-4 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้าจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

Page 74: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

46

จากภาพประกอบ 3-4 เปนกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยมีกระบวนการหลัก คือกิจกรรมการกอมูลฝอย กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัด โดยมีปจจัยสนับสนุน คือคุณลักษณะสวนบุคคลของประชากรซึ่งประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ รายได ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน ลักษณะที่อยูอาศัย และการไดขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย คุณลักษณะดังกลาวสงผลตอพฤติกรรมการกอมูลฝอย และการคัดแยกมูลฝอย โดยมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยคือผูนําชุมชน โครงการ และเทศบาล เปนผูสงเสริมกิจกรรมการ คัดแยกมูลฝอยดวยการใหความรูจัดอบรม ใหขอมูลขาวสาร จัดกิจกรรมรณรงคในการคัดแยกเพื่อสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงประชาชนจะทําการคัดแยกเพื่อนํากลับมาใชซํ้า ง) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาด (ตัวแปรที่อยูในวงเล็บเปนปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาด)

A4: {X{X11,X21,X31, X41,X52,X61,X71,X81,D1}, E{E11,E12,E13,E14,E21,E22,E23,E24,E25, E26}, R{R11, R12, R13, R14, R21, R22, R23}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3,V4,V5}} Z4

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

เพศอายุ ประกอบอาชีพ

รายไดระดับการศึกษา

ระยะเวลาอาศัยในชุมชน

ไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

ลักษณะที่อยูอาศัยสถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรมจัดกิจกรรม

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็นใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการประสานงานระหวางองคกร1

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

ความสะอาดสัดสวนกําจัด

รวบรวมมูลฝอยอินทรียและมูลฝอยรีไซเคิล

ภาพประกอบ 3-5 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาด จากเอกสาร และ

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

Page 75: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

47

จากภาพประกอบ 3-5 เปนกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด โดยมีกระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งสงผลตอกิจกรรมการกอมูลฝอยนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัด โดยมีปจจัยสนับสนุน คือคุณลักษณะสวนบุคคลของประชากรซึ่งประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ รายได ระดับการศึกษา สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชน ลักษณะที่อยูอาศัย และการไดขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงคุณลักษณะดังกลาวสงผลตอพฤติกรรมการกอมูลฝอยโดยมีการประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยคือผูนําชุมชน โครงการ และเทศบาล เปนผูสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยดวยการใหความรูจัดอบรม ใหขอมูลขาวสาร จัดกิจกรรม รณรงคในการคัดแยกเพื่อสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย โดยประชาชนเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิล

เมื่อประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรียออกไปแลวเทศบาลเขามาดําเนินการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยโดยมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ เหมาะสม แลวเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยใหตรงเวลา ทั่วถึงทําใหลดกล่ินเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย ลดปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) และลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค 3.2 ผลจากการทวนสอบดวยแบบสอบถาม ในการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถาม ผูวิจัยไดทําการแบงพื้นที่ศึกษาออกเปนโซนยอยโดยชุมชนปาลมซิตี้แบงออกเปน 11 โซน ชุมชนกลางนาแบงออกเปน 14 โซน และชุมชน ควนสันติแบงออกเปน 22 โซน ผลจากการศึกษาแบบสอบถามในแตละชุมชนมีดังนี้

3.2.1 ผลการทวนสอบขอมูลดวยแบบสอบถามชุมชนปาลมซิตี้ จากจํานวนประชากรที่ไดจากการสุมตัวอยางจํานวน 55 ครัวเรือน โดยแบงประชากรในการจัดเก็บออกเปน 5 ครัวเรือนตอโซน ผลจากแบบสอบถามจํานวน 11 โซน ดังนี้ โซน 1 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 75.0 และปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 1 พบวา ปจจัยสนับสนุนที่อยู ในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) ไดรับขอมูล

Page 76: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

48

ขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.2) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.3) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 3.4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

สรุปผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลดวยแบบสอบถามในโซนที่ 1 ไดรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยหรือกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสะอาดดังแสดงในภาพประกอบ 3-6

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-6 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 1ชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

โซน 2 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 60.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป (Z1) รอยละ 66.67 และปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 2 พบวาปจจัยสนับสนุนที่อยู ในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความเสียสละ 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย 3.4) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดเก็บ มูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 4.2) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 4.3) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 77: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

49

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

จัดกิจกรรมจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีความเสียสละสงเสริมการมีสวนรวมมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ใหขอมูลขาวสาร มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-7 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 2ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 3 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 75.0รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 50.0 ปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูปและปริมาณ มูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 3 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความขยันกระตือรือรน และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 3.3) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และ 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ มูลฝอย

Page 78: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

50

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม รณรงคในการคัดแยก จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความขยันกระตือรือรน

สงเสริมการมีสวนรวม

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

ใหขอมูลขาวสารมีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-8 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง โซน 3 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 4 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 60.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมาปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้ารอยละ 50.0 และปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 4 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 2.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยอยางทั่วถึง และ 2.3) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 79: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

51

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมจัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-9 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 4 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 5 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 50.0 และปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป กับปริมาณ มูลฝอยกลับมาใชซํ้ารอยละ 25.0 ดังนั้น

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 5 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 2.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 2.3) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.4) มีการจัดเก็บ มูลฝอยทั่วถึง 2.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 2.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 80: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

52

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป

ภาพประกอบ 3-10 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 5 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 6 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด 2 ตัวช้ีวัด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100.0 และปริมาณ มูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 50.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 6 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 3.3) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.4) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และ 3.6) มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

Page 81: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

53

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือสงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มึความมุงมั่นในการดําเนินการ

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-11 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 6

ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 7 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 100.0 รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้ารอยละ 50.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 7 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัว ช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชาทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และ 3.4) มีการจัดเก็บมูลฝอยอยางทั่วถึง

Page 82: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

54

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-12 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจัดลงโซน 7 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 8 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 100 รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 8 พบวา ปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และ 2.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-13 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจดัลงโซน 8 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

Page 83: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

55

โซน 9 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 50.0 ปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป (Z2) และปริมาณ มูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 9 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ 3.1) จัดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.2) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 4.2) จัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยเหมาะสม 4.3) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.4) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 4.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และ 4.6) มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมจัดกิจกรรม จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอย

เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

มีความมุงมั่นในการดําเนินงานมีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สงเสริมการมีสวนรวม

ใหขอมูลขาวสาร

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-14 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 9

ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 10 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 60.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) และปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 33.33

Page 84: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

56

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 10 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป 1.6) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.7) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.8)ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 2.3) มีความขยัน กระตือรือรน 3) โครงการ 3.1)รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 4.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.3) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4.4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

จัดกิจกรรม

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป

เพศหญิง

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-15 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 10

ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

โซน 11 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 80.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 80.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) กับปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 50.0

Page 85: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

57

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 11 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) ใหขอมูลขาวสาร 3.3) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 4.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และ 4.3) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

การศีกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-16 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 11 ชุมชนปาลมซิตี้จากแบบสอบถาม

3.2.1.1 สรุปผลจากแบบสอบถามชุมชนปาลมซิตี้ จากจํานวนประชากร 55 ครัวเรือน พบวามีจํานวนประชากรครัวเรือนที่คัดแยก มูลฝอย 41 ครัวเรือน (รอยละ 75.55) และประชากรครัวเรือนที่ไมคัดแยกมูลฝอย 14 ครัวเรือน (รอยละ 25.45) จากจํานวนประชากรที่ทําการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ไดจํานวน และรอยละ

Page 86: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

58

ของรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จของแตละโซน ดังตาราง 3-4

ตาราง 3-4 จํานวน และรอยละของรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ชุมชนปาลมซิตี้

จํานวนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัด (n=41)

โซนที่ ปริมาณมูลฝอยทีน่ําไปกําจัดลดลง

ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูป

ปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใชซ้ํา ความสะอาด อ่ืนๆ

(ผลตอบแทน) 1 3 1 - 4 - 2 1 2 - 3 2 3 3 1 1 2 - 4 1 - 2 3 - 5 2 1 1 4 2 6 2 - - 3 2 7 4 - 2 3 - 8 4 - - 3 1 9 2 1 1 4 -

10 1 1 - 3 - 11 2 2 - 3 - รวม 25 9 7 35 7 รอยละ 60.98 21.95 17.07 85.37 17.07

จากตาราง 3-4 จากจํานวนประชากรที่คัดแยกมูลฝอยรอยละ 75.55 พบวาตัวช้ีวัดที่

ประชากรชุมชนปาลมซิตี้เห็นความสําคัญมากที่สุดคือ ความสะอาดรอยละ 85.37 ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ 60.98 ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูปรอยละ 21.95 และปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใชซํ้า กับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยรอยละ 17.7 ตามลําดับ ซ่ึงตัวช้ีวัดผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยเปนตัวช้ีวัดที่เพิ่มจากสมมติฐานที่สรางไว แสดงวาประชากรตัวอยางในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อรายได ซ่ึงมีรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

ก) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง โดย

Page 87: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

59

ปจจัยสนับสนุน ประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความขยันอดทน กระตือรือรน มีความเสียสละ และมีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ เหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาทั่วถึง มีการสงเสริมการมีสวนรวม และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน มีความเสียสละ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-17 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ี

นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม ข) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสู

กระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซ่ึงนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยท่ีเกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยนําไปสูตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป โดยมี ปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความขยันอดทนกระตือรือรน

Page 88: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

60

มีความเสียสละ และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 5) ซาเลง เขามารวบรวมมูลฝอย และมีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

มีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

รับฟงความคิดเห็น

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

สนับสนุนการดําเนิการคัดแยกมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-18 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

ค) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมา

ใชซํ้า ในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยมี ปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอยมีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรม จัดกิจกรรม มีความขยันอดทน กระตือรือรน มีความเสียสละ และมีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงานมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ เหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง มีการสงเสริมการมีสวนรวม และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

Page 89: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

61

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีความเสียสละมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ปริมาณมลูฝอยกลับมาใชซํ้าสัดสวนใชใหม

จัดกิจกรรม

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-19 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า ในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

ง) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาด ในภาพรวม

ชุมชนปาลมซิตี้ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูตอการ คัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดความสะอาด โดยมี ปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน ระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรม จัดกิจกรรม มีความขยันอดทน กระตือรือรน มีความเสียสละ เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรม มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ เหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง มีการสงเสริมการมีสวนรวม สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีความมุงมั่นในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

Page 90: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

62

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม

จัดกิจกรรม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็นมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเนือง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-20 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

จ) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูรายไดจากการคัดแยกมูลฝอย

ประกอบไปดวย ปจจัยหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยก มูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยท่ีเขาสูกระบวนการแปรรูป โดยมีปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) โครงการใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก มูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 3) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) ซาเลงเขามารวบรวมมูลฝอย และมีความซ่ือสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

Page 91: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

63

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

รายไดสัดสวนขาย

มีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

สนับสนุนการดําเนิการคัดแยกมูลฝอย

ผลตอบแทน

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-21 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพือ่นําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากแบบสอบถาม

3.2.2 ผลการทวนสอบขอมูลดวยแบบสอบถามชุมชนกลางนา จากจํานวน

ประชากรที่ไดจากการสุมตัวอยางจํานวน 99 ครัวเรือน โดยแบงประชากรในการจัดเก็บออกเปน 7 ครัวเรือนตอโซน ผลจากแบบสอบถาม จํานวน 14 โซน ดังนี้

โซน 1 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.43 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 40.0 และปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 20 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 1 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการโซนที่ 1 ประกอบดวย ปจจัยที่เหมือนกันที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสะอาดซึ่งมีคารอยละสูงสุด ดังนี้ 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3)รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมเปนประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 2.4) มีความขยัน อดทน กระตือรือรน 3)โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 4.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 92: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

64

4.3) สงเสริมการมีสวนรวมของประชากร 4.4) มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย จากปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคา รอยละสูงสุดในโซนที่ 1 ไดรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-22 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดโซน 1 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 2 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 57.14 ตัวช้ีวัดที่

ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 2 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) วางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดคัดแยก (นอยกวา 5 เมตร) 2.2) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.3) มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

Page 93: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

65

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สถานภาพทางสังคม

ภาพประกอบ 3-23 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดโซน 2 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซนที่ 3 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.42 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 60.0รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป (Z2) กับความสะอาด (Z4) รอยละ 40 และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) รอยละ 20

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 3 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัว ช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3)รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 2.4)มีความเสียสละ3)โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) วางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุด คัดแยก (นอยกวา 5 เมตร) 4.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา 4.3) สนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 4.4) มีความมุงมั่นในการดําเนินงานคัดแยก

Page 94: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

66

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

มีความนาเช่ือถือ

มีความเสียสละมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยนําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-24 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลงโซน 3 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 4 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 85.71 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 50.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 4 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3)รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรมเรื่องคัดแยกมูลฝอย 2.4) มีความนาเชื่อถือ 2.5)มีความขยัน อดทน กระตือรือรน 2.6) เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 2.7) รับฟงความคิดเห็น และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 95: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

67

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-25 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 4 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 5 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.43 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 80 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 40 และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 20 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 5 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 2.4) มีความขยัน อดทนกระตือรือรน 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.2) มีการจัดเก็บแยกประเภท 4.3) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 4.4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 96: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

68

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร มีการจัดเก็บมูลฝอยตรง

เวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-26 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 5

ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม โซน 6 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 85.71 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) กับปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 16.67

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 6 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับเพียงพอ 2.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และ 2.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 97: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

69

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ/เหมาะสม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-27 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 6 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 7 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 57.14 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) กับปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ (Z1) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 7 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 2.3) มีความเสียสละ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 3.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 98: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

70

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล/ เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ มีความเสียสละมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวนงาน

ภาพประกอบ 3-28 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาดโซน 7 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 8 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.43 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 80 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ (Z1) รอยละ 60.0 และปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป (Z2) รอยละ 40.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 8 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะ สวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3)รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 3.4) จัดเก็บ มูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.5) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.6) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 3.7) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 99: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

71

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาย

ภาพประกอบ 3-29 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดโซน 8

ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 9 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 57.14 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 50.0 และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) กับปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 9 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.3) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 2.3) มีความขยัน อดทน กระตือรือรน 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สนับสนุนการดําเนินการ และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 4.2) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 4.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวันและเวลาที่กําหนด 4.4) จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง 4.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ มูลฝอย และ 4.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 100: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

72

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือ

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-30 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดโซน 9

ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม โซน 10 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 42.86 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) และปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปรอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 10 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.3) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ และ 2.2) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 101: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

73

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-31 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 1 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 11 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 57.14 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 75.0 รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 50.0 และปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป (Z3) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 11 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4)รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ 3.1) จัดกิจกรรม 3.3) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 4.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด และ 4.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 102: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

74

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

สถานภาพทางสังคม

โครงการ

จัดกิจกรรม

สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-32 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจดัลดลง โซน 11 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 12 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.43 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 80.0 รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 40.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 12 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัว ช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.3) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.2) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ และ 2.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพ การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอย

เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สถานภาพทางสังคม

ภาพประกอบ 3-33 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง โซน 12 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

Page 103: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

75

โซน 13 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.43 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 80.0 รองลงมาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 20.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 13 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.3) ไดรับขอมูลขาวสารใน การคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ และ 2.2) จัดเก็บ มูลฝอยทั่วถึง

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สถานภาพทางสังคม

ภาพประกอบ 3-34 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 13 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

โซน 14 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 71.43 ตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 33.33 และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) รอยละ 16.67 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 14 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูชุมชนนานกวาเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการ คัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 4.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด

Page 104: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

76

4.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 4.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-35 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 14 ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

3.2.1.1 สรุปผลจากแบบสอบถามชุมชนกลางนา จากจํานวนประชากร 99 ครัวเรือน พบวามีจํานวนประชากรครัวเรือนที่ คัดแยกมูลฝอย 67 ครัวเรือน (รอยละ 66.68) และประชากรครัวเรือนที่ไมคัดแยกมูลฝอย 32 ครัวเรือน (รอยละ 32.32) และไดจํานวน และรอยละของรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จของแตละโซน ดังตาราง 3-4 ตาราง 3-5 จํานวน และรอยละของรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

ชุมชนกลางนา

จํานวนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัด (n=67) โซนที่ ปริมาณมูลฝอยทีน่ําไป

กําจัดลดลง ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูป

ปริมาณวัสดุที่นาํกลับมาใชซ้ํา ความสะอาด รายได

1 2 1 - 5 - 2 1 - - 3 - 3 3 2 1 2 2 4 3 - - 4 - 5 2 - 1 4 -

Page 105: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

77

ตาราง 3-5 (ตอ)

จํานวนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัด โซนที่ ปริมาณมูลฝอยทีน่ําไป

กําจัดลดลง ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูป

ปริมาณวัสดุที่นาํกลับมาใชซ้ํา ความสะอาด รายได

6 1 - 1 4 - 7 1 - 1 3 1 8 3 2 - 4 2 9 2 1 1 3 - 10 1 1 3 - 11 3 1 - 2 - 12 4 - - 2 - 13 1 - - 4 - 14 2 - 1 4 - รวม 29 8 7 47 5 รอยละ 43.28 11.94 10.48 70.15 7.46

จากตาราง 3-5 จากจํานวนประชากรที่คัดแยกมูลฝอยรอยละ 66.68 พบวาตัวช้ีวัดที่

ประชากรเห็นความสําคัญมากที่สุดคือ ความสะอาดรอยละ 70.15 ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ 43.28 ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูปรอยละ 11.94 ปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใชซํ้ารอยละ 10.48 และผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยรอยละ 7.46 ตามลําดับ ซ่ึงตัวช้ีวัดผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยเปนตัวช้ีวัดที่เพิ่มจากสมมติฐานที่สรางไวโดยตัวช้ีวัดรายไดจากกลุมตัวอยางที่คัดแยกมูลฝอยเห็นวารายไดจากการขายมูลฝอยเปนตัวช้ีวัดที่มีผลตอการคัดแยก ซ่ึงมีรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการ คัดแยกมูลฝอย ดังนี้ ก) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงในภาพรวม ชุมชนกลางนา ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง โดยมีปจจัยสนับสนุน ประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย เพศหญิง มีอายมุากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความขยันอดทน กระตือรือรน และมีความ

Page 106: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

78

นาเชื่อถือ มีความเสียสละ 3) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และทั่วถึง มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีความมุงมั่นในการดําเนินการ

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีความมุงมั่นในการดําเนินงานมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยนําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความเสียสละ

เพศหญิง

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-36 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจดั ลดลงในภาพรวมชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

ข) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวม ชุมชนกลางนา ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซ่ึงนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยท่ีเกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป โดยมีปจจัยสนับสนุน ประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความขยันอดทน กระตือรือรน รับฟงความคิดเห็น และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก มูลฝอย และมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะ

Page 107: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

79

รองรับมูลฝอยใกล มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 5) ซาเลง มีการเขามารวบรวบรวมมูลฝอย และมีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอยมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

มีการดําเนินงานอยางตอเน่ือง

รับฟงความคิดเห็น

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-37 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการ แปรรูปในภาพรวม ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

ค) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมา

ใชซํ้าในภาพรวม ชุมชนกลางนาประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยมี ปจจัยสนับสนุน ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรม จัดกิจกรรม มีความขยันอดทน กระตือรือรน รับฟงความคิดเห็น และมีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม เพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย สงเสริมการมีสวนรวม และมีความมุงมั่นในการดําเนินการ

Page 108: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

80

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีความเสียสละมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยกลับมาใชซํ้าสัดสวนใชใหม

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-38 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใช

ซํ้า ในภาพรวมชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

ง) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาด ในภาพรวมชุมชนกลางนาประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการ คัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดความสะอาด โดยมี ปจจัยสนับสนุน ประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบ ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูจัดอบรม จัดกิจกรรม มีความขยันอดทน กระตือรือรน มีความเสียสละ รับฟงความคิดเห็น ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรม มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนือง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ เหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง แยกประเภท มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย สงเสริมการมีสวนรวม มีความสัมพันธเชิงบวก และมีความมุงมั่นในการดําเนินการ

Page 109: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

81

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรมจัดกิจกรรม

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็นใหความสนใจกับปญหา

มูลฝอยมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

มีการดําเนินการอยางตอเนือง

ความสะอาดสัดสวนที่นําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-39 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาด ในภาพรวม ชุมชนกลางนา จากแบบสอบถาม

จ) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูรายไดจากการขาย ใน

ภาพรวมชุมชนกลางนาประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอย โดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการ คัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยนําไปสูตัวช้ีวัดรายได โดยมีปจจัยสนับสนุน ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบ ประกอบอาชีพ สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยก มูลฝอย มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย การดําเนินงานอยางตอเนือง 3) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) ซาเลง มีการเขามารวบรวบรวมมูลฝอย และมีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

Page 110: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

82

ปริมาณมลูฝอยประชากร การคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

โครงการเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

รายไดสัดสวนขาย

มีการดําเนินงานอยางตอเน่ือง

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-40 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูรายไดจากการคดัแยกมูลฝอย ในภาพรวมชมุชนกลางนา จากแบบสอบถาม

3.2.3 ผลการทวนสอบขอมูลดวยแบบสอบถามชุมชนควนสันติ จากจํานวนประชากรที่ไดจากการสุมตัวอยางจํานวน 78 ครัวเรือน โดยแบงประชากร

ในการจัดเก็บออกเปน 4 ครัวเรือนตอโซน ผลจากแบบสอบถาม จํานวนประชากร 22 โซน ดังนี้ โซน 1 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 1 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 2.4) มีความขยัน อดทน กระตือรือรน 2.5) เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 2.6) มีความเสียสละ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.2) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 111: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

83

จากปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุดในโซนที่ 1 ไดรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละมีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-41 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 1 ชุมชนควนสนัติ จากแบบสอบถาม

โซน 2 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 2 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 2.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 2.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 2.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 2.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 112: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

84

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนที่นําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-42 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 2 ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 3 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป (Z2) และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 3 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรม 2.4) เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.3) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดคัดแยก (นอยกวา 5 เมตร) 4.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 4.3) มีการจัดวางภาชนะเพียงพอ 4.4) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 4.5) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.6) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 4.7) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 113: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

85

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีการดําเนินการอยางตอเนือง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

มีการสิ่งเสริมกิจกรรมการคัดแยก

ใหความรู/จัดอบรม

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-43 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 3 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 4 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 66.67 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 4 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5ป 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรม 2.4) มีความนาเชื่อถือ 2.5) เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 2.6) มีความเสียสละ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดคัดแยก (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 114: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

86

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล/ เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย มีความเสียสละ มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-44 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 4

ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 5 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า (Z3) รอยละ 25.0 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 5 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 115: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

87

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ใหขอมูลขาวสารมีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-45 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 5 ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 6 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 33.33 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 6 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรม 2.4) มีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน 3.7) มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล

Page 116: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

88

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

สงเสริมการมีสวนรวมมีความสัมพันธเชิงบวก

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-46 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 6ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 7 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 33.33 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 7 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุดในโซนที่ 7 ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) โครงการ 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) สงเสริมกิจกรรมการคัดแยก 2.4) สนับสนุนการดําเนินงานคัดแยกมูลฝอย และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยหางจากจุดคัดแยกใกล (นอยกวา 5 เมตร) 3.2) มีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยเพียงพอ 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวันและเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และ 3.7) มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล

Page 117: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

89

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เพียงพอ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความสัมพันธเชิงบวก

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

โครงการ

ใหขอมูลขาวสาร

รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย

สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกสนับสนุนการดําเนินการดําเนินงาน

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-47 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 7 ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 8 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 50.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 8 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรม 2.4) มีความนาเชื่อถือ 2.5) มีความขยัน กระตือรือรน 2.6)ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 3.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน 3.6) มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล

Page 118: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

90

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความสัมพันธเชิงบวก

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

ใหความสนใจปญหามูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-48 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 8

ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 9 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 9 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 2.3) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 2.4) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และ 2.5) มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล .

Page 119: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

91

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ภาพประกอบ 3-49 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 9

ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 10 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 75.0 รองลงมาความสะอาด (Z4) รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 10 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัว ช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย 2.2) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 2.4) มีความขยัน กระตือรือรน 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 3.5) มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4.2) มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 120: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

92

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-50 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง โซน 10 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 11 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง และปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 11 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 3) โครงการ 3.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) มีการสงเสริมกิจกรรมการ คัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 4.2) จัดเก็บ มูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 4.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 4.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 121: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

93

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ทั่วถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอย เหมาะสม

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเนือง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-51 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 11 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 12 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 12 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.3) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 2.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 2.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย 2.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และ 2.6) มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

Page 122: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

94

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-52 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 12

ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 13 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 13 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.3) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 2.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 2.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 2.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 123: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

95

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-53 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 13

ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 14 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณ มูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 14 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย 2.4) มีความนาเชื่อถือ 2.5) รับฟงความคิดเห็น และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ 3.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.4) จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง 3.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ3.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 124: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

96

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือรับฟงความคิดเห็น

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-54 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 14

ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 15 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 15 พบวา ปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.3) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยหางจากจุดคัดแยกใกล (นอยกวา 5 เมตร) 2.2) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 2.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 2.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 2.5) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 2.6) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 125: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

97

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-55 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 15 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 16 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 50.0 และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า 25.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 16 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 2.4) มีความขยัน กระตือรือรน และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน 3.1) จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม 3.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 3.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และ 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

Page 126: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

98

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-56 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 16 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 17 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 75.0 รองลงมา ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 50.0

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 17 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) ประกอบอาชีพ 1.2) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทเดือน 1.3) ไดรับขอ มูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป และ 2) เทศบาลหรือหนวยงาน 2.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 2.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 2.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 2.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ มูลฝอย และ 2.5) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

Page 127: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

99

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ภาพประกอบ 3-57 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด โซน 17 ชุมชนควนสนัติจากแบบสอบถาม

โซน 18 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณ มูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 18 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.4) มีความนาเชื่อถือ 2.5) มีความขยัน กระตือรือรน 2.6) รับฟงความคิดเห็น 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยก มูลฝอย 3.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 4.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 4.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และ 4.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

Page 128: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

100

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-58 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 18 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 19 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 100.0 รองลงมา ปริมาณ มูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 66.67 และปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 19 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.6) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) รับฟงความคิดเห็น 3) โครงการ 3.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) จัดกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง 4.2) มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และ 4.3) สงเสริมการมีสวนรวม

Page 129: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

101

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม รณรงคในการคัดแยก จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

โครงการ

ใหขอมูลขาวสาร

จัดกิจกรรม

สงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-59 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 19 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 20 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 100 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รอยละ 75.0 รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 50.0 และปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป รอยละ 25.0 ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 20 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2.3) ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย 2.4) มีความนาเชื่อถือ 2.5) มีความขยัน กระตือรือรน 3) โครงการ 3.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 3.5) มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 4.2) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด และ 4.3) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 130: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

102

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนที่นําไปกําจัด

มีการดําเนินงานอยางตอเนือง

สงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-60 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลง 20 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

โซน 21 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) รอยละ 100 รองลงมา ความสะอาด (Z4) รอยละ 33.3 รองลงมา

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 21 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัว ช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.2) ประกอบอาชีพ 1.3) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.4) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.5) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย 2.2) มีความนาเชื่อถือ 2.3) รับฟงความคิดเห็น 3) โครงการ 3.1) ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย 3.2) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 3.3) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 3.4) มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง 4) ซาเลง 4.1) เขามารวบรวมมูลฝอย 4.2) มีความซ่ือสัตยในการรับซื้อมูลฝอย และ 5) เทศบาลหรือหนวยงาน 5.1) มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร) 5.2) มีการจัดวางภาชนะเหมาะสม 5.3) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด 5.4) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และ 5.5) มีการติดตอส่ือสาร และรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ

Page 131: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

103

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

มีการดําเนินการอยางตอเนือง

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ซาเลง

เขามารวบรวม

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอยสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

รณรงคในการคัดแยก

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-61 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลงโซน 21 ชุมชนควนสันตจิากแบบสอบถาม

โซน 22 จํานวนครัวเรือนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยคิดเปนรอยละ 75.0 โดยมีตัวช้ีวัดที่ครัวเรือนเห็นสอดคลองกันมากที่สุด คือ ความสะอาด (Z4) รอยละ 66.67 รองลงมา ปริมาณ มูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (Z1) และปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า รอยละ 33.33

ผลจากแบบสอบถามในโซนที่ 22 พบวาปจจัยที่อยูในรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการที่นําไปสูตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุด คือความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 1.1) เพศหญิง 1.2) อายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป 1.3) ประกอบอาชีพ 1.4) รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 1.5) สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป 1.6) อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป 1.7) ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน 2.1) รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย 2.2) ใหความรูหรือจัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย 2.3) มีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ 3.1) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 3.2) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย 3.3) จัดกิจกรรมในการคัดแยก 3.4) มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน 4.1) จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด และ 4.2) จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 132: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

104

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหความรู/จัดอบรม

จัดกิจกรรม จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีความนาเช่ือถือมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเนือง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

เพศหญิง

สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-62 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูความสะอาด โซน 22 ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

3.2.2.1 สรุปผลจากแบบสอบถามชุมชนควนสันติ จากจํานวนประชากรที่ เก็บตัวอยาง 88 ครัวเรือน พบวามีจํานวนประชากรครัวเรือนที่คัดแยกมูลฝอย 75 ครัวเรือน (รอยละ 85.23) และประชากรครัวเรือนที่ไมคัดแยกมูลฝอย 13 ครัวเรือน (รอยละ 14.77) และไดรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จของแตละโซน ดังตาราง 3-6

ตาราง 3-6 จํานวน และรอยละของรูปแบบที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ชุมชนควนสันติ

จํานวนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัด (n=75) โซนที่ ปริมาณมูลฝอยทีน่ําไป

กําจัดลดลง ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูป

ปริมาณวัสดุที่นาํกลับมาใชซ้ํา ความสะอาด รายได

1 1 - - 3 - 2 1 - - 3 - 3 1 1 1 2 -

Page 133: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

105

ตาราง 3-6 (ตอ)

จํานวนรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัด โซนที่ ปริมาณมูลฝอยทีน่ําไป

กําจัดลดลง ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูป

ปริมาณวัสดุที่นาํกลับมาใชซ้ํา ความสะอาด รายได

4 2 - - 3 - 5 - - 1 4 - 6 1 - - 3 - 7 1 - - 3 - 8 1 1 1 2 - 9 1 - 1 2 -

10 3 - - 1 - 11 1 1 - 4 1 12 1 - - 3 1 13 1 - - 3 - 14 - 1 1 2 - 15 - - - 3 - 16 2 - 1 3 - 17 2 - - 3 - 18 2 - - 3 1 19 2 1 - 3 1 20 3 1 - 2 1 21 3 - - 1 - 22 1 - 1 2 - รวม 30 6 7 58 5 รอยละ 40.0 8.0 9.33 77.33 6.67

จากตาราง 3-6 จากจํานวนประชากรที่คัดแยกมูลฝอยรอยละ 85.23 พบวาตัวช้ีวัดที่

ประชากรเห็นความสําคัญมากที่สุดคือ ความสะอาดรอยละ 77.33 ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ 40.0 ปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใชซํ้ารอยละ 9.33 ปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูปรอยละ 8.0 และผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยรอยละ 6.67 ตามลําดับ ซ่ึงตัวช้ีวัดผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยเปนตัวช้ีวัดที่เพิ่มขึ้นจากสมมติฐานที่สรางไว ซ่ึงแสดงวากลุมตัวอยางประชากรในพื้นที่ชุมชนควนสันติคัดแยกมูลฝอยเพื่อรายได ซ่ึงมีรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จดังนี้

Page 134: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

106

ก) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนควนสันติ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งสงผลตอ ปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง โดยมี ปจจัยสนับสนุน ประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความขยันอดทน กระตือรือรน รับฟงความคิดเห็น และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรม มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และ 5) ซาเลง เขามารวบรวมมูลฝอย และมีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการดําเนินการอยางตอเน่ืองรับฟงความคิดเห็น

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-63 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากแบบสอบถาม

ข) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสู

กระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนควนสันติ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซ่ึงสงผลตอปริมาณมูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่ เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึง

Page 135: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

107

องคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป โดยมี ปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความขยันอดทน กระตือรือรน รับฟงความคิดเห็น และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรม มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 5) ซาเลง เขามารวบรวมมูลฝอย และมีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนท่ีแปรรูป

มีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

รับฟงความคิดเห็น

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

สนับสนุนการดําเนิการคัดแยกมูลฝอย

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-64 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพือ่นําไปสูปริมาณมูลฝอยเขาสู กระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

ค) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมา

ใชซํ้า ในภาพรวมชุมชนควนสันติ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยมี ปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือ

Page 136: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

108

เทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรม จัดกิจกรรม มีความขยันอดทน กระตือรือรน มีความเสียสละ รับฟงความคิดเห็น เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และมีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีความมุงมั่นในการดําเนินจัดการมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรมจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละรับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยกลับมาใชซํ้าสัดสวนใชใหม

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-65 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํา กลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

ง) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูความสะอาด ในภาพรวม

ชุมชนควนสันติ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณมูลฝอยแลวสงผลตอการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดความสะอาด โดยมี ปจจัยสนับสนุน ประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน สถานภาพทางสังคมประชาชนทัว่ไป อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) ผูนําชุมชนใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย ใหความรูหรือจัดอบรม จัดกิจกรรม มีความขยันอดทน กระตือรือรน มีความเสียสละ รับฟงความคิดเห็น เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และมีความนาเชื่อถือ 3) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรม มีการสงเสริมกิจกรรมการ

Page 137: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

109

คัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง และ 4) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ เหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง สงเสริมการมีสวนรวม สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีความมุงมั่นในการดําเนินการจัดการมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนโครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็น

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเนือง

ความสะอาดสัดสวนกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-66 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดใน ภาพรวม ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

จ) รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการเพื่อนําไปสูรายไดจากการคัดแยกมูลฝอย

ในภาพรวมชุมชนควนสันติ ประกอบไปดวย กระบวนการหลัก คือ ประชากรซึ่งนําไปสูปริมาณ มูลฝอยโดยปริมาณมูลฝอยที่เกิดประกอบดวยองคประกอบตางๆ ซ่ึงองคประกอบมูลฝอยจะนําไปสูการคัดแยก ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอยสงผลตอตัวช้ีวัดรายไดจากการคัดแยกมูลฝอย โดยมี ปจจัยสนับสนุนประกอบไปดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของผูกอมูลฝอย มีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ สถานภาพทางสังคมประชาชนทั่วไป ไดรับขอมูลขาวสาร 2) โครงการ ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย จัดกิจกรรม มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง 3) เทศบาลหรือหนวยงาน มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) ซาเลงเขามารวบรวมมูลฝอย และมีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

Page 138: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

110

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคมรณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

รายไดสัดสวนขาย

มีการดําเนินการอยางตอเน่ือง

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย

มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

สนับสนุนการดําเนิการคัดแยกมูลฝอย

ผลตอบแทน

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ภาพประกอบ 3-67 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูรายไดจากการคัดแยก มูลฝอยในภาพรวม ชุมชนควนสันติจากแบบสอบถาม

ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามพบวารอยละสูงสุดของกลุมตัวอยาง

ประชากรที่ใหความสําคัญกับผลไดจากการคัดแยกมูลฝอยในแตละชุมชนดังนี้ ชุมชนปาลมซิตี้จํานวน 11โซน ประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 3 โซน คือ โซน 3, 7 และ 8 คิดเปนรอยละ 27.27 และ คัดแยกเพื่อความสะอาด 8 โซน คือ โซน 1, 2, 4, 5, 6, 9, 10 และ 11 คิดเปนรอยละ72.73 ชุมชนกลางนาประชาชนในพื้นที่ 14 โซน ทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 3 โซน คือ โซน 3, 11 และ 12 คิดเปนรอยละ 21.43 และ คัดแยกเพื่อความสะอาด 11 โซน คือโซน 1, 2, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 13 และ 14 คิดเปนรอยละ 78.57 และชุมชนควนสันติประชาชนในพื้นที่ 22 โซน ประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 3 โซน คือโซน10, 20 และ 21 คิดเปนรอยละ 13.64 และประชาชนคัดแยกความสะอาด 19 โซน คือ โซน โซน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19 และ 22 คิดเปนรอยละ 86.36

Page 139: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

111

3.3 ผลจากการทวนสอบการสํารวจเชิงประจักษ ในการสํารวจเชิงประจักษเปนการทวนสอบปจจัย และกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัด

ความสําเร็จที่มีคารอยละสูงสุดของโซนนั้นๆ ในแตละพื้นที่ที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม โดยใชการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ และปริมาณ (การศึกษาปริมาณมูลฝอย) เพื่อทวนสอบ และพิจารณาวาปจจัย และกลไกสอดคลองกันหรือไม ผลจาการสํารวจเชิงประจักษในแตละชุมชน ดังนี้

3.3.1 ผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนปาลมซิตี้ 3.3.1.1 ตัวชี้วัด และกลไกท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ จากจํานวนโซนใน

ชุมชนปาลมซิตี้ 11 โซน ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม 8 โซน ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุดในการคัดแยกเพื่อความสะอาด และอีก 3 โซน ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุดในการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ซ่ึงจากการสํารวจเชิงประจักษพบวาตัวช้ีวัดดานความสะอาด มีความสะอาดจริง 8 โซน ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถาม และตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ซ่ึงลดลงจริง 3 โซน ซ่ึงสอดคลองกับผลการสํารวจจากแบบสอบถาม ดังนั้นจากการสํารวจจะไดปจจัย และกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

1) ตัวชี้วัดดานความสะอาด ซ่ึงโซนที่ประชาชนคัดแยกเพื่อความสะอาด ดังนี้ โซนท่ี 1 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่มีความสะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-68) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ย มูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค (สอดคลองกับเกณฑที่ไดกําหนดตัวช้ีวัดความสะอาด บทที่ 2 หัวขอ 2.3.3.3)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) ประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงจากการสัมภาษณประชาชนพบวาประชาชนที่ทําการ คัดแยกมีอายุ 45 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป มีรายได15,000 บาทตอเดือน อยูในชุมชน 9 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากสื่อตางๆ เชน วิทยุ โทรทัศน และใหความสําคัญกับการคัดแยกเพื่อความสะอาดของชุมชน (อุไรวรรณ ชนวนทอง (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม คือประชากรที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป มีการประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาล ทําการรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา และทั่วถึง มีการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล พรอมทั้งมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่ใกล เหมาะสม และเพียงพอ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย นอกจากนี้จากการ

Page 140: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

112

สํารวจพบวามีปจจัยดานลักษณะของพื้นที่ ที่ตั้ง และการเขาถึงในพื้นที่มีผลตอการเขามาจัดเก็บ มูลฝอยของเทศบาล ทําใหมีการจัดเก็บไดสะดวกในทุกๆ โซน และ 4) ผลิตภัณฑ เนื่องจากในชุมชนมีปริมาณวัสดุ รีไซเคิล ประเภทขวดพลาสติก ขวดแกว ที่ เกิดจากกิจกรรมการใชชีวิตประจําวันประชาชนในพื้นที่ซ่ึงมีผลตอกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-68 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 1 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชนในพื้นที่ กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง และการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาล โดยเทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก ซ่ึงเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ ซ่ึงมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-69

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะของพ้ืนท่ี ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-69 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชน

ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 1

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-6) คือ ปจจัยที่ไม

Page 141: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

113

พบจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ปจจัยผูนําชุมชน และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุนกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย (เนื่องจากผูนําชุมชน และเทศบาลไมไดมีสงเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่แลว ดังนั้นในทุกๆ โซนของชุมชนปาลมซิตี้จึงไมมีปจจัยดานผูนําชุมชน และเทศบาลดานการสนับสนุนกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย) และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) คุณลักษณะสวนบุคคลดานระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป ซ่ึงจากการสัมภาษณพบวาประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีคุณลักษณะดังกลาว 2) ผลิตภัณฑ (ซ่ึงเปนปจจัยที่เพิ่มขึ้นในทุกๆ โซนของพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้) และ 3) ลักษณะพื้นที่ซ่ึงมีผลตอการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล (ลักษณะพื้นที่มีผลตอการจัดเก็บมูลฝอยในทุกๆ โซนของชุมชนปาลมซิตี้) และ 4) เทศบาล ดานการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม เพียงพอ และการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

โซนที่ 2 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-70) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุ 45 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 6,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 5 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงจะทําการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย (จักรกฤษ ประธุมวัลย (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ยกเวนระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป และไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยก มูลฝอย 2) เทศบาล ทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง จัดเก็บมูลฝอย รีไซเคิล พรอมทั้งมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่ใกล และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-70 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 2 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอย

ของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

Page 142: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

114

ของเทศบาล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก โดยเทศบาลทําการจัดเก็บ มูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากขอมูลการสํารวจเปนปจจัยขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-71

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

ลักษณะพ้ืนท่ี

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-71 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 2

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-7) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ผูนําชุมชน 2) โครงการ และ 3) เทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก คุณลักษณะสวนบุคคลดานระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป และผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาลดานการจัดวางภาชนรองรับมูลฝอยใกล และการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

โซนที่ 4 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-72) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยมีอายุ 46 ป ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท มีรายได 7,000 บาทตอเดือน การศึกษาระดับปริญญาตรี อาศัยในชุมชน 5 ป และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย (วราภาณ ไชยมา (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ยกเวนระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป และ 2) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และทําการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

Page 143: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

115

ภาพประกอบ 3-72 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 4 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล การจัดเก็บ และรวบรวม มูลฝอยของเทศบาลที่ในการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก โดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-73

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคลการเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกว

า/เทากับ 5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไปลักษณะของพ้ืนท่ี

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-73 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 4

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-9) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก เทศบาลดานการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) สวนคุณลักษณะสวนบุคคลดานระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป และ 2) เทศบาล ดานการจัดวางภาชนรองรับมูลฝอยเหมาะสม เพียงพอ และการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

Page 144: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

116

โซนที่ 5 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-74) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุ 41 ป ประกอบอาชีพลูกจางประจํา รายได 20,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 8 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย (ขจร มุสิกะ (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม และ 2) เทศบาล ทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดทิ้ง เหมาะสม เพียงพอ และทําการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ภาพประกอบ 3-74 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 5 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล การรับซื้อ มูลฝอยของซาเลง นอกจากนี้เทศบาลยังทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการ คัดแยกโดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-75

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคลการเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกว

า/เทากับ 5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไปลักษณะของพ้ืนท่ี

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-75 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน

Page 145: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

117

ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 5

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-10) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก เทศบาลดานการสงเสริม และสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก เทศบาล ดานการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

โซนที่ 6 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-76) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุ 57 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 10,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 10 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย (ยุภาส ไชยศิริ (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ยกเวนไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดทิ้ง เหมาะสม และเพียงพอ และ 3) ซาเลง รับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-76 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 6 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชนในพื้นที่ กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยที่ประชาชนคัดแยก การจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก โดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-77

Page 146: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

118

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะของพ้ืนท่ี ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-77 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชน

ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 6

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-11) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผูนําชุมชน และ 2) เทศบาลดานการสงเสริมการมีสวนรวม และความมุงมั่นในการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจ ไดแก คุณลักษณะสวนบุคคล ดานการไดรับผลตอบหรือรายไดจากการขายมูลฝอย

โซนที่ 9 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-78) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุ 59 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 6,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 4 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงจะทําการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย (คมขํา กลมสกุลเดช (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ยกเวนระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป และผลตอบแทนหรือรายไดจากการขายมูลฝอย 2) เทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดทิ้ง และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 147: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

119

ภาพประกอบ 3-78 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 9 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล การเขามารับซื้อมูลฝอยของกับซาเลง นอกจากนี้เทศบาลยังทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกโดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-79

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

ลักษณะพ้ืนท่ี

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-79 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 9

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-14) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผูนําชุมชน 2) โครงการ และ 3) เทศบาลดานการสงเสริมการมีสวนรวม การสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และความมุงมั่นของเทศบาลในการจัดการมูลฝอย และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคลดานระยะเวลาอาศัยในชุมชนมากกวาหรือเทากับ 5 ป และผลตอบแทนหรือรายไดจากการขายมูลฝอย และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม เพียงพอ และการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

Page 148: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

120

โซนท่ี 10 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-80) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุ 35 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 8,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 8 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงจะทําการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย (พนม เอนก (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ยกเวนการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป 2) เทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดทิ้ง และ 3) ซาเลง รับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-80 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 10 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล นอกจากนี้เทศบาลยังทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกโดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-81

Page 149: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

121

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

ลักษณะพ้ืนท่ี

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-81 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 10

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-15) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผูนําชุมชน 2) โครงการ และ 3) เทศบาล ดานการสงเสริม และสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคลดานการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และ 2) เทศบาล ดานการการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

โซนท่ี 11 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-82) คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุ 63 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 6,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 9 ปไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงจะทําการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย (วิรัตน แกวทนงค (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ยกเวนการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป 2) เทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลกับจุดทิ้ง และ 3) ซาเลง รับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 150: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

122

ภาพประกอบ 3-82 ลักษณะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้โซนที่ 11 ที่มีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก โดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมี มูลฝอยตกคางในพื้นที่ เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-83

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึง

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล

ลักษณะพ้ืนท่ี

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-83 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน ปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 11

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-16) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผูนําชุมชน 2) โครงการ 3) ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคล ดานการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยเทศบาลดานการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และตรงเวลา สรุปกลไกที่นําไปสูความสะอาด ผลจากการสํารวจพบวามีกลไกที่นําไปสูความสะอาด 3 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 ประกอบดวย โซนที่ 1 และ 6 มีกลไกที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-69 และ 3-77) คิดเปนรอยละ 25.0 รูปแบบที่ 2 ประกอบดวย โซนที่ 4 และ 5

Page 151: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

123

มีกลไกที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-73 และ 3-75) คิดเปนรอยละ 25.0 และรูปแบบที่ 3 ประกอบดวย โซนที่ 2, 9, 10 และ 11 มีกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-71, 3-79, 3-81 และ 3-83) คิดเปนรอยละ 50.0 ดังนั้นแสดงวารูปแบบที่ 3 เปนรูปแบบที่นําไปสูความสะอาดไดมากที่สุด ซ่ึงปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูกลไกความสะอาดในรูปแบบที่ 3 ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล คืออายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป มีการประกอบอาชีพ และมีรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชนนานกวา 5 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ไดรับผลตอบแทน 2) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง ตรงเวลา และมีการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย ถาเทศบาลหรือหนวยงานที่ เกี่ยวของตองการใหพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ประสบความสําเร็จในตัวช้ีวัดความสะอาดรอยละ 100 ก็ตองเพิ่มปจจัยสนับสนุนที่อยูในรูปแบบที่ 1 และ 2 ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล ดานการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และ 2) เทศบาล ดานการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่เหมาะสม และเพียงพอตอปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ซ่ึงในการจัดวางภาชนะจะเปนการเพิ่มตนทุนในการดําเนินการของเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ

2) ตัวชี้ วัดปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ผูวิจัยไดทําการศึกษาปริมาณมูลฝอยในโซนที่มีคารอยละของตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงสูงสุดที่ไดจากแบบสอบถามทั้ง 3 โซน เพื่อทวนสอบวาผลจากการสํารวจเชิงประจักษ สอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถามหรือไม โดยการศึกษาปริมาณมูลฝอยในภาชนะรองรับมูลฝอยรวมที่วางไวในแตละโซน แลวนําผลท่ีไดมาเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ซ่ึงมีรายละเอียดปริมาณมูลฝอยในแตละโซน ดังนี้

ตาราง 3-7 จํานวน และรอยละของปริมาณมูลฝอยในโซนที่ 3, 7 และ 8 ชุมชนปาลมซิตี้

ปริมาณมูลฝอยเฉล่ีย จากการศึกษาของผูวิจัย (กิโลกรัมตอวันตอโซน)

ปริมาณมูลฝอยเฉล่ีย จากโครงการวจัิยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย (กิโลกรัมตอวันตอโซน)

โซน 3 โซน 7 โซน 8

มูลฝอยรีไซเคิล 5.2 (12.5)

4.0 (12.3)

4.2 (11.6)

4.6 (9.0)

มูลฝอยอินทรีย 24.2 (58.2)

18.6 (57.2)

21.6 (59.8)

29.6 (57.7)

มูลฝอยทั่วไป 12.2 9.9 10.3 17.1

Page 152: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

124

(29.3) (30.5) (28.5) (33.3) รวม 41.6 32.5 36.1 51.3

จากตาราง 3-7 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยในภาชนะรองรับมูลฝอยของเทศบาลประกอบดวยมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยทั่วไป เมื่อเปรียบเทียบกับ รอยละของปริมาณมูลฝอยที่โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยไดศึกษา พบวา รอยละของปริมาณมูลฝอยรีไซเคิล ทั้ง 3 โซน มีปริมาณมูลฝอยในภาชนะรองรับมูลฝอยเพิ่มขึ้น รอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรียในโซนที่ 3 และ 8 มีปริมาณมูลฝอยในภาชนะรองรับมูลฝอยเพิ่มขึ้น แตรอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรียในโซนที่ 7 มีปริมาณมูลฝอยลดลง และรอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไปทั้ง 3 โซน มีปริมาณมูลฝอยลดลง แสดงวามูลฝอยที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลงคือมูลฝอยทั่วไป ซ่ึงมีปจจัย และกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงในแตละโซนดังนี้

โซนท่ี 3 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงจริง ซ่ึงจากตาราง 3-7 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไปในโซนที่ 3 มีปริมาณมูลฝอยลดลง ซ่ึงเทศบาลเปนผูนํามูลฝอยนั้นไปกําจัด

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคลของประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย จากการสัมภาษณพบวาประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยมีอายุ 41 ป ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว รายได 10,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 9 ป ไดรับขอมูลขาวสารสื่อตางๆ เชน โทรทัศน วิทยุ เปนตน โดยจะทําการคัดแยกวัสดุรีไซเคิลใหกับพนักงานเทศบาลที่เขามาจัดเก็บมูลฝอย (ภาพประกอบ 3- 84) หรือขายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอย (สุรพงษ วงศงาม (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม คือประชากรที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป มีการประกอบอาชีพ มีรายไดมากกวาเทากับ 5,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาล ซ่ึงเขามาจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอย โดยการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่ใกล เหมาะสม และเพียงพอ พรอมทั้งทําการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และทั่วถึง และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย จากขอมูลดังกลาวไดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลงในโซนที่ 3 ดังนี้

Page 153: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

125

ภาพประกอบ 3- 84 รถเก็บขนมูลฝอยที่ทําการจัดเก็บวัสดุรีไซเคิลที่ประชาชนคัดแยกไวชุมชนปาลมซิตี้

กลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกเพื่อนําไปกําจัด โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากขอมูลการสํารวจขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-85

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึง

จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนที่นําไปกําจัด

ลักษณะของพ้ืนท่ีซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-85 รูปแบบความสัมพันธเชงิกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไป กําจัดลดลง ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 3

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากการสํารวจเชิงประจักษกับผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-8) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยผูนํา 2) โครงการ และ 3) เทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวม และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคล ดานผลตอบแทนจากการขายมูลฝอย 2) ปจจัยดานผลิตภัณฑ และ 3) เทศบาล ดานการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

Page 154: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

126

โซน 7 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงจริง ซ่ึงจากตาราง 3-7 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยทั่วไปที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําคัดแยกมูลฝอย พบวาประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยมีอายุ 40 ป ประกอบอาชีพพนักงาน รายได 15,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 9 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย (กฤษณะ คีรีวัลย (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงสอดคลองกับผลท่ีไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม คือประชากรที่คัดแยกมูลฝอยมีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ อาศัยในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาล มีการจัดภาชนะรองรับมูลฝอยใกล มีความเหมาะสม เพียงพอตอปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บ มูลฝอยรีไซเคิล และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย จากการสํารวจจะไดกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงดังนี้ กลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของ ซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล ซ่ึงเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน และมูลฝอยอ่ืนๆ ที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกเพื่อนําไปกําจัด เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-86

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึง

จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนที่นําไปกําจัด

ลักษณะของพ้ืนท่ีซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-86 รูปแบบความสัมพันธเชงิกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไป กําจัดลดลง ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 7

Page 155: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

127

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากการสํารวจเชิงประจักษกับผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-12) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยผูนํา และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) คุณลักษณะสวนบุคคล ดานรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน 2) ปจจัยผลิตภัณฑ และ 3) เทศบาล ดานการจัดวางภาชนรองรับมูลฝอยใกล และจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา โซนที่ 8 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงจริง ซ่ึงจากตาราง 3-7 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไปที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยก มูลฝอย พบวาประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยในโซนนี้มีทั้งกลุมนักเรียนหรือนักศึกษา และผูที่ประกอบอาชีพ แตเพิ่งยายเขามาอาศัยอยูในชุมชนได 2 ป มีรายไดมาก 15,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากโทรทัศน หนังสือพิมพ เปนตน (วาสนา ทองสม (สัมภาษณ) 5 พฤษภาคม 2550) ซ่ึงคุณลักษณะดังกลาวสอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถาม ยกเวนเรื่องของรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน เพิ่มเติมจากแบบสอบถาม และ 2) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยที่เหมาะสม ทําการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล กลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของ ซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการ คัดแยกเพื่อนําไปกําจัด โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจขับเคลื่อนใหเกิดกลไกดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-87

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรอง

รับมูลฝอยเหมาะสม

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ี

รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000บาทตอเดือน

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-87 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไป กําจัดลดลง ชุมชนปาลมซิตี้จากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 8

Page 156: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

128

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากการสํารวจเชิงประจักษกับผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-13) คือ ปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคลดานรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก เทศบาลดานการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา สรุปกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ผลจากการสํารวจพบวามีกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 ประกอบดวยโซนที่ 3 และ 7 ซ่ึงมีกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงที่เหมือนกัน (ภาพประกอบ 3- 85 และ 3-86) คิดเปนรอยละ 75.0 และรูปแบบที่ 2 ประกอบดวยโซนที่ 8 (ภาพประกอบ 3-87) คิดเปนรอยละ 25.0 ซ่ึงแสดงวารูปแบบที่ 1 เปนกลไกที่จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงมากที่สุด ซ่ึงปจจัยสนับสนุนทั้งหมดที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รูปแบบที่ 1ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย อายุมากกวาเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาเทากับ 5,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลในการคัดแยกมูลฝอย ระยะเวลาอาศัยในชุมชน และไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม มีการจัดเก็บตรงเวลา มีการจัดเก็บทั่วถึง มีการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล มีการจัดวางชนะรองรับมูลฝอยใกล มีการจัดวางชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และพียงพอ และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย สวนรูปแบบที่ 2 มีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูกลไกขับเคลื่อนอยูในรูปแบบที่ 1 แสดงวาการที่ชุมชนปาลมซิตี้จะประสบความสําเร็จในการขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงไดนั้นจะตองมีกลไกขับเคลื่อนรูปแบบที่ 1 3.3.1.2 สรุปความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้ วัดความสําเร็จจากการสํารวจเชิงประจักษในพื้นท่ีชุมชนปาลมซิตี้ ผลจากการสํารวจเชิงประจักษโซนใหสําคัญกับการคัดแยกเพื่อความสะอาดมากที่สุดรอยละ 82.73 รองลงมา คือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ 27.27 สรุปกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูตัวช้ีวัด ดังนี้

1.ตัวช้ีวัดความสะอาด จากผลการสํารวจไดรูปแบบที่นําไปสูความสะอาด 3 รูปแบบ ซ่ึงถาตองการใหไดรูปแบบที่นําไปสูความสะอาดรอยละ 100 จะตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 3 รูปแบบ เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูความสะอาด ซ่ึงกลไกที่นําไปสูความสะอาด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บ รวบรวมมูลฝอยรีไซเคิล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกโดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ จากกลไกดังกลาวจะมีปจจัยสนับสนุนทั้งหมดขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-88

Page 157: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

129

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะของพ้ืนท่ี

ระดับการดูแล

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-88 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาดใน ภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

ซ่ึ งกลไกที่ ได จะมีความแตกต างจากผลของการสรุปขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-20) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยผูนํา 2) ปจจัยโครงการ และ 3) ปจจัยเทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวม สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และมีความมุงมั่นในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยซาเลง การเขามารับซื้อมูลฝอย และการใหผลตอบแทนแกประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) ปจจัยดานผลิตภัณฑ

2. ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากผลการสํารวจรูปแบบที่ 2 เปนกลไกขับเคลื่อนเกิดความสําเร็จ ดังนั้นกลไกดังกลาวจะตองมีปจจัยสนับสนุนที่อยูในรูปแบบที่ 2 ทั้งหมด เพื่อใหเกิดกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน และมูลฝอยอ่ืนๆ ที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกเพื่อนําไปกําจัด เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดและมีปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนใหเกดิกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-89

Page 158: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

130

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

การศึกษาระดับปริญญาตรี

ลักษณะพ้ืนท่ี

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-89 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

ซ่ึ งกลไกที่ ได จะมีความแตกต างจากผลของการสรุปขอมูลจากแบบสอบถาม(ภาพประกอบ 3-17) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยผูนํา และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวม สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และปจจัยเพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยซาเลง การเขามารับซื้อมูลฝอย และการใหผลตอบแทนแกประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) ปจจัยดานผลิตภัณฑ

3.3.1.3 สรุปความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จเพิ่มเติมจากการสํารวจเชิงประจักษ จากการสํารวจพบวาประชาชนในโซนที่ 1, 4, 5และ 6 ไดทําการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป คัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากการสํารวจดวยแบบสอบถาม คือประชาชนคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณวัสดุเพื่อเขาสูกระบวนการแปรรูปรอยละ 21.95 ปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใชซํ้ารอยละ 17.7 และผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยรอยละ 17.7 ดังนั้นกลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

1.ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป เมื่อผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-18) กับการสํารวจเชิงประจักษ ไดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชากร กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยซ่ึงมูลฝอยที่คัดแยกไดมีการขายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอย หรือใหกับเทศบาลที่ เขามาจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลในพื้นที่ ซ่ึงมูลฝอยดังกลาวจะเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป ดังภาพประกอบ 3-90

Page 159: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

131

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ลักษณะของพ้ืนท่ีซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000บาทตอเดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

ผลิตภัณฑ

จัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-90 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

เขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ การสํารวจเชิงประจักษ

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-18) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยผูนํา 2) โครงการ และ 3) เทศบาล ดานการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

2. ปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบกลไกที่ไดกับการผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-19) ไดกลไกที่นําไปสูปริมาณ มูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงมูลฝอยที่คัดแยกจะนํากลับมาใชซํ้า โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้าดังภาพประกอบ 3-91

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยกมลูฝอย

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/

เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้าสัดสวนใชใหม

อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป

ผลิตภัณฑ สัดสวนมูลฝอยอ่ืนๆ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-91 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นํากลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

Page 160: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

132

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-19) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ผูนําชุมชน และ 2) เทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวม และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

3. รายไดจากการขาย จากการเปรียบเทียบกลไกที่ไดจากการผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-21) ไดกลไกที่นําไปสูรายไดจากการขาย เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชนในชุมชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การขายมูลฝอยใหกับชาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอย เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูรายไดจากการขาย ดังภาพประกอบ 3-92

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนยวงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

รายไดสัดสวนขาย

ผลตอบแทน

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ผลิตภัณฑ สัดสวนมูลฝอยอ่ืนๆ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-92 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพือ่นําไปสูรายไดจากการ

คัดแยกมูลฝอยในภาพรวมชมุชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจกัษ

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-20) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

3.3.2 ผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนกลางนา 3.3.2.1 ตัวชี้วัด และรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ี

นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการสํารวจดวยแบบสอบถาม จากจํานวนพื้นที่ 14 โซน พบวา มี 11 โซน ที่ประชาชนใหความสําคัญกับการคัดแยกเพื่อความสะอาดมากที่สุด และอีก 3 โซน ประชาชนใหความสําคัญกับการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง เมื่อทําการสํารวจเชิงประจักษพบวาตัวช้ีวัดความสะอาด มีความสะอาดจริง 9 โซน และตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง พบวามีปริมาณมูลฝอยลดลงจริง 3 โซน ดังนั้นจากการสํารวจไดปจจัย และกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

Page 161: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

133

1) ตัวชี้วัดความสะอาด ซ่ึงโซนที่ประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อความสะอาดมีดังนี้

โซนที่ 1 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-93 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 45 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 20,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 20 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย (พรทิพย คงศรีการ (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร และรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน อดทน และกระตือรือรน 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ ทําการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

นอกจากปจจัยสนับสนุนดังกลาวแลว ความสัมพันธของประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนเปนระยะเวลานาน มีความสัมพันธกับพื้นที่ และเคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ทําใหเกิดความรวมมือในการคัดแยกมูลฝอยไดงาย และลักษณะของพื้นที่ที่มีการเขาถึงไดสะดวก เปนปจจัยที่ขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูความสะอาด

ภาพประกอบ 3-93 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 1 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรับซื้อมูลฝอยของซาเลง กิจกรรมการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาลโดยเทศบาลมีการจัดเก็บมูลฝอยแบบแยกประเภท ตามภาชนะรองรับมูลฝอยที่วางไว คือจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิล และจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจเปนกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-94

Page 162: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

134

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ 5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง/ตรงเวลา/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ซาเลง

เขามารับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-94 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 1

ซ่ึ งกลไกที่ ไดจะมีความแตกต างจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-22) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย 2) ปจจัยเทศบาล มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท 3) ปจจัยผลิตภัณฑ 4) ปจจัยลักษณะพื้นที่ และ 5) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน (ปจจัยผลิตภัณฑ ปจจัยลักษณะพื้นที่ และปจจัยความสัมพันธของประชาชน เปนปจจัยสนับสนุนที่เพิ่มเติมในทุกๆ โซนของพื้นที่ชุมชนกลางนา)

โซน 2 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-95 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยเปนประชาชนดั้งเดิมที่อาศัยในชุมชน 30 ป อายุ 45 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 7,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย (พรทิพย แกวมังกร (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 163: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

135

ภาพประกอบ 3-95 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 2 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนที่นําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรับซื้อมูลฝอยของซาเลง กิจกรรมการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาล เปนกลไกที่ขับเคลื่อนใหเกิดความสะอาดของพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจขับเคลื่อนใหเกิดกลไกดังภาพประกอบ 3-96

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภทมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล/เหมาะสม

ความสะอาด

ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

สัดสวนนําไปกําจัด

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผูนําชุมชน

ใหขอมูลขาวสาร

มีความนาเช่ือถือ เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก

มูลฝอย

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-96 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชน กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 2

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-23) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย 2) ปจจัยเทศบาล มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

Page 164: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

136

โซน 5 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-97คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 50 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 10,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 40 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย (ยุวดี ขวัญชวย (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และขยัน กระตือรือรน 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ เขามาจัดเก็บไดตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-97 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 5 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 1 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-98

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ 5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง/ตรงเวลา/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ซาเลง

เขามารับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-98 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน

Page 165: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

137

กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 5 ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-26) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) เทศบาล มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง โซน 6 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-99 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 45 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 12,000 บาทตอเดือน อาศัยอยูในชุมชน 45 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน ไดทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรียใหกับเทศบาล และคัดแยกมูลฝอย รีไซเคิลเพื่อจําหนาย (อรวรรณ ไพศาลศิลป (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกลเหมาะสม เขามาจัดเก็บไดตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-99 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 6 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 2 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-100

Page 166: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

138

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภทมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล/เหมาะสม

ความสะอาด

ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนที่

สัดสวนนําไปกําจัด

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผูนําชุมชน

ใหขอมูลขาวสาร

มีความนาเช่ือถือ เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก

มูลฝอย

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-100 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชน

กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 6

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-27) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) เทศบาล ซ่ึงมีการจัดวางภาชนะใกล และเหมาะสม

โซนที่ 7 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-101 คือไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 45 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 8,000 บาทตอเดือน อาศัยอยูในชุมชน 30 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน และส่ือตางๆ โดยไดทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรียออกไปทิ้งยังภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรียที่เทศบาลวางไว และคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อจําหนายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อ หรือนําไปขายใหกับรานรับซื้อของเกาที่ตั้งอยูใกลกับพื้นที่ (หนู วิไล (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน รับฝงความคิดเห็น และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท มีการสนับสนุน และสงเสริมการดําเนินการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่ และ 4) ซาเลง เขามารับซ้ือมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 167: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

139

ภาพประกอบ 3-101 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 7 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง นอกจากนี้เทศบาลยังทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการ คัดแยก ซ่ึงเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจเปนกลไกขับเคลื่อนใหเกิดความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-102

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอนทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ท่ัวถึงและแยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ลักษณะพ้ืนที่

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-102 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชน กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 7

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-28) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะใกล และเหมาะสม

Page 168: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

140

โซน 8 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-103 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 35 ป ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว มีรายได 12,000 บาทตอเดือน อาศัยอยูในชุมชน 8 ป และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน และสื่อตางๆ โดยไดทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอย รีไซเคิลออกไปทิ้งยังภาชนะรองรับมูลฝอยที่เทศบาลวางไว (ฐิตา ศรีกรฏ (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน รับฝงความคิดเห็น และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยใกล และเหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท มีการสนับสนุน และสงเสริมการดําเนินการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่ และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-103 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 8 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 7 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-104

Page 169: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

141

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอนทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ท่ัวถึงและแยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ลักษณะพ้ืนที่

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-104 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 8

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-29) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) เทศบาล ซ่ึงมีการจัดวางภาชนะเพียงพอ และมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท

โซน 9 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-105 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 60 ป ประกอบธุรกิจสวนตัว รายได 15,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 30 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย และผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย เคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ทําใหเกิดความรวมมือในการคัดแยกมูลฝอยไดงาย และมีการคัดแยกมูลฝอยเพื่อจําหนายดวย (จรูญ แกวสุวรรณ (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการ คัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และมีความขยัน อดทน กระตือรือรน 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ ทําการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 170: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

142

ภาพประกอบ 3-105 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 9 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 1 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-106

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ 5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง/ตรงเวลา/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ซาเลง

เขามารับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-106 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน

กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 9

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-30) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) เทศบาล ซ่ึงมีการจัดวางภาชนะเหมาะสม และมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท

โซน 13 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-107 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

Page 171: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

143

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย มีอายุ 35 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 8,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 30 ป และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย เคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ทําใหเกิดความรวมมือในการ คัดแยกมูลฝอยไดงาย และมีการคัดแยกมูลฝอยเพื่อจําหนายดวย (คณึงนิตย ทองทับรัตน (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการ คัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเหมาะสม มีการจัดเก็บ มูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-107 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 13 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 2 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-108

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภทมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยใกล/เหมาะสม

ความสะอาด

ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

สัดสวนนําไปกําจัด

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผูนําชุมชน

ใหขอมูลขาวสาร

มีความนาเช่ือถือ เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย สนับสนุนการดําเนินการคัดแยก

มูลฝอย

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-108 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชน กลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 13

Page 172: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

144

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-34) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และ 3) เทศบาลมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท

โซน 14 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-109 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยอายุ 35 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 7,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชน 10 ป และไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย ซ่ึงทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรียใหเทศบาล และคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อขายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอยในพื้นที่ (สันติ หนูจันทร (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และมีความขยัน อดทน กระตือรือรน 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ ทําการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-109 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 14 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 1 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาดดังแสดงภาพประกอบ 3-110

Page 173: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

145

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ 5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยท่ัวถึง/ตรงเวลา/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ซาเลง

เขามารับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-110 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาดชุมชน กลางนาจากการสํารวจเชงิประจักษ โซนที่ 14

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-35) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ซาเลง ที่เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย และ 2) เทศบาล มีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท ซ่ึงจากการสํารวจพบวาในพื้นที่ชุมชนกลางนามีโซนที่ไมสะอาด 2 โซน คือโซน 4 และ 10 คิดเปนรอยละ 14.23 ของโซนทั้งหมด ซ่ึงโซนที่ไมสะอาดมีรายละเอียด ดังนี้ โซนที่ 4 และ 10 จากการสํารวจพบวาทั้งสองโซนไมสะอาด (ภาพประกอบ 3-113 และ 3-114) เนื่องจากลักษณะของพื้นที่มีมูลฝอยตกคางอยูบริเวณรอบๆ ภาชนะซึ่งมูลฝอยสวนมากจะเปนถุงพลาสติก จากการสัมภาษณประชาชนในพื้นที่พบวาเปนประชากรที่เขามาอาศัยในชุมชนมีทั้งประชากรที่อาศัยเปนเวลานาน และประชากรที่เพิ่งยายเขามาอยูเนื่องจากบริเวณนี้บานเชาที่เปนหองแถวทําใหมีการยายเขา และยายออกของประชาชนบอยๆ ซ่ึงประชาชนที่เพิ่งยายเขามาอยูก็จะไมทราบเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยในพื้นที่ และเนื่องจากเพิ่งยายเขามาอยูอาศัยจึงไมมีความสัมพันธกับพื้นที่ และไมทราบเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอยของเทศบาลที่จัดขึ้น ทําใหประชาชนดังกลาวไมไดทําการคัดแยกมูลฝอย ดังนั้นในการที่จะทําใหพื้นที่ทั้ง 2 โซนสะอาด ทางเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของจะตองทําการรณรงค และใหขอมูลขาวสารแกประชาชน ที่เพิ่งยายเขามาอยูอาศัยในชุมชน และมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใหเพียงพอกับปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น

Page 174: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

146

ภาพประกอบ 3-111 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 4 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด

ภาพประกอบ 3-112 ลักษณะพื้นที่ชุมชนกลางนาโซนที่ 10 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด

สรุปกลไกท่ีนําไปสูความสะอาด ผลจากการสํารวจพบวามีกลไกที่นําไปสูความสะอาด 3 รูปแบบ โดยรูปแบบที่ 1 ประกอบดวย โซนที่ 1, 5, 9 และ 14 มีกลไกที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-94, 3-98, 3-106 และ 3-108) คิดเปนรอยละ 44.4 รูปแบบที่ 2 ประกอบดวย โซนที่ 2, 6 และ 13 มีกลไกที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-96 และ 3-100) คิดเปนรอยละ 33.3 และ รูปแบบที่ 3 ประกอบดวย โซนที่ 7 และ 8 มีกลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-102 และ 3-104) คิดเปนรอยละ 22.2 ดังนั้นแสดงวารูปแบบที่ 1 เปนรูปแบบที่นําไปสูความสะอาดไดมากที่สุด

ซ่ึงปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูกลไกความสะอาดในรูปแบบที่ 1 ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล คืออายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ และมีรายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทตอเดือน อาศัยในชุมชนนานกวา 5 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย และไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย 2) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง ตรงเวลา และมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 3) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 175: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

147

ถาเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของตองการใหพื้นที่ชุมชนกลางนา ประสบความสําเร็จในตัวช้ีวัดความสะอาดรอยละ 100 ก็ตองเพิ่มปจจัยสนับสนุนที่อยูในรูปแบบที่ 2 และ 3 ดวย

2) ตัวชี้ วัดปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ผูวิจัยไดทําการศึกษาปริมาณมูลฝอยในโซนที่มีคารอยละของตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงสูงสุดที่ไดจากแบบสอบถามทั้ง 3 โซน แลวนําผลที่ไดมาเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ซ่ึงมีรายละเอียดปริมาณมูลฝอยในแตละโซน ดังนี้

ตาราง 3-8 จํานวน และรอยละปริมาณมูลฝอยโซนที่ 3, 11 และ 12 ชุมชนกลางนา

ปริมาณมูลฝอยเฉล่ีย จากการศึกษาของผูวิจัย (กิโลกรัมตอวันตอโซน) โซน 3 โซน 11 โซน 12

ปริมาณมูลฝอยเฉล่ีย จากโครงการวิจัยรวมไทย-ญี่ปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย (กิโลกรัมตอวันตอโซน)

มูลฝอยรีไซเคิล 4.2

(3.2) 3.4

(3.9) 3.2

(3.9) 1.4

(1.1)

มูลฝอยอินทรีย 72.6 (55.2)

52.4 (60.8)

39.6 (48.6)

65.9 (51.4)

มูลฝอยทั่วไป 54.8 (41.6)

30.4 (35.3)

38.6 (48.4)

60.8 (47.5)

รวม 131.6 86.2 81.4 128.1 จากตาราง 3-8 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยในภาชนะรองรับมูลฝอย

ของเทศบาลที่ผูวิจัยไดทําการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับรอยละของปริมาณมูลฝอยที่โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยไดศึกษา พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยในโซนที่ 3 และ 11 มีรอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไปลดลง และโซนที่ 12 มีรอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรียลดลง

โซนที่ 3 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวา ปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลงจริง จากตาราง 3-8 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไป ที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยก มูลฝอยเปนประชาชนที่ประกอบอาชีพคาขาย รายได 10,000 บาทตอเดือน อายุ 45 ป อาศัยอยูในชุมชน 30 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน และสื่อตางๆ เชน โทรทัศน

Page 176: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

148

วิทยุ ซ่ึงประชาชนไดทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรียใหกับเทศบาลเพื่อนําไปใชประโยชนตอไป (อุทัย ไพศาลศิลป (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) โดยประชาชนดังกลาวเปนประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนเปนระยะเวลานาน มีความสัมพันธกับพื้นที่ และเคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย จึงทําใหประชาชนยังดําเนินการคัดแยกมูลฝอยอยู 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร และรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และความเสียสละ และ 3) เทศบาล ซ่ึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเพียงพอ และมีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และเทศบาลมีการสนับสนุน และมีความมุงมั่นในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

กลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรียของเทศบาล และจัดเก็บมูลฝอยที่ เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก โดยมีปจจัยสนับสนุนขับเคลื่อนใหเกิดกลไก ดังภาพประกอบ 3-113

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาแยกประเภทและทั่วถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความเสียสละ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยนําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชาชน

ผลิตภัณฑ

ประชาชนอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-113 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 3

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-24) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่ เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ และ 3) ปจจัยดานความสัมพันธของประชาชน

Page 177: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

149

โซน 11 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวา ปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัด ลดลงจริง จากตาราง 3-8 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไป ที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงประกอบดวย 1) จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยเปนประชาชนมีอายุ 50 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 8,000 บาทตอเดือน อาศัยอยูในชุมชน 50 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน ซ่ึงประชาชนไดทําการคัดแยกมูลฝอยอินทรียใหกับเทศบาล และคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อจําหนาย (วิสา ภักดิ์จิตร (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร และรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และความเสียสละ และ 3) เทศบาล ซ่ึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเพียงพอ และมีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และเทศบาลมีการสนับสนุน และมีความมุงมั่นในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

กลไกที่ขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเหมือนกับโซนที่ 3

ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-114

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาแยกประเภทและทั่วถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความเสียสละ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยนําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชาชน

ผลิตภัณฑ

ประชาชนอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-114 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 11

Page 178: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

150

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-32) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยดานโครงการ และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน 4) ปจจัยดานเทศบาล ดานความมุงมั่นในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และ 5) ปจจัยผูนําชุมชน ดานความเสียสละ

โซนที่ 12 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากตาราง 3-8 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรีย ที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงประกอบดวย 1) จากการสําภาษณประชากรที่คัดแยกมูลฝอย เปนประชาชนที่เพิ่งยายเขามาอยูในชุมชน 1 ป ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว รายได 15,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงประชาชนที่ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเนื่องจากบริเวณที่อยูอาศัยไดมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิลวางไว และเทศบาลไดเขามาดําเนินการจัดเก็บมูลฝอยตามที่ประชาชนไดคัดแยกไว (ประชิตชัย ธรรณะสุนทร (สัมภาษณ) 8 พฤษภาคม 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสาร และรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และ 3) เทศบาล ซ่ึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเพียงพอ และมีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และเทศบาลมีการสนับสนุน และมีความมุงมั่นในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

กลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยทั่วไปของเทศบาล โดยมีปจจัยสนับสนุนขับเคลื่อนใหเกิดกลไก ดังภาพประกอบ 3-115

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

ประกอบอาชีพการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงอัตราการกอมูลฝอย

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ลักษณะของพ้ืนท่ี

สัดสวนท่ีตองนําไปกําจัด

รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000บาทตอเดือน

ผูนําชุมชน

ใหขอมูลขาวสาร

มีความนาเช่ือถือ เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ผลิตภัฑณ

Page 179: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

151

ภาพประกอบ 3-115 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 12

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-33) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก ปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยดานความสัมพันธของประชาชน 4) ปจจัยเทศบาล มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และ 5) ปจจัยผูนําชุมชน มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

สรุปกลไกท่ีนําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ผลจากการสํารวจพบวามีกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 ประกอบดวยโซนที่ 3 และ 11 ซ่ึงมีกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงที่เหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-114 และ 3-115) คิดเปนรอยละ 75.0 และรูปแบบที่ 2 ประกอบดวยโซนที่ 12 (ภาพประกอบ 3-116) คิดเปนรอยละ 25.0 ซ่ึงแสดงวารูปแบบที่ 1 เปนกลไกที่จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงมากที่สุด ซ่ึงปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง รูปแบบที่ 1 ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย อายุมากกวาเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาเทากับ 5,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลในการคัดแยกมูลฝอย และระยะเวลาอาศัยในชุมชน 2) ผูนําชุมชนที่เปนผูใหขอมูลขาวสาร และรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และมีความเสียสละ และ 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอย ตรงเวลา ทั่วถึง และจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท และมีปจจัยเพิ่มจากการสํารวจคือ ผลิตภัณฑ ลักษณะพื้นที่ และความสัมพันธของประชาชน

3.4.2 สรุปรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดชุมชนกลางนา

1.ตัวช้ีวัดความสะอาด จากผลการสํารวจไดรูปแบบที่นําไปสูความสะอาด 3 รูปแบบ ซ่ึงถาตองการใหไดรูปแบบที่นําไปสูความสะอาดรอยละ 100 จะตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 3 รูปแบบ เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูความสะอาด ซ่ึงกลไกที่นําไปสูความสะอาด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บ รวบรวมมูลฝอย รีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกโดยเทศบาลทําการจัดเก็บ มูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนทั้งหมดขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-116

Page 180: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

152

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

เวลาอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร มีการจัดเก็บมูลฝอยตรง

เวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภทมีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนที่

ความสัมพันธของประชาชนในชุมชน

ระดับการดูแล

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ผลิตภัณฑ

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-116 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาด

ในภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

2. ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ผลจากการสํารวจกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงมี 2 รูปแบบซึ่งถาตองการใหไดรูปแบบที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงรอยละ 100 จะตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 2 รูปแบบ เพื่อขับเคล่ือนใหเกิดกลไกดังกลาว โดยกลไกเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมการคัดแยกของประชาชน และมูลฝอยอ่ืนๆ เพื่อนําไปกําจัด โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนใหเกิดกลไก ดังภาพประกอบ 3-117

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลาแยกประเภทและท่ัวถึง

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความเสียสละ

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

ปริมาณมลูฝอยนําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชาชน

ผลิตภัณฑ

ประชาชนอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-117 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

Page 181: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

153

นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ 3.3.1.3 สรุปความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัด

ความสําเร็จเพิ่มเติมจากการสํารวจเชิงประจักษ จากการสํารวจพบวาประชาชนในพื้นที่ชุมชน กลางนา ยังไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย ซ่ึงมีกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

1.ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป เมื่อผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-37) กับการสํารวจเชิงประจักษ ไดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชากร กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยซ่ึงมูลฝอยที่คัดแยกไดมีการขายใหกับ ซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอย หรือใหกับเทศบาลที่เขามาจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลในพื้นที่ ซ่ึงมูลฝอยดังกลาวจะเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป ดังภาพประกอบ 3-118

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย

ผลตอบแทน

ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนท่ี

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-118 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ เขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนกลางนา การสํารวจเชิงประจักษ

2. ปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบกลไกที่ไดกับการผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-38) ไดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยก

Page 182: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

154

มูลฝอย ซ่ึงมูลฝอยที่คัดแยกจะนํากลับมาใชซํ้า โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้าดังภาพประกอบ 3-119

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนมูลฝอยอ่ืนๆ

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

ปริมาณมลูฝอยกลับมาใชซํ้าสัดสวนใชใหม

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-119 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นํากลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

3) รายไดจากการขาย จากการเปรียบเทียบกลไกที่ไดจากการผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-40) ไดกลไกที่นําไปสูรายไดจากการขาย เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชนในชุมชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การขายมูลฝอยใหกับชาเลงที่เขามารับซ้ือมูลฝอย เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูรายไดจากการขาย ดังภาพประกอบ 3-120

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพการไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสาร มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการ

มูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม

รายไดสัดสวนขาย

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาทตอเดือน

ลักษณะพ้ืนท่ี

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

Page 183: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

155

ภาพประกอบ 3-120 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพือ่นําไปสูรายไดจากการ คัดแยกมูลฝอยในภาพรวมชมุชนกลางนา จากการสํารวจเชิงประจักษ

3.3.3 ผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนควนสันติ

3.3.3.1 ตัวชี้วัด และรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการสํารวจดวยแบบสอบถามพื้นที่ชุมชนควนสันติจํานวนพื้นที่ 22 โซน พบวา มี 19 โซนที่ประชาชนใหความสําคัญกับการคัดแยกเพื่อความสะอาดมากที่สุด และอีก 3 โซน ประชาชนใหความสําคัญกับการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ซ่ึงจากการสํารวจเชิงประจักษพบวาตัวช้ีวัดความสะอาด มีความสะอาดจริง 15 โซน และตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง พบวามีปริมาณมูลฝอยลดลงจริง 3 โซน ซ่ึงมีรายละเอียดในแตละโซนดังนี้

1) ตัวชี้วัดความสะอาด โซนที่ประชาชนทําการคัดแยกเพื่อความสะอาด ดังนี้ โซน 1 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-121 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาด ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย พบวาเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 11 ป อายุ 31 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 7,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย เคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย–ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย และเห็นวาความสะอาดเปนตัวช้ีวัดที่สําคัญที่เกิดจากการคัดแยกมูลฝอย และไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากขายดาย (สุกัณญา หวันชิดนาม (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน กระตือรือรน มีความเสียสละ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซ้ือมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

นอกจากนี้ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด มีลักษณะของ พื้นที่ และความสัมพันธของประชาชนทางดานศาสนา

Page 184: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

156

ภาพประกอบ 3-121 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 1 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอย

ของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การรับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกของเทศบาล ซ่ึงเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนใหเกิดกลไกดังกลาว ดังภาพประกอบ 3-122

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

มีความเสียสละ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-122 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 1

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-41) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ และ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน

Page 185: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

157

โซนที่ 2 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-123 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย พบวาเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 30 ป อายุ 45 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 7,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารจากในการคัดแยกมูลฝอย และไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพ่ือรายไดจาการขาย (ทิพวรรณ พิมพศรี (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน กระตือรือรน มีความเสียสละ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-123 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 2 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 1 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-124

Page 186: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

158

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

มีความเสียสละ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-124 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซนที่ 2

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-42) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผูนําชุมชน 2) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 3) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 4) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 5) ปจจัยซาเลง

โซนที่ 3 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-125 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยพบวา ประกอบอาชีพพนักงาน รายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงจะทําการคัดแยก มูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย (มะเรียม หาดดาละ สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการ คัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 187: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

159

ภาพประกอบ 3-125 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 3 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชนในพื้นที่ กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง และการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาล โดยเทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก ซ่ึงเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจขับเคล่ือนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-126

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนที่

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-126 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 3

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-43) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่

Page 188: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

160

เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซนที่ 4 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-127 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอย เปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 10 ป อายุ 30 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 8,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และเห็นวาความสะอาดเปนตัวช้ีวัดที่สําคัญในการคัดแยกมูลฝอย นอกจากการนี้ประชาชนมีการคัดแยกมูลฝอยอินทรียเพื่อนําไปเปนอาหารสัตว และมีการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อจําหนายดวย (ประทีป สุขใจจิต (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-127 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 4 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูความสะอาด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บมูลฝอย รีไซเคิลของเทศบาล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกเพื่อนําไปกําจัด โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-128

Page 189: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

161

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนที่นําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือ

ความสัมพันธของประชากรในชุมชน

ลักษณะพ้ืนท่ีซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-128 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 4

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-44) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซนที่ 5 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-129 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 6 ป อายุ 57 ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน (คณึง เศษพงษ (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน กระตือรือรน มีความเสียสละ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซ้ือมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 190: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

162

ภาพประกอบ 3-129 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 5 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนบัสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกบัโซนที่ 1 ดังนัน้จากการสํารวจเชิงประจกัษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-130

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

มีความเสียสละ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-130 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 5

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-45) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซน 6 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-131 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

Page 191: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

163

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 20 ป อายุ 50 ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน (ดล วรรณภพ (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน กระตือรือรน มีความเสียสละ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และเพียงพอ และมีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-131 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 6 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 1 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-132

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

มีความเสียสละ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-132 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 6

Page 192: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

164

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-46) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และมีความสัมพันธเชิงบวก และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซนที่ 7 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-133 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนไดทําการคัดแยกเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 32 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป มีรายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารจากผูนําชุมชน และเคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย ญ่ีปุน เพื่อการจัดการมูลฝอย โดยทําการคัดแยกมูลฝอย รีไซเคิล เชนกระดาษ ขวดพลาสติก เพื่อจําหนาย (เดชา จันทรอน (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการ คัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเพียงพอ และมีการจัดเก็บ มูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-133 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 7 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

Page 193: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

165

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เพียงพอ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะของพ้ืนที่

ความสัมพันธของประชากรในชุมชน

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผูนําชุมชน

ใหขอมูลขาวสาร

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอยมีความนาเช่ือถือ

ผลิตภัณฑ

ประชาชนอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-134 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 7

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-47) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ และ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และมีความสัมพันธเชิงบวกระหวางหนวยงาน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซน 8 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-135 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอย เปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 10 ป อายุ 37 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 5,000 บาทตอเดือน และเห็นวาความสะอาดเปนตัวช้ีวัดที่สําคัญในการคัดแยกมูลฝอย นอกจากการนี้ประชาชนไดมีการคัดแยกมูลฝอยอินทรียเพื่อนําไปเปนอาหารสัตว และมีการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อจําหนายดวย (รุงตะวัน เหมทิพ (สัมภาษณ) 25 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 194: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

166

ภาพประกอบ 3-135 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 8 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 4 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-136

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนที่นําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือ

ความสัมพันธของประชากรในชุมชน

ลักษณะพ้ืนท่ีซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-136 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 8

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-48) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และมีความสัมพันธเชิงบวก และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

Page 195: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

167

โซนท่ี 13 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-137 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย พบวาเปนประชาชนที่เคยเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยของโครงการ ทําใหประชากรในโซนนี้ทําการคัดแยกมูลฝอย โดยทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อจําหนาย และนํากลับมาใชซํ้าในครัวเรือน (เอื้อย ผลภักดิ์ (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยก มูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-137 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 13 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 3 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-138

Page 196: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

168

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนที่

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-138 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ รูปแบบที่ 13

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-53) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน 4) ปจจัยซาเลง และ 5) ปจจัยดานผูนําชุมชน มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

โซนที่ 15 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-139 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย พบวาเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 5 ป อายุ 40 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 7,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย เคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย–ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย และไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อขาย (ลําหละ รุงสวัสดิ์ (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน กระตือรือรน มีความเสียสละ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยเหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 197: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

169

ภาพประกอบ 3-139 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 15 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนบัสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกบัโซนที่ 1 ดังนัน้จากการสํารวจเชิงประจกัษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-140

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

มีความเสียสละ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-140 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซนที่ 15 ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจาก

แบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-55) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน 4) ปจจัย ซาเลง และ 5) ปจจัยดานผูนํา

โซน 16 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-141 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

Page 198: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

170

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 5 ป อายุ 40 ประกอบอาชีพคาขาย รายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย (สุพรรณี นอยทัพทิม (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ มีความขยัน กระตือรือรน มีความเสียสละ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-141 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 16 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนบัสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกบัโซนที่ 2 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-142

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

มีความเสียสละ

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-142 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 16

Page 199: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

171

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-56) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง โซนที่ 17 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-143 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล ในโซนนี้มีจํานวนครัวเรือนนอยเมื่อเปรียบเทียบกับโซนอื่นๆ ทําใหปริมาณมูลฝอยเกิดขึ้นนอย และประชาชนดังกลาวเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชนเปนเวลานาน และเคยเขามีสวนรวมในกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-143 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 17 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 3 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-144

Page 200: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

172

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนที่

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-144 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซนที่ 17

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-57) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซน 18 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-145 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่คัดแยกมูลฝอย เปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 5 ป อายุ 42 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 5,000 บาทตอเดือน มีการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อจําหนาย (ชบา สุขสุวรรณ (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

Page 201: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

173

ภาพประกอบ 3-145 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 18 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 4 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-146

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนอินทรีย

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนที่นําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือ

ความสัมพันธของประชากรในชุมชน

ลักษณะพ้ืนท่ีซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-146 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 18

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-58) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซนท่ี 19 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-147 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค)

Page 202: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

174

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย พบวาเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 20 ป อายุ 40 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อขาย (ศิริพร โมหะสับ (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-147 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 19 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจยัสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 3 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-148

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนที่

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-148 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด

ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 19

Page 203: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

175

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิ เคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-59) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ 2) ปจจัยเทศบาล ดานสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง

โซนที่ 22 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาพื้นที่สะอาดจริง (ภาพประกอบ 3-149 คือ ไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่จนทําใหกล่ินเหม็นเนา ไมมีสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิดทัศนียภาพที่นาดู ลดปญหาแหลงเพาะพันธุ และแพรกระจายของเชื้อโรค) ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูความสะอาดประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอย พบวาเปนประชาชนที่อาศัยในชุมชน 24 ป อายุ 40 ป ประกอบอาชีพคาขาย รายได 8,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย และไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อขาย (ศิริณา ปลดทุกข (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล เหมาะสม และเพียงพอ มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-149 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 22 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่สะอาดจริง

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกับโซนที่ 3 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-144

Page 204: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

176

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

มีความนาเช่ือถือซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนที่

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-150 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูความสะอาด ชุมชนควนสนัติจากการสํารวจเชิงประจกัษ โซน 22

ซ่ึงกลไกที่ไดจะมีความแตกตางจากผลของการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-62) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานโครงการ 2) ปจจัยเทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน และปจจัยที่เพิ่มเติมจากการสํารวจ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยดานลักษณะพื้นที่ 3) ปจจัยความสัมพันธของประชาชน และ 4) ปจจัยซาเลง ซ่ึงจากการสํารวจพบวาในพื้นที่ชุมชนควนสันติมีโซนที่ไมสะอาด 4 โซน คือโซน 9, 11, 12 และ 14 คิดเปนรอยละ 18.18 ของพื้นที่ทั้งหมด ซ่ึงโซนที่ไมสะอาดมีรายละเอียดดังนี้ โซนท่ี 9, 11, 12 และ 14 จากการสํารวจพบวาพื้นที่ไมสะอาด (ภาพประกอบ 3-151, 3-152, 3-153 และ 3-154) เนื่องจากลักษณะของพื้นที่ไมสอดคลองกับเกณฑที่กําหนดไวในขั้นตอนที่ 2 หัวขอ 2.3.3.3 คือมีมูลฝอยตกอยูบริเวณรอบๆ โซน เพราะลักษณะของพื้นที่ยากตอการเขาไปจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล และประชาชนในพื้นที่เพิ่งยายเขามาอยู ซ่ึงจากการสัมภาษณประชาชนสวนมากทําการคัดแยกมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อจําหนาย (จตุพร พิมพรรณ (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) ทําใหมีมูลฝอยอ่ืนๆ ตกคางในพื้นที่

Page 205: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

177

ภาพประกอบ 3-151 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 9 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด

ภาพประกอบ 3-152 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 11 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด

ภาพประกอบ 3-153 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 12 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด

ภาพประกอบ 3-154 ลักษณะพื้นที่ชุมชนควนสันติโซนที่ 14 ซ่ึงมีลักษณะของพื้นที่ที่ไมสะอาด

สรุปกลไกที่นําไปสูความสะอาด ผลจากการสํารวจพบวามีกลไกที่นําไปสูความสะอาด 4 รูปแบบ โดยรูปแบบที่ 1 ประกอบดวย โซนที่ 1, 2, 5, 6, 15 และ 16 มีกลไกที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-122, 3-124, 3-130, 3-132, 3-140 และ 3-142) คิดเปน รอยละ 40.0 รูปแบบที่ 2 ประกอบดวย โซนที่ 3, 13, 17, 19 และ 22 มีกลไกที่นําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-126, 3-138, 3-144, 3-148, และ 3-150) คิดเปนรอยละ 33.3 รูปแบบที่ 3

Page 206: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

178

ประกอบดวย โซนที่ 4, 8 และ 18 มีกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาดเหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-128, 3-136และ 3-146) คิดเปนรอยละ 20.0 และรูปแบบที่ 4 ประกอบดวย โซนที่ 7 (ภาพประกอบ 3-134) คิดเปนรอยละ 6.67 ดังนั้นแสดงวารูปแบบที่ 1 เปนรูปแบบที่นําไปสูความสะอาดไดมากที่สุด

2) ตัวชี้ วัดปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ผูวิจัยไดทําการศึกษาปริมาณมูลฝอยในโซนที่มีคารอยละของตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงสูงสุดที่ไดจากแบบสอบถามทั้ง 3 โซน แลวนําผลที่ไดมาเปรียบเทียบกับผลการศึกษาของโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ซ่ึงมีรายละเอียดปริมาณมูลฝอยในแตละโซน ดังนี้ ตาราง 3-9 จํานวน และรอยละปริมาณมูลฝอยโซนที่ 3, 11 และ 12 ชุมชนควนสันติ

ปริมาณมูลฝอยเฉล่ีย จากการศึกษาของผูวิจัย (กิโลกรัมตอวันตอโซน)

ปริมาณมูลฝอยเฉล่ีย จากโครงการวิจัยรวมไทย-ญี่ปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย (กิโลกรัมตอวันตอโซน)

โซน 10 โซน 20 โซน 21

มูลฝอยรีไซเคิล 6.4

(5.5) 2.4

(2.4) 2.0

(5.1) 8.7

(12.3)

มูลฝอยอินทรีย 68.4 (59.2)

38.2 (67.3)

24.6 (63.1)

45.1 (64.5)

มูลฝอยทั่วไป 40.8 (35.5)

16.2 (28.5)

12.4 (31.8)

16.4 (23.4)

รวม 115.6 56.8 39.0 70.8 จากตาราง 3-9 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยในภาชนะรองรับมูลฝอย

ของเทศบาลที่ผูวิจัยทําการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับรอยละของปริมาณมูลฝอยที่โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอยไดศึกษา พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยรีไซเคิลในโซนที่ 10, 20 และ 21 เมื่อเปรียบเทียบกับรอยละของปริมาณมูลฝอยที่โครงการศึกษา รอยละของปริมาณมูลฝอยลดลง รอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรียโซนที่ 10 และ 21 เมื่อเปรียบเทียบกับรอยละของปริมาณมูลฝอยที่โครงการศึกษา พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยอินทรียลดลง และรอยละของปริมาณ มูลฝอยทั่วไปทั้ง 3 โซนที่ผูวิจัยศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับรอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไปที่โครงการศึกษา พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยทั่วไปเพิ่มขึ้น

โซนท่ี 10 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากตาราง 3-9 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยรีไซเคิล และมูลฝอยอินทรีย ที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

Page 207: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

179

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสํารวจพบวาประชาชนที่คัดแยกมูลฝอยเปนคนดั้งเดิมที่อาศัยอยูในชุมชนเปนระยะเวลานาน อาศัยอยูในชุมชน 20 ป ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว รายได 10,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย (ศิริณา ปลดทุกข (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยก มูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และมีความขยัน กระตือรือรน 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับ มูลฝอยใกล มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

กลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของ ซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลของเทศบาล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการ คัดแยกเพื่อนําไปกําจัด โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากขอมูลการสํารวจขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-155

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

จัดวางภาชนะใกลลักษณะพ้ืนท่ีความสัมพันธของ

ประชากรในพ้ืนท่ีซาเลง

ผลตอบแทน

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-155 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจดัลดลง ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 10

โซนท่ี 20 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากตาราง 3-9 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยรีไซเคิลที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง

ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) จากการสัมภาษณประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยเปนประชาชนที่

Page 208: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

180

ประกอบอาชีพคาขาย รายได 8,000 บาทตอเดือน อายุ 30 ป อาศัยอยูในชุมชน 30 ป ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนําชุมชน ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อจําหนายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอยในพื้นที่ (วิรงคเรือง เตชะวัชรานนท (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และมีความขยัน กระตือรือรน 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

กลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากขอมูลดังกลาวมีปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเหมือนกับโซนที่ 10 ดังนั้นจากการสํารวจเชิงประจักษไดกลไกเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-156

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนที่นําไปกําจัด

จัดวางภาชนะใกลลักษณะพ้ืนที่ความสัมพันธของ

ประชากรในพ้ืนท่ีซาเลง

ผลตอบแทน

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-156 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจดัลดลง ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 20

โซนท่ี 21 จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากตาราง 3-9 พบวารอยละของปริมาณมูลฝอยรีไซเคิล และมูลฝอยอินทรีย ที่เทศบาลนําไปกําจัดลดลง ขอมูลที่ไดจากการสํารวจพบวามีปจจัยที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล จากการสัมภาษณประชาชนในชุมชนพบวาประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยมีอายุ 46 ป ประกอบอาชีพรับจางทั่วไป รายได 6,000 บาทตอเดือน ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอยจากผูนํา เคยเขารวมโครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุนเพื่อการจัดการมูลฝอย ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดดวย โดยขายใหกับ

Page 209: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

181

ซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอยในพื้นที่ (คุณจรัญ บุญผาเหลือง (สัมภาษณ) 26 เมษายน 2550) 2) ผูนําชุมชน มีบทบาทในการใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีความนาเชื่อถือ และรับฝงความคิดเห็น 3) เทศบาล มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล และเหมาะสม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา และ 4) ซาเลง เขามารับซื้อมูลฝอย และใหผลตอบแทนกับประชาชนที่ขายมูลฝอย

กลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของ ซาเลง การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกของเทศบาล โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากขอมูลการสํารวจขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดก็จะนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-157

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ปประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

ใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ รับฟงความคิดเห็น

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ซาเลง

เขามารวบรวม/รับซื้อมูลฝอย

ลักษณะของพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชากรในพ้ืนท่ี

ผลิตภัณฑ

ผลตอบแทน

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-157 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยทีน่ําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นําไปกําจดัลดลง ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ โซน 21

สรุปกลไกท่ีนําไปสูปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ผลจากการสํารวจพบวามีกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 2 รูปแบบ โดยรูปแบบที่ 1 คือ โซน 3 และ 20 ซ่ึงมีกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงที่เหมือนกัน (ภาพประกอบ 3-155 และ 3-156) คิดเปนรอยละ 66.7 และรูปแบบที่ 2 คือโซน 21 (ภาพประกอบ 3-157) คิดเปนรอยละ 33.3 ดังนั้นแสดงวาการที่ชุมชนควนสันติจะประสบความสําเร็จในการขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงไดนั้นตองใชกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จรูปแบบที่ 1 3.3.3.2 สรุปความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จชุมชนควนสันติ ดังนี้

Page 210: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

182

1.ตัวช้ีวัดความสะอาด จากผลการสํารวจไดรูปแบบที่นําไปสูความสะอาด 4 รูปแบบ ซ่ึงถาตองการใหไดรูปแบบที่นําไปสูความสะอาดรอยละ 100 จะตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 4 รูปแบบ เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูความสะอาด ซ่ึงกลไกที่นําไปสูความสะอาด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บ รวบรวมมูลฝอย รีไซเคิล และการจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกโดยเทศบาลทําการจัดเก็บมูลฝอยโดยไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ จากกลไกดังกลาวจะมีปจจัยสนับสนุนทั้งหมดขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสะอาด ดังภาพประกอบ 3-158

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

ความสะอาดสัดสวนท่ีนําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชาชนในชุมชน

มีความเสียสละ

ระดับการดูแล

ผลิตภัณฑ

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-158 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูความสะอาด

ในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

2. ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง จากผลการสํารวจรูปแบบที่ 2 เปนกลไกขับเคล่ือนใหเกิดความสําเร็จ ดังนั้นกลไกดังกลาวจะตองมีปจจัยสนับสนุนที่อยูในรูปแบบที่ 2 ทั้งหมด ซ่ึงกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงเกิดจากกิจกรรมการกอ มูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การจัดเก็บมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน และมูลฝอยอ่ืนๆ ที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกเพื่อนําไปกําจัด เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดโดยมีปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ดังภาพประกอบ 3-159

Page 211: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

183

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอย เหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยทีน่ําไปกําจดัลดลงสัดสวนที่นําไปกําจัด

ลักษณะพ้ืนที่

ความสัมพันธของประชาชนในชุมชน

มีความเสียสละ

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-159 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ นําไปกําจัดลดลงในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

3.3.1.3 สรุปความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จเพิ่มเติมจากการสํารวจเชิงประจักษ จากการสํารวจพบวาประชาชนในพื้นที่ชุมชนควนสันติ ยังไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย ซ่ึงมีกลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังนี้

1.ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป เมื่อผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-64) กับการสํารวจเชิงประจักษ ไดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชากร กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยซ่ึงมูลฝอยที่คัดแยกไดมีการขายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อ มูลฝอย หรือใหกับเทศบาลที่เขามาจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลในพื้นที่ ซ่ึงมูลฝอยดังกลาวจะเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป ดังภาพประกอบ 3-160

Page 212: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

184

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชนเทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพรายไดมากกวา/เทากับ

5,000 บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยก

ใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวล

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ลักษณะพ้ืนท่ี

ความสัมพันธของประชาชนในพ้ืนท่ี

มีความเสียสละ

ผลิตภัณณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-160 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่ เขาสูกระบวนการแปรรูปในภาพรวมชุมชนควนสันติ การสํารวจเชิงประจักษ

2. ปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า โดยผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบกลไกที่ไดกับการผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-65) ไดกลไกที่นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงมูลฝอยที่คัดแยกจะนํากลับมาใชซํ้า โดยมีปจจัยสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมดังกลาว เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า ดังภาพประกอบ 3-161

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ5,000 บาท/เดือน

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนมูลฝอยอินทรีย

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยกลับมาใชซํ้าสัดสวนใชใหม

มีความเสียสละ

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-161 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูปริมาณมูลฝอยที่

นํากลับมาใชซํ้าในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

Page 213: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

185

3) รายไดจากการขาย จากการเปรียบเทียบกลไกที่ไดจากการผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 3-67) ไดกลไกที่นําไปสูรายไดจากการขาย เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชนในชุมชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การขายมูลฝอยใหกับชาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอย เมื่อเกิดกิจกรรมทั้งหมดนําไปสูรายไดจากการขาย ดังภาพประกอบ 3-162

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยทีคั่ดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

สัดสวนคัดแยก

ผูนําชุมชน

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

การไดรับขอมูลขาวสาร

สัดสวนรีไซเคิล

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

รายไดสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

มีความเสียสละ

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 3-162 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูรายไดจากการ

คัดแยกมูลฝอยในภาพรวมชุมชนควนสันติ จากการสํารวจเชิงประจักษ

Page 214: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

185

บทที่ 4 สรุป อภิปรายผลการวิจัย และเสนอแนะ

ผลจากการศึกษาปจจัยหลักแหงความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย กรณีศึกษา ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญจังหวัดสงขลา โดยการศึกษาขอมูลเชิงสํารวจ และวิเคราะหรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย และลักษณะจําเพาะของบริบทในแตละพื้นที่ที่มีผลตอความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย สรุปไดดังนี้ 4.1 สรุปผลการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการคัดแยกมูลฝอย 4.1.1 สรุปตัวชี้วัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ผลจากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ไดตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ประกอบดวย 1) ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 2) ปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป 3) ปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า และ 4) ความสะอาด 4.1.2 สรุปปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการวิเคราะหขอมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ จะไดปจจัยทั้งหมดที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ดังแสดงในตาราง 4-1

Page 215: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

186

ตาราง 4-1 ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จจากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล ซาเลง กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - เพศ - อายุ - อาชีพ - รายได - ระดบัการศึกษา - สถานภาพทางสงัคม - ระยะเวลาอาศัยในชุมชน

- ลักษณะทีอ่ยูอาศัย - ไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย

- ไดรับสื่อ และขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

กิจกรรม - การรณรงคเรื่องการคัดแยก มูลฝอย

- ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

- ใหความรูหรือจดัอบรมในเรือ่งการคัดแยกมูลฝอย

- มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

คุณลักษณะ - มีความนาเชื่อถอื - มีความขยัน อดทนกระตือรือรน - เปนตัวอยางในการคัดแยก มูลฝอย

- มีความเสียสละ - รับฟงความคิดเห็น - ใหความสนใจกบัปญหา

กิจกรรม - ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย

- รณรงคใหประชาชนทาํการคัดแยกมูลฝอย

- จัดกิจกรรมในการคัดแยก มูลฝอย

- มีการประสานงานระหวางองคกร

คุณลักษณะ - มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- มีการสนบัสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

- มีการดาํเนินงานอยางตอเนื่อง

กิจกรรม - มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร)

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม - จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด

- จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง - จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท คุณลักษณะ - มีการสนับสนุนการการดําเนินการจัดการมูลฝอย

- สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน - มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล

- มีการติดตอสื่อสาร และรณรงคการคัดแยก

กิจกรรม - การเขามารวบรวมมูลฝอย - การใหผลตอบแทน คุณลักษณะ - มีความซื่อสัตยในการรับซื้อ มูลฝอย - ความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย

Page 216: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

187

4.1.3 สรุปกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ จากวิเคราะหขอมูล ไดกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จทั้งหมดสี่รูปแบบตามตัวช้ีวัด (บทที่ 3 หัวขอ 3.1.3 ภาพประกอบ 3-2, 3-3, 3-4 และ 3-5 หนา 42-45) ซ่ึงกลไกดังกลาวเกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงนําไปสูปริมาณ มูลฝอยที่คัดแยกได ซ่ึงการคัดแยกก็จะมีการคัดแยกเพื่อนํามูลฝอยกลับมาใชซํ้า การคัดแยกเพื่อใหมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป นอกจากนี้มีกิจกรรมการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอย นําไปสูปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง และความสะอาด โดยมีปจจัยสนับสนุนทั้งหมด (ตาราง 4-1 ) เปนตัวขับเคลื่อนใหเกิดกลไกดังกลาว ดังนั้นจึงสรุปเปนกลไกในภาพรวมจากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังแสดงในภาพประกอบ 4-1

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

เพศอายุ

ประกอบอาชีพรายได

ระดับการศึกษาระยะเวลาอาศัยในชุมชน

ไดรับขอมูลขาวสาร

ลักษณะที่อยูอาศัยสถานภาพทางสังคม

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสารใหความรู/จัดอบรม

จัดกิจกรรม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละรับฟงความคิดเห็น

ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีความสัมพันธเชิงบวก

มีการประสานงานระหวางองคกร1

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

มีการดําเนินการอยางตอเนือง

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอยรีไซเคิล/รับซื้อมูลฝอย

ผลตอบแทน

ความถ่ีในการรวบรวมมูลฝอย

ความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

สัดสวนกําจัด

สัดสวนกําจัด1

รวบรวมมูลฝอยอินทรียและมูลฝอยรีไซเคิล

มูลฝอยอินทรียมูลฝอยรีไซเคิล

ภาพประกอบ 4-1 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัย

หมายเหตุ การมีสวนรวม เกิดจากคุณลักษณะของปจจัยสนับสนุนนําไปสูกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

Page 217: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

188

4.2 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถาม ผลจากการสํารวจแบบสอบถามในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ สรุปไดดังนี้

4.2.1 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถามชุมชนปาลมซิตี้ 4.2.1.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม

พบวาชุมชนปาลมซิตี้จากจํานวนพื้นที่ 11 โซน มี 8 โซนที่ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุด กับการคัดแยกเพื่อความสะอาด และอีก 3 โซน ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุด กับการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง นอกจากนี้จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามพบวาประชาชนในพื้นที่ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณ มูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดดวย

4.2.1.2 ปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม พบวาปจจัยสนับสนุนทั้งหมดที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัว ช้ีวัดความสําเร็จ ประกอบดวยคุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน และซาเลง (ตาราง 4-2)

4.2.1.3 กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการสํารวจแบบสอบถาม ไดกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูช้ีวัดความสําเร็จแตละตัวช้ีวัด จากภาพประกอบ 3-17, 3-18, 3-19, 3-20 และ 3-21 หนา 59-63 ซ่ึงกลไกดังกลาวสามารถสรุปเปนกลไกในภาพรวมในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ดังแสดงในภาพประกอบ 4-2

ซ่ึงกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอย กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน ซ่ึงการคัดแยกมูลฝอย มีการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชซํ้า การคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูเขาสูกระบวนการแปรรูป โดยขายใหกับซาเลง หรือ คัดแยกใหกับเทศบาลเพื่อนําไปใชประโยชน หรือนําเขาสูกระบวนการแปรรูปตอไป การคัดแยก มูลฝอยเพ่ือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง โดยเทศบาลนํามูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการ คัดแยกของประชาชนไปกําจัด การคัดแยกเพื่อความสะอาดเกิดจากการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน และระบบการจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาลโดยการจัดเก็บมูลฝอยจะตองไมมีมูลฝอยตกคางในพื้นที่ การคัดแยกมูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายได เปนการคัดแยกเพื่อขายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอยในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจทั้งหมด (ตาราง 4-2) ขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกลไกดังกลาว

Page 218: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

189

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตราการกอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

อัตราการคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ 5,000

บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม

มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเนือง

ปริมาณมลูฝอยขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยท่ีนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีการคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สัดสวนคัดแยก

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

สถานภาพทางสังคม

การศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป

รวบรวมมูลฝอยรีไซเคิลและมูลฝอยอินทรีย

มีการประงานระหวางหนวยงาน

ผลตอบแทน

ภาพประกอบ 4-2 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจาก การวิจัยแบบสอบถาม ชุมชนปาลมซิตี้

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการวิจัยเอกสาร (ภาพประกอบ 4-1) คือ ปจจัยที่ไมพบจากแบบสอบถาม ไดแก 1) ปจจัยเทศบาล ดานความสัมพันธเชิงบวกระหวางหนวยงาน 2) ปจจัยผูนําชุมชน ดานเปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย และใหความสนใจกับปญหามูลฝอย และ 3) ซาเลง ดานความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย

แตจากการสํารวจดวยแบบสอบถามมีตัวช้ีวัดความสําเร็จดานรายได หรือผลตอบแทนที่ประชาชนไดรับจากการคัดแยกมูลฝอยเพิ่มเติมจากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ แสดงวาประชาชนที่อาศัยในชุมชนปาลมซิตี้ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการคัดแยกมูลฝอยดวย

4.2.2 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถามชุมชนกลางนา 4.2.2.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม

พบวาชุมชนกลางนา จากจํานวนพื้นที่ 14 โซน มี 11 โซนที่ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุด กับการคัดแยกเพื่อความสะอาด และอีก 3 โซน ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุด กับการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง นอกจากนี้จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามพบวา

Page 219: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

190

ประชาชนในพื้นที่ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณ มูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดดวย 4.2.2.2 ปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ปจจัยสนับสนุนทั้งหมดที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ประกอบดวยคุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน และซาเลง (ตาราง 4-2)

4.2.2.3 กลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการสํารวจแบบสอบถาม ไดกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูช้ีวัดความสําเร็จแตละตัว จากภาพประกอบ3-36, 3-37, 3-38, 3-39 และ 3-40 หนา 78-82 ซ่ึงกลไกดังกลาวสามารถสรุปเปนกลไกในภาพรวมในพื้นที่ชุมชนกลางนา ดังแสดงในภาพประกอบ 4-3 ซ่ึงกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัด สอดคลองกับกลไกในภาพรวมพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจทั้งหมดของชุมชนกลางนา (ตาราง 4-2) ขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกลไกดังกลาว

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

ผูนําชุมชน

โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

เพศหญิง

อายุมากกวา/เทากับ25 ป

ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกว

า/เทากับ 5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรม มีการจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็น มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวม มีความมุงมั่นในการดําเนินงานมีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงานมีการดําเนินการอยางตอเนือง

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนกําจัด 1

สัดสวนคัดแยก

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

สัดสวนอินทรียสัดสวนรีไซเคิล

มีความสัมพันธเชิงบวก

ผลตอบแทน

มีการประสานงานระหวางโครงการ

เขามารวบรวมมูลฝอยรีไซเคิลมูลฝอยอินทรีย

มีการสนับสนุนดานวัสดุ/อุปกรณ

ภาพประกอบ 4-3 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากการ วิจัยแบบสอบถามชุมชนกลางนา

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการวิจัยเอกสาร (ภาพประกอบ 4-1) คือ ปจจัยที่ไมพบจาก

Page 220: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

191

แบบสอบถาม ไดแก 1) ปจจัยผูนําชุมชน ดานใหความสนใจกับปญหามูลฝอย และ 2) ปจจัยซาเลง ดานความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย

แตจากการสํารวจดวยแบบสอบถามมีตัวช้ีวัดความสําเร็จดานรายได หรือผลตอบแทนที่ประชาชนไดรับจากการคัดแยกมูลฝอย เพิ่มเติมจากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ แสดงวาประชาชนที่อาศัยในชุมชนกลางนาไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการคัดแยกมูลฝอยดวย 4.2.3 สรุปผลการสํารวจดวยแบบสอบถามชุมชนควนสันติ

4.2.3.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม พบวาชุมชนควนสันติ จากจํานวนพื้นที่ 22 โซน มี 19 โซนที่ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุด กับการคัดแยกเพื่อความสะอาด และอีก 3 โซน ประชาชนใหความสําคัญมากที่สุด กับการคัดแยกเพื่อปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง นอกจากนี้จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามพบวาประชาชนในพื้นที่ไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณ มูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดดวย 4.2.3.2 ปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ จากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ปจจัยสนับสนุนทั้งหมดที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ประกอบดวยคุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาลหรือหนวยงาน และซาเลง (ตาราง 4-2)

4.2.3.3 กลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการสํารวจแบบสอบถาม ไดกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูช้ีวัดความสําเร็จแตละตัว จากภาพประกอบ 3-63, 3-64, 3-65, 3-66 และ 3-67 หนา 106-110 ซ่ึงกลไกดังกลาวสามารถสรุปเปนกลไกในภาพรวมในพื้นที่ชุมชนควนสันติ ดังแสดงในภาพประกอบ 4-4 ซ่ึงกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดสอดคลองกับกลไกในภาพรวมพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจทั้งหมด (ตาราง 4-2) ขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกลไกดังกลาว

Page 221: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

192

ปริมาณมลูฝอยประชากร ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

อัตรากอมูลฝอย

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล/หนวยงาน

เพศหญิงอายุมากกวา/เทากับ

25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกว

า/เทากับ 5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

รณรงคในการคัดแยกใหขอมูลขาวสาร

ใหความรู/จัดอบรม จัดกิจกรรมจัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/ เหมาะสม/เพียงพอ

มีความนาเช่ือถือมีความขยันอดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

มีความเสียสละ

รับฟงความคิดเห็น

มีการสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน

มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยก

มีการสนับสนุนการดําเนินงาน

มีการดําเนินการอยางตอเนือง

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

เขามารวบรวมมูลฝอย/รับซื้อมูลฝอย

ความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนท่ีนําไปกําจัด

สัดสวนคัดแยก

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

สัดสวนอินทรีย สัดสวนรีไซเคิล

สถานภาพทางสังคม

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

รวบรวมมูลฝอยอินทรียและมูลฝอยรีไซเคิล

มีการสนับสนันดานวัสดุ/อุปกรณ

ผลตอบแทน

ภาพประกอบ 4-4 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จจากการวิจัยแบบสอบถาม ชุมชนควนสันติ

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการวิจัยเอกสาร (ภาพประกอบ 4-1) คือ ปจจัยที่ไมพบจากแบบสอบถาม ไดแก 1) ปจจัยเทศบาล ดานความสัมพันธเชิงบวกระหวางหนวยงาน 2) ปจจัยผูนํา ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย และ 3) ซาเลง ดานการความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย

แตจากการสํารวจดวยแบบสอบถามมีตัวช้ีวัดความสําเร็จดานรายได หรือผลตอบแทนที่ประชาชนไดรับจากการคัดแยกมูลฝอย เพิ่มเติมจากการวิจัยเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ แสดงวาประชาชนที่อาศัยในชุมชนควนสันติไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการคัดแยกมูลฝอยดวย

ผลจากการวิเคราะหขอมูลดวยแบบสอบถามทั้ง 3 ชุมชน พบวาชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ มีตัวช้ีวัดที่มีคารอยละสูงสุดคือความสะอาด รองลงมาคือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง สวนปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป ชุมชนกลางนา และชุมชนปาลมซิตี้ มีคารอยละตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูปสูงกวาปริมาณ

Page 222: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

193

มูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า แตชุมชนควนสันติมีคารอยละของปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซํ้า สูงกวาปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป นอกจากตัวช้ีวัดดังกลาวแลวจากแบบสอบถามยังมีตัวช้ีวัดเพิ่มเติม คือผลตอบแทนหรือรายไดจากการคัดแยกมูลฝอย สวนปจจัยสนับสนุนที่ไดจะมีความแตกตางกันในแตละชุมชนดังแสดงในตาราง 4-2

Page 223: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

194

ตาราง 4-2 ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัด จากการสํารวจดวยแบบสอบถาม พื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนาํไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล ซาเลง

ชุมชนปาลมซิตี้ กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - อายุมากกวาหรอืเทากบั 25 ป - ประกอบอาชีพ - การศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป - รายไดมากกวาหรือเทากบั 5,000 บาทตอเดือน

- อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป

- สถานภาพทางสงัคมประชาชนทัว่ไป

-ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย

- ไดรับผลตอบแทน

กิจกรรม - การรณรงคเรื่องการคัดแยก มูลฝอย

- ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย

- ใหความรูหรือจดัอบรมในเรื่องการคัดแยกมลูฝอย

- มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

คุณลักษณะ - มีความนาเชื่อถอื - มีความขยัน กระตือรือรน - เปนตัวอยางในการคัดแยก มูลฝอย

- มีความเสียสละ - รับฟงความคิดเห็น

กิจกรรม - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

- รณรงคใหประชาชนทาํการ คัดแยกมูลฝอย

- จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย

- มีการประสานงานระหวางองคกร

คุณลักษณะ - มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- มีการสนบัสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

- มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

กิจกรรม - มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร)

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

- จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด

- จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง - จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท คุณลักษณะ - มีการสนับสนุนการดําเนินงาน - สงเสริมการมีสวนรวม - มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน - มีการติดตอสื่อสาร และรณรงค - มีการประสานงานระหวางองคกร

กิจกรรม - เขามารวบรวม มูลฝอย

- การใหผลตอบแทน

Page 224: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

195

ตาราง 4-2 (ตอ)

ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนาํไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล ซาเลง

ชุมชนกลางนา กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - เพศหญิง - อายุมากกวาหรอืเทากบั 25 ป - ประกอบอาชีพ - รายไดมากกวาหรือเทากบั

5,000 บาทตอเดือน - อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป

-ไดรับขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย

- ไดรับผลตอบแทน

กิจกรรม - การรณรงคเรื่องการคัดแยก มูลฝอย

- ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย

- ใหความรูหรือจดัอบรมในเรื่องการคัดแยกมลูฝอย

- มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

คุณลักษณะ - มีความนาเชื่อถอื - มีความขยัน กระตือรือรน - เปนตัวอยางในการคัดแยก มูลฝอย

- มีความเสียสละ - รับฟงความคิดเห็น

กิจกรรม - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

- รณรงคใหประชาชนทาํการ คัดแยกมูลฝอย

- จัดกิจกรรมในการคัดแยก มูลฝอย

คุณลักษณะ - มีการประสานงานระหวางองคกร

- มีการสงเสริมกิจกรรมการ คัดแยกมูลฝอย

- มีการสนบัสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

- มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

กิจกรรม - มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร)

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

- จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด

- จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง - จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท คุณลักษณะ - มีการสนับสนุนการดําเนินการ - สงเสริมการมีสวนรวม - มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน - มีความสัมพันธเชิงบวก - มีการติดตอสื่อสาร และรณรงค - มีการประสานงานระหวางองคกร

กิจกรรม - เขามารวบรวม มูลฝอย

- การใหผลตอบแทน

Page 225: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

196

ตาราง 4-2 (ตอ)

ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนาํไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน โครงการ เทศบาล ซาเลง

ชุมชนควนสันติ กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - เพศหญิง - อายุมากกวาหรอืเทากบั 25 ป - ประกอบอาชีพ - รายไดมากกวาหรือเทากบั

5,000 บาทตอเดือน - อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป

-ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

- ไดรับผลตอบแทน

กิจกรรม - การรณรงคเรื่องการคัดแยก มูลฝอย

- ใหขอมูลขาวสารในการ คัดแยกมูลฝอย

- ใหความรูหรือจดัอบรมในเรื่องการคัดแยกมลูฝอย

- มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

คุณลักษณะ - มีความนาเชื่อถอื - มีความขยัน กระตือรือรน - เปนตัวอยางในการคัดแยก มูลฝอย

- มีความเสียสละ - รับฟงความคิดเห็น

กิจกรรม - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

- รณรงคใหประชาชนทาํการ คัดแยกมูลฝอย

- จัดกิจกรรมในการคัดแยก มูลฝอย

คุณลักษณะ - มีการประสานงานระหวางองคกร

- มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย

- มีการสนบัสนุนการดําเนินการ คัดแยกมูลฝอย

- มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

กิจกรรม - มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร)

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

- จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน และเวลาที่กําหนด

- จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง - จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท คุณลักษณะ - มีการสนับสนุนการดําเนินการ - สงเสริมการมีสวนรวม - มีความมุงมั่นในการดําเนินงาน - มีการประสานงานระหวางองคกร

กิจกรรม - เขามารวบรวมมลูฝอย - การใหผลตอบแทน

Page 226: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

197

4.3 สรุปผลจากการสํารวจเชิงประจักษ ในการสํารวจเชิงประจักษผูวิจัยไดทําการสํารวจในทุกโซน ตามตัวช้ีวัดที่มีคา

รอยละสูงสุดของโซนนั้นๆ และจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (บทที่ 3 หัวขอ 3.2) ซ่ึงมีรายละเอียดในแตละชุมชนดังนี้ 4.3.1 สรุปผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนปาลมซิตี้ 4.3.1.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลการจากการทวนสอบดวยการสํารวจ เชิงประจักษพบวา ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ลดลงจริงซึ่งสอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถาม 3 โซน และตัวช้ีวัดความสะอาด พบวาสะอาดจริง ซ่ึงสอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถาม 8 โซน แสดงวาตัวช้ีวัดความสะอาดเปนตัวช้ีวัดที่ประชาชนเห็นความสําคัญมากที่สุด รองลงมาคือ ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง นอกจากนี้จากการสํารวจพบวาประชาชนในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ยังไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดดวย 4.3.1.2 ปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการวิเคราะหขอมูลจะไดปจจัยทั้งหมดที่นําไปสูตัวช้ีวัด ดังแสดงในตาราง 4-3 ซ่ึงถาเทศบาลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของตองการใหพื้นที่ประสบความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยจะตองมีปจจัยสนับสนุนทั้งหมดเพื่อขับเคลื่อนใหนําไปสูตัวช้ีวัด นอกจากนี้จากการสํารวจพบวาผลิตภัณฑ เปนปจจัยที่เพิ่มขึ้นจากการสํารวจ ซ่ึงผลิตภัณฑเกิดจากกิจกรรมการใชชีวิตประจําวันประชาชนในพื้นที่ และปจจัยดานลักษณะของพื้นที่ที่มีความสะดวกในการเดินทางเขาถึง มีผลตอการกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ 4.3.1.3 กลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดกลไกขับเคล่ือนที่นําไปสูแตละตัวช้ีวัดความสําเร็จ จากภาพประกอบ 3-88, 3-89, 3-90, 3-91 และ 3-92 หนา 129-132 ซ่ึงกลไกดังกลาวสามารถสรุปเปนกลไกในภาพรวมในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ดังแสดงในภาพประกอบ 4-5

ซ่ึงกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย การเขามารับซื้อมูลฝอยของซาเลง การจัดเก็บ และรวบรวมมูลฝอยของเทศบาล โดยเทศบาลทําหนาที่ในการจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล และจัดเก็บมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยก ซ่ึงกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย มีการคัดแยกมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชซํ้า การคัดแยกเพื่อใหมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป โดยประชาชนใหมูลฝอยที่คัดแยกกับเทศบาลที่เขามาจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิลหรือขายมูลฝอยใหกับซาเลงเพื่อใหมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป การคัดแยกเพื่อความสะอาด ซ่ึงประชาชนทําคัดแยกมูลฝอยแลวใหเทศบาลนําไปใชประโยชน โดย

Page 227: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

198

เทศบาลจะตองมีการดําเนินการจัดเก็บมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากการคัดแยก และมูลฝอยที่เหลือจากกิจกรรมการคัดแยกโดยทําการจัดเก็บไมใหมีมูลฝอยตกคางในพื้นทําใหชุมชนสะอาด การคัดแยกมูลฝอยเพ่ือปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (มูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลงคือมูลฝอยทั่วไป) ซ่ึงเทศบาลจะเปนผูนํามูลฝอยที่เหลือจากการคัดแยกนําไปกําจัด และการคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายได เปนการคัดแยกมูลฝอยเพื่อจําหนายใหกับซาเลงที่เขามารับซื้อมูลฝอยในพื้นที่ โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจทั้งหมด (ตาราง 4-3) ขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ปประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาะสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนกําจัด

สัดสวนคัดแยก1

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

ลักษณะพ้ืนท่ี

ระดับการดูแล

มูลฝอยรีไซเคิล

% ใชใหม

% แปรรูป

การศึกษาระดับปริญญาตรี

ผลตอบแทน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ภาพประกอบ 4-5 สรุปรูปแบบความสัมพนัธเชิงกระบวนของปจจัยทีน่ําไปสูตัวช้ีวดัความสําเร็จใน พื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 4-2) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ปจจัยโครงการ (ซ่ึงไดส้ินสุดการดําเนินการไปแลว) 2) ปจจัยผูนําชุมชน และ 3) ปจจัยเทศบาล ดานการสงเสริมการมีสวนรวม การสนับสนุน และมีความมุงมั่นในการดําเนินงาน และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ปจจัยดานผลิตภัณฑ 2) ปจจัยลักษณะพื้นที่ซ่ึงมีผลตอการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล 4.3.2 สรุปผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนกลางนา 4.3.2.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลการจากการทวนสอบดวยการสํารวจเชิงประจักษพบวา ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ปริมาณมูลฝอยลดลงจริง 3 โซน และตัวช้ีวัดความสะอาด พบวามีความสะอาดจริง 9 โซน และไมมีความสะอาด 2 โซนแสดงวาตัวช้ีวัดความสะอาดเปนตัวช้ีวัดที่ประชาชนเห็นความสําคัญมากที่สุด รองลงมาคือตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่

Page 228: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

199

นําไปกําจัดลดลง นอกจากนี้จากการสํารวจพบวาประชาชนในพื้นที่ชุมชนกลางนา ยังไดทําการ คัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า และ คัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขาย 4.3.2.2 ปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการวิเคราะหขอมูลจะไดปจจัยทั้งหมดที่นําไปสูตัวช้ีวัดชุมชนกลางนา ดังแสดงในตาราง 4-3 และมีปจจัยดานผลิตภัณฑ ปจจัยดานลักษณะของพื้นที่ที่มีความสะดวกในการเดินทางเขาถึง และปจจัยดานความสัมพันธของประชาชนซึ่งสงผลตอการเขามามีสวนรวมในกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยไดงาย ซ่ึงปจจัยดังกลาวมีผลตอการกลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัด 4.3.2.3 กลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูช้ีวัดความสําเร็จแตละตัว จากภาพประกอบ 3-116, 3-117, 3-118, 3-119 และ 3-120 หนา 152-154 ซ่ึงจากภาพประกอบทั้ง 5 สามารถสรุปเปนกลไกในภาพรวมในพื้นที่ชุมชนกลางนา ดังแสดงในภาพประกอบ 4-6 ซ่ึงกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัด เกิดจากกิจกรรมการกอมูลฝอยของประชาชน กิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงกิจกรรมการคัดแยกเพิ่มเติมจากชุมชนปาลมซิตี้ ในสวนการคัดแยกมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิลเพื่อใหเทศบาลนํามูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปหรือใชนํามูลฝอยไปใชประโยชนตอ และกิจกรรมการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาลซึ่งมีระบบการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภทตามที่ประชาชนไดคัดแยกไว โดยมีปจจัยสนับสนุนที่ไดจากการสํารวจทั้งหมด (ตาราง 4-3) ขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดกิจกรรมดังกลาว

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาสม

ปริมาณมลุฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนกําจัด

สัดสวนคัดแยก1

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

ลักษณะพ้ืนท่ี

ระดับการดูแล

มูลฝอยรีไซเคิลมูลฝอยอินทรีย

% ใชใหม

% แปรรูป

บริบทจําเพาะลักษณะความสัมพันธของประชาชน

ผูนําชุมชน

มีความเสียสละ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยัน อดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหขอมูลขาวสาร

รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

ผลตอบแทน

รวบรวมมูลฝอยอินทรียและมูลฝอยรีไซเคิล

มีการประสานงานระหนวยงาน

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 4-6 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในพื้นที่

ชุมชนกลางนาจากการสํารวจเชิงประจักษ

Page 229: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

200

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตางจากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 4-3) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ปจจัยโครงการ (ซ่ึงไดส้ินสุดการดําเนินการไปแลว) และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ผลิตภัณฑ 2) ลักษณะพื้นที่ซ่ึงมีผลตอการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล และ 3) ความสัมพันธของประชาชนในพื้นที่ซ่ึงสงผลตอการเขามีสวนรวมของประชาชน (ชุมชนกลางนาจะมีประชาชนดั้งเดิมที่อาศัยอยูในชุมชนจึงมีความผูกพันกับพื้นที่ มีความสัมพันธทางสังคม และมีความสัมพันธเชิงเครือญาติกัน) 4.3.3 สรุปผลการสํารวจเชิงประจักษชุมชนควนสันติ 4.3.3.1 ตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลการจากการทวนสอบดวยการสํารวจเชิงประจักษพบวา ตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยท่ีนําไปกําจัดลดลง ลดลงจริงซึ่งสอดคลองกับผลที่ไดจากแบบสอบถาม 3 โซน และตัวช้ีวัดความสะอาด พบวาสะอาดจริง 15 โซน และโซนที่ไมสะอาด 4 โซน แสดงวาตัวช้ีวัดความสะอาดเปนตัวช้ีวัดที่ประชาชนเห็นความสําคัญมากที่สุด รองลงมาคือตัวช้ีวัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง นอกจากนี้จากการสํารวจพบวาประชาชนในพื้นที่ชุมชนควนสันติ ยังไดทําการคัดแยกมูลฝอยเพื่อปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซํ้า และคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายได 4.3.3.2 ปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการวิเคราะหขอมูลจะไดปจจัยทั้งหมดที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จชุมชนควนสันติ ดังแสดงในตาราง 4-3 นอกจากนี้จากการสํารวจพบวาปจจัยดานผลิตภัณฑ และปจจัยดานความสัมพันธของประชาชน มีผลตอกลไกที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ 4.3.3.3 กลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ ผลจากการสํารวจ เชิงประจักษ ไดกลไกขับเคลื่อนที่นําไปสูช้ีวัดความสําเร็จแตละตัว จากภาพประกอบ 3-158, 3-159, 3-160, 3-161 และ 3-162 หนา 182-184 ซ่ึงจากภาพประกอบทั้ง 5 สามารถสรุปเปนกลไกในภาพรวมในพื้นที่ชุมชนควนสันติ ดังแสดงในภาพประกอบ 4-7 ซ่ึงกลไกขับเคล่ือนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดสอดคลองกับกลไกในภาพรวมพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ แตมีปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดที่แตกตางกันดังแสดงในตาราง 4-3

Page 230: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

201

ปริมาณมลูฝอย การคัดแยกมลูฝอยใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

เทศบาล/หนวยงาน

อายุมากกวา/เทากับ25 ป ประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลามีการจัดวางภาชนะรองรับ

มูลฝอยเหมาสม

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย/รวบรวมมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนกําจัด

สัดสวนคัดแยก1

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

ลักษณะพ้ืนท่ี

ระดับการดูแล

มูลฝอยรีไซเคิลมูลฝอยอินทรีย

% ใชใหม

% แปรรูป

บริบทจําเพาะลักษณะความสัมพันธของประชาชน

ผูนําชุมชนมีความเสียสละ

มีความนาเช่ือถือ

มีความขยัน อดทนกระตือรือรน

เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย

ใหขอมูลขาวสาร

รณรงคในการคัดแยกมูลฝอย

ผลิตภัณฑ

ผลตอบแทน

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

การจัดเก็บมูลฝอยรีไซเคิล

ภาพประกอบ 4-7 สรุปรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จใน พื้นที่ชุมชนควนสันติจากการสํารวจเชิงประจักษ

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากการสํารวจเชิงประจักษ มีความแตกตาง

จากกลไกที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (ภาพประกอบ 4-4) คือ ปจจัยที่ไมพบจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ปจจัยโครงการ (ซ่ึงไดส้ินสุดการดําเนินการไปแลว) และ2) ปจจัยเทศบาล ดานการสงเสริม และสนับสนุนการดําเนินการจัดการมูลฝอย และปจจัยที่เพิ่มจากการสํารวจเชิงประจักษ ไดแก 1) ผลิตภัณฑ 2) ลักษณะพื้นที่ซ่ึงมีผลตอการจัดเก็บมูลฝอยของเทศบาล และ 3) ความสัมพันธของประชาชนในพื้นที่ซ่ึงสงผลตอการเขามีสวนรวมของ (ประชาชนชุมชน ควนสันติสวนมากเปนชาวมุสลิม ซ่ึงมีความสัมพันธของชาวมุสลิมบางสวนที่มีความใกลชิดกัน)

Page 231: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

202

ตาราง 4-3 ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวชี้ จากการสํารวจเชิงประจักษ ในพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้ ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนาํไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน เทศบาล ซาเลง

ชุมชนปาลมซิตี้ กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - อายุมากกวาหรอืเทากบั 25 ป - ประกอบอาชีพ - ระดบัการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป - รายไดมากกวาหรือเทากบั 5,000บาทตอเดือน

- อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป -ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย - ไดรับผลตอบแทน - มีความรูในการคัดแยกมูลฝอย

กิจกรรม - มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล (นอยกวา 5 เมตร)

- จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม - จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน เวลาที่กําหนด - จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง

กิจกรรม - เขามารวบรวมมลูฝอย - การใหผลตอบแทน

ชุมชนกลางนา กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - อายุมากกวาหรอืเทากบั 25 ป

กิจกรรม - การรณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมลูฝอย

กิจกรรม - มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอย (นอยกวา

5 เมตร) - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม

กิจกรรม - เขามารวบรวมมลูฝอย - การใหผลตอบแทน

Page 232: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

203

ตาราง 4-3 (ตอ)

ปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนาํไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จ คุณลักษณะสวนบุคคล ผูนําชุมชน เทศบาล ซาเลง

- ประกอบอาชีพ - รายไดมากกวาหรือเทากบั 5,000บาทตอเดือน

- อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป -ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย - ไดรับผลตอบแทน - มีความรูในการคัดแยกมูลฝอย

คุณลักษณะ - มีความนาเชื่อถอื - มีความขยัน กระตือรือรน - เปนตวัอยางในการคัดแยกมูลฝอย - มีความเสียสละ

- จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน เวลาที่กําหนด - จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง - จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท คุณลักษณะ - มีการสนับสนุนการการดําเนิน - สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

ชุมชนควนสันติ กิจกรรม - การกอมูลฝอย - การคัดแยกมลูฝอย คุณลักษณะ - อายุมากกวาหรอืเทากบั 25 ป - ประกอบอาชีพ - รายไดมากกวาหรือเทากบั 5,000 บาทตอเดือน

- อาศัยอยูในชุมชนนานกวาหรือเทากับ 5 ป -ไดรับขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย - ไดรับผลตอบแทน - มีความรูในการคัดแยกมูลฝอย

-กิจกรรม การรณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

คุณลักษณะ - มีความนาเชื่อถอื - มีความขยัน กระตือรือรน - เปนตวัอยางในการคัดแยกมูลฝอย - มีความเสียสละ

กิจกรรม - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม - จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวัน เวลาที่กําหนด

กิจกรรม - เขามารวบรวมมลูฝอย - การใหผลตอบแทน

Page 233: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

204

ผลจากการวิเคราะหขอมูลทั้ง 3 ชุมชน พบวาแตละชุมชนจะมีกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จที่แตกตางกัน ซ่ึงถาเทศบาล (หนวยงานที่เกี่ยวของ) ตองการใหพื้นที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอยก็ตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 3 ชุมชน เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จได 100 เปอรเซ็นต ดังภาพประกอบ 4-8 แตกลไกดังกลาวจะไมสามารถใชกับทุกๆ ชุมชนได

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยท่ีการคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

เทศบาล

อายุมากกวา/เทากับ25 ปประกอบอาชีพ

รายไดมากกวา/เทากับ 5,000บาท/เดือน

อาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึง/แยกประเภท

มีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยใกล/เหมาสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนกําจัด

สัดสวนคัดแยก1

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

ลักษณะพ้ืนที่

ระดับการดูแล

มูลฝอยรีไซเคิล

มูลฝอยอินทรีย

% ใชใหม

% แปรรูป

บริบทจําเพาะลักษณะความสัมพันธของประชาชน

ผูนําชุมชน

มีความเสียสละมีความนาเช่ือถือมีความขยัน อดทนกระตือรือรน เปนตัวอยางในการคัดแยก

มูลฝอย

ใหขอมูลขาวสารรณรงคในการคัดแยกมูลฝอย

สงเสริมการมีสวนรวมมีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย

การศึกษาระดับปริญญาตรี

มีการประสานงานระหวางหนวยงาน

ผลตอบแทน

รวบรวมมูลฝอยอินทรียและมูลฝอยรีไซเคิล

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 4-8 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยสนับสนุนทั้งหมดใน 3 ชุมชน เพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จใน

จากภาพประกอบ 4-8 จะเห็นไดวาจะตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 3 ชุมชนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จซึ่งกลไกดังกลาวไมสามารถใชกับทุกชุมชนได ซ่ึงถาตองการใหใชไดทกุ ชุมชนตองมีปจจัยสนับสนุนที่เหมือนกันทั้ง 3 ชุมชน เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ดังแสดงในภาพประกอบ 4-9 แตกลไกดังกลาวไมสามารถที่จะนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จได 100 เปอรเซ็นต

Page 234: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

205

ปริมาณมลูฝอย ปริมาณมลูฝอยท่ีการคัดแยกใชใหม

คุณลักษณะสวนบุคคล

การเขามามีสวนรวม

อัตราคัดแยก

เทศบาล

อายุมากกวา/เทากับ25 ปประกอบอาชีพ รายไดมากกวา/เทากับ 5,000

บาท/เดือนอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ

5 ป

ไดรับขอมูลขาวสาร

จัดเก็บมูลฝอยตรงเวลา/ท่ัวถึงมีการจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอ

ยใกล/เหมาสม/เพียงพอ

ปริมาณมลูฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูปสัดสวนแปรรูป

ซาเลง

รับซื้อมูลฝอย

ปริมาณมลูฝอยนํากลับมาใชซํ้า

ความสะอาด

ปริมาณมลูฝอยท่ีนําไปกําจดัลดลง

สัดสวนใชใหม

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก

ปริมาณมลูฝอยท่ีคัดแยก 2

รายได

อัตรากําจัด

สัดสวนกําจัด

สัดสวนคัดแยก1

สัดสวนคัดแยก 2

สัดสวนขาย

ลักษณะพ้ืนท่ี

ระดับการดูแล

มูลฝอยรีไซเคิล

% ใชใหม

% แปรรูป

ผลตอบแทน

รวบรวมมูลฝอยมูลฝอยรีไซเคิล

ผลิตภัณฑ

ประชากรอัตราการกอมูลฝอย

ภาพประกอบ 4-9 รูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยสนับสนุนที่เหมือนกันทั้ง 3 ชุมชนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จใน

ดังนั้นผลจากการศึกษาสรุปไดปจจัยสนับสนุนที่นําไปสูตัวช้ีวัดในภาพรวมทั้ง 3 ชุมชนประกอบดวย 1) ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคล 2) ปจจัยดานเทศบาล 3) ปจจัยผูนําชุมชน และ 4) ซาเลง จึงจะนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ซ่ึงปจจัยดังกลาวเปนกลุมบุคคลที่มีสวนไดสวนเสียในการคัดแยกมูลฝอยทั้ง 3 ชุมชน ดังแสดงในตาราง 4-4

ตาราง 4-4 สรุปบุคคลที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ในการคัดแยกมูลฝอย

คุณลักษณะ กลุมบุคคล คุณลักษณะที่

ติดตัว คุณลักษณะที่

ไดรับการสงเสริม

บทบาทหรือหนาที ่(กิจกรรม)

หนวยงานที่เก่ียวของกับการดําเนินกิจกรรม

ตัวช้ีวัด

1.ประชากร - อายุ - การศึกษา อาชีพ รายได ระยะเวลาอ าศั ย ในชุ มชน ไ ด รั บ ข อ มู ลขาวสารในคัดแยกมูลฝอย และเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอย - ไดรับผลตอบแทน

- พฤติกรรมการกอมูลฝอย - คัดแยกมูลฝอย (อินทรี ย และ รีไซเคิล) - คัดแยกวัสดุ รีไซ เคิ ล เพื่ อข ายใหกับซาเลง

- ผูนํ าชุมชน และเทศบาล ใหขอมูลขาวสาร

- ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจดั - ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป - ปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซํ้า - รายได

Page 235: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

206

ตาราง 4-4 (ตอ)

คุณลักษณะ กลุมบุคคล คุณลักษณะที่

ติดตัว คุณลักษณะที่

ไดรับการสงเสริม

บทบาทหรือหนาที ่(กิจกรรม)

หนวยงานที่เก่ียวของกับการดําเนินกิจกรรม

ตัวช้ีวัด

2.ผูนําชุมชน - มี ค ว า มนาเชื่อถือ มีค ว า ม ข ยั น อ ด ท น กระตือรือรน และมี ค ว า มเสียสละ

- เปนตัวอยางในก า ร คั ด แ ย กมู ลฝอย -สนั บสนุ น ก า รการดํ า เนิ นก า รจั ด ก า ร มู ล ฝ อ ยอยางจริงจัง และส ง เ ส ริ ม ก า ร มีส ว น ร ว ม ข อ งประชาชน

- รณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย

- มีการประสานงานกั บ เทศบาล เพื่ อรณรงค ในการคัดแยกมูลฝอย

- ปริมาณมูลฝอยนําไปกําจดัลดลง - ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

3.เทศบาล - มีความมุงมั่นรับผิดชอบในการจัดการมูลฝ อ ย แ ล ะ มีความสัมพันธเ ชิ ง บ ว กระหวางชุมชนกับเทศบาล

-สนั บสนุ น ก า รการดํ า เนิ นก า รจั ด ก า ร มู ล ฝ อ ยอยางจริงจัง และส ง เ ส ริ ม ก า ร มีส ว น ร ว ม ข อ งประชาชน

- มี ก า รติดตอส่ือสารและรณรงค ก า รคั ดแยก - จัดวางภาชนะรองรั บมู ล ฝอยแยก ประเภทใกล มีเพียงและ และมีความเหมาะสมแลวทําการจัดเก็บมูลฝอยตามชนิดและประ เ ภทที่ประชาชนคัดแยก - ทํ าการจัด เก็บมูลฝอยตรงเวลา แ ล ะ ทั่ ว ถึ ง ไ มปลอยใหมูลฝอยตกคางเนาเหม็น

- มีการประสานงานกับผูนําชุมชน เพื่อรณรงค ในการคัดแยกมูลฝอย

- ปริ มาณมู ลฝอยนําไปกําจัดลดลง - ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป - ความสะอาด

5.ซาเลง - มี ค ว า มซ่ือสัตยในการรับซ้ือมูลฝอย

- เข ามารวบรวมมู ล ฝ อ ย ใ หผลตอบแทนจากการรับซ้ือมูลฝอย

- ปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

Page 236: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

207

จากตาราง 4-4 มีกลุมบุคคลที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ที่เกี่ยวของกับการ คัดแยกมูลฝอยทั้ง 3 ชุมชน คือประชาชนซึ่งมีคุณลักษณะที่ติดตัวมาคืออายุ และคุณลักษณะที่ไดรับการสงเสริม คือระดับการศึกษา อาชีพ รายได ระยะเวลาอาศัยในชุมชน การไดรับขอมูลขาวสาร การเขามามีสวนรวม และการไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงคุณลักษณะดังกลาวมีผลตอพฤติกรรมการกอมูลฝอย และการคัดแยกมูลฝอย โดยมีผูนําชุมชน และเทศบาล เปนผูใหขอมูลขาวสาร และรณรงคในการคัดแยกมูลฝอยแยก ซ่ึงที่สงผลพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอย แลวนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ 4.4 อภิปรายผลการวิจัย 1) ผลจากการศึกษาพบวาทั้ง 3 ชุมชนมีตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยเหมือนกัน คือ ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง ปริมาณวัสดุเขาสูกระบวนการแปรรูป ปริมาณวัสดุนํากลับมาใชซํ้า ความสะอาด และรายได แตมีรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยที่ตางกัน จากภาพประกอบ 4-5, 4-6 และ 4-7 เห็นไดวารูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการ คัดแยกมูลฝอยทั้ง 3 ชุมชนแตกตางกันในสวนของปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ไดแก 1) บริบทจําเพาะของพื้นที่ ลักษณะของพื้นที่เปนที่ราบ มีความสะดวกในการเขาถึง มีการเชื่อมโยงกันในแตละโซน และความสัมพันธของประชาชนชุมชน ซ่ึงชุมชนกลางนาจะมีประชาชนดั้งเดิมที่อาศัยอยูในชุมชน ทําใหประชาชนมีความผูกพันกับพื้นที่ มีความสัมพันธทางสังคม และมีความสัมพันธเชิงเครือญาติกัน ชุมชนควนสันติประชาชนสวนมากเปนชาวมุสลิม ความสัมพันธของชาวมุสลิมบางสวนมีความใกลชิดกัน ชุมชนปาลมซิตี้ความสัมพันธของสมาชิกสวนใหญเปนแบบเพื่อนบานกัน จึงทําใหไมมีความสัมพันธของประชาชนในชุมชน 2) ผูนําชุมชน ซ่ึงชุมชนกลางนา และผูนําชุมชนควนสันติ มีบทบาทที่เหมือน คือ เห็นความสําคัญของกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยในชุมชน สวนชุมชนปาลมซิตี้ผูนําชุมชนจะไมมีบทบาทตอกิจกรรมการคัดแยก มูลฝอย 3) เทศบาล (หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ) ซ่ึงจากรูปแบบในภาพรวม ในแตละชุมชนจะเหน็วากลไกของเทศบาลมีความแตกตางกันทั้งบทบาท และคุณลักษณะ คือ ชุมชนกลางนาทางเทศบาลจะมีการจัดเก็บมูลฝอยท่ีแยกประเภท และมีภาชนะรองรับมูลฝอยแยกประเภท ซ่ึงตางจากชุมชน ปาลมซิตี้ และชุมชนควนสันติซ่ึงมีการจัดเก็บมูลฝอยรวม และไมมีภาชนะรองรับมูลฝอยแยกประเภท ชุมชนกลางนาทางเทศบาลจะเห็นถึงความสําคัญของการคัดแยกมูลฝอย มีความรับผิดชอบในการการคัดแยกมูลฝอย และสนับสนุนกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงกิจกรรมเหลานี้ไมเกิดขึ้นในชุมชนควนสันติและชุมชนปาลมซิตี้

Page 237: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

208

2) จากการศึกษาพบวารูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการในภาพรวมทั้ง 3 ชุมชน มีปจจัยดานคุณลักษณะของผูกอมูลฝอยเหมือนกัน คือประชากรจะตองมีอายุมากกวาหรือเทากับ 25 ป ประกอบอาชีพ รายไดมากกวาหรือเทากับ 5,000 บาทเดือน มีระยะเวลาอาศัยอยูในชุมชนนานกวากวา 5 ป ไดรับขอมูลขาวสาร และไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงคุณลักษณะสวนบุคคลดังกลาวมีผลตอกลไกขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคดัแยกมูลฝอย ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือน พบวาปจจัย อาชีพ การไดรับขอมูลขาวสาร ระยะเวลาอาศัยในชุมชน และไดรับผลตอบแทนจากการขายมูลฝอย มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ สุพรรณี พลอยพุม (2541) ไดศึกษาความรูและพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน พบวาปจจัยรายได การไดรับสื่อและขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย 3) จากการศึกษาพบวาปจจัยผูนําชุมชน เทศบาล (หนวยงานที่เกี่ยวของ) และ ซาเลง มีผลตอการคัดแยกมูลฝอยซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ ธนาพร ประสิทธิ์นราพันธ (2544) ไดศึกษา การจัดการขยะชุมชน: กรณีบานดงมอนกระทิง เทศบาลนครลําปาง พบวาปจจัยดานผูนําชุมชนมีผลตอการจัดการมูลฝอย ภัทราภรณ กฤษณะพันธ (2547) ไดศึกษาปจจัยบางประการที่มีความสัมพันธตอการคัดแยกมูลฝอยของครัวเรือน สุดธิดา สุวรรณะ (2545) ไดศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย และ สุพรรณี พลอยพุม (2541) ไดศึกษาความรู และพฤติกรรมการคัดแยกมูลฝอยของประชาชน พบวาปจจัยผูนําชุมชน และการจัดเก็บ และรวบรวม มูลฝอยของเทศบาล มีผลตอการจัดการมูลฝอย 4) จากการศึกษาพบวาพื้นที่ชุมชนกลางนาประสบความสําเร็จในการคัดแยก มูลฝอยมากที่สุด เนื่องจากชุมชนกลางนามีปจจัยสนับสนุนที่ขับเคลื่อนไปสูกลไกเพื่อนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ประกอบดวย 1) คุณลักษณะสวนบุคคล 2) ผูนําชุมชน 3) เทศบาล ซ่ึงเทศบาลจะมีการสนับสนุน การดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการคัดแยก ไดแก การจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท การจัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยแยกประเภท และ 4) ลักษณะบริบทจําเพาะของพื้นที่ 5) จากการศึกษาพบวาตัวช้ีวัดความสะอาด มีความหมาย และระดับความสะอาดที่แตกตางกัน ซ่ึงทําใหรูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการในการคัดแยกมูลฝอยจะนําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จความสะอาดมีความแตกตางกัน 6) จากการสํารวจเชิงประจักษพบวาในพื้นชุมชนควนสันติ ประชาชนคัดแยกเพื่อผลตอบแทนหรือรายไดจากการขายมูลฝอย เนื่องจากประชาชนในชุมชนควนสันติมีรายไดเฉลี่ยนอยกวาชุมชนกลางนา และชุมชนปาลมซิตี้

Page 238: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

209

4.5 ปญหา และอุปสรรคในการดําเนินการจัดการมูลฝอย 1) จากการสํารวจพบวาพื้นที่ชุมชนควนสันติ และชุมชนปาลมซิตี้ เทศบาล

(หนวยงานที่เกี่ยวของ) ไมมีการสงเสริม สนับสนุนในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย และขาดความตอเนื่องในการดําเนินงานอยางตอเนื่อง ทําใหชุมชนประสบความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยนอยกวาชุมชนกลางนา ซ่ึงเทศบาลไดเห็นถึงความสําคัญของปญหามูลฝอย และไดดําเนินงานสนับสนุน และสงเสริมเกี่ยวกับกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอยอยางตอเนื่อง ทําใหชุมชนกลางนาประสบความสําเร็จในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 2) ปญหาเรื่องภาชนะรองรับมูลฝอย จากการสํารวจพบวาพื้นที่ชุมชนควนสันติและชุมชนปาลมซิตี้ ไมมีภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิล สวนพื้นที่ชุมชน กลางนามีภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย และมูลฝอยรีไซเคิลแตบางจุดก็อยูในสภาพที่ไมเหมาะสม เชน ฝาปดภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรียไมมีทําใหเกิดกลิ่นเหม็นในบางจุด และเนื่องจากภาชนะรองรับมูลฝอยเปนพลาสติกเมื่อตั้งไวบริเวณกลางแจงจึงทําใหเกิดการผุพัง เสียหาย ไมสามารถรองรับมูลฝอยได ซ่ึงเมื่อประชาชนที่ทําการคัดแยกมูลฝอยแตก็ไมมีภาชนะรองรับ หรือภาชนะรองรับ มูลฝอยไมเหมาะสม ก็จะสงผลการจัดการมูลฝอย และการคัดแยกมูลฝอยของประชาชนในพื้นที่ 4.6 เสนอแนะ 1) จากการสํารวจพื้นที่จริงทั้ง 3 ชุมชนพบวาในสวนของตัวช้ีวัดความสะอาดในบางพื้นที่มีการจํากัดความคําวาความสะอาดที่แตกตางกันออกไป ทําใหเกิดความไมเขาใจระหวางตัวผูวิจัย และประชากรในพื้นที่ ดังนั้นในการวิจัยควรมีเกณฑในการกําหนดตัวช้ีวัดความสะอาดอยางชัดเจน แตในงานวิจัยนี้ไดทําการแกไขไปแลวสวนหนึ่ง เพื่อความนาเชื่อถือในการใชแบบสอบถามได และเกิดความเขาใจในทิศทางเดียวกัน

2) จากการศึกษาถาตองการใหพื้นที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย 100 เปอรเซ็นต ก็ตองมีปจจัยสนับสนุนทั้ง 3 ชุมชน เพื่อขับเคลื่อนใหเกิดกลไกที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จ ซ่ึงปจจัยที่สนับสนุน ประกอบดวย ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคล ปจจัยดานผูนําชุมชน ปจจัยดานเทศบาล และปจจัยดานซาเลง 3 ) จากการศึกษา จะเห็นวารูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยที่นําไปสูตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยในแตละพื้นที่จะมีความแตกตางกัน ดังนั้นในการนํารูปแบบความสัมพันธเชิงกระบวนการไปใช จะตองพิจารณาถึงพื้นที่หรือชุมชนที่มีความใกลเคียงกันชุมชนดังกลาว เชน ถาเปนชุมชนกลางนา ซ่ึงประสบความสําเร็จในการดําเนินการ คัดแยกมูลฝอย โดยมีปจจัยสนับสนุนประกอบดวย ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคล ปจจัยดานผูนาํ

Page 239: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

210

ชุมชน ปจจัยดานเทศบาล และปจจัยดานซาเลง ซ่ึงถาชุมชนอ่ืนๆ ตองการประสบความสําเร็จเหมือนชุมชนกลางนาก็ตองมีปจจัยดังกลาว 4) ในการนําปจจัยที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอยไปใชควรพิจารณาถึงความสัมพันธเชิงกระบวนการของปจจัยในรูปแบบของกลไกที่ใชขับเคลื่อนเพื่อนําไปสูความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ซ่ึงผลจากการสํารวจพบวาปจจัยดายเทศบาล และผูนําชุมชนจะตองมีความสัมพันธกันในเร่ืองของการประสานงานของหนวยงานเพื่อนําไปสูกิจกรรมเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย 5) การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อหาปจจัยหลักแหงความสําเร็จในการคัดแยก มูลฝอย: กรณีศึกษาชุมชนกลางนา ชุมชนควนสันติ และชุมชนปาลมซิตี้ อําเภอหาดใหญจังหวัดสงขลา ซ่ึงเปนเพียงสวนหนึ่งเทานั้น เพื่อที่จะนําไปสูความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย ดังนั้นจึงควรที่จะมีการศึกษาขอมูลเชิงปริมาณเพิ่มเติมเพื่อนํามาวิเคราะหความออนไหว เพื่อช้ีใหเห็นความสําคัญที่แตกตางกันของปจจัย หรือจัดลําดับวาควรที่จะเลือกทําปจจัยใดกอน

Page 240: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

218

ภาคผนวก

Page 241: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

219

ภาคผนวก ก

ท่ีมาของตัวชี้วัดความสําเร็จ และปจจยัท่ีมีผลตอการคัดแยกมูลฝอย

Page 242: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

220

ตาราง ก-1 ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

ตัวช้ีวัดความสําเรจ็ในการคัดแยกมลูฝอย แหลงขอมูล Z1 Z2 Z3 Z4 Z5 Z6 Z7 Z8

เทวัญ พัฒนาพงศศักดิ์, 2540 √ รังสรรค ปนทอง, 2534 √ √ สุนีย มัลลิกามาลย และคณะ, 2543 √ √ √ √ องคการสิ่งแวดลอมแหงสหภาพยโุรป, 2549 √ √ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, 2547 √ √ √ √ √

โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพือ่การคัดแยกมูลฝอย, 2549 √ √

การจัดการมลูฝอยชุมชนเมือง จังหวัดพิษณุโลก, 2548 √ √

การจัดการมลูฝอยเทศบาลเมืองทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช, 2546 √ √ √ √

ส่ิงแวดลอมภาคที ่3, 2548 √ √ √ ส่ิงแวดลอมภาคที ่1, 2547 √ √ √ √

รวม 7 8 5 5 1 1 1 1 รอยละ 70.0 80.0 50.0 50.0 10.0 10.0 10.0 10.0

โดย Z1= ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง Z2 = ปริมาณวัสดุที่เขาสูกระบวนการแปรรูป (Recycle คือ การหมุนเวียนนํากลับมาใชใหมโดยผานกระบวนการ แปรรูป เชนการอัด การหลอมละลาย หรือหลอขึ้นรูปใหม) Z3 = ปริมาณวัสดุที่นํากลับมาใชซ้ํา (Reuse คือ เปนการนําวัสดุของใชกลับมาใชซ้ําในรูปแบบเดิมหรือนํามา ซอมแซมใชใหม) Z4 = ชุมชนสะอาดขึ้น (ลดกลิ่นเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย ลดปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย ทําใหเกิด ทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) และลดปญหาแหลงเพาะพันธุและแพรกระจายของเชื้อโรค) Z5 = ประชากรสามารถทิ้งมูลฝอยแยกประเภทที่สามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมเพิ่มขึ้น Z6 = ความสามารถในการคัดแยกมูลฝอยไดถูกตอง Z7 = มูลฝอยที่คัดแยกไดเพิ่มขึ้น (รวมทั้งการคัดแยกเพื่อ Recycle และ Reuse) Z8 = สัดสวนของมูลคามูลฝอยมีมูลคาตอปริมาณมูลฝอยที่เพิ่มขึ้น (บาท/กิโลกรัม)

Page 243: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

221

ตาราง ก-2 ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคล

คุณลักษณะสวนบุคคล แหลงขอมูล X1 X2 X3 X4 X5 X6 X7 X8 D1 P1 C1

ภัทราภรณ กฤษณะพันธ, 2547 √ √ √ √ √ √ √

ไกรชาติ ตันตระการ และคณะ, 2549 √ √

สุนีย มัลลิกามาลย, 2543 √ √ สุดธิดา สุวรรณะ, 2545 √ √ √ √ √ สุพรรณี พลอยพุม, 2541 √ กมลศักด ธรรมศกัดิ์, 2545 √ วิภาเพ็ญ เจียสกุล, 2536 √ √ จินตนา ศรีนุกลู, 2534 √ ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธ, 2544 √

อรพรรณ มั่งมศีรี, 2543 √ √ √ รวม 2 4 3 2 1 1 2 1 2 4 3 รอยละ 20.0 40.0 30.0 20.0 10.0 10.0 20.0 10.0 20.0 40.0 30.0

โดย X1 = เพศ X2 = อายุ X3 = อาชพี X4 = รายได X5 = การศึกษา X6 = สถานภาพทางสังคม X7 = ระยะเวลาอาศัยในชุมชน X8 = ที่อยูอาศัย D1 = การไดรับส่ือขอมูลขาวสาร P1 = การมีสวนรวม C1 = ผลตอบแทน

Page 244: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

222

ตาราง ก-3 ปจจัยดานผูนําชุมชน

ผูนําชุมชน บทบาทของผูนําชุมชน คุณลักษณะของผูนํา แหลงขอมูล

E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E26 ภัทราภรณ กฤษณะพันธ, 2547 √ √ ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธ, 2544 √ โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพือ่การคัดแยกมูลฝอย, 2549 √ √ √ √ √ √ √

สุนีย มัลลิกามาลย, 2543 √ √ รวม 2 2 1 1 1 1 1 1 1 1 รอยละ 50.0 50.0 25.0 25.0 25.0 25.0 25.0 25.0 25.0 25.0

โดย E11 = รณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย E12 = ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย E13 = ใหความรู/จัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย E14 = มีการประสานงานระหวางหนวยงาน E21 = มีความนาเชื่อถอื E22 = มีความขยัน อดทน กระตือรือรน E23 = เปนตัวอยางในการคัดแยกมลูฝอย E24 = มีความเสียสละ E25 = รับฟงความคิดเห็น E26 = ใหความสนใจกับปญหามลูฝอย

Page 245: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

223

ตาราง ก-4 ปจจัยดานเทศบาล /หนวยงาน

เทศบาล/หนวยงาน บทบาทของเทศบาล/หนวยงาน ลักษณะของเทศบาล/หนวยงาน แหลงขอมูล

S1 S2 S3 T1 T2 T3 V1 V2 V3 V4 V5 เทวัญ พัฒนาพงศศักดิ์, 2540 √ สุรศักดิ์ สุนทรลาพ, 2537 √ √ สุนีย มัลลิกามาลย, 2543 √ √ √ √ √ ไกรชาติ ตันตระการ และคณะ, 2549 √ √

วิชาญ วงศวิวัฒน, 2536 √ ไพจิตร วสันตเสนานนท, 2548 √

โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพื่อการคัดแยกมูลฝอย, 2549

√ √ √ √ √

กรมควบคุมมลพษิ, 2547 √ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม, 2547

√ √ √ √

รวม 1 2 4 2 2 2 2 2 1 1 3 รอยละ 11.1 22.2 44.4 22.2 22.2 22.2 22.2 22.2 11.1 11.1 33.3

หมายเหตุ หนวยงาน/เทศบาล ในทีน่ี้หมายถึง หนวยงาน/เทศบาล ทีด่ําเนินการในการจดัเก็บและรวบรวมมูลฝอยในพื้นที ่โดย S1 = ระยะหางจากบานเรือนถึงจุดทิ้งมูลฝอย S2 = จัดวางภาชนะรองรับมลูฝอยเพียงพอ S3 = จัดวางภาชนะรองรับมลูฝอยเหมาะสม T1 = จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวันและเวลาที่กําหนด T2 = จัดเก็บมูลฝอยทั่วถึง T3 = จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท V1 = มีการสนับสนุนการการดาํเนนิการจัดการมูลฝอย V2 = สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน V3 = มีความมุงมั่นในการดําเนนิกจิกรรมการคัดแยกมูลฝอย V4 = มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกบัเทศบาล V5 = มีการติดตอส่ือสารและรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ

Page 246: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

224

ตาราง ก-5 ปจจัยดานโครงการ

โครงการ บทบาทของโครงการ ลักษณะของโครงการ แหลงขอมูล

R11 R12 R13 R14 R21 R22 R23 ธนาพร ประสิทธ์ินราพันธ, 2544 √ ภัทราภรณ กฤษณะพันธ, 2547 √ สุนีย มัลลิกามาลย, 2543 √ √ √ √ โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพือ่การคัดแยกมูลฝอย, 2549 √ √ √ √ √ √ √

รวม 2 2 3 1 1 1 3 รอยละ 50.0 50.0 75.0 25.0 25.0 25.0 75.0

โดย R11 = ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย R12 = รณรงคใหประชาชนทาํการคัดแยกมูลฝอย R13 = จัดกิจกรรมในการคัดแยกมลูฝอย R14 = มีการประสานงานระหวางองคกร R21 = มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย R22 = สนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย R23 = มีการดําเนนิงานอยางตอเนื่อง ตาราง ก-6 ปจจัยดานซาเลง

ซาเลง บทบาทซาเลง ลักษณะของซาเลง แหลงขอมูล

N11 N12 N21 N22 ภัทราภรณ กฤษณะพันธ, 2547 √ √ โครงการวิจัยรวมไทย-ญ่ีปุน เพือ่การคัดแยกมูลฝอย, 2549 √ √ √ √

รวม 1 2 1 2 รอยละ 50.0 100 50.0 100

โดย N11 = เขามารวบรวมมูลฝอย N12= ใหผลตอบแทนจากการรบั N21 = มีความซื่อสัตยในการรับซ้ือมูลฝอย N22 = ความถี่ในการรวบรวมมลูฝอย

Page 247: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

225

ภาคผนวก ข แบบสอบถาม

Page 248: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

226

แบบสอบถาม เร่ือง ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษาชุมชน ปาลมซิต้ี ชุมชนกลาง

นา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา คําชี้แจง แบบสอบถามทั้งหมดแบงออกเปน 2 สวน ขอความกรุณาตอบแบบสอบถามใหครบทุกขอเพื่อความสมบูรณแบบของแบบสอบถาม สวนที่ 1 ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย สวนที่ 2 ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยชุมชน 1.ช่ือผูใหขอมูล............................................................................... 2.ที่อยู.............................................................................................

Page 249: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

227

เลขท่ีแบบสอบถาม…………………. ชุมชน....................โซน....................... เร่ือง ปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนปาลมซิต้ี

ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา แบบสอบถามประกอบดวย 2 สวน สวนที่ 1 ตัวชี้วัดความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอย 1. ทานคิดวาตัวช้ีวัดความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยจากการดําเนินโครงการ นาจะพิจารณาจากอะไร (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) 1. ( ) ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง (เชน กระดาษ ขาดแกวพลาสติก โลหะ และอื่นๆ) 2. ( ) ปริมาณวัสดุเขาสูกระบวนการแปรรูป (เชนนํามาทําปุย นําหมักชีวภาพ) 3. ( ) ปริมาณวัสดุนํากลับมาใชซ้ํา 4. ( ) ความสะอาด (ลดปญหาเรื่องกลิ่นเหม็นเนา สัตวและแมลง ) 5. ( ) อื่นๆ (ระบุ) ………………………………………….. สวนที่ 2 ปจจัยในการคัดแยกมูลฝอย 1.ปจจัยดานคุณลักษณะสวนบุคคล

1.เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย

2.อายุ ……………………….ป 3.อาชีพ

( ) คาขาย ( ) รับจางทั่วไป ( ) เกษตรกรรม ( ) นักเรียน/นักศึกษา ( ) พนักงานบริษัท/ลูกจาง ( ) อื่นๆ…………………………

( ) รับราชการ 4. รายได ………………………………บาท/เดือน 5.ระดับการศึกษาสูงสุด

( ) ตํ่ากวามัธยมศึกษา ( ) ปริญญาตรี ( ) มัธยมศึกษา ( ) อื่นๆ........................................ ( ) อนุปริญญา

6. สถานภาพทางสังคมของทานคือ ( ) ประชาชนทั่วไป ( ) คณะกรรมการชุมชน ( ) ผูนําชุมชน ( ) สมาชิกกลุมในชุมชน

Page 250: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

228

7.ระยะเวลาที่อาศัยอยูในชุมชน ( ) มากกวา/เทากับ 5 ป ( ) นอยกวา 5 ป 8. ประเภทที่อยูอาศัย

( ) บานเดี่ยว ( ) ทาวนเฮาสหรืออาคารพาณิชย ( ) อพารทเมนท/แฟลต ( ) อื่นๆ……………….. ( ) หอพัก 9.พฤติกรรมในการจัดการมูลฝอย 9.1 ปจจุบันทานทําการคัดแยกมูลฝอยหรือไม

( ) คัดแยก (ตอบขอ 9.1.1) ( ) ไมคัดแยก (ตอบขอ 9.1.2) 9.1.1 ทานทําการคัดแยกมูลฝอยกอนทิ้งเนื่องจากอะไร (ตอบมากกวา 1 ขอ) ( ) ผูนําชุมชนมีบทบาทในการคัดแยกมูลฝอย ( ) ไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย

( ) เทศบาล/หนวยงานมีระบบจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกแลวอยางเหมาะสม ( ) ไดรับขอมูลขาวสารในเรื่อนของการคัดแยก ( ) อื่นๆ..............................................................................................

9.1.2 ทานไมทําการคัดแยกมูลฝอยกอนทิ้งเนื่องจากอะไร (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) ผูนําชุมชนไมมีบทบาทในการคัดแยกมูลฝอย ( ) ไมไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย ( ) เทศบาล/หนวยงานไมมีระบบจัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกแลวอยางเหมาะสม ( ) ไมไดรับขอมูลขาวสารในเรื่อนของการคัดแยก ( ) อื่นๆ...............................................................................................

10. ผลตอบแทน ทานไดรับผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยหรือไม ( ) ได ( ) ไมได

11. การไดรับสื่อและขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย 11.1 ทานไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยหรือไม ( ) ได

11.1.1 ทานไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอยจากแหลงใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) วิทยุ ( ) รถกระจายเสียง ( ) โทรทัศน ( ) เพื่อนบาน ( ) หนังสือพิมพ ( ) แผนพับ/ใบปลิว/แผนปาย ( ) หนังสือ/วารสาร/นิตยสาร ( ) อื่นๆ (ระบุ)…………… ( ) ผูนําชุมชน

Page 251: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

229

11.1.2 ความถี่ที่ทานไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการคัดแยกมูลฝอย ( ) 4-5 ครั้ง/ สัปดาห ( ) 2-3 ครั้ง/สัปดาห ( ) สัปดาหละครั้ง ( ) เดือนละครั้ง ( ) อื่นๆ.................................................................

( ) ไมได 11.2 การไดรับสื่อขอมูลขาวสารหรือการประชาสัมพันธในการคัดแยกมูลฝอยทําใหทานคัดแยกมูลฝอยใชหรือไม ( ) ใช ( ) ไมใช

12.การมีสวนรวมของประชาชนในการคัดแยกมูลฝอย 12.1 ทานเขามามีสวนรวมในการคัดแยกมูลฝอยอยางไรบาง ( ) มีสวนรวม 12.1.1 ทานเขามามีสวนรวมอยางไร

( ) การมีสวนรวมในการเสนอปญหาและสาเหตุของปญหาในการคัดแยกมูลฝอย ( ) การมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นหรือแนวทางดําเนินงานในการคัดแยก ( ) การมีสวนรวมในการคักแยกมูลฝอย ( ) การมีสวนรวมในการประเมินผลจากการคัดแยกมูลฝอยของชุมชน ( ) อื่นๆ (ระบุ)..........................................................

( ) ไมมีสวนรวม 2.ปจจัยดานผูนําชุมชน

2.1 บทบาทของผูนําชุมชนในการคัดแยกมูลฝอย 2.1.1 ทานคิดวาผูนําชุมชนมีบทบาทในการคัดแยกมูลฝอยหรือไม ( ) มี 2.1.1.1 บทบาทของผูนําชุมชนของทานที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) รณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย ( ) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ( ) ใหความรู/จัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย ( ) มีการประสานงานระหวางองคกร

( ) อื่นๆ (ระบุ) …………………………………………………… ( ) ไมมี

Page 252: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

230

2.2 คุณลักษณะของผูนําชุมชน 2.2.1 ลักษณะผูนําชุมชนของทานที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) มีความนาเชื่อถือ ( ) มีความขยัน อดทน กระตือรือรน

( ) เปนตัวอยางในการคัดแยกมูลฝอย ( ) มีความเสียสละ

( ) รับฟงความคิดเห็น ( ) ใหความสนใจกับปญหามูลฝอย

( ) อื่นๆ (ระบุ) ………………………… .

3.ปจจัยดานเทศบาล/หนวยงาน 3.1 บทบาทของเทศบาลใน การเก็บกักและรวบรวมมูลฝอย

3.1.1 ระยะหางจากบานทานถึงจุดทิ้งมูลฝอยประมาณเทาไหร ( ) นอยกวา 5 เมตร ( ) มากกวา/เทากับ 5 เมตร

3.1.2 ทานคิดวาปจจุบันที่รองรับมูลฝอยรวมมีเพียงพอแลวหรือไม ( ) เพียงพอ ( ) ไมเพียงพอ

3.1.3 ทานคิดวาปจจุบันที่รองรับมูลฝอยรวมมีความเหมาะสมหรือไม ( ) เหมาะสม

( ) ไมเหมาะสม เพราะอะไร …………………………………………… 3.1.4 การเก็บขนมูลฝอยตรงตามวันเวลาที่กําหนดหรือไม

( ) ตรงตามวันและเวลาที่กําหนด 1 มีการจัดเก็บมูลฝอยวัสดุรีไซเคิลอยางไร ( ) สัปดาหละ 2 ครั้ง ( ) เดือนละครั้ง

( ) สัปดาหละหนึ่งครั้ง ( ) อื่นๆ (ระบุ)…… ( ) 2-3 สัปดาห/ครั้ง 2 มีการจัดเก็บมูลฝอยอินทรียอยางไร ( ) ทุกวัน ( ) สัปดาหละครั้ง

( ) 2-3 วัน/ครั้ง ( ) อื่นๆ (ระบุ)……… ( ) 4-5 วัน/ครั้ง

3.มีการจัดเก็บมูลฝอยทั่วไปอยางไร ( ) ทุกวัน ( ) สัปดาหละครั้ง

( ) 2-3 วัน/ครั้ง ( ) อื่นๆ (ระบุ)……… ( ) 4-5 วัน/ครั้ง

Page 253: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

231

( ) ไมตรงตามวันและเวลาที่กําหนด 3.1.5 การเก็บขนมูลฝอยในพื้นที่มีการจัดเก็บอยางทั่วถึงหรือไม

( ) มีการเก็บขนมูลฝอยทั่วถึง ( ) ไมมีการการเก็บขนมูลทั่วถึง

3.1.6 การเก็บขนมูลฝอยในพื้นที่มีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภทหรือไม ( ) มีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท

( ) ไมมีการจัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท 3.2 คุณลักษณะของเทศบาล/หนวยงาน 3.2.1 คุณลักษณะของเทศบาล/หนวยงานที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) มีการสนับสนุนการการดําเนินการจัดการมูลฝอย ( ) สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ( ) มีความมุงมั่นในการดําเนินกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ( ) มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกับเทศบาล ( ) มีการติดตอสื่อสารและรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ 4.ปจจัยดานโครงการ

4.1 บทบาทของโครงการ (ตอบมากกวา 1 ขอ) 4.1.1 ทานคิดวาโครงการมีบทบาทในการจัดการมูลฝอยอยางไรบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย ( ) รณรงคใหประชาชนทําการคัดแยกมูลฝอย ( ) จัดกิจกรรมในการคัดแยกมูลฝอย

( ) อื่นๆ (ระบุ) ………………………………… 4.2 คุณลักษณะของโครงการ (ตอบมากกวา 1 ขอ)

4.2.2 คุณลักษณะของโครงการที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ( ) มีการประสานงานระหวางองคกร ( ) มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย ( ) มีการสนับสนุนการดําเนินการคัดแยกมูลฝอย ( ) มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

( ) อื่นๆ (ระบุ) ……………………………………

Page 254: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

232

5.ปจจัยดานซาเลง 5.1 บทบาทของซาเลง

5.1.1 ทานคิดวาซาเลงมีบทบาทในการจัดการมูลฝอยอยางไรบาง (ตอบมากกวา 1 ขอ) ( ) เขามารวบรวมมูลฝอย ( ) ใหผลตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอย ( ) อื่นๆ (ระบุ)..................................

5.2 คุณลักษณะของซาเลง 5.2.5 คุณลักษณะของซาเลงที่มีผลตอการคัดแยกมูลฝอย (ตอบมากกวา 1 ขอ)

( ) มีความซื่อสัตยในการรับซื้อมูลฝอย ( ) ความถี่ในการรวบรวมมูลฝอย………………..ครั้ง/สัปดาห

( ) อื่นๆ (ระบุ)..................................

(ขอขอบคุณเปนอยางสูงที่ไดใหความรวมมือ)

Page 255: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

233

ภาคผนวก ค ตัวแปรที่ใชในการเก็บขอมูลจากแบบสอบถาม

Page 256: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

234

ตาราง ค-1 ช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย

ตัวช้ีวัดความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอย ตัวแปร 1) ปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง Z1 2) ปริมาณวัสดุที่เขาสูกระบวนการแปรรูป Z2 3) ปริมาณวัสดุเพื่อนํากลับมาใชซํ้า Z3 4) ความสะอาด Z4

ตาราง ค-2 ปจจัยคุณลักษณะสวนบุคคล

คุณลักษณะสวนบุคคล ตัวแปร 1) เพศ X1 - เพศหญิง X11 - เพศชาย X12 2) อายุ X2 - อายุมากกวา/เทากบั25 ป X21 - อายุนอยกวา 25 ป X22 3) อาชีพ X3 - อาชพีคาขาย X31 - อาชีพรับจางทั่วไป X32 - อาชีพเกษตรกร X33 - นักเรียน/นกัศึกษา X34 - อาชีพพนกังานบริษทั/ลูกจาง X35 - อาชีพรับราชการ X36 - อาชีพอื่นๆ X37 4) รายได X4 - รายไดมากกวา/เทากับ 5,000 บาท/เดือน X41 - รายไดต่ํากวา 5,000 บาท/เดอืน X42 5) การศึกษา X5 - ต่ํากวาปริญญาตรี X51 - ปริญญาตรีข้ึนไป X52 6) สถานภาพทางสังคม X6 - ประชาชนทั่วไป X61 - ผูนําชุมชน X62 - คณะกรรมการชุมชน X63 - สมาชิกกลุมในชุมชน X64

Page 257: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

235

ตาราง ค-2 (ตอ)

คุณลักษณะสวนบุคคล ตัวแปร 7) ระยะเวลาอาศัยในชุมชน X7 - อยูอาศัยในชุมชนนานกวา/เทากับ 5 ป X71 - อยูอาศัยในชุมชนนอยกวา 5 ป X72 8) ประเภทที่อยูอาศัย X8 - บานเดี่ยว X81

- อพารเมนท /แฟต X82 - หอพัก X83 - ทาวนเฮาส/อาคารพาณิชย X84 - หองแถว X85 9) ผลตอบแทน C1 - ไดรายไดจากการขายมูลฝอยที่คัดแยก C11 - ไดนํามลูฝอยกลับมาใชประโยชนไดใหม C12 - ไดส่ิงของตอบแทนจากการคัดแยกมูลฝอยจากเทศบาล/หนวยงานที่เกี่ยวของ C13 - ไมไดรับผลตอบแทนใดๆ C14 10) การไดรับสื่อและขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย D1 - วิทยุ D11 - โทรทัศน D12 - หนังสือพมิพ D13 - หนังสือ/วารสาร/นิตยสาร D14 - ผูนําชุมชน D15 - รถกระจายเสียง D16 - เพื่อนบาน D17 - แผนพบั/ใบปลวิ/แผนปาย D18 11) การมีสวนรวมของประชาชนในชุมชน P1 - การมีสวนรวมในการเขารวมกิจกรรม P11 - การมีสวนรวมในการเขารวมแสดงความคิดเห็นในการคัดแยกมูลฝอย P12 - การมีสวนรวมในการติดตาม/ตรวจสอบ ผลจากกิจกรรม P13

Page 258: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

236

ตาราง ค-3 ปจจัยดานผูนําชุมชน

2. ผูนําชุมชน E 2.1 บทบาทของผูนําในการคัดแยกมูลฝอย E1 - รณรงคเรื่องการคัดแยกมูลฝอย E11 - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย E12 - ใหความรู/จัดอบรมในเรื่องการคัดแยกมูลฝอย E13 - มีการประสานงานระหวางหนวยงาน E14 2.2 ลักษณะของผูนํา E2 - มีความนาเชื่อถอื E21 - มีความขยัน อดทน กระตือรือรน E22 - เปนตัวอยางในการคัดแยกมลูฝอย E23 - มีความเสียสละ E24 - รับฟงความคิดเห็น E25 - ใหความสนใจกับปญหามลูฝอย E26

ตาราง ค-4 ปจจัยดานโครงการ

3. โครงการ R 3.1 บทบาทของโครงการ R1 - ใหขอมูลขาวสารในการคัดแยกมูลฝอย R11 - รณรงคใหประชาชนทาํการคัดแยกมูลฝอย R12 - จัดกิจกรรมในการคัดแยกมลูฝอย R13 - มีการประสานงานระหวางองคกร R14 3.2 ลักษณะของโครงการ R2 - มีการสงเสริมกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย R21 - มีการสนับสนุนการดําเนนิงาน R22 - มีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง R23

Page 259: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

237

ตาราง ค-5 ปจจัยเทศบาลหรอืหนวยงาน

4.เทศบาลหรือหนวยงาน M 4.1 บทบาทของเทศบาล/หนวยงาน - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยหางจากจุดคัดแยกถึงจุดทิ้งมลูฝอยใกล (0-5 เมตร) S11 - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเพียงพอ S21 - จัดวางภาชนะรองรับมูลฝอยเหมาะสม S31 - จัดเก็บมูลฝอยตรงตามวันและเวลาที่กําหนด T11 - จัดเก็บมูลฝอยอยางทัว่ถึง T21 - จัดเก็บมูลฝอยแยกประเภท T31 4.2 ลักษณะของเทศบาล/หนวยงาน V - มีการสนบัสนุนการดําเนนิการจัดการมูลฝอย V1 - สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน V2 - มีความมุงมั่นในการดําเนนิกิจกรรมการคัดแยกมูลฝอย V3 - มีความสัมพันธเชิงบวกระหวางชุมชนกบัเทศบาล V4 - มีการติดตอส่ือสารและรณรงคการคัดแยกอยางสม่ําเสมอ V5

ตาราง ค-6 ปจจัยดานซาเลง

5.ซาเลง ตัวแปร 5.1 บทบาทของซาเลง N1 - การเขามารวบรวมมูลฝอย/รับซ้ือมูลฝอย N11 - การใหผลตอบแทน N12 5.2 ลักษณะของซาเลง N2 - มีความซื่อสัตยในการรับซ้ือมูลฝอย N21 - ความถี่ในการรวบรวมมลูฝอย N22

Page 260: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

238

ภาคผนวก ง

จํานวน และรอยละของปจจัยท่ีนําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จในแตละโซนของแตละพื้นที่

Page 261: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

239ตาราง ง-1 จํานวนและรอยละของปจจัยที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จสูงสุดในแตละโซนของพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 4 1 2 1 4 2 2 4 3 1 4รอยละ 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 25.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 1

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25

1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1

รวม 2 3 3 2 4 2 3 2 3 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 100.0 50.0 0.0 75.0 50.0 0.0 75.0 25.0

โซน 1

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V5

1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 2 2 2 3 3 3 3 4 4 4 3รอยละ 0.0 25.0 50.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 75.0 75.0 75.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 75.0 0.0

โซน 1

Page 262: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

240ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 2 1 3 1 2 2 1 2 1 3รอยละ 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 2

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25

1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 3 2 2 3 1 2 2 1 3รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 100.0 33.3 0.0 66.7 66.7 33.3 100.0 0.0

โซน 2

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V5

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 2 3 3 1 2 2 2 3 1 1 2 3 2 1รอยละ 0.0 100.0 100.0 66.7 0.0 100.0 100.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 66.7 66.7 100.0 33.3 33.3 66.7 100.0 66.7 33.3 0.0

โซน 2

Page 263: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

241ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 3 3 1 2 3 3 3รอยละ 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 3

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E251 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 1 2 3 3 2 3 1 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 66.7 100.0 33.3 33.3 0.0

โซน 3

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 1 1 1 2 2 3 3 3 3 1 3 3 2 1รอยละ 33.3 66.7 33.3 33.3 0.0 33.3 66.7 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 100.0 33.3 0.0 100.0 100.0 66.7 33.3 0.0

โซน 3

Page 264: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

242ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 1 1 1 3 2 1 3 1 2 3รอยละ 33.33 66.67 0 100 0 0 0 33.3 0 0 33.33 0 33.33 0 100 0 0 66.67 33.33 0 100 0 0 0 0 33.3 66.7 0 0 0 0 100

โซน 4

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E251 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 2 1 2 1 2 2 1 2 1 2รอยละ 0 0 0 0 0 0 0 66.7 0 0 33.33 0 0 66.7 0 0 0 0 0 33.3 66.67 66.67 33.3 0 66.67 0 0 33.33 66.7

โซน 4

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 2 2 2 1 2 2 1 1 1 1 1 2 3 2 1 3 1 1 2 1รอยละ 66.7 66.7 66.7 0.0 0.0 33.3 66.7 66.7 33.3 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 66.7 100.0 66.7 33.3 100.0 33.3 33.3 66.7 0.0 0.0 33.3

โซน 4

Page 265: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

243ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 4 2 1 2 4 2 2 4 3 1 4รอยละ 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 25.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 5

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25

1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1

รวม 1 1 3 2 1 3 3 3 3 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 75.0 50.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 75.0 0.0 75.0 0.0 0.0 75.0 50.0

โซน 5

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V5

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 2 2 4 4 4 3 4 4 4 1 2รอยละ 0.0 50.0 50.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 75.0 100.0 0.0 100.0 100.0 25.0 50.0 0.0

โซน 5

Page 266: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

244ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 1 2 3 1 2 3 3 3รอยละ 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 6

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E251 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 1 1 2 3 1 3 1 1 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 66.7 100.0 33.3 0.0 100.0 33.3 33.3 0.0 66.7

โซน 6

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 2 1 2 2 2 3 3 3 3 3 2 2 3 3 1รอยละ 33.3 66.7 66.7 33.3 0.0 66.7 66.7 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 66.7 66.7 100.0 100.0 33.3 0.0

โซน 6

Page 267: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

245ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 4 1 1 2 4 1 3 4 4 1 3รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 25.0 50.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 25.0 75.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 75.0

โซน 7

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25

1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1

รวม 1 1 2 3 3 4 2 4 1 1 3รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 100.0 50.0 0.0 100.0 25.0 25.0 75.0 0.0

โซน 7

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 3 3 1 2 1 1 1 3 4 4 2 4 3 2 2 2 1รอยละ 75.0 75.0 0.0 25.0 0.0 75.0 75.0 25.0 50.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 0.0 75.0 100.0 100.0 50.0 100.0 0.0 75.0 50.0 50.0 50.0 25.0

โซน 7

Page 268: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

246ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 3 1 1 1 1 1 1 3 1 1 3 4 2 2 2 2รอยละ 75.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 25.0 75.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0

โซน 8

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25

1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1

รวม 1 1 3 2 3 3 3 3รอยละ 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 0.0 75.0 75.0 0.0 75.0 0.0 0.0

โซน 8

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V5

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1

รวม 3 3 2 3 3 3 3 3 3 3 4 3 4 3 3 3รอยละ 75.0 75.0 0.0 0.0 0.0 50.0 75.0 0.0 75.0 0.0 0.0 75.0 75.0 0.0 75.0 0.0 0.0 75.0 75.0 100.0 75.0 100.0 0.0 75.0 75.0 75.0 0.0 0.0

โซน 8

Page 269: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

247ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 4 1 3 4 3 1 4 3 1 4รอยละ 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 75.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 9

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25

1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 4 1 2 1 2 4 1 4 3 2 1รอยละ 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 25.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 50.0 100.0 25.0 0.0 100.0 75.0 50.0 25.0 0.0

โซน 9

ตาราง ง-1 (ตอ) ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V5

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 4 3 4 2 1 3 3 3 2 2 4 4 3 4 2 4 4 4รอยละ 50.0 50.0 100.0 0.0 0.0 75.0 100.0 50.0 25.0 0.0 75.0 75.0 0.0 75.0 50.0 50.0 100.0 100.0 75.0 100.0 50.0 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0

โซน 9

Page 270: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

248ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 0 3 1 1 1 3 0 3 3 3 1 2รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7

โซน 10

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E251 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1

รวม 1 3 1 2 3 1 3 3 1รอยละ 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 100.0 33.3 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 33.3

โซน 10

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 3 3 3 3 1 1 1 1 1 3 1 2 1 3 1 3 3 2รอยละ 66.7 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 100.0 33.3 0.0 33.3 33.3 33.3 0.0 33.3 0.0 100.0 33.3 66.7 33.3 100.0 33.3 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0

โซน 10

Page 271: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

249ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X841 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 1 1 1 2 1 3 3 3 3รอยละ 66.67 33.33 0 100 0 0 0 33.3 0 0 33.33 0 33.33 0 66.67 33.33 0 100 0 0 100 0 0 0 0 100 0 0 0 0 0 100

โซน 11

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E251 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1

รวม 1 3 2 1 3 1 3 2 1รอยละ 0 0 0 0 0 0 0 33.3 0 0 100 0 0 66.7 0 0 0 0 0 0 33.33 100 33.3 0 100 66.67 0 33.33 0

โซน 11

ตาราง ง-1 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 3 3 2 1 2 3 3 2 3 2 2 1 1 1รอยละ 100 100 33.33 0 0 100 100 66.67 33.33 0 0 0 0 0 0 66.67 100 100 66.67 100 0 66.7 66.67 33.3 33.3 33.3

โซน 11

Page 272: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

250ตาราง ง-2 จํานวนและรอยละของปจจัยที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จสูงสุดในแตละโซนของพื้นที่ชุมชนกลางนา

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 4 1 2 1 4 3 1 4 4 3 1รอยละ 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 25.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 25.0 0.0

โซน 1

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1

รวม 1 4 1 1 1 1 3 4 3 4 4 1 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 100.0 25.0 0.0 25.0 0.0 25.0 0.0 0.0 25.0 0.0 75.0 100.0 75.0 0.0 100.0 100.0 0.0 25.0 50.0 0.0

โซน 1

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 4 2 2 4 4 4 2 4 3 3 4 3 4 4 1 1รอยละ 50.0 100.0 50.0 50.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 100.0 75.0 75.0 100.0 75.0 100.0 100.0 25.0 25.0 0.0

โซน 1

Page 273: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

251ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3รอยละ 66.67 33.33 0 100 0 0 0 66.7 0 0 0 33.33 0 0 100 0 0 66.7 33.3 0 100 0 0 0 0 66.7 33.33 0 0 0 0 100 0

โซน 2

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1

รวม 1 1 2 1 2 2 1 1 2 2 1 2รอยละ 0 0 0 0 0 0 0 0.0 33.3 33.3 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 0.0 33.3 66.7 0.0

โซน 2

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 2 2 2 1 1 1 2 3 3 2 1 2 2 2 1รอยละ 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 66.7 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 100.0 100.0 66.7 33.3 66.7 66.7 66.7 33.3 0.0

โซน 2

Page 274: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

252ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 2 1 3 1 2 3 3 2 1รอยละ 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 3

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 3 1 3 3 3 1 1 3 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 33.3 33.3 100.0 33.3 0.0

โซน 3

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 2 1 2 3 3 1 1 1 3 2 2 3 2 1 3 2 3 1รอยละ 100.0 66.7 33.3 66.7 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 0.0 100.0 66.7 66.7 100.0 66.7 33.3 100.0 66.7 100.0 0.0 33.3

โซน 3

Page 275: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

253ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 4 2 2 4 2 2 4 4 2 2รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 4

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 2 3 1 1 4 4 4 4 4 4 4รอยละ 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0

โซน 4

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 2 2 2 2 2 2 4 2 4 4 4 2 4 4 2รอยละ 50.0 50.0 50.0 0.0 0.0 50.0 50.0 50.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 100.0 50.0 100.0 100.0 100.0 50.0 100.0 100.0 0.0 50.0 0.0

โซน 4

Page 276: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

254ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 4 4 3 1 4 3 1 4 4 4รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 5

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 2 2 4 4 2 4 4 1 3รอยละ 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 50.0 0.0 100.0 100.0 25.0 0.0 0.0 75.0

โซน 5

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 4 2 4 4 2 2 2 2 2 2 2 2 4 4 4 4 3รอยละ 50.0 100.0 50.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 50.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 50.0 50.0 50.0 50.0 100.0 100.0 100.0 100.0 75.0 0.0 0.0

โซน 5

Page 277: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

255ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 3 1 1 1 1 1 3 1 2 2 3 1 3 1 1 2 1รอยละ 75.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 0.0 25.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 50.0 50.0 0.0 75.0 0.0 0.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 25.0 0.0 0.0 50.0 25.0

โซน 6

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1

รวม 1 1 3 1 1 1 3 2 1 3 1 2 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 75.0 50.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 50.0 25.0 0.0

โซน 6

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1

รวม 3 2 1 3 3 1 1 4 4 2 4 2 2 3 1 1 2รอยละ 75.0 50.0 25.0 0.0 0.0 75.0 75.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 100.0 100.0 50.0 100.0 50.0 50.0 75.0 25.0 25.0 50.0

โซน 6

Page 278: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

256ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 1 2 3 1 2 3 3 2 1รอยละ 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 7

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 3 1 2 3 2 2 2 2 3รอยละ 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 100.0 66.7 0.0 66.7 66.7 66.7 100.0 0.0 0.0

โซน 7

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 1 2 3 3 3 2 1 3 3 1 1 1รอยละ 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 0.0 66.7 100.0 100.0 100.0 66.7 33.3 100.0 100.0 33.3 33.3 33.3

โซน 7

Page 279: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

257ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 4 2 1 1 4 2 2 4 4 2 2รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 8

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 1 1 1 4 4 4 1 1รอยละ 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 25.0 0.0 25.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 25.0 0.0 0.0 0.0 25.0

โซน 8

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 3 3 2 2 3 2 1 2 2 2 4 4 4 4 4 2 4 4 2รอยละ 50.0 75.0 75.0 50.0 0.0 50.0 75.0 50.0 25.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 50.0 100.0 100.0 50.0 0.0 0.0

โซน 8

Page 280: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

258ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 2 1 2 1 3 2 1 3 2 1 2 1รอยละ 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 9

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 1 2 3 3 3 2 2 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 100.0 0.0 0.0 100.0 100.0 66.7 66.7 33.3 0.0

โซน 9

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 2 1 3 3 2 1 2 3 3 3 3 1 3 3 1 1รอยละ 100.0 100.0 66.7 33.3 0.0 100.0 100.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 100.0 100.0 100.0 100.0 33.3 100.0 100.0 33.3 33.3 0.0

โซน 9

Page 281: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

259ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 2 1 1 1 2 2 1 1 2 3 2 1 2 1รอยละ 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 0.0 33.3 0.0 0.0

โซน 10

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 1 2 1 1 2 2 1 1 2 1 2 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 66.7 33.3 33.3 66.7 33.3 0.0 0.0 66.7 66.7

โซน 10

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 1 2 3 1 1 3 2 1 2 1 1รอยละ 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 0.0 66.7 100.0 33.3 33.3 100.0 66.7 33.3 66.7 33.3 33.3 0.0

โซน 10

Page 282: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

260ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 2 3 1 2 3 3 2 1รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 11

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 1 3 3 1 3 1 2 1 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 100.0 100.0 33.3 0.0 100.0 33.3 0.0 66.7 33.3 33.3

โซน 11

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 3 1 3 2 1 2 2 2 2 1 1 2 3 3 3 2 2 2 1 2 1รอยละ 66.7 66.7 100.0 33.3 0.0 100.0 66.7 33.3 66.7 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 33.3 33.3 66.7 100.0 100.0 100.0 66.7 66.7 66.7 33.3 66.7 33.3

โซน 11

Page 283: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

261ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X85โซน 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1

2 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 3 1 2 1 1 3 2 2 4 3 1 1 2 1รอยละ 50.0 50.0 0.0 75.0 25.0 0.0 50.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 25.0 0.0 0.0 50.0 25.0

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E26โซน 12 1 1 1 1 1 1 1

2 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1

รวม 2 1 3 2 1 1 3 3 3 3รอยละ 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 75.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 75.0 75.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V5โซน 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1

รวม 2 3 1 3 3 1 1 2 2 2 3 4 3 1 2 3 3 3 1 1 1รอยละ 50.0 75.0 25.0 0.0 0.0 75.0 75.0 0.0 25.0 25.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 75.0 100.0 75.0 25.0 50.0 75.0 75.0 75.0 25.0 25.0 25.0

Page 284: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

262ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 3 1 1 1 1 1 3 1 2 2 4 3 1 2 2รอยละ 75.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 13

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1

รวม 1 3 1 1 1 1 1 3 3 2 3 1 3 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 75.0 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 0.0 25.0 25.0 25.0 0.0 75.0 75.0 50.0 0.0 75.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0

โซน 13

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1

รวม 2 2 2 1 2 1 2 3 4 2 2 4 2 2 3 2 1รอยละ 0.0 50.0 50.0 50.0 0.0 0.0 25.0 50.0 25.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 75.0 100.0 50.0 50.0 100.0 50.0 50.0 75.0 0.0 50.0 25.0

โซน 13

Page 285: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

263ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 4 4 1 2 1 4 3 1 4 4 2 2รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 25.0 50.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 14

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 4 2 2 2 4 3 1 1 4 3 2 1 1 1รอยละ 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 100.0 75.0 25.0 25.0 100.0 75.0 50.0 25.0 25.0 25.0

โซน 14

ตาราง ง-2 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 2 4 4 2 1 1 1 1 1 4 2 4 4 3 4 4 2 2รอยละ 0.0 75.0 75.0 50.0 0.0 0.0 100.0 100.0 50.0 25.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 0.0 25.0 100.0 50.0 100.0 100.0 75.0 100.0 100.0 50.0 0.0 50.0

โซน 14

Page 286: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

264ตาราง ง-3 จํานวนและรอยละของปจจัยที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จสูงสุดในแตละโซนของพื้นที่ชุมชนควนสันติ

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 3 3 3 3 3 3รอยละ 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 1

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 2 1 1 3 3 2 3 3 3 2รอยละ 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 100.0 100.0 66.7 0.0 100.0 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0

โซน 1

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 1 2 2 2 1 1 1 3 3 3 3 2 3 3 2รอยละ 66.7 66.7 33.3 0.0 0.0 66.7 66.7 66.7 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 100.0 66.7 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0

โซน 1

Page 287: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

265ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 2 1 2 1 3 2 1 3 2 1 3รอยละ 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 2

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 1 2 1 2 2 2 2 2 2 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 33.3 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 66.7 66.7 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 0.0 0.0

โซน 2

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 2 1 3 2 3 3 3 3 2รอยละ 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 100.0 66.7 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0

โซน 2

Page 288: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

266ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 2 1 2 1 3 2 1 3 2 1 3รอยละ 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 2

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 1 2 1 2 2 2 2 2 2 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 33.3 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 66.7 66.7 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 0.0 0.0

โซน 2

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 2 1 3 2 3 3 3 3 2รอยละ 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 100.0 66.7 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0

โซน 2

Page 289: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

267ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 0 2 2 2 2 2 2 2รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 3

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 2 2 1 2 2 2 1 1 2 1รอยละ 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 100.0 100.0 100.0 50.0 50.0 0.0 100.0 50.0 0.0

โซน 3

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 1 2 2 2 1 1 2 2 2 2 2 1 2 2 1รอยละ 100.0 100.0 100.0 50.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 50.0 0.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 50.0 100.0 100.0 0.0 50.0 0.0

โซน 3

Page 290: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

268ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 1 2 2 1 2 1 2 1 3 2 1รอยละ 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 4

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 3 3 3 3 3 3 1 3 3 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 33.3 100.0 100.0 66.7 0.0

โซน 4

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 2 2 2 3 1 3 3 3 2 3 1 2รอยละ 33.3 33.3 33.3 0.0 0.0 33.3 33.3 33.3 0.0 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 0.0 100.0 33.3 100.0 100.0 100.0 66.7 100.0 33.3 0.0 66.7 0.0

โซน 4

Page 291: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

269ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 1 4 2 1 1 3 1 3 1 4 4 2 1รอยละ 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 75.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 25.0

โซน 5

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 1 4 2 4 4 3 4 3 1 2รอยละ 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 75.0 0.0 100.0 75.0 0.0 25.0 0.0 50.0

โซน 5

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 3 3 3 1 1 1 2 4 4 4 4 4 4 2 1รอยละ 75.0 75.0 25.0 0.0 0.0 75.0 75.0 75.0 0.0 0.0 25.0 25.0 0.0 25.0 0.0 50.0 100.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 50.0 25.0 0.0

โซน 5

Page 292: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

270ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 2 2 1 1 2 3 3 1 2รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 66.7 33.3 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0

โซน 6

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 3 1 3 3 3 3 2 2 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 66.7 66.7 33.3 0.0 0.0

โซน 6

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 2 2 1 3 3 3 3 2 3 3 3รอยละ 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 100.0 100.0 100.0 100.0 66.7 100.0 100.0 0.0 100.0 0.0

โซน 6

Page 293: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

271ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 1 1 1 2 2 1 3 3 1 3รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 33.3 0.0 33.3 66.7 0.0 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 7

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1

รวม 2 3 3 1 2 2 2 2 2 2 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 100.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 66.7 66.7 66.7 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 66.7 0.0

โซน 7

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 3 3 1 3 3 1 3 3 3 3 3รอยละ 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 33.3 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 100.0 0.0

โซน 7

Page 294: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

272ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 1 1 2 1 1 2 2 1 1รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 8

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 2 2 2 2 2 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 0.0 100.0

โซน 8

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2รอยละ 0.0 50.0 50.0 50.0 0.0 50.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 100.0 0.0

โซน 8

Page 295: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

273ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 2 1 1 1 1 2 2 1 1 2รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0

โซน 9

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1รอยละ 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0

โซน 9

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2รอยละ 50.0 50.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 50.0 50.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0

โซน 9

Page 296: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

274ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 2 1 3 3 1 2 3 2 1รอยละ 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 10

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 3 1 3 3 3 3 2 1รอยละ 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 66.7 33.3 0.0

โซน 10

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 2 3 3 3 2 1 1 1 1 2 1 2 3 3 2 2 1 2 1รอยละ 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 66.7 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 66.7 33.3 66.7 100.0 100.0 0.0 66.7 66.7 33.3 66.7 33.3

โซน 10

Page 297: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

275ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 4 3 1 4 4 4 4 2 2 1รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 25.0

โซน 11

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1

รวม 4 3 4 4 1 3 2 1 1 2รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 25.0 0.0 75.0 50.0 0.0 25.0 25.0 50.0

โซน 11

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 4 1 3 4 1 1 1 2 3 4 4 4 3 4 1 2รอยละ 75.0 100.0 25.0 0.0 0.0 75.0 100.0 25.0 25.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 75.0 100.0 100.0 100.0 0.0 75.0 100.0 25.0 50.0 0.0

โซน 11

Page 298: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

276ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 1 2 3 3 3 3 1 2 3รอยละ 33.3 66.7 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 12

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 13 1 1

รวม 2 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1รอยละ 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 33.3 0.0 33.3 0.0

โซน 12

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 2 1 3 3 3 3 3 2รอยละ 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 66.7 0.0 0.0

โซน 12

Page 299: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

277ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 1 2 3 3 3 3 1 2 2 1รอยละ 66.7 33.3 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3

โซน 13

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 13 1

รวม 1 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1รอยละ 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 33.3 33.3 0.0 0.0

โซน 13

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 3 3 3 3 3 1รอยละ 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 33.3 0.0 0.0

โซน 13

Page 300: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

278ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 2 1 1 2 1 1 2 2 2รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 14

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 2 1 1 2 2 2 2 1 1 2 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 50.0 0.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 100.0 50.0 0.0 50.0 100.0 50.0

โซน 14

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 1 2 2 1รอยละ 50.0 50.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 50.0 50.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 100.0 100.0 100.0 100.0 50.0 100.0 100.0 0.0 50.0 0.0

โซน 14

Page 301: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

279ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 1 2 1 1 1 3 3 3 1 2 3รอยละ 33.3 66.7 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 15

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 13 1 1

รวม 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 33.3 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 33.3 33.3 0.0 0.0

โซน 15

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 1 1 3 2 3 3 3 3รอยละ 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 66.7 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 0.0 0.0

โซน 15

Page 302: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

280ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 2 1 1 2 3 2 1 2 1 2 1รอยละ 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 0.0 0.0 33.3 0.0

โซน 16

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 3 1 1 2 3 3 3 3 2 1รอยละ 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 66.7 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0 0.0 66.7 33.3 0.0

โซน 16

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 1 1 2 1 1 2 3 3 3 1 3 2 1 2รอยละ 0.0 66.7 33.3 0.0 33.3 33.3 66.7 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 100.0 100.0 100.0 33.3 100.0 66.7 33.3 66.7 0.0

โซน 16

Page 303: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

281ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 2 1 1 1 1 3 1 2 3 2 1 3รอยละ 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 17

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1

รวม 1 2 2 2 2 2 2 1 2 2 1 2รอยละ 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 66.7 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 66.7 33.3 0.0 66.7 66.7 33.3 66.7 0.0 0.0

โซน 17

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 1 2 1 1 1 1 1 1 1 3 1 2 3 3 1 3 3 1 1รอยละ 66.7 66.7 33.3 0.0 0.0 66.7 33.3 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 100.0 33.3 66.7 100.0 100.0 33.3 100.0 100.0 33.3 0.0 33.3

โซน 17

Page 304: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

282ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 1 1 3 1 2 3 2 1 3รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 33.3 0.0 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0

โซน 18

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 3 3 1 3 3 2 3 3 2 3รอยละ 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 100.0 100.0 66.7 0.0 100.0 100.0 66.7 100.0 0.0 0.0

โซน 18

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 1 3 2 1 1 1 1 1 3 1 1 3 3 1 3 2รอยละ 100.0 100.0 33.3 0.0 0.0 100.0 66.7 33.3 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 33.3 33.3 100.0 33.3 33.3 100.0 100.0 33.3 100.0 66.7 0.0 0.0 0.0

โซน 18

Page 305: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

283ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 1 1 1 3 3 3 3 1 2รอยละ 33.3 66.7 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0

โซน 19

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 3 2 3 1 2 3 1 2 2รอยละ 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 100.0 33.3 0.0 66.7 100.0 33.3 66.7 66.7 0.0

โซน 19

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 3 3 3 3 1 3 1 2 2 2 2 1 1 2 2 2 2 2 2 1 1รอยละ 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 33.3 100.0 33.3 0.0 66.7 66.7 0.0 66.7 66.7 33.3 33.3 66.7 66.7 66.7 66.7 66.7 66.7 0.0 33.3 33.3

โซน 19

Page 306: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

284ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 4 3 1 4 4 2 2 4 2 2รอยละ 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 75.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 25.0 0.0 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 20

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 1 4 2 1 4 4 1 2 4 2 2 2รอยละ 0.0 25.0 25.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 25.0 0.0 0.0 0.0 100.0 100.0 25.0 0.0 50.0 100.0 0.0 50.0 50.0 50.0

โซน 20

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 4 4 3 4 3 4 2 2 2 1 4 2 3 4 4 1 3 3 3 1 1รอยละ 100.0 100.0 75.0 0.0 0.0 100.0 75.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 50.0 25.0 100.0 50.0 75.0 100.0 100.0 25.0 75.0 75.0 75.0 25.0 25.0

โซน 20

Page 307: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

285ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 3 1 1 1 2 1 2 1 3 2 1 1 2รอยละ 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 33.3 0.0 0.0 0.0 33.3 0.0 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 66.7 33.3 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 33.3 0.0 33.3 0.0 0.0 66.7 0.0

โซน 21

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 3 2 1 3 2 1 3 2 3 1รอยละ 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 66.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 33.3 100.0 66.7 33.3 100.0 66.7 0.0 100.0 0.0 33.3

โซน 21

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 3 1 1 3 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 2 2 1 1 1 3รอยละ 66.7 100.0 33.3 33.3 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0 100.0 100.0 0.0 100.0 0.0 100.0 100.0 66.7 100.0 100.0 66.7 66.7 33.3 33.3 33.3 100.0

โซน 21

Page 308: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

286ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ X X11 X12 X2 X21 X22 X3 X31 X32 X33 X34 X35 X36 X37 X4 X41 X42 X5 X51 X52 X6 X61 X62 X63 X64 X7 X71 X72 X8 X81 X82 X83 X84 X851 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 2 1 1 2 1 1 2 2 1 1รอยละ 100.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 50.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 50.0 0.0 0.0 50.0 0.0

โซน 22

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ C1 C11 C12 C13 C14 C15 D1 D11 D12 D13 D14 D15 D16 D17 D18 D19 P1 P11 P12 P13 P14 E E11 E12 E13 E14 E21 E22 E23 E24 E25 E261 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1

รวม 2 1 2 1 2 2 1 1 1 1 1รอยละ 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 0.0 100.0 50.0 100.0 0.0 100.0 50.0 50.0 50.0 50.0 50.0

โซน 22

ตาราง ง-3 (ตอ)

ลําดับที่ R R11 R12 R13 R14 R15 R21 R22 R23 R24 R25 N N11 N12 N13 N21 N22 M S11 S21 S31 T11 T21 T31 V1 V2 V3 V4 V51 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 12 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

รวม 1 2 1 1 2 2 2 1 1 1 2 2 1 2 1 1รอยละ 0.0 50.0 100.0 50.0 50.0 0.0 100.0 100.0 100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 50.0 50.0 50.0 100.0 100.0 0.0 50.0 100.0 50.0 50.0

โซน 22

Page 309: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

287

ภาคผนวก จ พื้นที่ศึกษา

Page 310: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

288 ภาพประกอบ จ-1 ที่ตั้งพื้นที่ศึกษาชุมชนปาลมซีตี้ ตําบลคอหงส อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

ถังขยะอินทริย ถังขยะรีไซเคิล N

E

S

W

Page 311: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

289

(หมายเหตุ) รูปสี่เหลียมขนาดใหญคือภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย รูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กคือภาชนะรองรับ มูลฝอยรีไซเคิล

ภาพประกอบ จ-2 การแบงโซนของชุมชนควนสันติ ตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

8

5

6

4

3 2

1

9

8 7

10

11

ถังขยะอินทรีย ถังขยะรีไซเคิล

Page 312: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

290

ชุมชนกลางนา

ภาพประกอบ จ-3 ที่ตั้งพื้นที่ศึกษาชุมชนกลางนา ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จงัหวัดสงขลา

Page 313: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

291 (หมายเหตุ) รูปสี่เหลียมขนาดใหญคือภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย รูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กคือภาชนะรองรับ มูลฝอยรีไซเคิล ภาพประกอบ จ-4 การแบงโซนของชุมชนกลางนา ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จงัหวัดสงขลา

ซ.3 กาญจนว

ซอยนพคุณ

ซอยธรรมโชติซอยอุปถัมบ

ซ.16 กาญจนวิ

ถังขยะ ถังขยะรี

8 6

10

9

11 12

1

2 5 4

3

7

14 13

Page 314: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

292 ภาพประกอบ จ-5 ที่ตั้งพื้นที่ศึกษาชุมชนควนสันติ ตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

Page 315: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

293 (หมายเหตุ) รูปสี่เหลียมขนาดใหญคือภาชนะรองรับมูลฝอยอินทรีย รูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กคือภาชนะรองรับ มูลฝอยรีไซเคิล ภาพประกอบ จ-6 การแบงโซนของชุมชนควนสันติ ตําบลควนลัง อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

1

15

11

19

16

12

4 5

9

2

6

3

8

7

18 17

14 13

1

22 21

20

ถังขยะอินทรีย ถังขยะรีไซเคิล

Page 316: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

294ภาคผนวก ฉ

รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จจากแบบสอบถามในแตละโซนของ ชุมชนปาลมซิต้ี ชุมชนกลางนา และชุมชนควนสันติ

Page 317: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

295ตาราง ฉ-1 รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จจากแบบสอบถาม ชุมชนปาลมซิตี้

ลําดับที ่ โซน 1 ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง

1 {X{X12,X21,X37,X41,X51,X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E24,E25,E26},M{S11,T21,V1,V2,V4}} 2 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X84},D1{D15,D18},E{E12,E13E21,E22,E24,E25},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X5,X61,X71,X84},D1{D12,D15},E{E12,E13,E21,E22},R{R13,R21,R22,R24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

4 {X{X12,X2,X37,X41,X51,X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12E21,E24,E25,E26}, M{S11,T21,V1,V2,V4}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X12,X21,X37,X41,X51,X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12E21,E24,E25,E26}, M{S11,T21,V1,V2,V4} 6 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X84},D1{D15,D18},E{E12,E13E21,E22,E24,E25},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 7 {X{X11,X21,X35,X41,X5,X61,X71,X84},D1{D12,D15},E{E12,E13,E21,E22},R{R13,R21,R22,R24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 8 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D18},E{E11,E12,E24},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2}}

Page 318: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

296ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 2

ก) ปจจัยที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 X{,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13},R2{R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ข) ปจจัยที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

2 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X64,X71,X84,D1{D12,D15}, E{E11,E13,E21,E24},R{R12,R13,R14,R21,R22,R23}, M{S11,T11,V2,V3}} 3 {X{X12,X21,X37,X41,X52,X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E24}, R{R12,R13,R14,R21,R22}, M{S21,S31,T11,V1,V2,V4} ค) ปจจัยที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X12,X21,X36,X41,X52,X64,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12,E21,E24},R{R12,R13,R14,R21,R22,R23}, M{S11,T11,V2,V3}} 5 {X{X12,X2,X37,X41,X51,X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E24},R{R12,R13,R14,R21,R22},M{S21,S31,T11,V1,V2,V4} 6 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}}

Page 319: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

297ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 3

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D18},E{E11,E12,E22,E23},R{R11,R12,R14,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,V1,V2,V3 2 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E22,E23},M{S11,S21,S31,T11,V1,V2,V3}} 3 X{X11,X21,X35,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D16},E{E11,E12,E21,E22},R1{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

4 X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D18},E{E11,E12,E22,E23},R{R11,R12,R14,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,V1,V2,V3}} รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซ้ํา

5 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D18},E{E11,E12E22,E23},R{R11,R12,R14R21,R22,R24},M{S11,S21,S31,T11,V1,V2,V3}} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

6 X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15},P1{P13}},E{E11,E13,E21,E25,E26},R{R12,R13,R14,R21,R22,R23}, M{S11,T11,T21,T31,V2,V3,V6}} 7 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D16},E{E11,E12,E21,E22},R1{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}}

Page 320: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

298ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 4

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 X{X12,X21,X32,X41,X5,X61,X71,X84,D1{D1,D18},E{E11,E12,E21,E24},M{S11,S21,T21,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซ้ํา

2 X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X72,X84,D{D12,D18},E{E11,E12,E13,E21,E25},R{R11,R12,R13,R22,R23,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V2,V5} 3 {X{X12,X21,X32,X41,X5,X61,X71,X84,D1{D1,D18},E{E11,E12,E21,E24},M{S11,S21,T21,V1V2,V3} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E24,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T21,V1,V2}} 5 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X72,X84,D{D12,D18},E{E11,E12,E13,E21,E25},R{R11,R12,R13,R22,R23,R24},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V2,V5}} 6 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X72,X84,D{D12}, M{S11,T21,V1,V2}}

Page 321: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

299ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 5

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D16},P1{P11,P13},E{E12,E13,E21,E24,E25},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 2 {X{X11,X21,X31,X41,X5X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E12,E13E21,E24},M{S11,S21,S31T11,T21,V1,V2,V3}} รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

3 {X{X11,X21,X31,X41,X5,X61,X7,X84,F1,D1{D15,D16},E{E12,E13,E21,E24,E25},R{R12,R13,R21,R22,R24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซ้ํา

4 {X{X11,X21,X31,X41,X5,X61,X7,X84,D1{D15,D16},E{E12,E13E21,E24,E25}R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด 5 {X{X11,X21,X31,X41,X5,X61,X7,X84,F1,D1{D15,D16},E{E12,E13E21,E24,E25},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4} 6 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D16},P1{P11,P13},E{E12,E13E21,E24,E25},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 7 {X{X11,X21,X31,X41,X5,X61,X72,X84,D1{D15,D18},E{E12,E13,E21,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3} 8 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D13}, M{S11,S21,S31,T21, V1,V2}

Page 322: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

300ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 6

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D13,D15},E{E11,E12,E21,E23,E26},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 2 {X{X1,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12E21,E25,E26},R{R12,R13,R14,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V2,V3,V4}} 3 {X{X12,X21,X32,X42,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E1{E12,E13,E21,E22,E25,E27},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21,N22}},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D13,D15},E{E11,E12,E21,E23,E26},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 5 {X{X1,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12E21,E25,E26},R{R12,R13,R14,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V2,V3,V4}} 6 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E1{E12,E13,E21,E22,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21,N22}},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}}

Page 323: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

301ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 7

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,E1{E11}D1{D11,D12,D18},E{E12,E13E21,E24,E26},R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V4,V5}} 2 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22},R1{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T21,V1,V2,V3 3 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15},E{E12,E13,E21,E23,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V4}} 4 {X{X12,X21,X36,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D18},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R14,R21,R22,R24}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

5 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,E1{E11}D1{D11,D12,D18},E{E12,E13E21,E24,E26},R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V4,V5} 6 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15},E{E12,E13,E21,E23,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V4}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

7 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,E1{E11}D1{D11,D12,D18},E{E12,E13,E21,E24,E26}, R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V4,V5} 8 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22},R1{R11,R12,R21,R22,R23},MS{S21,S31,T21,V1,V2,V3} 9 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15},E{E12,E13,E21,E23,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V4}}

Page 324: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

302ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 8

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X72,X84,C1{C11},D1{D15},P1{P1}},E{E12,E14,E21,E23},R{R11,R12,R21,R22,R24}, N{N11,N12มN21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 2 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15}D1{D15},P1{P1}},E{E12,E14,E21,E23},R{R11,R12,R21,R22,24},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},P1{P11}},E{E12,E14,E21,E23},R{R11,R12,R22,R24},N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 4 {X{X12,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X84,D1{D12}, M{S31,T21} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X72,X84,C1{C11},D1{D15},P1{P11}},E{E12,E14,E21,E23},R{R11,R12,R21,R22,R24},NN11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 6 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15}D1{D15},P1{P1}},E{E12,E14,E21,E23},R{R11,R12,R21,R22,R24}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 7 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15}D1{D15},P1{P11}},E{E12,E14,E21,E23},R{R11,R12,R22,R24}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}}

Page 325: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

303ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 9

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X3,X41,X51,X61,X7,X84,C11,D{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21,N22} M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 2 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,71,X84,D1{D15,D16},{E12,E21},R{R12,R13,R21,R22},N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D15}},P1{P12}}, E{E11,E12,E21,E22,E26}, R{R12,R13,R22,R23,R24}, N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

4 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X72,X84,C1{C11}, D{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E23}, R{R11,R13,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N22,N23}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,71,X84,D1{D15,D16},E{E12,E21},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T21,V1,V2,V3}} 6 {X{X12,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D15}},P1{P12}},E{E11,E12,E21,E22,E26},R{R12,R13,R22,R23,R24}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V2,V3}} 7 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X84,C11,D{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21,N22} M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 8 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X72,X84,C1{C11},D{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E23},R{R11,R13,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}}

Page 326: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

304ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 10

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X37,X41,X52,X61,X,71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22},R1{R12,R13,R21,R22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

2 {X{X12,X21,X32,X41,X1,X61,X71,X81,D1{D15},E{E12,E13,E21,E22,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S31,T21,V1,V2}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X11,X21,X31,X41,X52,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D15}},E{E11,E12,E21,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R22,R25}, N{N11,N12,N21}, M{S11,T21,V1,V2,V3} 4 {X{X11,X21,X37,X41,X52,X61,X,71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22},R1{R12,R13,R21,R22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},E{E12,E13,E21,E22,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S31,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-1 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 11

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61X71,X84,D1{D15,D18},E{E12E21,E22},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 2 {X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E12,E13E21,E24,E26},R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V4,V5}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12,E21,E22},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T21,V1,V2,V3}} 4 X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X84,D1{D13,D15},E{E12,E13E21,E24},R{R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S21,S31,T21,V3,V4,V5}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E12,E13E21,E24,E26},R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V4,V5}} 6 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61X71,X84,D1{D15,D18},E{E12E21,E22},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 7 {X{X11,X21,X35,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12,E21,E22},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T21,V1,V2,V3}}

Page 327: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

305ตาราง ฉ-2 รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จจากแบบสอบถาม ชุมชนกลางนา

ลําดับที ่ โซน 1 ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง

1 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},C1{C11},D1{D12,D15},E{E11,E12,E21,E22,E24,E2},R{R11,R12,R14,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N21}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D16},P1{P13}},E{E11,E12,E13,E21,E22},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

3 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81D1{D1,D1},E{E11,E12,E13,E21,E22},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S22,T21,V1,V2} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X32,X4,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},P1{P11}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E2},R{R12,R13,R14, R21,R22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D16},P1{P13}},E{E11,E12,E13,E21,E22},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 6 {X{X12,X21,X37,X41,X52,X62,X71,X81,D1{D15},E{E12,E13E21,E22,E25},R{R12,R13,R1R21,R22,R2}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 7 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D11,D12},E{E11,E12,E13,E21,E22},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S22,T21,V1,V2}

ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 2

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X2,X36,X41,X52,X61,X71,X81},D1{D12,D18},E{E1,E12E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R21,R22},M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84},D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E25},R{R12,R13,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 3 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15},P1{P14}},E{E11,E12,E14,E21, E22, E24, E25}, R{R12,R13,R21,R22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3,V4}} 4 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X72,X84},D1{D12,D13},M{S11,S31,T11}

Page 328: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

306ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 3

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E21,E24,E25},R{R11,R12,R14,R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,V1,V2,V3}} 2 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R14R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V3,V5}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81},D1{D15,D18},C1{C11}}E{E11,E12,E21,E22,E23,E24}, R1{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

4 X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R22,R23},N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},C1{C11},D1{D12,D18},E{E11,E12,E21,E22,E24}, R{R12,R13},R2{R21,R22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

6 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81},D1{D15},E{E11,E13,E21,E23,E24},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V4,}} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

7 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12E21,E24,E25},R{R11,R12,R14,R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,V1,V2,V3}} 8 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R14,R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T1,V1,V3,V5}}

Page 329: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

307ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 4

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,},D1{D12},P1{P13},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S31,T11,T21,V1,V2}} 2 {X{X12,X21,X31,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15,D18},E1{E11,E12,E21,E24},R{R11R21,R22,R24},N{N11,N12,N21}, M{S11,S31,T11,T21,T31,V1,V2}} 3 {X{X12,X21,X33,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D17},E{E11,E12,E21},R{R11,R12,R14,R21,R22}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S11,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,C1{C12},D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25},N{N11,N12,N21}}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T13,V1,V2,V4}} 5 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D12,D15},E1{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25}, N1{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T13,V1,V2,V4}} 6 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15},P1{P14}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S31,T11,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 5

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84},D1{D15,D18},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 2 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84},D1{C15},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E23,E26},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21},M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

3 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},{D15,D16},E{E11,E12,E14,E21,E22,E26},M,{S11,S21,T11,T21,T31,V1,V2,V3 ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84},C1{C11},D1{D13},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26},R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S21,S31,T21,T31,V1,V2,V3} 5 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26},R{R11,R12,R21,R22,R24}, M{S21,S31,T21,T31,V1,V2}} 6 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84},D1{D15,D18},C1{C11}},E1{E11,E12,E21,E22},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3 7 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84},D1{C15},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E23,E26},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2,V3}

Page 330: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

308ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 6

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},C1{C11}},E{E11,E12E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R21,R22},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D15},E{E11,E12E21,E22,E24},R{R11,R13,R21,R22},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T22,V1,V2,V5}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X11,X21,X37,X41,X52,X64,X71,X84},D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R21,R22},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V5}} 4 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15,D16},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R21,R22},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V5}} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15},P1{P13}},E{E11,E13E21,E25},R{R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T21,V2,V3,V4}} 6 {X{X12,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X85,D1{D12,D13},M{S21,S31,T21}

Page 331: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

309ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 7

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21,N23}, M{S11,S21,T11,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป 2 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D12,D15},E{E12,E13,E21,E23,E24,},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V4,V5}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

3 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D12,D15},E{E12,E13,E21,E23,E24,},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V4,V5}} 4 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,F1,C1{C11},D1{D15},E{E11,E12,E21,E22},R{R11,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T22,V1,V2,V5}} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21,N23}, M{S11,S21,T11,V1,V2,V3} 6 {X{X12,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D12,D15},E{E12,E13,E21,E23,E24,},N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V4,V5}} 7 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2}

Page 332: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

310ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 8

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X41,X61,X71,F1,C1{C11},D1{D15}},P1{P12}},E{E11,E12,E21,E22,E26},R{R12,R13,R22,R23,R24}, N1{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 2 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12},P1{P13},E1{E11,E12,E21,E21},M,{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 3 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12},P1{P13},E1{E11,E12,E21,E21},M,{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

4 {X{X11,X21,X41,X61,X71,F1,C1{C11},D1{D15}},P1{P12}},E{E11,E12,E21,E22,E26},R{R12,R13,R22,R23,R24}, N1{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 5 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12},P1{P13},E1{E11,E12,E21,E21},M,{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

6 {X{X11,X21,X31,X41,X52,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D15}},P1{P12}},E{E11,E12,E21,E22,E26},R{R12,R13,R22,R23,R24}, N1{N11,N12,N21}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 7 {X{X12,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15},E{E11,E12,E21},N{N11,N12,N21}, R{R11,R12,R13,R14,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2}} 8 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D18},P1{P1},E{E11,E12,E21},R{R12,R13,R14,R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 9 {X{X12,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12},P1{P13},E1{E11,E12,E21,E21},M,{S11,S21,S31,T11,T21,T31V1,V2,V3}

Page 333: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

311ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 9

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15,D17},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E24},R{R12,R13},R2{R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,T21,T31,V1,V2} 2 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15},P1{P13},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24},R{R11,R12,R13,R14,R21,R22,R23}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

3 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15,D17},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E24},R{R12,R13},R2{R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,T21,T31,V1,V2} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซ้ํา

4 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15,D17},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E24},R{R12,R13},R2{R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,T21,T31,V1,V2} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X11,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X81,D1{D15},E{E11,E12,E21,E22,E23},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 6 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15},P1{P13},E{E11,E12E21,E22,E23,E24},R{R11,R12,R13,R14,R21,R22,R23}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 7 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D17},E{E12,E21,E22,E24,E25}R{R11,R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}}

Page 334: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

312ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 10

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81D1{D15,D18},C1{C11}}E1{E11,E12,E14,E15,E21,E22,E25,E26}, R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21},M{S11,S21,T21,T31,V1,V2} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

2 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81D1{D15,D18},C1{C11}}E1{E11,E12,E14,E15,E21,E22,E25,E26},R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,T21,T31,V1,V2} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยนํากลับมาใชซ้ํา

3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D12},E{E12,E13,E21,E25,E26}M{S11,S21,T11,T21,T31,V2,V3,V4}} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D12},E{E12,E13,E21,E25,E26}M{S11,S21,T11,T21,T31,V2,V3,V4} 5 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X64,X71,X81D1{D15,D18},C1{C11}}E1{E11,E12,E14,E21,E22,E25,E26}, R{R12,R13,R21,R22}, N{N11,N12,N21}, M{S11,S21,T21,T31,V1,V2 6 {X{X12,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X83,D1{D11,D12},M{S21,S31,T21}

Page 335: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

313ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 11

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21X,X36,X41,X52,X61,X71,X81,F1,D1{D15,D18},P1{P13},E{E11,E12,E21,E24}, R{R11,R13,R21,R22,R24}, N{N11,N12,N21}, M{S31,T11,T21,V4,V5}} 2 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R24}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}} 3 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E26}, R{R12,R13,R14,R21,R23}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วดัปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรปู 4 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R24}, M{S21,S31,11,T21,T31,V1,V2,V4}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด 5 {X{X11,X21X,X36,X41,X52,X61,X71,X81,F1,D1{D15,D18},P1{P13},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R13,R21,R22,R24}, N{N11,N12,N21}, M{S31,T11,T21,V4,V5}} 6 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R24}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}}

ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 12

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X31,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D18},C1{C11}}E{E11,E12,E21,E24},R{R12,R13,R21,R22,R24,R25},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D12,D15},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R21,R22}, N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T31,V1,V2,V5}} 3 {X{X12,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R21,R22},M{S11,S21,S31,T31,V1,V2,V5 4 {X{X11,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X85,D1{D12}, M{S21,S31,T21} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D15,D16},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 6 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D12},E{E11,E13,E21,E24,E25},R{R11,R12,R13,R14,R21,R22,R23}, M{S11,S21,T11,T21,T31,V2,V3,V4}}

Page 336: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

314ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 13

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X84,D1{D12,D13},M{S21,S31,T21} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15},P1{P14},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21 ,T31,V1,V2,V4}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},P1{P13},E{E11,E12,E21,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}} 4 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D17},P1{P12,P13},E{E11,E12,E13,E21,E24,E25},R{R11,R12,R13,R22,R23,R24}, M{S21,T21,V2,V5} 5 {X{X11,X22,X34,X42,X52,X61,X72,X84,D1{D12}, M{S11,S21,S31,T21}

ตาราง ฉ-2 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 14

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},D1{D15,D18},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22},R{R12,R13,R21,R22},N{N11,N12,N21}, M{S21,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},D1{D15,D16},E{E11,E13,E21,E22,E23},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V5}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยกลับมาใชซ้ํา

3 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},P1{P13},E{E11,E12,E21,E25},M{S11,S21,T11,T21,T31,V2,V3,V4} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},D1{D15,D18},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22},R{R12,R13,R21,R22},N{N11,N12,N21}, M{S21,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81},D1{D15,D16},E{E11,E13,E21,E22,E23},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V5}} 6 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},P1{P13},E{E11,E12,E21,E22,E23},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 7 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X71,X84},D1{D15,D16},E{E11,E12,E13,E21,E24,E25,E26},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,T11,T21,T31,V1,V2,V5}}

Page 337: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

315ตาราง ฉ-3 รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสําเร็จจากแบบสอบถาม ชุมชนควนสันติ

ลําดับที ่ โซน 1 ก) รูปแบบที่นาํไปสูตัวชี้วดัปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง

1 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22E23,E24},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22E23,E24},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3} 3 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24},R{R11,R12,R21,R22,R23},N1{N11,N12,N21,N22},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3} 4 {{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,C1{C11},D1{D11,D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 2

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X21,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X85},D1{D11,D12}, M{S11,S21,T11,T21,V1,V2,V4}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24},R{R11,R12,R21,R22}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D11,D12,D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24},R{R11,R12,R21,R22}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 4 {X{X12,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X84,D1{D12,D13}, M{S11,S21,T11,T21,V1,V2}

Page 338: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

316ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 3

ก) รูปแบบที่นาํไปสูตัวชี้วดัปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15},C1{C11},E{E12,E14,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R14,R21,R23,R24},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T2,T31,V1,V2,V4} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วดัปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรปู

2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15,D18},C1{C11},E{E12,E13,E14,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R14,R21,R23,R24},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}}

ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วดัปริมาณมูลฝอยที่นํากลบัมาใชซ้ํา 3 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15,D18}C1{C11},E{E12,E13,E14,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R14,R21,R23,R24},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11

,T21,T31,V1,V2,V4} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วดัความสะอาด

4 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15}C1{C11},E{E12,E13,E14,E21,E22},R{R11,R12,R13,R14,R21,R23,R24},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,4}} 5 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X84,D1{D12,D15,D18},E{E11,E12,E13,E14,E24,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 4

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X64,X71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 2 {X{X11,X21,X37,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D11,D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E23,E24,E25},N1{N11,N12,N21,N23}, M{S11,S31,T11,T21,T31,V1,V4}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X64,X71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 4 {{X11,X21,X37,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D11,D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E23,E24,E25},N1{N11,N12,N21,N23}, M{S11,S31,T11,T21,T31,V1,V4}} 5 {{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X81,D1{D11,D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E23,E24,E25},N1{N11,N12,N21,N22}, M{S11,S31,T11,T21,T31,V1,V4}}

Page 339: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

317ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 5

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา 1 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V6}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61,X7,X81,D1{D12,D13,D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X7,X85,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26},R{R11,R12,R21,R22,R23}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 4 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 5 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24},MS{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 6

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D13,D15},P1{P11}},E{E11,E12,E13,E21,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วดัความสะอาด

2 {X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X84,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23},R{R12,R13,R21,R22,R24},M{S21,S31,T11,T21 V1,V2,V4}} 3 {X{X11,X21,X37,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23},R{R12,R13,R21,R22,R24}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 4 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X81,D1{D13,D15},P1{P11}},E{E11,E12,E13,E21,E24},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}}

Page 340: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

318ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 7

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X81,D1{D16,D18}R{R12,R13,R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 {X{X11,X21,X32,X42,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D16,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25}, R{R12,R13,R21,R22}, M{S11,S21,T11,T21,V1,V2,V4}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D16,D18},E1{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25}, R{R12,R13,R21,R22},M{S11,S21,T11,T21,V1,V2,V4}} 4 {X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X81,D1{D16,D18}R{R12,R13,R21,R22,R24},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 8

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X36,X41,X52,X61X,71,X84,D1{D18},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R23}, M{S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26}, R{R12,R13,R14,R21,R22}, M{S31,T11,T21,V1,V2,V4}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

3 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26}, R{R12,R13,R14,R21,R22}, M{S31,T11,T21,V1,V2,V4}} ง) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26}, R{R12,R13,R14,R21,R22}, M{S31,T11,T21,V1,V2,V4}}

Page 341: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

319ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 9

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61X,71,X81,D1{D15,D18},C1{C11}}E{E11,E12,E21,E22,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R23,R24}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S31,T11,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

2 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61X,71,X84,D1{D15},E{E11,E12,E21,E22,E24},M{S11,S21,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61X,71,X81,D1{D15,D18},C1{C11}}E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R23,R24}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S31,T11,V1,V2,V3}} 4 {X{X12,X21,X34,X42,X51,X61,X72,X84},D1{D12,D13}, M{S11,S31,T11,V1,V2,V3}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 10

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E21,E22},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23,R24},M{S11,T11,T21,V1,V2,V3}} 2 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15},P1{P11}},E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21},M{S11,S31,T11,T21,V4,V5}} 3 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X84,D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E2,E24,E25},R{R11,R12,R21,R22,R23,E24}, M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E25},R{R11,R12,R21,R22},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}}

Page 342: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

320ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 11

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R14,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยเขาสูกระบวนการแปรรูป

2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R14,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด 3 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15,D18}E{E11,E12,E21,E22,E2},{R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 4 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X81,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E26},R{R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 5 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E24},R{R11,R12,R14,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 6 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15}, E1{E11,E12,E13,E25}, R{R11,R21,R22,R23}, M{S31,T11,T21,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 12

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X2,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X84},C1{C11},D1{D12,D13},M{S11,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,,D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E25},R{R11,R12,R21,R22},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X12,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X84},C1{C11},D1{D12,D13},M{S11,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 4 {X{X12,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X84},C1{C11},D1{D13}, M{S11,S31,T11,T21,V1,V2,V3}}

Page 343: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

321ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 13

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E1{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24},R1{R11,R12,R21,R22},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 2 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E1{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24}, R1{R11,R12,R21,R22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X11,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X84},C1{C11},D1{D11,D12}, M{S31,T11,T21,V1,V2}} 4 {X{X11,X22,X32,X41,X51,X61,X72,X85},D1{D12}, M{S31,T11,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 14

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป 1 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D13,D15}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26}, R{R11,R12,R21,R23,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

2 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D13,D15}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E26}, R{R11,R12,R21,R23,R24}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D16,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E25},R{R11,R12,R13,R21,R23,R24},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,}} 4 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D12,D13,D15},P1{P11}},E1{E11,E12,E13,E21,E24,E25,E26},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V4}}

Page 344: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

322ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 15

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด 1 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R21,R22}, M{S11,T11,T21,V1,V2,}} 2 {X{X12,X22,X37,X41,X51,X61,X72,X84},D1{D12,D13},M,{S11,S31,T11,T21,V1,V2} 3 {{X12,X22,X35,X41,X51,X61,X72,X84}, D1{D11,D12},M,{S11,S31,T11,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 16

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,71,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}}E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N1{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V

2,V3} 2 {X{X12,X21,X32,X42,X51,X64,X72,X81,D1{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E24},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

3 {X{X12,X21,X32,X42,X51,X64,X72,X81,D1{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E24}, M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X12,X21,X32,X42,X51,X64,X72,X81,D1{D15,D18},E{E12,E13,E21,E22,E24},M{S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2}} 5 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X81,D1{D15},P1{P14}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E24,E25},R{R12,R13,R15,R21,R22,R24}, M{S31,T11,T21,V1,V2,V4}} 6 {X{X12,X21,X31,X42,X51,X61,X71,X84,,C1{C11},D1{D15},E{E11,E12,E13,E21,E22},R{R12,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V3,V4}}

Page 345: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

323ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 17

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,71,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}}E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R23,R24},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}} 2 {X{X12,X22,X34,X42,X51,X61,X72,X85},D1{D12,D13}, M{S31,T11,T21,V1,V2}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,71,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}}, E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R23,R24},N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3}}

4 {X{X11,X21,X32,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R21,R22}, M{S11,T11,T21,V1,V2,V5}} 5 {X{X12,X22,X34,X41,X51,X61,X72,X84},D1{D11,D12}, M{S11,S31T11,T21,V1,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 18

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,72,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}},E1{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R23}, N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1} 2 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R21,R22}, M{S11,T11,T21,V1,V2,V5}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,72,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}},E1{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R23}, N{N11,N12,N21,N22},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1} 4 {X{X11,X21,X37,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R21,R22}, M{S11,T11,T21,V1,V2}} 5 {X{X11,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E13,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R21,R22}, M{S11,T11,T21,V1,V2}}

Page 346: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

324ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 19

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R13,R21,R23,R24}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S31,T31,V4,V5} 2 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R23}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

3 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R23}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X12,X21,X32,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R13,R21,R23,R24}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S31,T31,V4,V5} 5 {X{X12,X21,X3,X41,X5,X61,X7,X84,D1{D18},E{E12,E13,E11,E22,E25},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S21,S31,T21,V1,V2}} 6 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18},E{E11,E12,E21,E22,E23,E24}, R{R11,R12,R13,R21,R23}, M{S11,T11,T21,T31,V1,V2}}

ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 20

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15},P1{P11}},E{E11,E12,E21,E22,E24,},R{R11,R21,R13,R21,R23}, N{N11,N12,{N21,N22}, M{S11,S31,T11,T21,V4,V5,} 2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X84,D1{D15,D18}},E{E11,E12,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S11,S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} 3 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,T11,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่เขาสูกระบวนการแปรรูป

4 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E25,E26},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V2,V3,V4}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

5 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D15,D18}},E{E11,E12,E13,E21,E22,E25,E26},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V2,V3V4} 6 {X{X11,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X81,D1{D15},E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R11,R12,R13,R21,R22,R23},M{S11,T11,T21,V1,V2,V3}}

Page 347: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

325ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 21

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X11,X21,X37,X42,X51,X61,X71,X81,C1{C11},D1{D15},E{E12,E13,E21,E24,E26},R{R11,R12,R21,R22,R23,N{N11,N21,N22}, M{S11,S21,T11,T21,V4,V5}} 2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X61,X71,X84,D1{D12,D15}C1{C11},E{E13,E14,E21,E22,E24},R{R11,R12,R14,R21,R22,R23},N{N11,N12,N21},M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V2,V3,V5}} 3 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,72,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R12,R13,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V5 ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

4 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61X,72,X84,D1{D12.D15,D18},C1{C11}},E{E11,E12,E21,E22,E24},R{R12,R13,R21,R22,R23}, N{N11,N12,N21,N22}, M{S11,S21,S31,T11,T21,T31,V1,V5} ตาราง ฉ-3 (ตอ) ลําดับที ่ โซน 22

ก) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นําไปกําจัดลดลง 1 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X84,D1{D15,D18}},E1{E11,E12,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ข) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดปริมาณมูลฝอยที่นํากลับมาใชซ้ํา

2 {X{X12,X21,X31,X41,X51,X64,X71,X84,D1{D15,D18}},E1{E11,E12,E21,E22,E24,E25},R{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2,V3}} ค) รูปแบบที่นําไปสูตัวชี้วัดความสะอาด

3 {X{X11,X21,X37,X41,X51,X61X,71,X81,D1{D15},E1{E11,E12,E13,E21,E22,E2,E2},R1{R11,R12,R21,R22,R23},M{S21,S31,T11,T21,V1,V2}} 4 {X{X11,X21,X35,X41,X52,X61,X71,X84,D1{D15},P1{P13}},E{E11,E13,E21,E25,E26},R{R12,R13,R14,R21,R22,R23},M{S11,T11,T21,V2,V3,V4}}

Page 348: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

326

ภาคผนวก ช

ลักษณะบรบิทจําเพาะของแตละโซน ในพื้นที่ชุมชนปาลมซิต้ี ชุมชนกลางนา และ ชุมชนควนสันติ

Page 349: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

327ตาราง ช-1 ลักษณะบริบทจําเพาะพื้นที่ชุมชนปาลมซิตี้

โซน ลักษณะบรบิท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

1) ลักษณะของชมุชน - ชุมชนชาวมุสลมิ - ชุมชนชาวพุทธ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 1) ระยะเวลาอยูอาศัยของประชากร - ประชาชนทีอ่าศยัในชุมชนนานกวา 5 ป(ประชาชนดังเดิม) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - ประชาชนทีอ่าศยัในชุมชนนอยกวา 5 ป √ √ 2) กลุมประชากร - กลุมคนทํางาน(ประกอบอาชพี) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - กลุมนักเรียน/นกัศึกษา √ √ - กลุมพอบาน แมบาน √ √ √ √ √ √ √ √ √ 3) สภาพเศรษฐกจิ - มีรายไดจากการประกอบอาชพีมากกวา/เทากับ 5,000 บาท/เดือน

√ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

- มีรายไดจากการประกอบอาชพีนอยกวา 5,000 บาท/เดือน 4) อาคารสถานทีส่ําคัญ - โรงเรียน - มัสยิด - รานรบัซื้อของเกา

Page 350: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

328ตาราง ช-1 (ตอ)

โซน ลักษณะบรบิท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

5) ลักษณะของทีอ่ยูอาศัย - บานเดี่ยว √ - อพารทเมนท/แฟตล - หอพัก - ทาวนเฮาส/อาคารพาณิชย √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - หองแถว 4) การทํากจิกรรมเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย - ประสบการณการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการลดและการจัดการ มูลฝอย

- ประสบการณการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการเขารวมโครงการคัดแยกมูลฝอย

√ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

6) ลักษณะภูมปิระเทศ(ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่) - เปนพื้นที่ราบ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - มีความสะดวกในการเขาถึง (มีการเขาถึงไดหลายทาง ) √ √ √ √ √ √ √ √ √ - มีการเชือ่มตอกบัโซนอื่นๆ √ √ √ √ √ √ √ √ √

Page 351: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

329ตาราง ช-2 ลักษณะบริบทพื้นที่ชุมชนกลางนา

โซน ลักษณะบรบิท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

1) ลักษณะของชมุชน - ชุมชนชาวมุสลมิ - ชุมชนชาวพุทธ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 2) ระยะเวลาอยูอาศัยของประชากร - ประชาชนทีอ่าศยัในชุมชนนานกวา 5 ป(ประชาชนดังเดิม) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - ประชาชนทีอ่าศยัในชุมชนนอยกวา 5 ป √ √ √ √ √ √ √ √ 3) กลุมประชากร - กลุมคนทํางาน(ประกอบอาชพี) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - กลุมนักเรียน/นกัศึกษา √ √ √ √ √ √ √ √ - กลุมพอบาน แมบาน √ √ 4) สภาพเศรษฐกจิ - มีรายไดจากการประกอบอาชพีมากกวา/เทากับ 5,000 บาท/เดือน √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

- มีรายไดจากการประกอบอาชพีนอยกวา 5,000 บาท/เดือน √ √ √ √ √ √ √ √ √ 5) ตั้งอยูใกลกับอาคารสถานที่สําคญั √ √ √ - โรงเรียน √ √ √ √ √ √ - มัสยิด

Page 352: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

330ตาราง ช-2 (ตอ)

โซน ลักษณะบรบิท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

- รานรบัซื้อของเกา √ 6) ลักษณะของทีอ่ยูอาศัย - บานเดี่ยว √ √ √ √ √ - อพารทเมนท/แฟตล - หอพัก √ √ √ - ทาวนเฮาส/อาคารพาณิชย √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - หองแถว √ √ √ √ √ √ √ √ √ 7) กิจกรรมการจดัการมูลฝอย - ประสบการณการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการลดและการจัดการมูลฝอย √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

- ประสบการณเกีย่วกับโครงการดานสิ่งแวดลอม √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 8) ความสัมพันธของประชาชนในชุมชน - มีความสัมพนัธแบบเครือญาติ(ใกลชิดกนั) √ √ √ √ - แบบเพือ่นบานกัน 9) ลักษณะภูมปิระเทศ(ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่) - เปนพื้นที่ราบ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - มีความสะดวกในการเขาถึง (มีการเขาถึงไดหลายทาง ) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - มีการเชือ่มตอกบัโซนอื่นๆ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

Page 353: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

331ตาราง ช-3 ลักษณะบริบทพื้นที่ชุมชนควนสันติ

โซน ลักษณะบรบิท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

1) ลักษณะของชมุชน - ชุมชนชาวมุสลมิ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - ชุมชนชาวพุทธ √ √ √ √ 2) ระยะเวลาอยูอาศัยของประชากร - ประชาชนทีอ่าศยัในชุมชนนานกวา 5 ป(ประชาชนดังเดิม) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

- ประชาชนทีอ่าศยัในชุมชนนอยกวา 5 ป √ √ √ √ √ √ √ 3) กลุมประชากร - กลุมคนทํางาน(ประกอบอาชพี) √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - กลุมนักเรียน/นกัศึกษา - กลุมพอบาน แมบาน √ √ √ √ √ √ 4) สภาพเศรษฐกจิ - มีรายไดจากการประกอบอาชพีมากกวา/เทากับ 5,000 บาท/เดือน √ √ √ √ √ √ √ √

- มีรายไดจากการประกอบอาชพีนอยกวา 5,000 บาท/เดอืน √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

5) ใกลกับอาคารสถานที่สําคัญ - โรงเรียน

Page 354: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

238ตาราง ช-3 (ตอ)

โซน ลักษณะบรบิท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

- มัสยิด √ √ - รานรบัซื้อของเกา 6) ลักษณะของทีอ่ยูอาศัย - บานเดี่ยว √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - อพารทเมนท/แฟตล - หอพัก √ √ - ทาวนเฮาส/อาคารพาณิชย √ √ √ √ √ √ √ √ √ - หองแถว √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 7) การทํากจิกรรมเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอย - ประสบการณการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการลดและการจัดการมลูฝอย

- ประสบการณการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการเขารวมโครงการคัดแยกมูลฝอย √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

8) ลักษณะภูมปิระเทศ(ลักษณะทางกายภาพของพื้นที)่

- เปนพื้นที่ราบ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - มีความสะดวกในการเขาถึง √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ - มีการเชือ่มตอกบัโซนอื่นๆ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √

Page 355: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

333

ภาคผนวก ซ ลักษณะของโซนที่สะอาดพื้นที่ชุมชนปาลมซิต้ี ชุมชนกลางนา และ

ชุมชนควนสันติ

Page 356: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

334ตาราง ซ-1 ลักษณะของโซนที่สะอาดในชุมชนปาลมซิตี้

ชุมชนปาลมซิตี้ ลักษณะความสะอาด โซน 1 โซน 2 โซน 4 โซน 5 โซน 6 โซน 9 โซน 10 โซน 11

1.ไมมีกลิ่นเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย √ √ √ √ √ √ √ √ 2.ไมมีปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย √ √ √ √ √ √ √ √ 3.มีทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) √ √ √ √ √ √ √ √ 4.ลดปญหาแหลงเพาะพันธุและแพรกระจายของเชื้อโรค √ √ √ √ √ √ √ √ 5. อื่นๆ.. √ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ในโซนนั้นๆ มี ตาราง ซ-2 ลักษณะของโซนที่สะอาดในชุมชนกลางนา

ชุมชนกลางนา ลักษณะความสะอาด โซน 1 โซน 2 โซน 4 โซน 5 โซน 6 โซน 7 โซน 8 โซน 9 โซน 10 โซน 13 โซน 14

1.ไมมีกลิ่นเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย √ √ - √ √ √ √ √ - √ √ 2.ไมมีปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย √ √ - √ √ √ √ √ - √ √ 3.มีทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) √ √ - √ √ √ √ √ - √ √ 4.ลดปญหาแหลงเพาะพันธุและแพรกระจายของเชื้อโรค √ √ - √ √ √ √ √ - √ √ 5. อื่นๆ.. √ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ในโซนนั้นๆ มี

Page 357: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

335ตาราง ซ-3 ลักษณะของโซนที่สะอาดในชุมชนควนสันติ

ชุมชนควนสันติ ลักษณะความสะอาด โซน 1 โซน 2 โซน 3 โซน 4 โซน 5 โซน 6 โซน 7 โซน8 โซน 9 โซน 11 โซน 12

1.ไมมีกลิ่นเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย √ √ √ √ √ √ √ √ - - - 2.ไมมีปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย √ √ √ √ √ √ √ √ - - - 3.มีทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) √ √ √ √ √ √ √ √ - - - 4.ลดปญหาแหลงเพาะพันธุและแพรกระจายของเชื้อโรค √ √ √ √ √ √ √ √ - - - 5. อื่นๆ.. √ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ในโซนนั้นๆ มี ตาราง ซ-3 (ตอ)

ชุมชนควนสันติ ลักษณะความสะอาด โซน 13 โซน 14 โซน 15 โซน 16 โซน 17 โซน 18 โซน 19 โซน 22

1.ไมมีกลิ่นเหม็นเนาที่เกิดจากการทิ้งมูลฝอย √ - √ √ √ √ √ √ 2.ไมมีปญหาเรื่องสัตวที่มาคุยเขี่ยมูลฝอย √ - √ √ √ √ √ √ 3.มีทัศนียภาพที่นาดู (ไมมีขยะตกคาง) √ - √ √ √ √ √ √ 4.ลดปญหาแหลงเพาะพันธุและแพรกระจายของเชื้อโรค √ - √ √ √ √ √ √ 5. อื่นๆ.. √ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ในโซนนั้น

Page 358: Key Success Factors for Municipal Solid Waste Separation ...ชุมชนกลางนา และชุมชนควนส ันติอําเภอหาดใหญ

336

ประวัติผูเขียน

ชื่อ สกุล นางสาวอโนทยั ชูสุวรรณ รหัสประจําตัวนักศึกษา 4777036 วุฒิการศึกษา

วุฒิ ชื่อสถาบัน ปท่ีสําเร็จการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต สถาบันราชภัฏยะลา 2547 (วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม) การตีพิมพเผยแพรผลงาน อโนทัย ชูสุวรรณ, โรจนัจฉริย ดานสวัสดิ์ และเสาวลักษณ รุงตะวันเรืองศรี.2550 “วิธีการเชิงกระบวนการในการกําหนดปจจัยหลักแหงความสําเร็จของการคัดแยกมูลฝอยชุมชนกลางนา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา” ในเอกสารประกอบการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติ คร้ังที่ 7 กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. หนา 151-165 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เขตการศึกษาสุราษฎรธานี, 4-5 เมษายน 2550