michael faraday (1791-1867) - horizon magazinehorizon.sti.or.th/sites/default/files/8.horizon...

52

Upload: others

Post on 29-Jan-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • Editor’s vision

    เมือ่ครัง้ที่ผมยงัเรยีนปรญิญาตรีที่มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ได้มีโอกาสออกคา่ยอาสาพฒันาชนบทอยู่หลายครัง้มีอยู่ครัง้หนึง่ในการออกคา่ยที่หมูบ่า้นตาลเจด็ตน้อำเภอปายแมฮ่อ่งสอนผมใช้เวลาวา่งคยุเลน่กบัเดก็ๆในหมูบ่า้นเดก็หญงิอายุราว7ขวบคนหนึ่งถามผมว่า

    “บ้านพี่ทำอะไร”“ก็...ค้าขายน่ะ”“แล้วบ้านพี่มีข้าวกินทั้งปีมั้ย?”“มีสิ...ทำไมเหรอ?”“แปลกนะบ้านพี่ ไม่ทำนาแต่มีข้าวกินทั้งปีบ้านหนูทำนาแต่มีข้าวกินมั่งไม่มีกินมั่ง”อกีครัง้หนึง่ในการออกคา่ยฯที่อำเภอฝางเชยีงใหม่ระหวา่งที่ผม‘เดนิปา่’กบัพี่ชาวนาอายุราว40ปีเรา

    คยุกนัหลายเรือ่งตัง้แต่เรือ่งปญัหาชาวนาไปจนถงึปญัหาบา้นเมอืงในขณะนัน้จนมาถงึประโยคที่พี่เขาเปรยๆขึน้มาว่า

    “ชวีติของคณุกบัชวีติของผมมีความจำเปน็แตกตา่งกนัตอนนี้คณุตอ้งเรยีนหนงัสอืถา้ไม่เรยีนคณุจะไมม่ีงานทำแล้วคุณจะอดตาย...ส่วนผมไปเรียนหนังสือไม่ได้ต้องทำงานเลี้ยงตัวเองและครอบครัวไม่งั้นอดตาย”

    ผ่านมากว่า20ปีเกษตรกรไทยยังลุ่มๆดอนๆการประกอบอาชีพของเกษตรกรบางคนเปลี่ยนจากการถูก‘ตกเขยีว’ไปเปน็‘เกษตรกรพนัธสญัญา’ในขณะที่หลายคนลม้หายตายจากไปจากอาชพีนี้เพือ่เขา้สู่ภาคอตุสาหกรรมและบริการเกษตรกรบางคนผันตัวไปเป็น‘ผู้ประกอบการเกษตร’

    ภาคการเกษตรของไทยยังเต็มไปด้วยปัญหา ทั้งจากสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอนอายุเฉลี่ยของเกษตรที่สูงขึ้นหนุ่มสาวสนใจเรียนและสนใจประกอบอาชีพด้านเกษตรลดลงรายได้ไม่คุ้มกบังานหนกัตน้ทนุการผลติสงูจากการใช้สารเคมีสขุภาพยำ่แย่ในขณะที่ราคาพชืผลมีราคาตำ่และเอาแน่เอานอนไม่ได้

    Horizonฉบับนี้เกิดขึ้นโดยเป็นผลพวงจากการจัดทำภาพอนาคตการเกษตรไทย2563ซึ่งดำเนินงานโดยสถาบนัคลงัสมองของชาติศนูย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปคสวทน.และหนว่ยงานพนัธมติรอกีหลายหนว่ยงานโดยมุง่หวงัวา่เกษตรกรไทยจะสามารถลมืตาอา้ปากได้เนือ้หาของภาพอนาคตได้ระบุประเดน็สำคญัตา่งๆไว้แต่การจะไปให้ถงึภาพที่พงึประสงค์หรอืจะหลกีเลีย่งภาพที่ ไม่พงึเปน็ประสงค์นัน้ตอ้งอาศยัความรว่มมอืรว่มใจของหลายคนหลายหน่วยงานมาช่วยกันคิดช่วยกันทำส่วนจะไปถึงฝั่งฝันหรือไม่นั้นต้องตามดูกันต่อไป

    ขอถอืโอกาสนี้แจง้ทา่นผู้อา่นให้ทราบวา่Horizonจะมีวางแผงตามรา้นหนงัสอือกีเพยีง2ฉบบัคอืฉบบันี้(8)และฉบบัถดัไป(9)หลงัจากนัน้จะจดัสง่ผา่นระบบสมาชกิเทา่นัน้หากทา่นตอ้งการตดิตามขา่วสารและเนือ้หาสาระจากHorizonต่อไปกรุณาสมัครสมาชิกโดยใช้ ใบสมัครตามที่ปรากฏในเล่มครับ

    รักกันชอบกันก็อย่าทอดทิ้งกันนะครับบรรณาธิการ

    Vol. 2 No. 4

    The five essential entrepreneurial skills for success are concentration, discrimination, organization, innovation and communication.

    Michael Faraday (1791-1867)

    Horizon08.indb 2 1/27/12 1:59:12 PM

  • Contents

    เจ้าของ

    สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์

    เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ

    บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา

    ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ

    ที่ปรึกษา

    ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์

    ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์

    รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน

    รศ.ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ

    ดร.นเรศ ดำรงชัย

    ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์

    บรรณาธิการบริหาร

    ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ

    กองบรรณาธิการ

    ศิริจรรยา ออกรัมย์

    ปรินันท์ วรรณสว่าง

    ณิศรา จันทรประทิน

    ดร.สุรชัย สถิตคุณารัตน์

    สิริพร พิทยโสภณ

    บรรณาธิการต้นฉบับ

    วีรพงษ์ สุนทรฉัตราวัฒน์

    ศิลปกรรม

    ณขวัญ ศรีอรุโณทัย

    เดือน จงมั่นคง

    สำนักงาน

    ศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปค

    สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์

    เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ

    เลขที่ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14

    ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน

    กรุงเทพฯ 10330

    โทรศัพท์ 0 2160 5432 ต่อ 305, 311, 706

    อีเมล [email protected]

    เว็บไซต์ http://www.sti.or.th/horizon

    ดำเนินการผลิตโดย

    บริษัท เปนไท พับลิชชิ่ง จำกัด

    โทรศัพท์ 0 2736 9918

    โทรสาร 0 2736 8891

    อีเมล [email protected]

    04 News review 06 Statistic features 08 Foresight society 12 In & Out 14 Cultural science 16 Gen next 18 Features 30 Vision 36 Interview 42 Global warming 43 Thai point 44 Social & technology 46 Myth & science 48 Smart life 50 Science media 51 Techno-Toon

    46_ Myth & Scienceเหตุ ภัย พิบัติ ใหญ่ ที่ ผ่าน มา นั้น ได้ นำพา ความ สับสน มา สู่ สังคม ไทย ทั้ง ข้อมูล ข่าวสาร ที่ ชวน ตระหนก จริง บ้าง ไม่ จริง บ้าง สิ่ง ที่ ข่าวสาร บอก วา่ จะ เกดิ กลบั ไม ่เกดิ สิง่ ที ่ไม ่ปรากฏ ใน ขา่วสาร กลบั เกดิ ขึน้ จรงิ อะไร คือ ความ เชื่อ ส่วน อะไร คือ ความ จริง คงจะ ดี หาก เรา มี ข้อมูล ที่ แมน่ยำ เพราะ ภยั พบิตั ิใหญ ่ที ่เพิง่ ผา่น ไป ผู ้รู ้และ นกั วชิาการ ทัง้ หลาย ต่าง บอก ว่า ‘แค่ น้ำ จิ้ม’

    30_ Visionข้อ กังวล ใน บาง สถานการณ์ ก็ มี ข้อดี ของ มัน ใน แง่ ที่ ทำให้ เรา เตรียม พร้อม รับมือ กับ ปัญหา และ นี่ คือ ข้อ กังวล ของ ผู้ อำนวย การ ศนูย ์เทคโนโลย ีชวีภาพ เกษตร และ อกี 3 ทา่น จาก สถาบนั คลงั สมอง แหง่ ชาต ิใน ความ ออ่น ดอ้ย ของ สภาพ สงัคม เศรษฐกจิ และ การเมอืง ที่ จะ ส่ง ผล ต่อ ภาค เกษตร ไทย ใน อนาคต และ มอง จุด แข็ง ที่ ภาค เกษตร สามารถ พัฒนา ให้ เต็ม ศักยภาพ

    18_ Featuresสถาบัน คลัง สมอง แห่ง ชาติ ได้ วิเคราะห์ ความ เสี่ยง แนว โน้ม และ โอกาส ใน อนาคต ของ ภาค เกษตร ไทย ผา่น กระบวนการ ที ่เรยีก วา่การ มอง อนาคต (Foresight) ซึ่ง ได้ ภาพ อนาคต เกี่ยว กับ การเกษตร ไทย 3 ภาพ มี ทั้ง ภาพ ที่ สดใส เต็ม ไป ด้วย แสง สว่าง และ ภาพ ที่ ชวน หดหู่ ใน ระดับ หายนะ ที่ จะ เกิด ขึ้น กับ ภาค เกษตร ไทย หนทาง หรอื วธิ ีการ ที ่จะ ปอ้งกนั ม ิให ้ภาค เกษตร ไทย ตอ้ง เผชญิ ความ หดหู่ เช่น นั้น และ เส้น ทาง ที่ จะ นำพา ภาค เกษตร ไทย ไป พบ แสงส ว่าง นั้น คือ อะไร Feature ฉบับ นี้ ขอ เสนอ ทาง เลือก ที่ ควร ค่า แก่ การ พิจารณา

    08Vol. 2 No. 4

    Horizon08.indb 3 1/27/12 1:59:18 PM

  • 01

    เชื่อ ไหม ว่า โลก เรา มี อุโมงค์ ที่ ถูก ขุด ลึก ลง ไป ใน ชั้น น้ำ แข็ง กว่า 120 เมตร สามารถ เก็บ เมล็ด พันธุ์ พืช สำรอง จาก ทั่ว โลก ได้ กว่า 4.5 ล้าน เมล็ด ธนาคาร เก็บ รักษา พันธุ์ พืช โลก Svalbard Global Seed Vault (SGSV) ประเทศ นอร์เวย์ เปิด ตัว ขึ้น เมื่อ ต้น ปี 2008 ตั้ง อยู่ ที่ คาบสมุทร Arctic Svalbard ซึ่ง อยู่ ห่าง จาก ขั้ว โลก เหนือ เพียง 1,300 กิโลเมตร มี จุด ประสงค์ หลัก เพื่อ เป็น แหล่ง สำรอง เมล็ด พันธุ์ พืช จาก ธนาคาร เมล็ด พันธุ์ พืช กว่า 1,400 แห่ง ที่ ตั้ง อยู่ ใน 100 ประเทศ ทั่ว โลก รวม ถึง ประเทศไทย เอง ก็ กำลัง ทำ วิจัย และ พัฒนา เพื่อ ส่งตัว อย่าง เมล็ด ถั่วฝักยาว (Cowpea) ไป ฝาก เก็บ ไว้ ด้วย เช่น กัน

    โครงสร้างอันแข็งแกร่งSGSV ไม่ ได้ ถูก สร้าง ขึ้น เพราะ กลัว ว่า น้ำ จะ ท่วม

    โลก แต่ ว่า เกิด จาก ความ ตระหนัก ใน ความ สำคัญของ พืช พรรณ อัน มี ค่า ที่ บาง ชนิด ได้ สูญหาย ไป เนื่อง มา จาก หลาย สาเหตุ เช่น เกิด ภัย พิบัติ ทาง ธรรมชาติ สงคราม หรอื การ เปลีย่นแปลง ของ สภาพ ภมู ิอากาศ เปน็ตน้ รฐับาล นอร์เวย์ จึง ร่วม มือ กับ The Global Crop Diversity Trust และ The Nordic Genetic Resource Center ใน การ จัด ตั้ง SGSV ตัว โครงสร้าง ทาง เข้า และ อุโมงค์ สามารถ ทน ตอ่ ระเบดิ นวิเคลยีร์ หรอื แผน่ ดนิ ไหว ขนาด 6.2

    รกิ เตอร ์ได ้และ อยู ่สงู กวา่ ระดบั ที ่นำ้ ทะเล จะ ทว่ม ถงึ แม ้เกดิ ภาวะ โลก รอ้น ภายใน ม ีระบบ ทำความ เยน็ ดว้ย กระแส ไฟฟา้ จาก เหมอืง ใกล ้เคยีง เพือ่ รกัษา อณุหภมู ิไว ้ที ่-18 ถงึ -20 องศา ซึง่ สามารถ เกบ็ รกัษา เมลด็ พนัธุ ์บาง ชนดิ ได ้ยาวนาน ทีส่ดุ ถงึ 1,000 ปี และ ถึง แม้ว่า ระบบ ไฟฟ้า จะ ล่ม แต่ ความ เย็น จาก ชั้น หิน ใน ภูเขาน้ำแข็ง ก็ จะ ยัง สามารถ รักษา อุณหภูมิ ของ อุโมงค์ ไว้ ได้ที่ -3 องศา เซลเซียส ซึ่ง จะ สามารถ เก็บ เมล็ด บาง ชนิด ไว้ ได้ นาน เป็น ร้อย ปี

    แล้วมะพร้าวจะเก็บยังไง!!??พืช บาง ชนิด ไม่ สามารถ เก็บ รูป ของ เมล็ด ได้ (อย่าง น้อย

    ผล มะพร้าว ก็ ใหญ่ เกิน ไป และ คน ชอบ ทาน มะพร้าว ก็ อาจ จะ น้อยใจ ถ้า ไม่มี ใคร ช่วย หา วิธี เก็บ ส่วน ขยาย พันธุ์ ของ มะพร้าว ให้) SGSV จึง มี การ วิจัย การ เก็บ ส่วน ขยาย พันธุ์ (Germplasm) ของ พืช ที่ ไม่ สามารถ เก็บ ด้วย เมล็ด ได้ นั่น คือ วิธี การ เก็บ เนื้อเยื่อ ใน ไนโตรเจน เหลว ซึ่ง มี อุณหภูมิ -198 องศา เซลเซียส หรือ ที่ เรียก ว่า ภาย ใต้ สภาพ เย็น ยิ่งยวด (Cryopreservation) ซึ่ง จะ สามารถ เก็บ ตัวอย่าง ไม้ ผล ได้ เช่น เชื้อ พันธุ์ กล้วย และ มะพร้าว ที่ กำลัง จะ ถูก ส่ง มา จาก ปาปัว นิวกินี, ฟิลิปปินส์ และ โก โต ดิ วัว ร์

    การเก็บแบบBlackBoxเนือ่งจาก วตัถปุระสงค ์ของ Svalbard Seed Vault

    คือ การ เก็บ รักษา พันธุ์ พืช จาก ทั่ว โลก ดัง นั้น Svalbard จึง ไม่มี การ ให้ บริการ เมล็ด พันธุ์ และ ไม่ อนุญาต ให้ เอา เมล็ด พันธุ์ ออก ไป โดย ปราศจาก การ อนุญาต ของ เจ้าของ ผู้ ฝาก เชื้อ พันธุกรรม นั้น ผู้ ฝาก เชื้อ จะ มี สิทธิ์ เต็ม ที่ ใน เชื้อ พันธุกรรม ของ ตน และ สามารถ ขอ เมล็ด คืน เมื่อไร ก็ได้

    ได้ รู้ แบบ นี้ หลาย คน คง สบายใจ ได้ ว่า แม้ จะ เกิด น้ำ ท่วม จน นา ข้าว หรือ สวน ผล ไม้ ต้อง ล่ม ไป แต่ เรา ก็ จะ ยัง มี เมล็ด ของ พืช พรรณ เก็บ ไว้ อย่าง ปลอดภัย ใน อุโมงค์ ที่ แข็งแกร่ง แต่ ห่าง ไกล และ หนาว เหน็บ...

    ที่มา: รายการ 60 Minutes

    The Global Crop Diversity Trust http://www.croptrust.

    org/main/arcticseedvault.php?itemid=842

    อุโมงค์เก็บเมล็ดพันธุ์พืช วันสิ้นโลก

    : 4

    n e w s

    : 4

    สิรินยา ลิม

    Horizon08.indb 4 1/27/12 1:59:22 PM

  • 03r e v i e w

    หาก ใคร กำลัง วางแผน ไป ท่อง เที่ยว ทาง ภาค ตะวัน ออก เฉียง เหนือ ของ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ใน ช่วง นี้ คุณ อาจ กลาย เป็น ส่วน หนึ่ง ของ การ ทดสอบ การ รักษา ความ ปลอดภยั เพือ่ ตรวจ หา ผู ้กอ่การ รา้ย โดย ไมรู่ ้ตวั ทัง้นี ้Nature News ได้ รายงาน ว่า กระทรวง รักษา ความ มั่นคง แห่ง ชาติ (Department of Homeland Security – DHS) ประเทศ สหรัฐอเมริกา กำลัง พัฒนา เทคโนโลยี ใหม่ ซึ่ง มีชื่อ เรียก ว่า Future Attribute Screening Technology (FAST) เพื่อ เปน็ เครือ่ง มอื ตรวจ จบั ผู ้ที ่ม ีพฤตกิรรม เขา้ ขา่ย เปน็ ผู ้กอ่การ ร้าย โดย ได้ มี การ ทดสอบ ภาค สนาม ใน ขั้น แรก เมื่อ เดือน มีนาคม ที่ ผ่าน มา ใน สถาน ที่ ที่ ไม่มี การ เปิด เผย ใน บริเวณ ภาค ตะวัน ออก เฉียง เหนือ ของ สหรัฐอเมริกา

    เทคโนโลยี FAST นี้ คล้าย กับ เครื่อง ตรวจ จับ โกหก กล่าว คือ ระบบ จะ ตรวจ สอบ สภาวะ การ ทำงาน ของ ส่วน ต่างๆ ของ ร่างกาย ตั้งแต่ อัตรา การ เต้น ของ หัวใจ ไป จนถึง ความ นิ่ง ของ สายตา และ นำ ข้อมูล ไป ประมวล เพื่อ ตัดสิน ความ นึกคิด ของ ผู้ ถูก ตรวจ สอบ สิ่ง ที่ เป็น ข้อ โดด เด่น ของ ระบบ FAST ก็ คือ การ ใช้ ตัว ตรวจ จับ (Sensor) ที่ ไม่ ต้อง สมัผสั กบั รา่งกาย ของ ผู ้ถกู ทดสอบ และ ไม ่ตอ้ง ใช ้วธิ ีการ ซกั ถาม ทำให ้การ ทดสอบ สามารถ ทำได้ สะดวก แม้ ใน ขณะ ที่ ผู ้ถกู ทดสอบ กำลงั เดนิ อยู ่ใน อาคาร ผู ้โดยสาร ของ สนามบนิ ซึ่ง พอ มา คิด เล่นๆ ดู แล้ว ผู้ อ่าน หลาย ท่าน ก็ อาจ จะ เห็น ว่า เทคโนโลยี FAST นี้ มี ความ คล้ายคลึง กับ หลัก การ ที่ เรา เรียก กัน ว่า ‘Pre-crime’ ที่มา จาก ภาพยนตร์ ไซ ไฟ ชื่อ ดัง

    ทดสอบ ภาค สนาม เครื่อง ตรวจ จับ ผู้ ก่อการ ร้ายใน สหรัฐอเมริการะบบ คัด กรอง เพื่อ หา ตัวผู้ โดยสาร ที่ มี เจตนา ร้าย แอบแฝง

    ‘Minority Report’ ซึ่ง ใน ภาพยนตร์ จะ ใช้ มนุษย์ กลาย พันธุ์ เป็น ผู้ คาด เดา อาชญากรรม ที่ จะ เกิด ขึ้น ใน อนาคต

    วิธี การ ทดสอบ ระบบ FAST มี ขั้น ตอน คือ ให้ ผู้ ถูก ทดสอบ เดิน ผ่าน เครื่อง ตรวจ วัด และ ‘แกล้ง’ แสดง พฤติกรรม ที่ สามารถ เชื่อม โยง ไป ถึง การ ก่อการ ร้าย ได้ แต่ ก ็ยงั ม ีขอ้ กงัขา ถงึ ความ เสมอืน จรงิ ของ การ แสดง พฤตกิรรม ดัง กล่าว รวม ไป ถึง ความ เอน เอียง ต่อ ผล การ ทดสอบ หาก ผู้ เข้า ทดสอบ รู้ ว่า ตนเอง กำลัง ถูก ทดสอบ อยู่ ข้อ กังวล อีก ประการ หนึง่ ก ็คอื ความ สามารถ ของ ระบบ ใน การ แยกแยะ ปฏิกิริยา ตอบ สนอง ของ ร่างกาย ขณะ ที่ มี ความ กังวล ออก จาก ขณะ ที่ กำลัง คิด วางแผน ก่อการ ร้าย เพราะ แม้แต่ การ สแกน ม่านตา หรือ การ อ่าน ลาย พิมพ์ นิ้ว มือ ที่ ด่าน ตรวจ คน เข้า เมือง ก็ ยัง ทำให้ นัก ท่อง เที่ยว ที่ เดิน ทาง เข้า เมือง อย่าง ถูก กฎหมาย มี อัตรา การ เต้น ของ หัวใจ ที่ เร็ว ขึ้น ได้ ระบบ นี้ จึง อาจ ทำให้ ผู้ บริสุทธิ์ ถูก กล่าว หา ว่า เป็น ผู้ ก่อการ ร้าย ได้ Steven Aftergood นัก วิเคราะห์ วิจัย ของ สหพันธ์ นัก วิทยาศาสตร์ อเมริกัน (Federation of American Scientists) กล่าว ว่า “หาก วิธี การ นี้ ยัง ไม่ ได้ รับ การ ยืนยัน ผล การ ทดสอบ มัน ก็ ไม่ ต่าง จาก การ เล่น ทาย คำ ปริศนา”

    อย่างไร ก็ตาม จาก การ ทดสอบ ใน ห้อง ปฏิบัติ การ พบ ว่า ระบบ นี้ มี ความ แม่นยำ มาก ถึง 70 เปอร์เซ็นต์ แต่ หาก นำ ไป ทดสอบ ใน ภาค สนาม ผล ที่ ได้ ก็ อาจ จะ แตก ต่าง ไป จาก ค่า ดัง กล่าว John Verrico โฆษก ของ DHS กล่าว ว่า ขณะ นี้ DHS ยัง ไม่ สามารถ ประเมิน ประสิทธิภาพ ของ ระบบ ได้ และ จะ ต้อง ทำการ ทดสอบ ระบบ ต่อ ไป เป็น เวลา อีก หลาย เดือน ปัจจุบัน สถาน ที่ ที่ ใช้ ทดสอบ ระบบ ก็ ยัง คง ถูก ปิด เป็น ความ ลับ โดย Verrico บอก ได้ เพียง ว่า “เรา ไม่ ได้ ทดสอบ ที่ สนามบิน แต่ เรา เลือก ใช้ สถาน ที่ ที่ มี สภาพ แวดล้อม และ ปัจจัย ต่างๆ ที่ พอ จะ ทดแทน กัน ได้”

    ที่มา: Terrorist ‘pre-crime’ detector field tested in United States.

    Nature News, 27 May 2011 (http://www.nature.com/news/2011/110527/

    full/news.2011.323.html)

    5 : 5 :

    กิตติศักดิ์ กวีกิจมณี

    Horizon08.indb 5 1/27/12 1:59:24 PM

  • statistic FEaturEsดร.อังคาร วงษ์ดีไทย

    : 6

    28 ล้านไร่เป็นพื้นที่การเกษตรที่ได้รับการพัฒนาและ มีระบบชลประทาน

    102 ล้าน ไร่เ ป็ น พื้ น ที่ เ ก ษ ต ร น อ ก เ ข ต ช ล ป ร ะ ท า น หรือ พื้นที่ เกษตร น้ำ ฝน

    50.6%พื้นที่ทำนาลดลงจากร้อยละ 56.1 ในปี 2541 เป็น 50.6 ในปี 2551

    12.1%พื้นที่ปลูกยางกลับเพิ่มขึ้น จาก 9.41 ใน ปี 2541 เป็น 12.1 ใน ปี 2551

    702,610 ล้าน ลูกบาศก์ เมตรเป็น ปริมาณฝนตกเฉลี่ย ทั้ง ประเทศ ต่อ ปี แต่ ปริมาณน้ำที่ไหลลงอ่างเก็บน้ำ ขนาด ใหญ่ รวม กัน ทั้ง ประเทศ กลับ มี ค่า เฉลี่ย เพียง

    40,172 ล้าน ลูกบาศก์ เมตร หรือ ร้อย ละ 5.7 ของ ปริมาณ ฝนทั้ง ปี

    สถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรของไทย

    Horizon08.indb 6 1/27/12 1:59:31 PM

  • ที่มา:1. การ จัดการ ความ เสี่ยง ทรัพยากร น้ำ ของ ไทย (Risk management in water resource of Thailand), (2554), สถาบัน สารสนเทศ

    ทรัพยากร น้ำ และ การเกษตร (องค์การ มหาชน).

    2. ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย 2563, (2554), สถาบัน คลัง สมอง ของ ชาติ ภาย ใต้ มูลนิธิ ส่ง เสริม ทบวง มหาวิทยาลัย.

    7 :

    มากกว่า 65 ปีใน ชว่ง แผน พฒันา เศรษฐกจิ และ สงัคม แหง่ ชาต ิฉบบั ที ่8 เกษตรกรที่มอีายุมากกวา่65ป ีเทา่กบั รอ้ย ละ 5.2 ของ ประชากร เกษตรกร และ เพิ่ม ขึ้น เป็น ร้อย ละ 9.8 ใน ช่วง แผน พัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคม แห่ง ชาติ ฉบับ ที่ 10

    9,011 ล้าน บาทเป็น จำนวน เงิน ที่ ประเทศไทยนำเข้าเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลการเกษตร ใน ปี 2552 เพิ่ม ขึ้น จาก ปี 2551 ที่ ประเทศไทย นำ เข้า เทคโนโลยี และ เครื่องจักร กล การเกษตร เป็น มูลค่า ทั้ง สิ้น 6,094 ล้าน บาท

    4,114,313 ตัน เป็นปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีในปี 2552 โดยปุ๋ยอินทรีย์มีสัดส่วนต่อปริมาณการนำเข้าเพียงร้อยละ 0.07

    16,816 ล้าน บาทใน ปี 2552 ประเทศไทย นำเข้าสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช เป็น จำนวน 118,152 ล้าน ตัน ของ สาร ออก ฤทธิ์ คิด เป็น มูลค่า 16,816 ล้าน บาท คิด เป็น มากกว่า 1 ใน 3 ของ ต้นทุน การ ปลูก พืช ทั้งหมด

    Horizon08.indb 7 1/27/12 1:59:35 PM

  • สถาบัน คลัง สมอง ของ ชาติ ภาย ใต้ มูลนิธิ ส่ง เสริม ทบวง มหาวิทยาลัย ร่วม กับ ศูนย์ คาด การณ์ เทคโนโลยี เอเปค สำนักงาน คณะ กรรมการ นโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม แห่ง ชาติ (สว ทน.) ธนาคาร เพื่อ การเกษตร และ สหกรณ์ การเกษตร คณะ เกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ สำนักงาน คณะ กรรมการ วิจัย แห่ง ชาติ สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ วิจัย สำนักงาน พัฒนาการ วิจัย การเกษตร (องค์การ มหาชน) สถาบัน สิ่ง แวดล้อม ไทย องค์การ กระจาย เสียง และ แพร่ ภาพ สาธารณะ แหง่ ประเทศไทย และ หนงัสอื พมิพ ์โพสต ์ทู เดย์ ได้ จัด ทำ โครงการ ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย 2563 ขึน้ เพือ่ วเิคราะห ์แนว โนม้ และ จดั ทำ ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย ใน ป ี2563 ดว้ย กระบวนการ มอง อนาคต (Foresight)

    กระบวนการ จัด ทำ ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย ประกอบ ด้วย การ ประชุม ระดม ความ คิด เห็น 2 ครั้ง โดย พจิารณา ประเดน็ ความ ไม ่แนน่อน ซึง่ เปน็ ทัง้ ปจัจยั ภายใน

    ประเทศ และ ปัจจัย ภายนอก ประเทศ มี การ วิเคราะห์ แนว โน้ม (Trends) แรง ผลัก ดัน (Driving Force) ระบุ ความ ไม ่แนน่อน ของ ปจัจยั หรอื เหตกุารณ ์ใน อนาคต เพือ่ นำ ไป สู่ การ กำหนด ประเด็น หลัก (Scenario Logics) สำหรับ การ จัด ทำ ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย 2563 เพื่อ สร้าง ความ ตระหนัก รู้ ให้ กับ สังคม ใน การเต รี ยม รับมือ กับ อนาคต ใน มิติ ใหม่ อย่าง เท่า ทัน รวม ทั้ง สร้าง เครอื ขา่ย ความ รว่ม มอื กนั ใน การ สรา้ง องค ์ความ รู ้ใน การ วางแผน และ การ กำหนด ทิศทาง การ พัฒนา เกษตร ของ ประเทศไทย ต่อ ไป

    ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย 3 ภาพ เปรียบ ได้ กับ การ เติบโต ของ ต้นไม้ ที่ ได้ รับ ผลก ระ ทบ จาก สภาพ แวดล้อม และ ความ สามารถ ใน การ ปรับ ตัว ได้แก่

    ภาพ ไม้ ป่า สภาวะ โลก ร้อน ถือ โอกาส ของ การเกษตร ไทย ม ีความ กา้วหนา้ ทาง ดา้น เทคโนโลย ีและ ภูมิปัญญา ท้อง ถิ่น เกิด เป็น เครือ ข่าย เกษตรกร มี การนำ ความ รู้ เทคโนโลยี และ มี การ จัดการ ที่ ดี ประกอบ กับ การ

    ศิริจรรยา ออกรัมย์

    : 8

    Theo

    ry

    ภ า พ อ น า ค ต ก า ร เ ก ษ ต ร ไ ท ย

    Horizon08.indb 8 1/27/12 1:59:37 PM

  • การ พัฒนา ศักยภาพ และ ประสทิธภิาพ การ ผลติ มากกว่า การ เน้น ผล ระยะ สั้น มี แผนการ เกษตร แห่ง ชาติ ที่ มี เป้า หมาย ชัดเจน เกษตรกรรม เป็น อาชีพ ยอด นิยม ของ คน รุ่น ใหม่ และ สินค้า เกษตร มี เรื่อง ราว

    ภาพ ไม ้ลม้ การเมอืง ยงั คง ยุง่เหยงิ ภาค รฐั ชะงกั งนั นโยบาย ขาด ความ ต่อ เนื่อง แต่ เทคโนโลยี ใน ภาค เอกชน มี ความ ก้าวหน้า จาก การ ลงทุน วิจัย และ พัฒนา อย่าง ต่อ เนื่อง เกิด สภาพ ข้าว ยาก หมาก แพง จาก สภาพ ภูมิ อากาศ ที่ เปลี่ยนแปลง ส่ง ผล ให้ เกิด สถานการณ์ น้ำ ท่วม และ น้ำ แล้ง ซ้ำซาก การ จัดการ ทรัพยากร น้ำ มี ความ ยุ่ง ยาก ไทย เป็น เมือง ขึ้น ทางการ เกษตร โดย ชาว ตา่ง ชาติ และ นกั ธรุกจิ ไทย ที ่ม ีความ รู ้และ ม ีเงนิ ลงทนุ เข้า ถือ ครอง ที่ดิน ทางการ เกษตร เพื่อ ผลิต สินค้า เกษตร เพื่อ อาหาร และ พลังงาน เพิ่ม มาก ขึ้น

    เข้า ถึง แหล่ง เงิน ทุน แต่ การเมือง ไทย ยัง คง สับสน ภาค ธรุกจิ และ ภาค เอกชน หนั มา จบั ธรุกจิ เกษตร เพือ่ อาหาร และ พลังงาน มาก ขึ้น

    ภาพ ไม้ เลี้ยง เกษตรกร ยิ้ม สู้ เนื่องจาก สภาวะ โลก ร้อน ส่ ง ผล ให้ ราคาพลังงาน อาหาร และ ผลผลิตเกษตร สูง ขึ้น เกิด รัฐ กสิกรรม (ประชา นิยม 2.0) ภาค รัฐ มีน โย บาย ด้าน การเกษตร ที่ ชัดเจน มุ่ง เน้น

    ไม้ป่า

    9 :

    ไม้ล้ม

    ไม้เลี้ยง

    ที่มาการ จัด สัมมนา วิชาการ เรื ่อง ‘ภาพ อนาคต การเกษตร ไทย 2563’ ใน

    วัน ที่ 11 พฤษภาคม 2554 ผู้ สนใจ สามารถ หา ข้อมูล จาก เว็บ ไซด์ ของ

    สถาบัน คลัง สมอง ของ ชาติ (http://www.knit.or.th)

    Horizon08.indb 9 1/27/12 1:59:39 PM

  • สุภัค วิรุฬหการุญ

    แผนท่ีนำทางสำนักงานปรมาณูเพ่ือสันติพ.ศ.2 5 5 5 - 2 5 6 5 ( O A P R o a d m a p )

    สืบ เนื่องจาก Horizon ฉบับ ที่ 6 ได้ เล่า กิจกรรม Kick off OAP Foresight ที่ สำนักงาน ปรมาณู เพื่อ สันติ (ปส.) และ ศูนย์ คาด การณ์ เทคโนโลยี เอเปค สว ทน. ได้ ร่วม กัน จัด ทำ ภาพ อนาคต ปส. ใน ปี 2563 มา ใน ครั้ง นี้ จะ เป็น บท สรุป ของ OAP Foresight ก็ คือ แผนที่ นำทาง สำนักงาน ปรมาณู เพื่อ สันติ พ.ศ. 2555-2565 (OAP Roadmap) แต่ ก่อน ที่ จะ ได้ แผนที่ นำทาง นั้น เรา ได้ ใช้ ประโยชน์ จาก Kick off OAP Foresight โดย การนำ ภาพ อนาคต ที่ ได้ จัด ทำ ขึ้น ทั้ง 4 ภาพ ไป ผ่าน กระบวนการ คาด การณ์ อนาคต (Foresight) ใน ขั้น ต่อๆ ไป โดย บุคลากร ของ ปส. ได้ ช่วย กัน ทำ Mini Foresight ใน แต่ละ สำนัก ของ ปส. เอง ซึ่ง เป็นการ จัด ทำ ขอ้มลู ประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Data) ของ แตล่ะ สำนัก ว่า มี บทบาท อย่างไร ต่อ องค์กร

    เพ่ือ ให้ ได้ ข้อมูล ท่ี ครบ ถ้วน รอบ ด้าน เรา ได้ มี การ จัด ทำ Stakeholder Analysis Workshop ใน หมู ่เจา้ หนา้ที ่ของ ปส. ผล ท่ี ได้ ทำให้ เรา สามารถ ระบุ ผู้ มี ส่วน ได้ ส่วน เสีย (Stakeholders) ที่ สำคัญๆ ของ ปส. และ นำ ผล ที่ ได้ นั้น มา จัด Stakeholder Opinions Workshop เพื่อ รับ ฟัง ความ คิด เห็น จาก บุคคล หรือ หน่วย งาน ที่ เกี่ยวข้อง ว่า มี ความ คิด เห็น หรือ ต้องการ ให้ ปส. ดำเนิน งาน ไป ใน ทิศทาง ใด สำหรับ 10 ปี ข้าง หน้า

    หลัง จาก นั้น เรา จึง ได้ นำ ข้อมูล เหล่า นั้น มา ประมวล วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ ออก มา เป็นต้น แบบ OAP Roadmap แล้ว ได้ นำ ต้นแบบ นั้น ไป แลก เปลี่ยน และ ระดม ความ คิด เห็น จาก ผู้ บริหาร และ บุคลากร ของ ปส. จน ได้ ออก มา เป็น ‘แผนที่ นำทาง สำนักงาน ปรมาณู เพื่อ สันติ พ.ศ. 2555-2565’ หรือ OAP Roadmap

    OAP Roadmap ประกอบ ด้วย 5 ชั้น ได้แก่วิสัย ทัศน์ (Vision) ซึ่ง ระบุ ว่า ปส. จะ เป็น องค์กร

    ที่ ทำ หน้าที่ กำกับ ดูแล การ ใช้ พลังงาน ปรมาณู ที่ เป็น เลิศ องค์กร หนึ่ง ใน ประชาคม อาเซียน ภายใน ปี พ.ศ. 2560

    พันธ กิจ (Mission) ปส. มี พันธ กิจ หลัก 4 ประการ คือ 1) ปรับปรุง กฎหมาย ระเบียบ ข้อ บังคับ และ เสนอ แนะ นโยบาย และ แผน ยุทธศาสตร์ ด้าน พลังงาน ปรมาณู เพื่อ นำ ไป สู ่การ ปฏบิตั ิที ่เปน็ รปู ธรรม 2) กำกบั ดแูล ความ ปลอดภยั จาก การ ใช้ พลังงาน ปรมาณู ให้ เป็น ไป ตาม มาตรฐาน สากล 3) เป็น ตัวแทน ประเทศ ใน การ ดำเนิน การ ตาม พันธกรณี

    ความ ตกลง ระหว่าง ประเทศ ด้าน พลังงาน ปรมาณู และ 4) เผย แพร ่ความ รู ้และ สรา้ง ความ เชือ่ มัน่ ดา้น ความ ปลอดภยั จาก การ ใช้ พลังงาน ปรมาณู ให้ แก่ ประชาชน

    ขีด ความ สามารถ หลัก (Core Competency) ที่ ปส. ต้อง มี หรือ ต้อง พัฒนา ให้ เกิด ขึ้น ได้แก่ 1) ขีด ความ สามารถ ใน การ ศึกษา และ วิเคราะห์ กฎหมาย รวม ถึง กฎ ระเบียบ ต่างๆ ท่ี เก่ียว กับ การ กำกับ ดูแล ด้าน ความ ปลอดภัย เก่ียว กับ การ ครอบ ครอง และ การ ใช ้สาร กมัมนัตรงัส ี2) ขดี ความ สามารถ ใน การ ติดตาม พัฒนา ประยุกต์ ใช้ และ เผย แพร่ องค์ ความ รู้ ท่ี เก่ียว กับ ความ ปลอดภัย ของ เทคโนโลยี นิวเคลียร์ 3) ขีด ความ สามารถ ใน การ พัฒนา เครือ ข่าย ความ ร่วม มือ ใน รูป แบบ ต่างๆ กับ หน่วย งาน ท้ัง ใน และ ต่าง ประเทศ 4) ขีด ความ สามารถ ใน การ ส่ือสาร ข้อมูล กับ สาธารณะ อย่าง ถูก ต้อง ทัน ท่วงที รอบ ด้าน และ ตรง ไป ตรง มา ภารกิจ เชิง ยุทธศาสตร์ (Strategic Function) ปส. ต้อง มี หน่วย งาน สำคัญ ที่ รับ ผิด ชอบ ภารกิจ เชิง ยุทธศาสตร์ ดัง ต่อ ไป นี้ 1) หน่วย คัด กรอง ประมวล และ วิเคราะห์ ข้อมูล และ ทำ หน้าที่ บริหาร จัดการ ความ รู้ 2) หน่วย บริหาร จัดการ การ วิจัย และ พัฒนา 3) หน่วย บริหาร จัดการ ด้าน ความ ปลอดภัย และ ความ เสี่ยง เกี่ยว กับ กัมมันตรังสี 4) หน่วย บริหาร จัดการ ภาพ ลักษณ์ องค์กร 4) หน่วย ติดตาม และ ประเมิน ผล

    ทรัพยากร (Resources) เพื่อ ให้การ ดำเนิน งาน ของ ปส. บรรลุ เป้า หมาย ตาม วิสัย ทัศน์ ที่ กำหนด ไว้ อย่าง มี ประสิทธิภาพ จำเป็น ต้อง อาศัย การ บริหาร จัดการ ทรัพยากร ให ้เหมาะ สม กบั ภารกจิ ใน ที ่นี ้แบง่ ทรพัยากร ดงั กลา่ว ออก เปน็ 4 กลุ่ม หลัก ได้แก่ การ พัฒนา ทรัพยากร บุคคล การ แสวงหา และ ครอบ ครอง องค์ ความ รู้ การ บริหาร งบ ประมาณ อย่าง มี ประสิทธิภาพ และ การ สร้าง แรง จูงใจ แก่ บุคลากร

    อย่างไร ก็ตาม องค์ ประกอบ ที่ สำคัญ อีก ประการ หนึ่ง คือ ปัจจัย ที่ จะ ส่ง ผล ให้ เกิด การ เปลี่ยนแปลง (Change Factors) ที ่ชดัเจน ซึง่ ไดแ้ก ่1) การ ปรบั โครงสรา้ง องคก์ร เพือ่ ให ้สามารถ รองรบั การ ทำ หนา้ที ่ของ ปส. อยา่ง ม ีประสทิธภิาพ ใน 10 ปี ข้าง หน้า 2) การ ปรับ เปลี่ยน วัฒนธรรม องค์กร ด้วย ความ ร่วม มือ ร่วมใจ ของ บุคลากร ภายใน ปส. และ 3) การ มี เส้น ทาง อาชีพ ของ บุคลากร ปส. ที่ ชัดเจน เพื่อ ให้ เกิด การ พัฒนา ความ สามารถ และ ความ เชี่ยวชาญ อย่าง จำเพาะ เจาะจง ใน แต่ละ สาขา

    หลัง จาก นี้ ผู้ บริหาร และ บุคลากร ของ ปส. จะ นำ OAP Roadmap ไป ใช้ ใน การ จัด ทำ ยุทธศาสตร์ ใน การ ดำเนิน การ ของ องค์กร ต่อ ไป

    การ จัด ทำ แผนที่ นำทาง คือ กระบวนการ ใน การ มอง อนาคต ของ เทคโนโลยี เพื่อ เตรียม ความ พร้อม ของ หน่วย งาน หรือ องค์กร ใน การ ที่ ทำงาน หรือ ทำ วิจัย ให้ สอดคล้อง กับ ความ ต้องการ หรือ แนว โน้ม ใน อนาคต แผนที่ นำทาง ได้ จาก การ พิจารณา แนว โน้ม ของ ตลาด (Market Trends) ปัจจัย ที่ เป็น แรง ผลัก (Drivers) รูป แบบ ของ ผลติภณัฑ ์(Product) บรกิาร (Services) เทคโนโลย ี(Technology) และนโยบาย และ โครงสร้าง พื้น ฐาน (Policy and Infrastructure): 10

    Activ

    ity

    Horizon08.indb 10 1/27/12 1:59:41 PM

  • การคาดการณ์อนาคตกับภาวะวิกฤติการ พิจารณา อนาคต อย่าง เป็น ระบบ การ

    พยายาม ระบุ และ ประเมิน ความ เสี่ยง ต่างๆ ให้ ชัดเจน ที่สุด เท่า ที่ จะ เป็น ไป ได้ จะ ช่วย ให้ สามารถ หลีก เลี่ยง หรอื บรรเทา ความ เสีย่ง เหลา่ นัน้ กอ่น ที ่จะ ถงึ ภาวะ วกิฤต ิ(ไมใ่ช ่การ หลกี เลีย่ง หรอื เบีย่ง เบน วกิฤต ิที ่จะ เกดิ ขึน้ ออก ไป) ซึ่ง จะ ช่วย ลด ผลก ระ ทบ และ เป็นการ เตรียม ความ พร้อม ใน การ ตอบ สนอง ได้ ดี

    การระบุและประเมินความเสี่ยงสามารถ ทำได้ ด้วย ความ ร่วม มือ ของ หลายๆ

    หน่วย งาน ช่วย กัน ระบุ และ ประเมิน ความ เสี่ยง ที่ เกี่ยวข้อง กับ แนว โน้ม ต่างๆ ที่ เกิด ขึ้น ด้วย กระบวนการ ตา่งๆ เชน่ การก วาด จบั สญัญาณ (Horizon Scanning) ร่วม กับ การ ประเมิน ความ เสี่ยง การ ศึกษา ประเด็น เชิง ยุทธศาสตร์ ที่ อุบัติ ใหม่ เป็นต้น จะ ช่วย ใน การ จับ สัญญาณ อ่อนๆ ที่ อาจ กลาย เป็น ปัญหา ได้

    การ ตั้ง คำถาม ว่า ‘ถ้า หาก’ (What if) และ ‘แล้ว จะ เป็น อย่างไร’ (So what) จะ ช่วย กระตุ้น ให้ เกิด การ คิดถึง ความ เป็น ไป ได้ ต่างๆ ที่ จะ เกิด ขึ้น ใน อนาคต แล้ว นำ ไป สู่ ประเด็น ที่ เรา ไม่ เคย คิดถึง มา ก่อน ซึ่ง จะ ช่วย ให้ เรา มี ความ เข้าใจ ว่า แนว โน้ม เหล่า นั้น จะ พัฒนา ไป สู่ ความ ตึงเครียด ได้ อย่างไร บ้าง โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง เมื่อ ถูก กระตุ้น ด้วย เทคโนโลยี

    อย่างไร ก็ตาม กิจกรรม นี้ ต้อง ดำเนิน การ ผ่าน เครือ ข่าย ที่ มี มุม มอง หลาก หลาย ทั้ง ใน ระดับ ประเทศ และ ระดบั นานาชาต ิสิง่ หนึง่ ที ่ม ีความ สำคญั ไม ่ยิง่ หยอ่น ไป กว่า กัน คือ ความ เป็น หนึ่ง เดียว ของ รัฐ (Whole-of-Government) ซึ่ง จะ ทำให้ หน่วย งาน ของ รัฐ มี การ ทำ หน้าที่ อย่าง สอดคล้อง กัน ใน การ จัดการ ความ เสี่ยง ด้วย ความ ตระหนัก ใน ความ เสี่ยง และ เหตุการณ์ ที่ จะ เกิด ขึ้น ร่วม กัน

    การสื่อสารและการบรรเทาความเสี่ยงการ สื่อสาร ความ เสี่ยง มี ความ สำคัญ มาก

    เนือ่งจาก เรา ตอ้งการ การ ยอมรบั รว่ม กนั ของ หนว่ย งาน ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง ใน การ ร่วม มือ กัน แก้ไข ปัญหา อย่าง ทัน ท่วงที การ ตอบ สนอง ต่อ ความ เสี่ยง อาจ ไม่ สามารถ กระทำ ได้ อย่าง ทัน ท่วงที แต่ การ ที่ ได้ คิด แนวทาง การ ตอบ สนอง รปู แบบ ตา่งๆ จาก ภาพ อนาคต หลายๆ ภาพ ที่ ได้ จัด ทำ ไว้ จะ ช่วย ให้ เรา ตอบ สนอง ต่อ สถานการณ์ ที่ เปลี่ยนแปลง ไป ได้ อย่าง เหมาะ สม โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง เมื่อ ความ เสี่ยง เหล่า นั้น กลาย เป็น วิกฤติ

    ภาพ ประกอบ แสดง ให้ เห็น ความ เสี่ยง ต่างๆ ที่ สัมพันธ์ กับ การ เปลี่ยนแปลง ของ สภาพ ภูมิ อากาศ ซึ่ง ทำให้ เกิด วิกฤติ ด้าน สภาพ ลม ฟ้า อากาศ และ หาย นภัย ต่างๆ ที่ จะ ตาม มา สิ่ง เหล่า นี้ ทำให้ ห่วง โซ่ อุปทาน ของ โลก ลด นอ้ย ลง ความ ตอ้งการ พลงังาน ใน แตล่ะ ภมูภิาค สูง ขึ้น และ ความ เปราะ บาง ด้าน ทรัพยากร ของ สิงคโปร์ ก็ จะ สูง ขึ้น

    นอกจาก นี้ การ เปลี่ยนแปลง ของ สภาพ ภูมิ อากาศ อาจ ทำให้ อุณหภูมิ และ ความชื้น สูง ขึ้น ส่ง ผล ให้ เกดิ โรค ระบาด ระดบั นำ้ ทะเล ที ่สงู ขึน้ อาจ ทำให ้นำ้ ทว่ม สูญ เสีย ที่ดิน และ แหล่ง น้ำ จืด ระบบ สาธารณูปโภค ที่ มี อยู่ เช่น โรง พยาบาล ท่าเรือ สนามบิน โครง ข่าย ไฟฟ้า และ น้ำ เป็นต้น จะ สามารถ รับมือ กับ ความ ตึงเครียด เหล่า นี้ ได้ หรือ ไม่ และ เมื่อ สิ่ง เหล่า นี้ ก่อ ให้ เกิด ผล ร่วม กนั อาจ ทำให ้การ ดำรง ชวีติ ของ ชาว สงิคโปร ์และ ขดี ความ สามารถ ใน การ แข่งขัน ของ ประเทศ มี ปัญหา

    จะ เหน็ ได ้วา่การ ตอบ สนอง ตอ่ ความ เสีย่ง ตา่งๆ ที่ ระบุ ไว้ ข้าง ต้น ต้อง อาศัย หน่วย งาน ต่างๆ ไป รับ ผิด ชอบ แต่ละ ประเด็น เช่น การ จัดการ พลังงาน อย่าง มี ประสิทธิภาพ โครงสร้าง ของ การ ระบาย น้ำ การ บริหาร จัดการ มลภาวะ ความ มั่นคง ของ ทรัพยากร เป็นต้น การ พิจารณา ภาวะ วิกฤติ ต่างๆ ที่ อาจ เกิด ขึ้น ยัง ช่วย ให้ ระดบั นโยบาย เหน็ ถงึ ชอ่ง วา่ง ของ ขดี ความ สามารถ และ กระบวนการ ที่ มี อยู่ ซึ่ง จะ นำ ไป สู่ การ พัฒนา เพื่อ รับมือ กับ เหตุการณ์ ต่างๆ อย่าง ทัน ท่วงที

    สุชาต อุดมโสภกิจ

    กล่าว ได้ ว่า สิงคโปร์ มี ขีด ความ สามารถ ใน การ บริหาร จัดการ ภาวะ วิกฤติ ได้ ดี ใน ระดับ หนึ่ง เพราะ กลไก การ ทำงาน ของ หน่วย งาน รัฐ ภาค เอกชน และ ภาค ประชา สังคม มี ความ สอดคล้อง กัน ดัง ใน กรณี การ ระบาด ของ โรค ซาร์ส และ วิกฤติ ทาง เศรษฐกิจ ซึ่ง เป็น ผล จาก การ คาด การณ์ อนาคต ของ หน่วย ยุทธศาสตร์ อนาคต (Centre for Strategic Futures, CSF) ของ สิงคโปร์* ที่ ได้ เตรียม การณ์ สำหรับ ภาวะ วิกฤติ ไว้ ล่วง หน้า

    * Centre for Strategic Futures (CSF) เป็น หน่วย งาน ภาย ใต้ Public Service Devision (PSD) ของ สิงคโปร์ เป็น หน่วย งาน ของ รัฐ ทำ หน้าที่ ให้ บริการ แก่ สาธารณะ อย่าง มี ประสิทธิภาพ ซึ่ง รวม ถึง โครงสร้าง พื้น ฐาน การ ศึกษา ที่ อยู่ อาศัย กฎหมาย สิ่ง แวดล้อม โดย มี การ เรียน รู้ และ คาด การณ์ อนาคต อย่าง ต่อ เน่ือง เพื่อ เตรียม ความ พร้อม และ เพื่อ ให้ มั่นใจ ว่า จะ สามารถ ให้ บริการ อย่าง ใน ระดับ ดี เยี่ยม อย่าง ไม่ ขาดตอน และ มี การ พัฒนา ตลอด เวลา

    ที่มา:Kwa Chin Lum. Foresight and crisis preparedness: the Singapore experience. Global is Asian, Issue12, Oct-Dec 2011, p42-43.

    การคาดการณ์อนาคตกับการเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤติ

    11 :

    Horizon08.indb 11 1/27/12 1:59:43 PM

  • in & outสุชาต อุดมโสภกิจ

    ทกุ วนั นี ้เรา พบ คน กม้ หนา้ เดนิ กนั มาก ขึน้ คยุ กบั คน ขา้ง กาย นอ้ย ลง แต ่คยุ กบั คน ที ่อยู ่คนละ ซกี โลก มาก ขึน้ และ เรา ใช้ ‘นิ้ว’ คุย กัน มาก ขึ้น

    อย่า แปลก ใจ หาก พบเห็น คน บาง คน ไม่ สนใจ ว่า เขา จะ เดิน ไป ไหน หรือ หนทาง ข้าง หน้า จะ เป็น อย่างไร หรือ เขา ทำตัว ‘ขัด ขวาง ความ ก้าวหน้า’ แค่ ไหน เพราะ ขณะ นั้น เขา กำลัง สนใจ สิ่ง ที่ อยู่ ใน มือ…สมา ร์ท โฟน

    เรา ลอง ย้อน กลับ ไป ดู ซิ ว่า...กว่า จะ เป็น สมา ร์ท โฟน ใน มือ เรา มัน ผ่าน ร้อน ผ่าน หนาว มา อย่างไร บ้าง

    ก ว่ า จ ะ ม า เ ป็ น

    ค.ศ.1908สทิธ ิบตัร อเมรกินั หมายเลข 887357 ของ Nathan B. Stubblefield เปน็ สทิธ ิบตัร แรก ที่ เกี่ยว กับ โทรศัพท์ ไร้ สายค.ศ.1945 โทรศัพท์ เคลื่อนที่ ยุค 0G (Zero Generation) ถือ กำเนิด ขึ้น แต่ ยัง ไม่ ถูก เรียก ว่า ‘โทรศพัท ์เคลือ่นที’่ อยา่ง เปน็ ทางการ เพราะ ผู ้ใช ้ยงั ไม ่สามารถ เคลือ่น ยา้ย จาก ฐาน หนึง่ (พืน้ที ่ที ่สถาน ีให ้บรกิาร – ‘เซลล’์) ไป ยงั อกี ฐาน หนึง่ อยา่ง อตัโนมตั ิจน กระทัง่ Bell Labs พัฒนา เทคโนโลยี เกี่ยว กับ ฐาน ให้ บริการ ใน อีก 2 ปี ถัด มา และ ได้ รับ การ พัฒนา มา โดย ตลอด จนถึง ทศวรรษ 1960ค.ศ.1973 วัน ที่ 8 เมษายน Martin Cooper ผู้ จัดการ ของ โม โต โร ลา เป็น คน แรก ที่ ใช้ โทรศัพท์ เคลื่อนที่ แบบ มือ ถือ (Handheld Mobile Phone) ... ผ่าน โมเด็มค.ศ.1982 โนเกยี เปดิ ตวั โทรศพัท ์เคลือ่นที่ รุน่ Mobira Senator ซึง่ เปน็ก ลอ่ง สีเ่หลีย่ม ขนาด ใหญ ่ มี หู หิ้ว เพราะ ถูก ออกแบบ ให้ ใช้ ใน รถ (ตอน นั้น ไม่มี ใครบ้า พอที่ จะ หิ้ว เจ้า เครื่อง นี้ แล้ว เดิน คุย เพราะ อาจ ทำให้ หัว ไหล่ หลุด)ค.ศ.1984 Bell Labs ซึง่ พฒันา เทคโนโลย ีเกีย่ว กบั ฐาน ให ้บรกิาร สญัญาณ ได ้ประดษิฐ ์เทคโนโลย ีที่ เรียก ว่า ‘Call Handoff’ ซึ่ง ทำให้ ผู้ ใช้ โทรศัพท์ เคลื่อนที่ เดิน ทาง ผ่าน ‘เซลล์’ ต่างๆ ได้ โดย การ สนทนา ไม่ ขาดตอนค.ศ.1990 โทรศัพท์ เคลื่อนที่ เข้า สู่ ยุค 2G โดย สหรัฐอเมริกา เริ่ม ใช้ เครือ ข่าย GSM เป็น ครั้ง แรก โดย ชว่ง แรกๆ ระบบ 1G กบั 2G ใช ้คลืน่ 900 MHz รว่ม กนั และ ตอ่ มา ระบบ 1G ซึง่

    สมาร์ทโฟน

    : 12

    Horizon08.indb 12 1/27/12 1:59:50 PM

  • ที่มา:

    http://www.xtimeline.com/timeline/History-of-Mobile-Phones--Cell-Phones- +

    http://gizmodo.com/357895/the-analog-cellphone-timeline +

    http://www.dreamsrain.com/2011/10/17/evolution-of-cell-phone-since-last-38-years-infographic/ +

    เปน็ อะ นา ลอ็ก ก ็ทยอย ปดิ ตวั ลง ใน ขณะ เดยีวกนั โทรศพัท ์เคลื่อนที่ ที่ มี ขนาด ใหญ่ เทอะทะ (บาง คน เปรียบ เปรย ว่า เวลา คุย โทรศัพท์ ที เหมือน ‘หมา แทะ กระดูก’) ก็ เริ่ม มี ขนาด เล็ก ลง เรื่อยๆ จน กลาย เป็น ‘โทรศัพท์ มือ ถือ’ ใน ที่สุด ที่ เป็น เช่น นี้ ได้ เพราะ การ พัฒนา เทคโนโลยี แบต เต อรี และ วงจร ภายใน เครื่อง ที่ ใช้ พลังงาน อย่าง มี ประสิทธิภาพค.ศ.1993 The Simon Personal Communicator ร่วม กับ IBM9 และ BellSouth วาง ตลาด โทรศัพท์ มือ ถือ โฉม ใหม่ ที่ ผนวก PDA (Personal Digital Assistant) เข้าไป ด้วย ทำให้ เกิด อุปกรณ์ ที่ ทำ หน้าที่ ทั้ง โทรศัพท์ เพจ เจอร์ เครื่อง คิด เลข สมุด บันทึก ที่ อยู่ โทรสาร และ อีเมล โดย มี น้ำ หนัก ประมาณ 500 กรัมค.ศ.1995 โนเกีย ให้ บริการ ส่ง ข้อความ ผ่าน โทรศัพท์ มือ ถือ ใน จีน และ ญี่ปุ่นค.ศ.1996 โทรศัพท์ มือ ถือ เริ่ม แปลง โฉม จาก เน้น ‘ฟัง ก์ช่ัน’ ไป เน้น ‘แฟช่ัน’ เช่น โม โต โร ลา ออก โทรศัพท์ มือ ถือ รุ่น Razr ซึ่ง มี ขนาด เล็ก น้ำหนัก ไม่ ถึง 100 กรัม มี ฝา พับ คล้าย หอย(Clamshell Phone) และเหน็บ เข้ากับเข็มขัด ได้ ค.ศ.1998เทคโนโลย ีบล ูทธู (Bluetooth) กำเนดิ ขึน้ ดว้ย ความ ตัง้ใจ จะ ใช้ เพื่อ ทดแทน การ ส่ง สัญญาณ เสียง และ ข้อมูล ผ่าน สาย แล้ว บูล ทูธ ก็ มา เป็น เพื่อน สนิท กับ โทร ศัพท์ มือ ถือ ก่อน จะ เริ่ม ไป คบหา กับ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ชนิด อื่นๆค.ศ.1999 โทรศัพท์ มือ ถือ เจ้า เสน่ห์ นาม BlackBerry ของ Research in Motion (RIM) สญัชาต ิแคนาดา ก ็ออก มา ให้ ยล โฉม พร้อมๆ กับ ลูก เล่น แพรวพราว ได้แก่ อีเมล โทรศพัท ์สง่ ขอ้ความ สง่ แฟก็ซ ์ผา่น อนิเทอรเ์นต็ เขา้ เวบ็ และ ใช้ บริการ ไร้ สา ยอื่นๆ และ แน่นอน...จาก รุ่น แรก ที่ หน้า จอ เป็น ขาว-ดำ ก็ เป็น ล้าน สี ไป เรียบร้อยค.ศ.2000 เริ่ม พัฒนา ระบบ 3G พร้อมๆ กับ วาง มาตรฐาน (เช่น การ ส่ง ถ่าย ข้อมูล ด้วย ความเร็ว 2 Mbit/s ใน อาคาร และ 384 kbit/s นอก อาคาร เป็นต้น) แต่ ก่อน จะ ได้ 3G ก็ มี 2.5G มา ใช้ แก้ขัด ก่อน เช่น CDMA2000-1X, GPRS และ EDGE ซึง่ พฒันา ตอ่ย อด จาก 2G จน กระทัง่

    ต้น ศตวรรษ ที่ 21 จึง มี 3G ใช้ กันค.ศ.2001 จะ มี ใคร รู้ บ้าง ว่า ‘โทรศัพท์ ชาญ ฉลาด’ (Smart Phone) เครื่อง แรก คือ Kyocera รุ่น QCP6035 ออก ตี ตลาด พรอ้มๆ กบั ระบบ ปฏบิตั ิการ Palm-OS และ หนว่ย ความ จำ ถึง 8MB จัด เป็น อุปกรณ์ ประเภท All-in-One เพราะ ทำ หน้าที่ ทั้ง โทรศัพท์ เพจ เจอร์ PDA เฝ้า หุ้น หา โรง และ รอบ ชม ภาพยนตร์ หา ตาราง บิน ฯลฯ นี่ คือ หัว หอก ของ สมา ร์ท โฟน ใน ยุค ต่อๆ มาค.ศ.2002 โทรศัพท์ มือ ถือ ติด กล้อง ตัว แรก คือ Sanyo SCP-5300 ออก วาง ตลาด ใน สหรัฐอเมริกา โดย สามารถ จับ ภาพ ขนาด 640x480 พิกเซล ได้ (อย่า นำ ไป เปรียบ เทียบ กับ ที ่เราๆ ทา่นๆ ใช ้กนั อยู ่ใน ปจัจบุนั ที ่ม ีความ ละเอยีด ของ ภาพ ร่วม 10 ล้าน พิกเซล)ค.ศ.2005 โม โต โร ลา จับ เอา สิ่ง ที่ ดี ที่สุด 2 สิ่ง(ใน ขณะ นั้น)มา ไว้ ด้วย กัน คือ ดีไซน์ ของ โทรศัพท์ มือ ถือ โม โต โร ลา และ เครือ่ง เลน่ เพลง iTune ของ แอปเปลิ กลาย เปน็ Motorola ROKR ที่ วัย โจ๋ และ ไม่ โจ๋ ทั้ง หลาย ล้วน ‘โดน’ กัน เป็น แถว เพราะ ทำให้ เขา เหล่า นั้น ฟัง เพลง ขณะ เดิน ทาง ได้ (แต่ อาจ ถูก คั่น โฆษณา ด้วย สาย เรียก เข้า)ค.ศ.2007แอปเปลิ เปดิ ตวั iPhone รุน่ แรก ที ่ยงั ใช้ เทคโนโลย ี2.5G แต่ สามารถ ส่ง ข้อมูล ผ่าน Wi-Fi ได้ ใน ขณะ เดียวกัน โทรศัพท์ มือ ถือ ที่ ใช้ 3G เริ่ม แพร่ หลาย...ชาว บ้าน ติด กันงอมแงมค.ศ.2008 เครือ ข่าย โทรศัพท์ เคลื่อนที่ แบ บอะ นา ล็อก ปิด ตัว ลงค.ศ.2010 LG Optimus 2X เป็น โทรศัพท์ มือ ถือ เครื่อง แรก ที่ ใช้ Processor แบบ Dual-core ค.ศ.2011 แอปเปิล เกทับ ด้วย iPhone 4S ที่ มี Processor Apple A5 แบบ Dual-core และ มี เสา อากาศ ทั้ง สำหรับ GSM และ CDMA ใน ขณะ ที ่LG Optimus 3D P920 เอา ระบบ ภาพ สาม มิติ แบบ ไม่ ต้อง ใส่ แว่น มา ดึงดูด ผู้ ใช้

    เทคโนโลยี โทรศัพท์ มือ ถือ ยัง คง พัฒนา อย่าง ต่อ เนื่อง แต่ มารยาท ของ ผู้ ใช้ โทรศัพท์ มือ ถือ เป็น เรื่อง เฉพาะ ตัว!!

    13 :

    Horizon08.indb 13 1/27/12 1:59:54 PM

  • QuEstion arEa

    Q: อย่างไร จึง จะ เรียก ว่า น้ำ ท่วม?A: น้ำท่วมเป็นปรากฏการณ์ที่น้ำไหลบ่าไปสู่พื้นดินที่เคยแห้งมาก่อน อาจเกิดขึ้นเมื่อมีฝนตกหนัก มีคลื่นในทะเลซดัเขา้สู่ชายฝัง่อยา่งรนุแรงหมิะละลายอยา่งรวดเรว็หรอืเขือ่น/ฝายแตกนำ้ทว่มอาจมีระดบันำ้เพยีงไม่กี่เซนติเมตรไปจนถึงมิดหลังคาบ้าน อย่างไรก็ตาม น้ำท่วมที่อันตรายมากคือ ‘น้ำท่วมฉับพลัน’ (FlashFlood)ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่สามารถเตือนภัยหรือเตือนภัยได้ในเวลากระชั้นชิดนอกนั้นเป็นน้ำท่วมที่เกิดขึ้นเป็นเวลายาวนานหลายวันหลายสัปดาห์หรือหลายเดือน

    Q: อย่างไร จึง จะ เรียก ว่า น้ำ ท่วม จาก แม่น้ำ (River Flood)?A: น้ำ ท่วม จาก แม่น้ำ เกิด ขึ้น เมื่อ ระดับ น้ำ ใน แม่น้ำ สูง ขึ้น เนื่องจาก ฝน ตก บน ผืน แผ่น ดิน ใน บริเวณ หนึ่งๆ เป็น ปริมาณ มาก (ฝน ฟ้า คะนอง) และ เป็น เวลา นาน ใน ต่าง ประเทศ อาจ เกิด จาก หิมะ จำนวน มาก ละลาย อย่าง รวด เร็ว พร้อมๆ กัน

    Q: อย่างไร จึง จะ เรียก ว่า น้ำ ท่วม ชายฝั่ง (Coast Flood)?A: น้ำ ท่วม ชายฝั่ง เกิด ขึ้น เมื่อ มี พายุ เช่น เฮ อร์ ริ เคน พายุ โซน ร้อน ดีเปรสชั่น เป็นต้น ทำให้ ระดับ น้ำ ใน ทะเล สูง ขึ้น (Storm Surge) จน ท่วม ชายฝั่ง ‘Storm Surge’ เป็น ปรากฏการณ์ ที่ น้ำ ใน ทะเล ถูก ดัน เข้าไป ยัง ชายฝั่ง เนือ่งจาก อทิธพิล ของ ลม ที ่หมนุ วน อยู ่ใน พาย ุและ เมือ่ รวม กบั คลืน่ ใน ทะเล ที ่ม ีอยู ่แต ่เดมิ ทำให ้ระดบั นำ้ ทะเล สงู ขึ้น ถึง 4 เมตร หรือ เกิน กว่า นั้น ปรากฏการณ์ Strom Surge ใน มล รัฐ เท็กซัส สหรัฐอเมริกา เมื่อ ปี ค.ศ. 1900 ทำให้ สูญ เสีย ชีวิต ผู้คน ไป อย่าง น้อย 8,000 คน

    Q: อย่างไร จึง จะ เรียก ว่า น้ำ ท่วม ฉับ พลัน (Flash Flood)?A: นำ้ ทว่ม ฉบั พลนั เปน็ ปรากฏการณ ์ที ่นำ้ ใน แมน่ำ้ หรอื ใน พืน้ที ่ลุม่ ตำ่ ม ีระดบั สงู ขึน้ อยา่ง รวดเรว็ นำ้ ทว่ม ฉบั พลนั มกั เกดิ ขึน้ ภายใน 6 ชัว่โมง เมือ่ ม ีฝน ตกหนกั ตดิตอ่ กนั ซึง่ มกั เปน็ ผล ของ พาย ุหรอื ม ีฝน ฟา้ คะนอง เปน็ บรเิวณ กวา้ง นอกจาก นี ้นำ้ ทว่ม ฉบั พลนั อาจ เกดิ ขึน้ จาก เขือ่น หรอื ฝาย แตก หรอื ม ีการ ปลอ่ย นำ้ ที ่เกบ็ กกั ไว ้ใน ปร ิมาณ มากๆ ฝน ที่ ตกหนัก ใน แถบ ภูเขา อาจ ส่ง ผล ให้ เกิด น้ำ ท่วม ฉับ พลัน ใน บริเวณ หุบเขา เบื้อง ล่าง ได้

    คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับน้ำท่วม

    สุชาต อุดมโสภกิจ

    ใน วัน ที่ นนทบุรี ไม่ใช่ เมือง แห่ง ความรื่นเริง ปทุมธานี ไม่มี ดอกบัว

    ให้เห็น กรุงเทพมหานครเกือบจะกลาย เป็น กรุ ง เทพ มหา นที และ เรา มี แม่น้ ำ วิภาวดีเป็นแม่น้ำสายใหม่ คำว่า ‘น้ำท่วม’ กลายเป็นคำเขย่าขวัญสั่นประสาทคนไทย Q&A ฉบับนี้ขอเสนอคำอธิบายบางแง่มุมเกี่ยวกับน้ำท่วม ด้วยความหวังว่า ผู้อ่านจะคุ้นเคยและมีความเข้าใจ

    ‘นอ้งนำ้’มากกวา่ที่ผา่นมา

    : 14

    Horizon08.indb 14 1/27/12 1:59:55 PM

  • Q: เหตุใดน้ำท่วมฉับพลันจึงอันตรายมาก?A: น้ำ ท่วม ฉับ พลัน เกิด ขึ้น โดย ไม่มี การ เตือน ภัย หรือ มี เวลา เตือน ภัย น้อย น้ำ ท่วม ฉับ พลัน ทำลาย ทรัพย์สิน และ ชีวิต ได้ อย่าง รวดเร็ว โดย เฉพาะ เมื่อ อยู่ ใน บริเวณ ริม ตลิ่ง หรือ พื้น แม่น้ำ คู คลอง ที่ เคย แห้ง ผาก (Arroyo) มา ก่อน น้ำ ท่วม ฉับ พลัน มี พลัง มหาศาล สามารถ ทำให้ หิน ก้อน ใหญ่ๆ กลิ้ง ได้ ฉีก ต้นไม้ ใหญ่ เป็น ชิ้นๆ ได้ ทำลาย อาคาร ทั้ง หลัง หรือ สะพาน ได ้รวม ทัง้ สามารถ สรา้ง ทาง นำ้ สาย ใหม ่ได ้นำ้ ทว่ม ฉบั พลนั ใน พืน้ที ่ที ่ม ีความ ลาด ชนั สงู อาจ กอ่ ให ้เกดิ ปญัหา ซ้ำ เติม โดย ทำให้ เกิด โคลน ถล่ม (Mud Slide) ที่ สร้าง ความ สูญ เสีย แก่ ชีวิต และ ทรัพย์สิน

    Q: บริเวณใดบ้างที่มีความเสี่ยงจากน้ำท่วมฉับพลัน?A: พื้นที่ ที่ มี ประชากร อาศัย อยู่ หนา แน่น เนื่องจาก มี การ ก่อสร้าง อาคาร ถนน ที่ จอด รถ ทำให้ มี พื้นที่ รองรับ น้ำ น้อย ลง ปริมาณ น้ำ ที่ ไหล ผ่าน (Runoff) จึง มาก ขึ้น แล้ว ทำให้ เกิด น้ำ ท่วม ฉับ พลัน ใน ที่สุด นอกจาก นี้ ชั้น ใต้ ดิ น ข อง อาคาร ที่ จอด รถ ใต้ดิน และ อุโมงค์ ทาง ลอด ก็ จัด เป็น พื้นที่ ที่ มี ความ เสี่ยง จาก น้ำ ท่วม ฉับ พลัน เช่น กัน

    พื้นที่ ที่ อยู่ ใกล้ แม่น้ำ โดย เฉพาะ ริม ตลิ่ง ที่ มี คัน กั้น น้ำ (Embankment, Levee) ก็ มี ความ เสี่ยง จาก น้ำ ท่วม ฉับ พลัน ดัง ตัวอย่าง ที่ แม่น้ำ มิสซิสซิปปี ไหล บ่า เข้า ท่วม เมือง นิ วอ อร์ ลีนส์ เมื่อ ปี ค.ศ. 2005 เนื่องจาก คัน กั้น น้ำ พัง ลง จาก แรง ดัน น้ำ ที่ สูง ขึ้น จาก อิทธิพล ของ พายุ คา ทรี นา หรือ นครสวรรค์ ประสบ กับ น้ำ ท่วม ฉับ พลัน เมื่อ ปลาย เดือน ตุลาคม ที่ ผ่าน มา เพราะ คัน กั้น น้ำ(ชั่วคราว)พัง ลง ทำให้ น้ำ ใน แม่น้ำ เจ้าพระยา ทะลัก เข้า ท่วม ตัว เมือง อย่าง รวดเร็ว

    เขื่อน พัง สามารถ ส่ง มวล น้ำ ไป ทำลาย สิ่ง ที่ อยู่ ขวาง หน้า ได้ อย่าง รวดเร็ว มัก เกิด กับ เขื่อน ดิน ใน ปี ค.ศ. 1889 เขื่อน ที่ อยู่ ตอน เหนือ ของ จอห์นส ทาวน์ มลรัฐ เพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา ได้ พัง ลง ทำให้ มี ผู้ เสีย ชีวิต ถึง 2,200 ราย ภายใน ไม่ กี่ นาที ด้วย น้ำ ที่มา จาก เขื่อน และ มี ระดับ ความ สูง ไม่ น้อย กว่า 10 เมตร

    อย่า เดิน เล่น ริม แม่น้ำ ขณะ ที่ เกิด ฝน ฟ้า คะนอง ใน แถบ นั้น ฝน ที่ ตกหนัก ใน แถบ ภูเขา เป็น เวลา นาน อาจ ทำให้ ลำ ธาร เล็กๆ ที่ มี ความ กว้าง เพียง 15 เซนติเมตร กลาย เป็น คลอง ที่ มี ความ กว้าง 3 เมตร ได้ ภายใน ไม่ ถึง ชั่วโมง สิ่งที ่ อันตราย คือ สายน้ำ ที่ มี ความ เชี่ยว กราก หิน และ ดิน โคลน ที่ ถูก ซัด มา พร้อม กับ น้ำ

    Q: ปัจจัยใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับน้ำท่วม?A: ปริมาณ น้ำ ฝน เป็น ปัจจัย หลัก ที่ ทำให้ เกิด น้ำ ท่วม แต่ มี ปัจจัย อื่น ที่ เกี่ยวข้อง ด้วย ได้แก่ ความ สามารถ ใน การ เก็บ กัก น้ำ (Catchment) ซึ่ง ขึ้น กับ ขนาด หรือ ความ จุ รูป ร่าง และ การ ใช้ ที่ดิน ของ แหล่ง เก็บ น้ำ น้ำ ฝน บาง ส่วน ถูก ดูดซับ โดย พื้นที่ เพาะ ปลูก ที่ เหลือ จึง ไป ตาม ทาง น้ำ (Waterway) ด้วย เหตุ นี้ ขนาด และ รูป ร่าง ของ แม่น้ำ พื้นที่ เพาะ ปลูก และ สิ่ง ปลูก สร้าง ต่างๆ ที่ อยู่ ใน บริเวณ และ ใกล้ๆ ทาง น้ำ จึง ล้วน มี ผล ต่อ ระดับ น้ำ ใน ทาง น้ำ

    Q: เราสามารถ�