m.a. (indian philosophy and religion), banaras hindu ... · อ.อาชว ภูริ น...

21
.อาชวภูริชญ นอมเนียน ศศ.. (ศาสนศึกษา) เกียรตินิยมอันดับ .ศาสนศึกษา .มหิดล M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu University, Varanasi, India E-mail : [email protected] ศาสนาเชน .กําเนิดศาสนา (เกิดเมื่อไหร ที่ไหน จากเหตุปจจัยอะไร) ศาสนาเชนเปนศาสนาที่เกาแกของโลกและในอินเดีย เกิดกอนพระพุทธศาสนา ศาสนิก ชนเชนเชื่อวาโลกนี้มีมานานแลวและจะดํารงอยูเชนนี้ตลอดไป โดยแบงเปนยุคในแตละยุคจะมี รอบคือ รอบแหงความเจริญและรอบแหงความเสื่อม รอบแหงความเจริญเรียกวา อุตสรปนี หมายความวาทุกอยางเริ่มจากความไมดีแลวพัฒนาไปสูความเจริญ เชน อายุของคนและสัตวจะ เพิ่มขึ้น รางกายสูงใหญขึ้น รวมถึงคุณธรรมความดีจะปรากฏเดน สวนรอบแหงความเสื่อมเรียกวา อวสรปนี หมายความวาทุกอยางจะเริ่มจากความเจริญแลวไปสูความเสื่อม เชน อายุของคนและ สัตวจะลดลง รางกายจะเล็กลง รวมถึงคุณธรรมก็จะลดลง สําหรับโลกที่เรากําลังอยูในปจจุบันเปน รอบแหงความเสื่อม และในแตละรอบจะมีศาสดาของศาสนาเชนอุบัติขึ้นมาในโลก ๒๔ พระองค .ศาสดาและสาวก (ใครคือศาสดาและสาวกสําคัญ) ศาสนาเชนมีพระศาสดาดวยกัน ๒๔ พระองค แตสําหรับศาสนิกชนเชนเรียกพระศาสดาของ ตนเองวา พระติรถังกรแปลวา ผูกระทําซึ่งทา(น้ํา)เพื่อพาคนขามฟากจากมนุษยภูมิไปสูนิร วาณ(ภาษาปรากฤต)หรือนิพพานในศาสนาพุทธ พระติรถังกรทั้ง ๒๔ พระองค มีพระนาม ดังตอไปนีพระนามพระติรถังกร เมืองที่ประสูติ . ฤษภเทวะ หรือ อทินาถภควันต อโยธยา . อชิตนาถ อโยธยา . สัมภาวนาถ ศรีวัสติ . อภินันท อโยธยา . สุมาตินาถ อโยธยา . ปทมปราภู โกสัมพี . สุพารสวนาถ วาราณสี . จันทรประภา จันทรประภา . บุษปทันต คาคันที ๑๐.ศีตลนาถ ภาทริละ ๑๑.เศยาสนาถ สิมหปุระ ๑๒.วอัสุพุชยา กัมพาปุระ ๑๓.วิมลนาถ คัมปลาปุรี

Upload: others

Post on 28-Oct-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

อ.อาชวภูริชญ นอมเนียน ศศ.บ. (ศาสนศึกษา) เกียรตินิยมอันดับ ๒ ว.ศาสนศึกษา ม.มหิดล M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu University, Varanasi, India E-mail : [email protected]

ศาสนาเชน ๑.กําเนิดศาสนา (เกิดเม่ือไหร ที่ไหน จากเหตุปจจัยอะไร)

ศาสนาเชนเปนศาสนาที่เกาแกของโลกและในอินเดีย เกิดกอนพระพุทธศาสนา ศาสนิกชนเชนเชื่อวาโลกนี้มีมานานแลวและจะดํารงอยูเชนนี้ตลอดไป โดยแบงเปนยุคในแตละยุคจะมี ๒ รอบคือ รอบแหงความเจริญและรอบแหงความเสื่อม รอบแหงความเจริญเรียกวา อุตสรปนี หมายความวาทุกอยางเริ่มจากความไมดีแลวพัฒนาไปสูความเจริญ เชน อายุของคนและสัตวจะเพ่ิมขึ้น รางกายสูงใหญข้ึน รวมถึงคุณธรรมความดีจะปรากฏเดน สวนรอบแหงความเสื่อมเรียกวา อวสรปนี หมายความวาทุกอยางจะเริ่มจากความเจริญแลวไปสูความเสื่อม เชน อายุของคนและสัตวจะลดลง รางกายจะเล็กลง รวมถึงคุณธรรมก็จะลดลง สําหรับโลกที่เรากําลังอยูในปจจุบันเปนรอบแหงความเสื่อม และในแตละรอบจะมีศาสดาของศาสนาเชนอุบัติข้ึนมาในโลก ๒๔ พระองค

๒.ศาสดาและสาวก (ใครคือศาสดาและสาวกสําคัญ) ศาสนาเชนมีพระศาสดาดวยกัน ๒๔ พระองค แตสําหรับศาสนิกชนเชนเรียกพระศาสดาของ

ตนเองวา “พระติรถังกร” แปลวา ผูกระทําซึ่งทา(น้าํ)เพ่ือพาคนขามฟากจากมนุษยภูมิไปสูนิรวาณ(ภาษาปรากฤต)หรือนพิพานในศาสนาพุทธ พระติรถังกรทั้ง ๒๔ พระองค มีพระนามดังตอไปนี ้

พระนามพระติรถังกร เมืองที่ประสตูิ ๑. ฤษภเทวะ หรือ อทินาถภควนัต อโยธยา ๒. อชิตนาถ อโยธยา ๓. สัมภาวนาถ ศรีวัสต ิ๔. อภินันท อโยธยา ๕. สุมาตินาถ อโยธยา ๖. ปทมปราภ ู โกสัมพี ๗. สุพารสวนาถ วาราณส ี๘. จันทรประภา จันทรประภา ๙. บุษปทนัต คาคนัท ี๑๐.ศตีลนาถ ภาทริละ ๑๑.เศยาสนาถ สิมหปุระ ๑๒.วอัสุพุชยา กัมพาปุระ ๑๓.วิมลนาถ คัมปลาปุรี

Page 2: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

๑๔.อนันตนาถ อโยธยา ๑๕.ธรรมนาถ รตนะปุรี ๑๖.ศนัตนิาถ หัสตินาปูร ๑๗.กุนตุนาถ หัสตินาปูร ๑๘.อรหนาถ หัสตินาปูร ๑๙.มาลลินนาถ มิถิลา ๒๐.มุนีสุวรนาถ ราชคฤห ๒๑.นามินาถ มิถิลาปุรี ๒๒.เนมินาถ เศารีปุระ ๒๓.ปรัศวนาถ วาราณส ี๒๔.มหาวีระ คันทาลปุระ

พระประวัติพระปรัศวนาถะ

ปรัศวาถะ ศาสดาองคที่ ๒๓ ประสูติที่เมืองพาราณสี กลาววากอน ค.ศ.๒๔๖๑ ป บาง ๘๑๖ ป บาง ๖๖๒ ปบาง กอนมหาวีระ ๒๕๐ ปบาง พระบิดาเปนราชาแหงพาราณส ีทรงพระนามวา อัศวเสน พระมารดา วามา กอนประสูตทิรงสุบินวา เห็นงูเหาดาํขางกาย จึงตั้งนามพระโอรสวา ปรัศนาถะ ทานเปนนักรบ สามารถปราบเมืองกลิงครัฐ ไดอภิเษกกบัเจาหญิงประภาวดี ราชธดิาของพระเจาประเสนชิต กษตัริยแหงอโยธยา อายุ ๓๐ ป ออกเปนสนัยาสี บาํเพ็ญตบะทรมานกายอยู ๘๓ ป ปที ่๘๔ จึงสําเร็จเกวลันชญาณ บางคัมภีรกลาววาตอนเกดิมกีารทํานายอยางเจาชายสิทธัตถะ อายุ ๘ ป ไดถือศลี ๑๒ ขอ คือ ๑.ไมฆา ๒. ไมปด ๓. ไมลัก ๔. ไมประพฤติผดิประเวณ ี๕. ไมโลภ ๖. อธิษฐานวา จะเดินไปไหนแคไหนทุกวนั ๗. พูดชั่ว ๘. ไมคดิชั่ว ๙. ไมเพลิดเพลินกับการกนิ ๑๐. สวดมนตวันละ ๓ เวลา ๑๑. อดอาหารตามกําหนด ๑๒. ใหทานทกุวัน อายุ ๑๖ ป ไดอภิเษกโดยมิไดตองการ ทานบาํเพ็ญตบะและสําเร็จเกวลัชญาณที่ใตตนอโศก โดยมีมารชื่อเมฆมาลินมาผจญ มีพญานาคชื่อธารณะกบัภรรยาชื่อปทมาวดีมาชวย

Page 3: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

สาวก ๒ คนแรกคือ พระมารดากับชายาของทาน ทานสัง่สอนอยู ๖๐ ป ถึงเบญจภาพ ที่เขาสเมตสีขร เมืองคยา บัดนี้เขาเรียกวา เขาปารัศวนถะ

พระประวัติพระมหาวีระ ศาสดาของศาสนาเชน เดิมมีนามวา "วรรธมาน" แปลวา ผูเจริญมีกําเนิดในสกุลกษตัริย

เมืองเวสาลี พระบิดานามวา สิทธารถะ พระมารดานามวา ตรศิาลา เมื่อเจริญวัยไดรับการศึกษาศิลปศาสตรหลายอยางโดยควรแกฐานะแหงกษัตริย เผอิญวันหนึ่งขณะเลนอยูกับสหาย ไดมีชางตกมันตัวหนึ่งหลุดออกจากโรงวิ่งมาอาละวาด ทําใหฝูงชนแตกตื่นตกใจ ไมมีใครจะกลาเขาใกลและจัดการชางตกมันตัวนี้ใหสงบได แตเจาชายวรรธมานไดตรงเขาไปหาชางและจบัชางพากลับไปยังโรงชางไดตามเดิม เพราะเหตุที่แสดงความกลาหาญจบัชางตกมนัไดจึงมีนามเกียรติยศวา "มหาวีระ" แปลวา ผูกลาหาญมาก มหาวีระมีพ่ีนองรวมพระมารดาเดียวกัน ๒ องค คือ พระเชษฐภคนิี และพระเชษฐภาดา พระมหาวีระ เปนโอรสองคสุดทาย

เมื่อเจาชายวรรธมานมีพระชนมายุได ๑๒ พรรษา ทรงไดรับพิธียัชโญปวีตคือพิธีสวมดายมงคลแสดงพระองคเปนศาสนิกตามคตศิาสนาพราหมณ หลังจากพระบิดาไดทรงสงเจาชายวรรธมานไปศึกษาลัทธิของพราหมณษจารยหลายป เจาชายทรงสนพระทัยในการศึกษาแตในพระทัยมีความขัดแยงกับคําสอนของพราหมณที่วา วรรณะพราหมณประเสริฐที่สุดในโลก สวนวรรณะอื่นต่ําตอย แมวรรณะกษัตริยยงัต่ํากวาวรรณะพราหมณ แตแลวพวกพราหมณไดประพฤติกาย วาจาและใจ เลวทรามไปตามทิฐิและลัทธินัน้ๆ

เมื่อเจาชายวรรธมานมีพระชนมายุได ๑๙ พรรษา พระบิดาทรงจัดใหอภิเษกสมรสกับเจาหญิงยโสธรา ซึ่งเวลาตอมาไดพระธดิาองคหนึ่งนามวา อโนชา หรือ ปริยทรรศนา เจาชายวรรธมานกับพระชายาไดเสวยสุขในฆราวาสวิสัยดวยความเกษมสําราญจนพระชนมายุได ๒๘ พรรษา มีความเศราโศกเสียพระทัยอยางมากจากการสิ้นพระชนมของพระบิดาและพระมารดา ดวยวิธีการอดอาหารตามขอวัตรปฏิบัตใินศาสนาพราหมณซึ่งเรียกวา "ศาสนอตัวนิิบาตกรรม" ซึ่งถือวาเปนบุญอยางหนึ่ง

การสูญเสียพระบิดาและพระมารดาไดทาํใหเจาชายทรงเศราพระทัยมาก ทรงสละพระชายาและพระธิดา เปล่ียนผาคลุมพระกายเปนแบบนักพรต เสด็จออกจากนครไพสาลี และไดทรงประกาศมหาปฏิญญาในวนันั้นวา นบัตั้งแตวันนี้เปนตนไป ๑๒ ป ขอไมพูดกบัใครแมคําเดยีว พระมหาวีระไดทรงบําเพ็ญตนเปนนักพรตถือการขอเปนอาชีพ ไดเสด็จเที่ยวไปตามคามนิคมตางๆโดยมิไดพูดอะไรกบัใครเปนเวลา ๑๒ ป ไดบรรลุความรูข้ันสูงสุดเรียกวา ไกวัล ถือเปนผูหลุดพนกิเลสทั้งปวงเปนพระอรหันตและเปนผูชนะโดยสิ้นเชิง เมื่อพระมหาวีระไดทรงบรรลุไกวัลแลว จึงทรงพิจารณาเห็นวามีความจาํเปนตองละปฏิญญานัน้เสียกลับมาสูภาวะเดมิคือยองพูดกับคนทั้งหลาย เพ่ือชวยปฏิรูปความคดิและความประพฤติเสียใหม แลวไดเร่ิมเทีย่วประกาศศาสนาใหมอันไดนามวาทานเชน ศาสดามหาวีระไดทรงใชเวลาในการสั่งสอนสาวกไปตามคามนคิมตางๆ

Page 4: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

เปนเวลา ๓๐ ป และไดทรงเขาถึงนิพพานหรือมรณภาพ เมื่อมีพระชนมายุได ๗๒ พรรษา ในประมาณปที่ ๕๗๒ กอน ค.ศ. ที่เมืองปาวา หรือสาธารณรัฐมัลละ และปาวาบุรีนีไ้ดเปนสังเวชนยีสถานสําหรับศาสนิกเชนทกุคน ๓.นิกายตางๆ (แบงออกเปนกี่นิกาย ทําไม แตละนิกายแตกตางกันอยางไร ในเรื่องคําสอน การปฏิบัติ และพิธีกรรม)

ศาสนาเชนมีนิกายใหญอยู ๒ นิกาย คือ นิกายทิคัมพร และนิกายเศวตัมพร การแตกแยกเปน ๒ นิกายนั้นเกิดจากความแตกตางกันที่ความเชื่อในการปฏิบัติเพ่ือเขาถึงโมกษะตางกัน เชน ๑. นิกายทิคัมพร เห็นวานักบวชจะตองสละทรัพยสินทั้งหมด แมแตผาหมก็ตองสละ หากยังนุงหมอยูก็แสดงวายังมีกิเลสเพราะยังอายอยู ยังติดยังยึดอยู ผูที่หลุดพนแลวจากกิเลสจะไมติดไมยึดอยูในอะไรทั้งส้ิน ดังนั้น นิกายทิคัมพรจึงนุงลงหมฟา (ชีเปลือย) ๒. นิกายเศวตัมพรถือวา การนุงหมผาขาวเปนเพียงการปองกันหนาวรอนและปกปดรางกายไมใหอุจาดตาเทานั้น ไมใชเร่ืองกิเลส ดังนั้นนิกายเศวตัมพรจึงนุงหมขาว ขอปฏิบัติของพระนิกายทิคัมพร ๑. ตองปฏิบัติตามปญจมหาพรตหรือมหาพรตทั้ง 5 คือ อหิงสา สัตยะ อัสเตย พรหมจริยะ และ อปริครหะ อยางเครงครัด ๒. ตองสํารวม ๕ คือ การเคลื่อนไหว การพูด การบริโภคอาหาร การยกและวางสิ่งของการโยนสิ่งตางๆ ๓. ตองควบคุมอายตนะภายในทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ล้ิน และกาย ๔. ตองปฏิบัติกิจ ๖ อยางคือ หาความสงบ สวดมนตร เคารพผูเหนือกวาตน ปลงอาบัติ มุงมั่นที่จะกําจัดบาป และทําสมาธิ ๕. โกนผม ๖. เปลือยกาย ๗. ไมอาบน้ํา ๘. นอนบนพื้นที่ราบ

๙. ไมแปรงฟน ๑๐. ยืนบริโภค ๑๑ บริโภคอาหารเพียง ๑ ครั้งใน ๒๔ ช่ัวโมง ขอปฏิบัติของพระนิกายเศวตัมพร ๑. ตองปฏิบัติตามหมาพรต ทั้ง ๕ ๒. ตองไมบริโภคอาหารในเวลาค่ําคืน ๓. ตองควบคุมอายตนะทั้ง ๕ ๔. ตองรักษาความสะอาดภายใน ๕. ตองรักษาความหมดจด ๖. ตองรักษาความหมดจดในการครอบครองเปนเจาของสิ่งตางๆ ๗. ตองใหอภัย

Page 5: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

๘. ตองไมยึดมั่นถือมั่น ๙. ตองใจดี ๑๐. ตองพูดดี

๑๑. ตองชวยคุมครองทุกชีวิต นิกายทิคัมพรมีผูนับถือมากในทางภาคใตของอินเดีย และนิกายนี้มีเฉพาะเพศชายเทานั้น

สวนเพศหญิงจะบวชไมได เพราะถือวาเพศหญิงเปนเพศแหงบาป ไมสามารถบรรลุคุณธรรมชั้นสูงได จะตองทําใหความดีเกิดเปนชายเสียกอน จึงจะสามารถบรรลุมรรคผลได

นิกายเศวตัมพรเจริญเติบโตทางภาคเหนือของอินเดีย นักบวชนั้นมีไดทั้ง ๒ เพศ นิกายเศวตัมพรเชื่อวา ผูหญิงสามารถบรรลุโมกษะได โดยอางวาพระติตถังกรองคที่ ๑๙ นั้นเปนหญิง ตอมาในปพ.ศ. ๒๐๑๖ ไดเกิดนิกายที่ ๓ เรียกวาสถานัควาที เปนนิกายที่แยกจากนิกายเศวตัมพร นิกายนี้จะไมใหความสําคัญในการสรางวัด และการเคารพรูปบูชา ทั้งรับรองอาคมะเพียง ๓๓ ใน ๘๔ อาคมะเทานั้นวาเปนคัมภีรที่ถูกตอง ๔.คําสอนเกี่ยวกับการกําเนิดโลกและมนุษย ธรรมชาติของมนุษย ชะตากรรมของมนุษย ความตาย ความดี ความชั่ว ฐานะของสตรี ศาสนาเชนเปนศาสนาประเภทนอัสติกเชนเดียวกับพุทธศาสนาคือปฏิเสธในคัมภีรพระเวทที่มาพระเจาโดยไดแสดงใหเห็นวาทุกส่ิงทุกอยางที่เกิดมาในโลกลวนมีเหตุปจจัยอาศัยซึ่งกันและกันสิ่งที่เกิดขึ้นตองมีสาเหตุและสาเหตุลวนมาจากผลแหงการกระทํา(กรรม) ดวยเหตุนี้ธรรมชาติของมนุษยจึงอยูที่การกระทําของมนุษยเองไมมีบุคคลใดหยิบยื่นการกระทําทั้งดีและ/หรือช่ัวใหแกผูใดได พระศาสดาแตละพระองคลวนเปนตัวอยางของการประพฤติในกรรมดีโดยไดแสดงแนวทางและวิธีการประพฤติปฏิบัติใหศาสนิกชนดําเนินตาม ชีวิตของมนุษยเปนสิ่งมีชีวะที่ประเสริฐที่สามารถกอคุณประโยชนใหแกโลกได การมีชีวิตอยูในโลกมนุษยจึงมีหนาที่รวมกันคือชวยเหลือเก้ือกูลซึ่งกันและกันไมตั้งตนเปนศัตรูกัน เพราะเปนเครื่องกีดกั้นใหตนเองไมประสบความสําเร็จ ศาสนาเชนเนนคําสอนเร่ือง อหิงสาวาเปนบรมธรรมคือเปนที่อันยิ่งเหนือกวาธรรมหรือคําสอนอื่นใดเพราะเมื่อมนุษยตั้งอยูในความเบียดเบียนทั้งตนเองและผูอ่ืนแลวสังคมจะเกิดสันติสุข การตายในศาสนาเชนไมใชส่ิงนากลัวสําหรับผูศึกษาและปฏิบัติในกุศลธรรมเพราะความตายเปนสวนหนึ่งของชีวิตมนุษย แตการดํารงชีวิตอยูของมนุษยเปนสิ่งที่ยากกวาเพราะตองพบกับอุปสรรคในรูปแบบตางๆ เชน ความหิวกระหาย ความเจ็บปวดทั้งทางรางกายและจิตใจ เปนตนการจะรอดพนในสิ่งเหลานี้ไดตองอาศัยการลงมือปฏิบัติ การปฏิบัติในทางธรรมจะยกตัวตนของผูปฏิบัติใหสูงข้ึนจนถึงข้ันเปนบรรลุเปนพระอรหันตเขาสูโมกษะไมกลับมาเกิดอื่น ไมมีตนเหตุของการเกิดและการตายอีกตอไป การตายที่ชาวเชนถือวาไดบุญมากมีอานิสงสมากคือ การอดอาหาร ดังปรากฏเรื่องราวของพระบิดาและพระมารดาของพระมหาวีระไดปฏิบัติธรรมอยางอุกฤษคือ การยอมดออาหารจนสวรรคตลงดวยการบําเพ็ญตบะดังกลาว

Page 6: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

ศาสนาเชนใหความยกยองและใหเกียรติสตรีเปนอยางย่ิง สตรีมีสิทธิเทาเทียมกับบุรุษทุกประการทั้งในเรื่องการศึกษาและปฏิบัติธรรมใหบรรลุธรรมที่สูงข้ึนได ดานสังคมสตรีชาวเชนไดรับเกียรติจากสังคมและสามารถเขารวมพิธีกรรมทางศาสนาไดอยางเสนมอภาค แมการบวชเปนนักบวชสามารถกระทําไดในนิกายเศวตัมพรเทานั้นโดยเราเรียกทานวา สาดีพ

๕.หลักจริยธรรมสําคัญเกี่ยวกับการตัดสินความดี ความชั่ว การเปนแนวทางดําเนินชีวิต และการสรางมนุษยสัมพันธระหวางบุคคล สามี ภรรยา พอแม-ลูก หลักคําสอนศาสนาเชน คําสอนพื้นฐาน

หลักคําสอนที่สําคัญพื้นฐานของศาสนาเชน คือปญจพรตหรือพรต ๕ ขอ มี ๑. อหิงสา การไมเบียดเบียนกันทั้งกายวาจาใจ ศาสนาเชนถือวาส่ิงมีชีวิตมีอยูหลายระดับ

จากต่ําไปหาสูง คือ ๑. ชีวิตที่เคลื่อนที่ไมได (สถาวระ) มีเพียงอายตนะเดียว คคือ กายสัมผัส เชน ตนไมและพืชตางๆ ๒. ชีวิตที่เคลื่อนที่ไมได (ตรสะ) แบงออกเปนหลายระดับคือ ก. ชีวิตที่มีอายตนะ ๒ อยาง คือ กายสัมผัสกับชิวหาสัมผัส เชน หนอน ข. ชีวิตที่มีอายตนะ ๓ อยาง คือ กายสัมผัสกับชิวหาสัมผัส และฆานสัมผัส เชนมด ค. ชีวิตที่มีอายตนะ ๔ อยาง คือ กายสัมผัสกับชิวหาสัมผัส ฆานสัมผัส และจักษุสัมผัส เชน ผึ้ง ง. ชีวิตที่มีอายตนะ ๕ อยาง คือ กายสัมผัสกับชิวหาสัมผัส ฆานสัมผัส จักษุสัมผัส และโสตสัมผัส เชน คนและสัตวอ่ืนๆ ศาสนาเชนสอนวาส่ิงที่มีชีวิตดังแสดงมาจะถูกทําลายไมได ทั้งนี้เพราะ “ทุกชีวิตยอมเกลียดชังความเจ็บปวด เพราะฉะนั้นอยาทํารายหรือฆาใคร” ก็การไมฆาไมทําราย นอกจากจะไมทํารายดวยตัวเองทางกาย วาจา หรือทางใจแลว จะใชใหคนอื่นทําตลอดถึงสนับสนุนหรือยินดีที่คนอื่นทําก็ไมได และเนื่องจากศาสนาเชนเครงครัดมากในเรื่องไมทํารายสิ่งมีชีวิตทุกรูปแบบ ดังนั้นพระในนิกายทิคัมพรเมื่อเดินไปไหนจะตองมีไมกวาดคอยปดกวาดทางจะไดไมเหยียบย่ําแมลง อีกทั้งมีผาปดจมูกและปากเพื่อปกปองกันแมลงเล็กๆ และจุลินทรียตางๆเขาไปทางปากและลมหายใจอีกดวย

๒. สัตตยะ พูดแตความจริง ไมพูดเท็จ ตลอดทั้งไมพูดคําหยาบ สอเสียด และเพอเจอ ๓. อัสเตยะ ไมลักขโมย ศาสนาเชนสอนวา ทรัพยสมบัติเปนชีวิตภายนอกของคน การลัก

ทรัพยผูใดก็เสือนวาไดทําลายของชีวิตผูนั้น ศีลขอนี้ยังรวมไปถึงการไมหลบหนีภาษี ไมปลอมแปลงธนบัตร ไมช่ังตวงวัดโกงอีกดวย

Page 7: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

๔. พรหมจริยะ ประพฤติพรหมจรรย ศาสนาเชนใหความสําคัญตอศีลขอนี้มาก ชีวิตที่ประเสริฐแทตองเปนชีวิตนักบวช เพราะเปนชีวิตที่ประเสริดดุจพรหม ไมยุงเก่ียวดวยกามรมณ ศีลขอนี้ยังรวมไปถึงการละเวนสิ่งที่ตองหาม เชน ไมดื่มสุราเมรัย ไมเสพยาเสพติดตางๆอีกดวย ๕. อปริครหะ ไมละโมบมาก อยากไดโนนอยากไดนี่ไมมีที่ส้ินสุด ตลอดจนอยากไดส่ิงที่ไมสมควรดวย ศีล ๕ ขอนี้เรียกวามหาพรต เปนขอปฏิบัติของพระ สวนคฤหัสถก็ปฏิบัติตามศีลทั้ง 5 นี้ดวย เพียงแตปฏิบัติผอนลงมา เรียกวาอนุพรต อยางเชนศีลขอ ๑ คฤหัสถก็ละเวนไมเบียดเบียนทํารายเฉพาะชีวิตที่เคลื่อนที่ไดเทานั้น ศีลขอ ๒ ก็งดเฉพาะการพูดเท็จเทานั้น ศีลขอ ๔ ยังยินดีในคูครองของตนได และศีลขอ ๕ ยังยินดีส่ิงที่ไดมาโดยชอบธรรมหรืออาชีพสุจริตได พรตทั้ง ๕ ขอนี้เปนพื้นฐานของคําสอนในศาสนาเชน สวนคําสอนอื่นๆ สวนใหญก็เปนไปเพ่ือขยายหรือสนับสนุนพรตทั้ง ๕ ศาสนาเชนมีจุดมุงหมายที่จะใหศาสนิกกําจักกิเลสาวะทั้งปวงไดอยางเด็ดขาด เพ่ือบรรลุโมกษะ ภูมิที่พนจากสังสารวัฎการเวียนวายตายเกิด ดังนั้นศาสนาเชนจะตองปฏิบัติธรรมอยางเครงครัด แตการจะปฏิบัติธรรมอยางเครงครัดได ก็จําตองใหคําปฎิญาณแกพระเชน เพ่ือผูกพันที่จะตองปฏิบัติตามใหได ชาวเชนถือคําปฎิญาณวาสําคัญมาก เปนหนทางนําไปสูความสําเร็จในทุกกิจการ คําปฎิญาณที่ศาสนิกชนที่เปนฆารวาสจะพึงรักษาไวดังนี้ อนุพรต ๕ ๑. อหิงสา ตองไมทําลายสิ่งมีชีวิตทั้งหลายที่มีอายตนะมากกวา ๑ อายตนะขึ้นไป รวมทั้งไมเบียดเบียนสัตวในรูปแบบตางๆ เชน ผูกสัตวแนนเกินไป ตีสัตวอยางทารุณ เด็ดอวัยวะสัตว ใชงานหนัก และเล้ียงสัตวอยางไมดี เปนตน ๒. สัตยะ ตองไมหลอกลวงทุกรูปแบบรวมทั้งไมพูดเท็จ ไมพูดสอเสียด ไมพูดคําหยาบ และไมพูดเพอเจออีกดวย ๓. อัสเตยะ ตองไมลักขโมย รวมทั้งไมคอรัปชั่นทุกรูปแบบ ๔. พรหมจริยะ ตองไมประพฤติผิดในกาม ๕. อปริครหะ ตองไมละโมบโลภมาก อยากไดส่ิงตางๆเกินความจําเปน นอกจากนี้ยังตองปฎิญาณเพิ่มเติมอีกหลายขอ เชน ๑. ตองจํากัดความตองการ เชน จํากัดขอบเขต ไมเดินทางดานใตถึงลังกา ดานเหนือถึงภูเขาหิมาลัย ทางตะวันตกถึงประเทศอังกฤษและทางตะวันออกถึงประเทศจีน เปนตน หรือไมไตสูงมากเกินไป ไมไตลงมากเกินไป ไมเดินเฉไปเฉมา เปนตน ๒. ตองไมบริโภคอุปโภคสิ่งที่ไมสมควร เชน ไมรับประทานอาหารหวาน ไมอาบน้ําถูตัวดวยสบู ไมลูบตัวดวยเครื่องหอม และไมประดับประดารางกายเปนตน ๓. ตองตอตานเรื่องที่ไมถูกตอง เชน มิจฉาสมาธิ ความประมาณในการเก็บ และการใชอาวุธ และการชักชวนคนใหทําความชั่วเปนตน ๔. ตองนั่งสมาธิอยางนอยวันละ ๔๘ นาที ในชวงนั่งสมาธิตองตั้งใจใหทุกคนไมทําความผิด ไมวาทางกาย วาจา และใจ

Page 8: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

๕. ตองไมเลนการพนัน ไมรับประทานเนื้อสัตว ไมดื่มสุราเมรัย ไมผิดคูครองคนอื่น ไมลาสัตว ไมขโมยและไมเสพ เปนตน มหาพรต ๕ สวนของพระเชน นอกจากจะปฏิบัติตามอนุพรต ๕ แลว ยังตองปฏิบัติยิ่งยวดขึ้นไปอีก

๑. อหิงสา ตองไมฆาไมทํารายทุกชีวิตไมวาจะมีอายตนะ ๕ หรือ ๔ หรือ ๓ หรือ ๒ หรือ ๑ ก็ตาม เพราะฉะนั้น พระในศาสนาเชนมักจะอยูในวัด หรืออยูประจําที่ไมออกไปไหน เพราะอาจไปเหยียบย่ําสัตวหรือแมลงตาย ถาจําเปนตองไป จะตองคอยระมัดระวังใหดี เชน มีไมกวาดเพื่อปดกวาดทางจะไดไมเหยียบย่ําสัตวหรือแมลง ตองมีผาปดปากปดจมูก ปองกันแมลงและจุลินทรียตางๆมิใหเขาไปทางปากหรือจมูก เวลาเดินตองสํารวมมองดูทางเดินจะไดไมเหยียบสิ่งมีชีวิต ตองมีผากรองน้ําสําหรับกรองน้ํา เพ่ือไมใหสัตวหรือแมลงอยูในน้ําติดเขาไปในปาก กลางคืนก็ไมตองเปดไฟหรือจุดไฟ เพราะจะลอแมลงใหไปเลนไฟตาม เพราะฉะนั้นพระเชนจึงมักจะอยูวัดไมคอยไปไหนเพราะเกรงจะทําลายสิ่งมีชีวิต ๒. สัตยะ พูดจริง พระเชนนอกจากจะไมพูดเท็จแลว ยังไมพูดสอเสียด คําหยาบ และเพอเจออีกดวย เหตุนี้พระเชนขณะที่โกรธ โลภ และกลัวจะไมพูด ๓. อัสเตยะ ไมลักขโมย ศาสนาเชนถือวาทรัพยเปนชีวิตภายนอนของตน หากใครไปลักทรัพยของเขาไป ก็เทากับไดทําลายชีวิตของเขาดวยรวมถึงการไมช่ังตวงวัดโกง ไมปลอมแปลงธนบัตร ไมหลบหนีภาษี ฉะนั้นพระเชนกอนที่จะเขาไปพักบานใครจะตองขออนุญาตเจาของบานกอน และจะตองขออนุญาตอยูเร่ือยตราบที่ยังพักอาศัยที่บานนั้น หากจะใชส่ิงใดก็ตองขออนุญาตดวยเชนกัน และเมื่อมีพระเชนไดรับอนุญาตใหอาศัยบานหลังนั้นกอนแลว ตอมามีพระเชนอีกรูปประสงคจะเขาพักบานหลังนั้นบางก็จะตองอนุญาตเจาของบานและพระเชนองคที่เขาพักบานหลังนั้นกอน จึงจะเขาพักได หรือพระเชนอยูตอหนาอาจารย จะยังฉันอาหารไมไดตราบที่ยังไมแสดงวาตนไดรับอาหารมาอยางบริสุทธิ์ และยังไมไดรับอนุญาตจากอาจารยใหฉัน ๔. พรหมจริยะ ประพฤติพรหมจรรย ศาสนาเชนใหความสําคัญตอศีลขอนี้มาก การประพฤติพรหมจรรยเปนความประพฤติที่ประเสริฐแทสุดดุจพรหม เพราะฉะนั้นพระเชนตองไมเก่ียวดุจพระพรหม เพราฉะนั้นพระเชนตองไมเก่ียวของกับเทพนารีและหญิงมนุษยตลอดถึงสัตวเพศเมีย อีกทั้ง ไมพูด และไมคิดสนับสนุนสงเสริมใหใครเกี่ยวของกันทางเพศและเพื่อตัดไฟตนลมในเรื่องนี้ พระเชนตองไมพูดกับผูหญิง ไมมองผูหญิง ทั้งไมรําลึกถึงความหลังที่ยังเก่ียวของกับผูหญิงอีกดวย นอกจากนี้พระเชนตองไมนั่งที่ผูหญิงหรือสัตวเพศเมียหรือขันทีเคยนั่งมากอน ทั้งไมอยูในอาคารที่ผูหญิงหรือสัตวเพศเมียหรือขันทีอยูอาศัยมากอนศีลขอนี้ยังรวมไปถึงการละเวนส่ิงตองหามเชนไมดื่มสุราเมรัย และไมเพยาเสพติดตางๆอีกดวย ๕. อปริครหะ ไมละโมบโลภมาก พระเชนตองมักนอย เพ่ือจิตใจจะไดใสสะอาด ปลอดโปรง ดํารงมั่นอยูในพระธรรม รูเทาทันความจริง มีใจเสมอกันในทุกส่ิง ไมตกอยูในอํานาจอคติ ไมหวั่นไหวดวยโลกธรรม ไมใหรูป รส กล่ิน เสียง มาครอบงําจิตใจได ดังนั้นพระเชน จึงไมควรเปนเจาของครอบครองสิ่งใด เพราะจะทําใหเรารอนอันเนื่องมาจากความโลภ

Page 9: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

ความหลุดพนในศาสนาเชน คําวา การหลุดพน หรือความเปนอิสระของวิญญาณ หรือการถึงโมกษะ หมายถึงการทําใหวิญญาณหลุดพนจากอัตตา และจากความไมบริสุทธิ์ทั้งปวง ไมกลับคืนมาเกิดใหมอีก ในศาสนาพราหมณการหลุดพนของชีวาตมันจะกลับคืนไปรวมอยูกับพรหม ในศาสนาเชนเมื่อวิญญาณหลุดพนจาอัตตาแลว วิญญาณจะไปอยูในสวนหนึ่งของเอกภพที่เรียกวา “สิทธิศิลา” ซึ่งเปนดินแดนแหงความสุขนิรันดร ไมตองกลับมาเกิดใหมีทุกขอีก แนวความคิดเชนนี้ นอกจากจะแสดงใหเห็นวา เปนแนวความคิดที่สืบเนื่องตอจากแนวความคิดของพราหมณแลว ยังแสดงใหเห็นวา เปนแนวความคิดที่มองเห็นวิญญาณและอัตตา เปนคนละสวนกันดังนั้น ความพยายามทําใหวิญญาณแยกออกไปจากอัตตาจึงมีวิธีการตางๆ เชน ทําใหวิญญาณมีความบริสุทธิ์โดยการบําเพ็ญทุกรกิริยา โดยการปฏิบัตินิชรา และ โยคะ เปนตน ในแนวความคิดของศาสนาเชน การที่จะบรรลุถึง “ความหลุดพน” จาก กรมน (กรรม) หรือถึงโมกษะจะตองปฏิบัติ ๔ ข้ันตอน และตองมีความรู ๕ ประเภทดวยกลาวคือ การกําหนดและความตั้งใจ นําไปสูความรูเชิงจิตวิสัย (มติญาณ) ซึ่งเปนความรูช้ันแรกของความรู (ญาณ) ทั้ง ๕ ประเภท ความรูชนิดที่สองไดแก สูตรญาณ เปนความรูไดจากคัมภีรและความรูทั่วไป ความรูสองปะเภทแรกทั้งมติญาณและสูตรญาณ เปนความรูระดับกลางๆ (ปโรกาสสะญาณ) เปนความรูจากภายนอก ความรูจากระดับกลางที่สูงข้ึนไปมี ๓ ชนิด ไดแก อวาธิ (เปนความรูที่ไดจากความรูสึกช้ันสูง) มานะ – ปารยายะ (ความรูไดจากการอาน) เกลาละ (ความรสูงสุดรูถึงอดีตปจจุบันและอนาคต) ข้ันตอนของความรูทั้งมวลเปนอิสระจากการถูกขัดขาวงจากกรรม ทําใหวิญญาณมีความบริสุทธิ์พนจากมลทิน หลักการหนึ่งในศาสนาเชนเชื่อวา ความรูไดมาจากวิญญาณ เพราะคุณสมบัติของวิญญาณคือ มีเจตนา (ความรูสึก) ซึ่งประกอบดวยความรู (ญาณ) และสัญชาติญาณ (ทัศนะ) แตวิญญาณทางโลกถูกปดบังเพราะอํานาจทําลายของกรฺมนฺ (กรรม) จึงเปนวิญาณที่ไมมีความรู อํานาจ และความราเริงโดยสมบูรณ โยคะ ตามหลักการในศาสนาเชน โยคะ คือ การปฏิบัติวิธีหนึ่งทําใหถึงโมกษะ หรือการหลุดพน โยคะทําใหเกิดความรูถึงสภาพความเปนจริงตามที่เปนอยูทําใหมีศรัทธาในคําสอนขององคติรถังกร (องคศาสดา) หยุดการประพฤติช่ัวและประพฤติชอบ ซึ่งนําไปสูการหลุดพนจากการรอยรัดของ กรฺมนฺ (กรรม) ดังนั้น การปฏิบัติโยคะจึงมีคุณคาเทากับการปฏิบัติตามหลัก รัตนไตร ของศาสนาเชน ซึ่งไดแก ความเห็นชอบ ความรูชอบ ความประพฤติชอบ คัมภีรในศาสนา คัมภีรของศาสาเชน เรียกวา อังคะ(อาคม)จารึกคําบัญญัติหรือวินัยและสิทธานต เปนคัมภีรกลาวถึงเร่ืองราวประเภทชาดกในศาสนา(นักปราชญในชนชั้นหลัง อนุโลมวา อังคะและสิทธานต เปนอันเดียวกัน) คัมภีรของศาสนาเชนไดมีการรวบรวมจัดเปนหมวดหมูหลังจากที่หมาวีระปรินิพพานไปแลวราว ๒๐๐ ป และเพ่ิงจดเปนลายลักษณอักษรเมื่อราว ๙๘๐ ปหลังจากปรินิพพานของพระมหาวีระ โดยเขียนเปนภาษาปรากฤต แตอรรถกถาเขียนเปนภาษาสันสกฤต อาคมะแบงเปนอังคะ

Page 10: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

หรือสวนได ๑๒ อังคะ แตอังคะที่ ๑๒ไดสูญหายไป ตอมาในป พ.ศ. ๙๙๗ ไดมีการประชุมที่เมืองวัลลภี แควนคุชรัต และไดมีการจารึกคําสอนศาสนาเชนเปนคัมภีรตางๆ มากมาย แตที่รับรองกันมี ๘๔ คัมภีร ในจํานวน ๘๔ คัมภีร จัดเปนสูตรได ๔๑ สูตร สูตรเบ็ดเตล็ด ๓๐ สูตร เปนอรรถกถา ๑๒ สูตร และมหาอรรถกถา ๑ สูตร แตสูตรตางๆดังกลาว ก็ไมเปนที่แพรหลายรูจักทั่วไปแมในวงการศาสนาเชน

สําหรับอนุพรตในขอ ๑ คอื อหิงสามีรายละเอียดในการแบงช้ันของสัตวออกเปนประเภทตามความสามารถทางประสาทสัมผัส และตามลักษณะทีเ่คลื่อนไหวไดหรือไมคือ อาตมันที่ถูกผูกมัดมี ๒ ไดแก สถาวระ(เคลื่อนไหวไมได) และตรสุะ(เคลื่อนไหวได) ในประเภทเคลื่อนไหวไมได(สถาวระ) มีเพียงอายตนะเดียวคือ อายตนะสําหรับสัมผัส ไดแก ผักหญาในประเภทเคลื่อนไหวได สัตวที่มีอายตนะ ๒ คือ ทางสัมผัสกับทางลิ้มรส เชน หนอน สัตวที่มีอายตนะ ๓ คือ ทางสัมผัส ล้ิมรส ไดกล่ิน เชน มด สัตวที่มีอายตนะ ๔ คือ เพ่ิมในทางมองเห็น เชน ผึ้ง สัตวทีม่ีอายตนะ ๕ คือ เพ่ิมในทางไดยินเสียง เชน นก ผูที่นับถือศาสนาเชนจะฆาหรือกินสัตวเหลานีไ้มได จะทําไดเฉพาะที่มอีายตนะทางสมัผัสอยางเดียว คือ ผักหญา สรุปก็คอื เชนศาสนิกทุกคนทานอาหารมังสวิรัติ ๒. หลักปรัชญา หลักปรัชญาในศาสนาเชน แบงออกเปน ๒ ขอ ดังนี้ ๒.๑ ชญาน แบงออกเปน ๕ ประการ ดังนี ้ ๒.๑.๑ มติชญาน ความรูทางประสาทสัมผัส ๒.๑.๒ ศรุติชญาน ความรูเกิดจากการฟง ๒.๑.๓ อวธิชญาน ความรูเหตุที่ปรากฎในอดตี ๒.๑.๔ มนปรยายชญาน ชญานกาํหนดรูใจผูอ่ืน ๒.๑.๕ เกวลชญาน ชญานอนัสมบูรณซึ่งเกิดขึ้นกอนบรรลุนิรวาณ ๒.๒ ชีวะและอชีวะ

ศาสนาเชนเปนศาสนาทวนิยิม กลาวคือ มองสภาพความจริงวามีสวนประกอบของสิ่งที่มีอยางเที่ยงแทเปนนิรันดรวามีอยู ๒ ส่ิงดังนี้ ๑. ชีวะ ไดแก วิญญาณ หรือส่ิงมีชีวิต หรือ อาตมนั ๒. อชีวะ ไดแก อวิญญาณ หรือส่ิงไมมีชีวิต ไดแกวตัถ ุ อชีวะหรือสสารประกอบดวยองคประกอบขั้นพื้นฐาน ๕ ประการ คอื การเคลื่อนไหว(ธัมมะ) การหยุดนิ่ง(อธัมมะ) อวกาศ(อากาศ) สสารและกาล ทั้งหมดเปนนิรันดร(ปราศจากการเริ่มตน) และทั้งหมดยกเวนวิญญาน(ชีวะ) เปนสิ่งไมมีชีวิต และทั้งหมดยกเวนสสาร เปนสิง่ไมมีตัวตน การเคลื่อนที่และการหยุดนิ่ง โดยตัวของมันเองไมมีอยู จะตองมีส่ิงอ่ืนมาทําใหมนัเคลื่อนที่และหยุดนิ่ง องคประกอบขั้นพืน้ฐานของอชีวะหรือสสารทั้ง ๕ ดังกลาวมกีาล(เวลา) ซึ่งเปนนิรันดรเปนองคประกอบ ถากลาวโดยพสิดารทุกอยาง แบงออกเปน ๙ ดังตอไปนี ้ ๑. ชีวะ หรือ อาตมัน ๒. อชีวะ หรือวัตถ ุ

Page 11: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

๓. ปุณยะ ไดแก บุญ ๔. ปาปะ ไดแก บาป ๕. กรรม ไดแก การกระทาํ ๖. พันธะ ไดแก ความผูกพัน ๗. สังสาระ ไดแก ความเวยีนวายตายเกิด ๘. นิรชระ ไดแก การทําลายกรรม ๙. โมกษะ ไดแก ความหลดุพน ๓. หลักโมกษะ โมกษะคือการหลุดพน หรือความเปนอิสระของวิญญาณ พูดงายๆคือ การทําใหวิญญาณหลดุพนจากอตัตา และจากความไมบริสุทธิ์ ไมตองมาเกิดอกี ในศาสนาพราหมณ เมื่อวิญญาณหลดุพนแลวจะไปรวมอยูกับพรหม สวนศาสนาเชน เมื่อวิญญาณหลุดพนแลว ก็จะไปอยูในสวนหนึ่งของเอกภาพที่เรียกวา "สิทธศิิลา" ซึ่งเปนดนิแดนแหงความสขุนิรันดร ไมตองกลับมาเกิดอกี ขอปฏิบัติที่จะบรรลุโมกษะในศาสนาเชน มีอยู ๓ ประการ ดังนี ้ ๑. ความเชื่อที่ถูกตอง(สัมยัคทรรศน) ไดแก เช่ือในศาสดาทั้ง ๒๔ องค ของศาสนาเชน เช่ือในเชนศาสตร หรือคัมภีรของศาสนาเชน และเช่ือในนักบวชผูสําเร็จผลในศาสนาเชน ๒. ความรูที่ถูกตอง (สัมยัคชญาณ) ไดแก รูส่ิงทั้งหลายตามเปนจริง และดวยความแนใจ ๓. ความประพฤติที่ถูกตอง (สัมยัคจริต) มีขอปฏิบัติทัง้ของนักบวชและคฤหัสถ แตที่นบัวาสําคัญที่สุดก็คอื อหิงสา การไมเบียดเบียน หลักการทั้ง ๓ ขอนี้ เปนทางทําลายกรรม คือการกระทาํ ซึ่งเปนเหตุใหเกิดการถูกผกูมัด หรือผูกพันตามหลกัปรัชญาของศาสนานี ้

๖.พิธีกรรม พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ งานสําคัญทางศาสนาเชนไดแก งานพิธีกรรมรําลึกถึงองคศาสดาในศาสนาเชนทุกองค โดยเฉพาะงานพีกรรมรําลึกถึงพระมหาวีระ (ศาสดาองคสุดทาย)พระกฤษภะนาท (ศาสดาองคแรก) และพระภารสวนาท (ศาสดาองคกอนพระมหาวีระ) แตงานพิธีกรรมที่สําคัญที่สุดในศาสนาเชนไดแกงาน พิธียุสะนะ หรือปชชุสะนะ ซึ่งเปนงานพิธีกรรมกระทําใจใหมีความสงบ การอภัย และการเสียสละ อาศัยอยูเฉพาะท่ีแหงเดียว ในฤดูฝน ในวันสุดทายของงาน เชนศาสนิกชนจะบริจาคทานใหแกผูยากจน และนําองคศาสดาแหไปตามทองถนน นอกจากนั้น ยังมีพิธีกรรมทางศาสนาอีกปละ ๒ ครั้งๆ ละ ๙ วันโดยจัดขึ้นในเดือนไกตระ (พฤษภาคม - มิถุนายน) และเดือน อัศวิน (กันยายน – ตุลาคม) งานนี้จัดขึ้นเพื่อเคารพรูปองคพระศาสดา ในวันเพ็ญ เดือนตุลาคม – พฤศจิกายน วันเดียวกับที่ชาวฮินดูจัดงานพิธีบูชา ทิวาลี (งานพิธีกรรมเคารพแสงสวาง) เชนศาสนิกชนมีพิธีกรรมระลึกถึงการนิพพานของมหาวีระ โดนจุด

Page 12: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

ตะเกียง หลังจากนั้น อีก ๕ วัน จะเปนงานวันญาณ-ปญจม มีพิธีกรรมจัดขึ้นภายในโบสถเพ่ือเคราพพระคัมภีรของศาสนา ในวันเพ็ญ เดือนไกตระ (มีนาคม - เมษายน) เชนนิกชนจํานวนมากพากันเดินทางจาริแสวงบุญไปยังภูเขาสะตรันชัยซึ่งถือวาเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิแหงองคติรธงกร (ศาสดา) องคแรก นากจากนั้น ผูนับถือศาสนาเชนทั่วอินเดียทําพิธีฉลองวันประสูติของมหวีระ ๗.ประเทศที่มีศาสนิกชนศาสนานี้

สาธารณรัฐอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ เนปาล ปจจุบันสาวกศาสนาเชนมีอยูประมาณ ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน กระจัดกระจายกันอยูในเกือบทุกรัฐของอินเดีย แตสวนใหญจะมีอยูมากในบริเวณภาคตะวันตกของอินเดีย อุตรประเทศ ไมเซอร มัธยมประเทศ และมหาราษฏระราในอินเดีย สวนเชนศาสนิกในตางประเทศไมมีผูนับถือ

Page 13: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

ภาพประกอบศาสนาเชน

ชาวเชนธุดงค(เดินทาง)ไปตามสถานทีส่ําคัญในศาสนา จากภาพวัดเชนในเมืองชัยปูร

ชาวเชนประกอบพิธีสาธยายมนตดวยการนําขาวสารมาจัดเปนรูปตางๆ

Page 14: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

รูปปนพระอาทินาถภควันต พระศาสดาพระองคแรกในศาสนาเชน

รูปปนพระมหาวีระ พระศาสดาพระองคสุดทายในศาสนาเชน

Page 15: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

พิธีกรรมสวดสรรเสริญพระศาสดาในศาสนาเชน

วัดในศาสนาเชนที่เมืองชัยปูร รัฐราชสถาน

Page 16: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

วัดเชนในเมืองชัยปูร รัฐราชสถาน

รูปปนที่แสดงถึงหลักการของศาสนาเชนเรื่อง อหิงสา ความไมเบยีดเบียน

เปนรูปสิงโตและโค ดื่มนํ้ารวมกันในอาง บางแหงจะพบภาพลูกโคดูดนมแมสิงโต และลูกสิงโตดูดนมแมวัว

Page 17: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

วัดในศาสนาเชน นิกายเศวตัมพร

สถานที่ประสตูิของพระปรัศวนาถ เมืองวาราณสี รัฐอุตรประเทศ

Page 18: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

วัดในศาสนาเชนที่เมืองหัสตินาปูร

รูปปนพระศาสดาในทายืน

Page 19: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

สาธุนักบวชในนิกายทิฆัมพร

สาธุนักบวชนิกายทิฆัมพรเดินธุดงคไปนมัสการสถานที่สําคัญ

Page 20: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด

สาธุนักบวชชายในนิกายเศวตัมพร

ปายเชิญชวนในสาธุชนชาวเชนเขาฟงการบรรยายธรรมะของสาธุ

Page 21: M.A. (Indian Philosophy and Religion), Banaras Hindu ... · อ.อาชว ภูริ น ชญีอมเน ยน ศศ.บ.(ศาสนศึกษา) เกียรตินิัยมอับนด