new 2560 . 2561 · 2018. 5. 7. · 1. วิสัยทัศน...

341
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพื่อรองรับการศึกษายุค 4.0 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร. อภิภา ปรัชญพฤทธิสนับสนุนโดย เงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร 2560 คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย .. 2561

Upload: others

Post on 12-Oct-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รายงานการวิจัย

    เรื่อง

    การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพ่ือรองรับการศึกษายุค 4.0

    โดย

    ผูชวยศาสตราจารย ดร. อภิภา ปรัชญพฤทธิ ์

    สนับสนุนโดย

    เงินทุนเพือ่การวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร

    ป 2560

    คณะครศุาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

    พ.ศ. 2561

  • กิตติกรรมประกาศ

    การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพ่ือรองรับการศึกษายุค 4.0 ไดรับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย

    เงินทุนเพ่ือการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร ปงบประมาณ 2560 ผูวิจัยขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณผูทรงคุณวุฒิทุกทานท่ีตรวจเครื่องมือวิจัยผูทรงคุณวุฒิท่ีใหสัมภาษณ

    คณาจารยท่ีตรวจสอบรายวิชาและผูทรงคุณวุฒิท่ีตรวจสอบรางรูปแบบการผลิตครูครั้งนี้ งานวิจัยนี้ไมอาจสําเร็จ

    ไดหากปราศจากความกรุณาของทุกทาน นอกจากนี้ผูวิจัยขอขอบคุณนิสิตท่ีชวยงานครั้งนี้ ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่ง

    วางานวิจัยครั้งนี้จะเปนประโยชนตอวงการครุศึกษาไมมากก็นอย

    ผูชวยศาสตราจารย ดร. อภิภา ปรัชญพฤทธิ์

    ธันวาคม 2561

  • บทคัดยอ

    การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงคและข้ันตอนการวิจัยดังนี้ 1) วิเคราะหสมรรถนะท่ี

    จําเปนของครูในการศึกษายุค 4.0 โดยการวิเคราะหและสังเคราะหเอกสาร และการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ

    จํานวน 7 คน 2) วิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของการผลิตครูปจจุบันในประเทศไทย โดยการวิเคราะหหลักสูตร

    การผลิตครูของคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรในสังกัดของมหาวิทยาลัยรัฐ 2 แหงและมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2 แหง

    การวิเคราะหเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ และการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิจํานวน 7 คน และสังเคราะหขอมูล

    ท้ัง 3 สวน 3) วิเคราะหการผลิตครูของประเทศท่ีประสบความสําเร็จในระดับนานาชาติ ไดแก การผลิตครูใน

    ประเทศฟนแลนดและสิงคโปร 4) พัฒนา (ราง) รูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0 โดยการประมวล

    และบูรณาการขอมูลท่ีไดจากข้ันตอนวิจัยท่ี1-3 และ 5) ตรวจสอบความเหมาะสมและความเปนไปไดของ (ราง)

    รูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0 โดยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 6 คน

    ผลการวิจัยพบวา สมรรถนะท่ีจําเปนสําหรับครูในการศึกษายุค 4.0 ประกอบดวย 1) สมรรถนะแกนกลาง

    ของการศึกษายุค 4.0 10 ดาน ไดแก การคิดแบบมีวิจารณญาณ การคิดแกปญหาอยางสรางสรรคการสราง

    นวัตกรรม ความเปนผูประกอบการ การเปนผูเรียนรูตลอดชีวิต การใชเทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ การมี

    ทักษะการทํางานรวมกับผูอ่ืน การสื่อสารขามวัฒนธรรม การมีภาวะผูนําและการมีจิตสาธารณะและ 2)

    สมรรถนะวิชาชีพครู 6 ดาน ไดแก ความเปนครูและจรรยาบรรณวิชาชีพครู การพัฒนาหลักสูตร ความรูลึกใน

    เนื้อหาวิชาและวิธีวิทยาการสอน การประเมินผลและการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู การพัฒนาผูเรียนและการจัด

    สภาพแวดลอมการเรียนรู

    ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของการผลิตครูปจจุบันในประเทศไทยพบวาการผลิตครูในประเทศไทย

    คอนขางมีจุดออนมากกวาจุดแข็ง ในขณะท่ีผลการวิเคราะหการผลิตครูในประเทศฟนแลนดและสิงคโปร ซ่ึง

    ประสบความสําเร็จในการผลิตครูพบวามีลักษณะเดนคือมีความเปนวิชาชีพนิยมสูง มีกลไกการดึงดูดผูสมัครเขา

    ศึกษาท่ีมีผลการเรียนดีและตั้งใจเปนครู และมีวิธีการคัดเลือกท่ีเขมขนและมีหลายข้ันตอน หลักสูตรเนนการวิจัย

    มีสาระครอบคลุมแกนความรูของวิชาชีพครู การจัดประสบการณวิชาชีพอยางตอเนื่อง มีการเชื่อมโยงการเรียนรู

    ภาคปฏิบัติกับภาคทฤษฏี ใหความสําคัญกับการคัดเลือกครูท่ีเลี้ยงและการสอนงาน เนนการจัดการเรียนรูเชิงรุก

    และผสมผสานการใชเทคโนโลยี มีการจัดสภาพแวดลอมการเรียนรูท่ีเหมาะกับการศึกษาในศตวรรษท่ี 21

    รูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0 ท่ีผานการตรวจสอบความเหมาะสมและความเปนไปไดและ

    ปรับแกไขตามความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิแลว ใชชื่อวา รูปแบบการผลิตครูท่ีเสริมสรางความเปนมืออาชีพและ

    ศักยภาพดานนวัตกรรม และมีชื่อยอวา PIE TE Model และชื่อเต็มภาษาอังกฤษวา Professional and

    Innovativeness Enhancement Teacher Education Model ท่ีมีองคประกอบหลัก 8 องคประกอบ ไดแก

    1. วิสัยทัศนและหลักการผลิตครู 2. จุดมุงหมายการผลิตครูและสมรรถนะท่ีพึงประสงคของบัณฑิตครู

    3. แนวทางการรับเขาศึกษา 4. หลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต 5. การฝกประสบการณวิชาชีพ 6. การจัดการ

    เรียนการสอนและการประเมินผล 7. กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษาครู และ 8. สภาพแวดลอมการเรียนรู

  • Abstract

    This study is a descriptive research. The research objectives and procedures are as follows:

    1) analyze essential competencies for teachers in education 4.0 era through documentary analysis

    and 7 expert interviews; 2) analyze strengths and weaknesses of current teacher preparation in

    Thailand. To answer these objectives, the researcher analyzes teacher education curriculum from

    2 public universities and 2 Rajabhat universities; analyzing related documents and researches as

    well as interviewing 7 experts; 3) analyze successful teacher preparation at the international level.

    4) develop a draft of teacher preparation model for education 4.0 era by integrating research

    findings from the research procedure 1-3; and 4) review of the appropriateness and possibility of

    the draft of the teacher preparation model for education 4.0 by 6 experts.

    Research findings showed that essential competencies for teachers in education 4.0 are

    composed of 1) ten core competencies for education 4.0 including critical thinking, creative

    problem solving, innovativeness, entrepreneurship, lifelong learning, digital competence,

    teamwork skill, cross-cultural competence, leadership, and public mind and 2) six professional

    teacher competencies including teacher characteristics and ethics, curriculum development,

    in-depth content and pedagogical knowledge, research and evaluation for learning development,

    learner development, and learning environment management.

    Strengths and weaknesses analysis of current teacher preparation in Thailand showed that

    there are more weaknesses than strengths. Meanwhile, findings from the analysis of teacher

    preparation in Finland and Singapore revealed the followings strengths: a high professionalism,

    mechanisms to attract students with high academic performance who determine to be teachers,

    selective admission processes, research-oriented curriculum, curriculum with strong core

    pedagogical knowledge, continual practicum, linking theory and practice, emphasis on teacher

    mentor selection and preparation, emphasis on active learning and technology integration, and

    learning environment appropriate for 21 century education.

    The model of teacher preparation for education 4.0 was titled, Professional and

    Innovativeness Enhancement Teacher Education Model or PIE TE Model. It was adjusted based on

    experts’ comments and approved as appropriate and possible for implementation. This model

    composed for 8 elements: 1. vision and principles for teacher preparation; 2. objectives for

    teacher preparation and desirable graduate teachers’ competencies; 3. admission approaches;

    4. undergraduate curriculum; 5. practicum; 6. teaching and learning and evaluation; 7. student

    teacher activities, and 8. learning environment

  • สารบัญ

    กิตติกรรมประกาศ ข

    บทคัดยอภาษาไทย ค

    บทคัดยอภาษาอังกฤษ ง

    สารบัญ จ

    สารบัญตาราง ฉ

    สารบัญแผนภาพประกอบ ซ

    บทที่1 บทนํา 1

    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ 18

    บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย 88

    บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 98

    บทที่ 5 ขอสรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 238

    บรรณานุกรม 275

    ภาคผนวก 294

    ภาคผนวก ก ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะครูในการศึกษายุค 4.0

    กับรายวิชาศึกษาท่ัวไป และวิชาชีพคร ู

    295

    ภาคผนวก ข รายชื่อผูทรงคุณวุฒิ 304

    ภาคผนวก ค เคร่ืองมือวิจัย 307

  • สารบัญตาราง

    ตาราง หนา

    ตาราง 2.1 ผลการสังเคราะหแนวคิดพัฒนาการของการศึกษายุค 1.0-4.0 19

    ตาราง 2.2 แสดงท่ีมาของข้ันตอนการสอนโดยใชปรากฏการณเปนฐาน 43

    ตาราง 2.3 สาระความรูและสมรรถนะครูตามประกาศคุรุสภา 58

    ตาราง 3.1 สรุปข้ันตอนการวิจัย 96

    ตาราง 4.1 สมรรถนะท่ีจําเปนของพลเมืองในเศรษฐกิจยุค 4.0 98

    ตาราง 4.2 สมรรถนะท่ีจําเปนของครูในการศึกษายุค 4.0 จากสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ 99

    ตาราง 4.3 สมรรถนะท่ีจําเปนของครูในการศึกษายุค 4.0 จากการวิเคราะหเอกสาร 100

    ตาราง 4.4 ผลการสังเคราะหสมรรถนะท่ีจําเปนของครูในการศึกษายุค 4.0 102

    ตาราง 4.5 รายการสมรรถนะ คําอธิบายและตัวชี้วัดเชิงคุณภาพของสมรรถนะท่ีจําเปนของ

    ครูในการศึกษายุค 4.0

    103

    ตาราง 4.6 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของคร ู

    ในการศึกษายุค 4.0 ในหมวดการศึกษาท่ัวไป หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

    จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

    116

    ตาราง 4.7 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดวิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ

    มหาวิทยาลัย

    117

    ตาราง 4.8 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดการศึกษาท่ัวไป หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต

    มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

    118

    ตาราง 4.9 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดวิชาชีพครู หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต

    มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

    118

    ตาราง 4.10 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดการศึกษาท่ัวไป หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

    มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

    119

    ตาราง 4.11 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดวิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย

    ราชภัฏราชนครินทร

    119

  • ตาราง 4.12 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดการศึกษาท่ัวไป หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

    มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรราชธานี

    120

    ตาราง 4.13 สรุปความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะท่ีจําเปนของครูใน

    การศึกษายุค 4.0 ในหมวดวิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย

    ราชภัฏอุดรธานี

    121

    ตาราง 4.14 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของการผลิตครูของประเทศไทยในปจจุบัน

    จากการสัมภาษณผูทรงคุณวุฒ ิ

    122

    ตาราง 4.15 ผลการสังเคราะหจุดแข็งและจุดออนของการผลิตครูในปจจุบันของประเทศไทย 143

    ตาราง 4.16 ประเภท หนาท่ีและวุฒิการศึกษาข้ันต่ําของครู 153

    ตาราง 4.17 โครงสรางของหลักสูตรครูประถมศึกษา/ครูประจําชั้น 158

    ตาราง 4.18 โครงสรางของหลักสูตรครูมัธยมศึกษา/ครูประจําวิชา 161

    ตาราง 4.19 กระบวนการฝกประสบการณวิชาชีพ 162

    ตาราง 4.20 โครงสรางการฝกประสบการณวิชาชีพของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

    (ศึกษาศาสตร) และวิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร)

    176

    ตาราง 4.21 แหลงท่ีมาขององคประกอบ (ราง) รูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0 187

    ตาราง 4.22 ผลการตรวจสอบ (ราง) รูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0 198

    ตาราง 4.23 ขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิในการแกไข (ราง) รูปแบบการผลิตครูสําหรับ

    การศึกษายุค 4.0

    198

    ตาราง 4.24 สมรรถนะท่ีพึงประสงคของบัณฑิตคร ู 208

    ตาราง 4.25 แผนการศึกษา

    223

  • สารบัญภาพ

    หนา

    ภาพ 1.1 กรอบแนวคิดการวิจัย 7

    ภาพ 4.1 รูปแบบการผลิตครู PIE TE 205

    ภาพ 4.2 วิสัยทัศนและหลักการผลิตครูของรูปแบบการผลิตครู PIE TE 205

    ภาพ 4.3 จุดมุงหมายการผลิตครูและสมรรถนะท่ีพึงประสงคของบัณฑิตครูของรูปแบบ

    การผลิตครู PIE TE

    207

    ภาพ 4.4 แนวทางการรับเขาศึกษาของรูปแบบการผลิตครู PIE TE 215

    ภาพ 4.5 โครงสรางของกลุมวิชาชีพคร ู(โมดูลบังคับ) 218

    ภาพ 4.6 แผนท่ีแสดงการกระจายสมรรถนะในหลักสูตร 224

    ภาพ 4.7 การฝกประสบการณวิชาชีพครูของรูปแบบการผลิตครู PIE TE 225

    ภาพ 4.8 การจดัการเรียนสอนและการประเมินผลของรูปแบบการผลิตครู PIE TE 228

    ภาพ 4.9 กิจกรรมพัฒนานักศึกษาครขูองรูปแบบการผลิตครู PIE TE 234

    ภาพ 4.10 การจัดสภาพแวดลอมการเรียนรูของรูปแบบการผลิตครู PIE TE 236

    ภาพ 5.1 กลุมวิชาชีพครู (โมดูลบังคับ) 247

  • บทท่ี 1

    บทนํา

    ความสําคัญและความเปนมาของปญหาในการวิจัย

    สถาบันอุดมศึกษามีบทบาทสําคัญในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาตางๆท่ีจะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนา

    ประชากรและเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งคณะครุศาสตร/

    ศึกษาศาสตร หรือสถาบันครุศึกษาในสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงเปนสถาบันหลักท่ีทําหนาผลิตครู ท้ังนี้

    เพราะครูถือเปนวิชาชีพชั้นสูงท่ีมีความสําคัญตอการยกระดับคุณภาพการศึกษาและพัฒนาคุณภาพเยาวชนท่ี

    จะเติบโตไปเปนอนาคตของชาติ ดวยความตระหนักถึงความสําคัญของวิชาชีพครู รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยจึงให

    ความสําคัญกับการยกระดับคุณภาพของครู ดังเห็นไดจาก พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

    มาตรา 52 ระบุวา “… ใหกระทรวงสงเสริมใหมีการผลิต การพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา

    ใหมีคุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง โดยการกํากับและประสานใหสถาบันท่ีทํา

    หนาท่ีผลิตครู คณาจารย รวมท้ังบุคลากรทางการศึกษาใหมีความพรอมและมีความเขมแข็งในการเตรียม

    บุคลากรใหและพัฒนาบุคลากรประจําอยางตอเนื่อง” สวนขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง

    พ.ศ. 2552-2561 (เลขาธิการการศึกษา, 2552) ก็ระบุใหการพัฒนาคุณภาพครูยุคใหมเปนหนึ่งในประเด็นท่ี

    ตองปฏิรูปอยางเรงดวนโดยมุงพัฒนาใหครูเปนผูอํานวยการเรียนรู พัฒนาวิชาชีพครูเปนวิชาชีพท่ีมีคุณคา มี

    ระบบและกระบวนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรการศึกษาท่ีมีคุณภาพเพ่ือใหสามารถดึงดูด

    คนดี คนเกงและคนท่ีรักในวิชาชีพครู มีปริมาณครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาเพียงพอตามเกณฑ

    และสามารถจัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพและเปนไปตามมาตรฐาน มีการพัฒนาตนเองและแสวงหาความรู

    อยางตอเนื่อง มีคุณภาพชีวิต มีความม่ันคงในอาชีพและมีขวัญกําลังใจในการทํางาน นอกจากนี้นโยบายดานครู

    ของรัฐบาลชุดพลเอกประยุทธ จันทรโอชานั้นก็ใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูใหมี

    คุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเปนครู เนนใหผูสอนมีวุฒิตรงตามวิชาท่ีสอน สงเสริมใหครูใชสื่อเทคโนโลยี

    สารสนเทศในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาตนเอง รวมถึงปรับระบบการประเมินสมรรถนะท่ีสะทอน

    ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสําคัญ (สํานักงานเลขาธิการสภา

    การศึกษา, 2558) นอกจากนี้แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2574 ซ่ึงประกอบดวยยุทธศาสตรท่ี 3 วาดวย

    การพัฒนาศักยภาพของคนทุกชวงวัยและสรางสังคมแหงการเรียนรูระบุถึงเปาหมายหนึ่งของยุทธศาสตรนี้คือ

    การพัฒนาระบบการผลิตครู อาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหไดมาตรฐานระดับสากล โดยมีตัวชี้วัดท่ี

    สําคัญ เชน มีฐานขอมูลความตองการใชครู มีแผนการใชครูในระยะ 10 ป (พ.ศ. 2560-2569) จําแนกตาม

    สาขา ขนาดสถานศึกษาและจังหวัด เพ่ิมสัดสวนการผลิตครูในระบบปด พัฒนาครูอาจารยและบุคลากร

    การศึกษาใหมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังระบุถึง

    แนวทางการพัฒนาคุณภาพครู อาจารยและบุคลากรการศึกษาวาควรมีการออกแบบระบบและรูปแบบการ

  • 2

    ผลิตครู อาจารยและบุคลากรทางการศึกษาใหสอดคลองกับนโยบายและแผนการผลิตและพัฒนาครูตามความ

    ตองการใชครูท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560)

    อยางไรก็ดีวิชาชีพครูกลับมีปญหาท้ังในกระบวนการผลิต การพัฒนาและการใชอยางตอเนื่อง สําหรับ

    ปญหาท่ีเก่ียวของโดยตรงกับสถาบันครุศึกษาคือการผลิตครูมีดังนี้ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2558;

    ชนิตา รักษพลเมืองและคณะ, 2557) 1) ปริมาณการผลิตครูยังไมสอดคลองกับความตองการท้ังในจํานวนรวม

    และรายสาขาวิชา ท้ังนี้เพราะเปนการผลิตครูตามความตองการของสถาบันผลิตครู โดยความพยายามของ

    รัฐบาลในการยกระดับสถานะวิชาชีพครูใหเปนวิชาชีพชั้นสูงโดยมีบัญชีเงินเดือนพรอมเงินวิทยฐานะท่ีคอนขาง

    สูงกวาวิชาชีพอ่ืนเปนบัญชีตางหากเพ่ือดึงดูดคนดี คนเกง คนรักวิชาชีพครู กลับไมเปนไปตามเจตนารมณ

    กลาวคือนโยบายดังกลาวทําใหสถาบันครุศึกษาเพ่ิมการผลิตบัณฑิตครูเกินความตองการในสาขาวิชาท่ีไมใช

    สาขาขาดแคลนจนอาจสงผลตอคุณภาพบัณฑิต ในขณะท่ีการผลิตสาขาวิชาท่ีขาดแคลนเชน สาขาอาชีวศึกษา

    กลับไมเพียงพอตอความตองการ นอกจากนี้การคัดเลือกนักศึกษายังเนนเรื่องความรูทางวิชาการมากกวาความ

    ถนัดทางวิชาชีพ สวนแบบวัดความเปนครูก็ไมสามารถวัดความถนัดไดจริง 2) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

    ของหลักสูตร 5 ปในการผลิตครูใหเปนครูเกง ครูดี มีจิตวิญญาณของความเปนครูนั้นยังไมเปนท่ีนาพึงพอใจ

    เฉพาะอยางยิ่งดานทักษะการสอนและจิตวิญญาณความเปนครู 3) การจัดการเรียนการสอนยังเนนการ

    ถายทอดความรูมากกวาการพัฒนาทักษะความเปนครูมืออาชีพและจิตวิญญาณของความเปนครู สวนการฝก

    ปฏิบัติการในสถานศึกษายังมีปญหาหลายดาน 4) หลักสูตรสาขาวิชาครุศาสตร/ศึกษาศาสตรมีกรอบ

    มาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพครูกํากับมากเกินไป ท้ังจากสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา สํานักงาน

    คณะกรรมการอุดมศึกษาและมาตรฐานท่ีกําหนดเพ่ิมเติมของสถาบันอุดมศึกษาและประสบปญหาในการ

    ดําเนินการใหเปนไปตามขอบังคับและหลักเกณฑ โดยเฉพาะดานการสรางคุณลักษณะท่ีสําคัญของบัณฑิตครู

    ไดแก ความเปนครู คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ และ 5) จํานวนคณาจารยประจําหลักสูตรของ

    สถาบันผลิตครูบางแหงไมเพียงพอตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการหรือไมเปนไปตามเกณฑท่ีคุรุสภากําหนด

    สําหรับอาจารยและครูพ่ีเลี้ยง คณาจารยในสถาบันผลิตครูขาดประสบการณในการเปนครูซ่ึงทําใหสอนโดยเนน

    ทฤษฏีเปนหลัก ขาดการคัดเลือกครูพ่ีเลี้ยงท่ีเหมาะสมและขาดการประเมินและนิเทศกการสอนอยางเปนระบบ

    ในขณะเดียวกันประเทศไทยก็อยูในระหวางการปฏิรูปโครงสรางทางเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนผานกระบวน

    ทัศนในการพัฒนาประเทศจากโมเดลประเทศไทย 3.0 ซ่ึงเปนระบบเศรษฐกิจทีขับเคลื่อนดวยอุตสาหกรรม

    หนักมาสูโมเดลประเทศไทย 4.0 ซ่ึงเปนระบบเศรษฐกิจท่ีเนนการสรางมูลคาหรือขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม

    (Value-based economy) เพ่ือใหประเทศไทย มีความม่ันคง ม่ังค่ังและยั่งยืนภายใตบริบทของการปฏิวัติ

    อุตสาหกรรมยุคท่ี4 ตามแผนยุทศาสตรชาติ 20 ปดวยการสรางความเขมแข็งจากภายในควบคูกับการเชื่อมโยง

    กับประชาคมโลก ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงโดยขับเคลื่อนผานกลไกประชารัฐ สําหรับเปาหมายสําคัญของ

    นโยบาย Thailand 4.0 มี 4 มิติ คือ 1) ความม่ังค่ังทางเศรษฐกิจ 2) ความอยูดีมีสุขทางสังคม 3) การยกระดับ

    คุณคามนุษยดวยการพัฒนาคนไทยใหเปน “มนุษยท่ีสมบูรณในศตวรรษท่ี21”ควบคูกับการเปน “คนไทย 4.0

    ในโลกท่ีหนึ่ง” และ 4) การรักษสิ่งแวดลอม โดยรัฐบาลจัดลําดับความสําคัญใหการเตรียมคนไทยในยุค 4.0

  • 3

    เปนวาระแรกในการขับเคลื่อนนโยบายประเทศไทย 4.0 ครูซ่ึงมีหนาท่ีหลักในการหลอหลอมเยาวชนใหเปน

    พลเมือง 4.0 จึงถือเปนวิชาชีพท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ดวยเหตุนี้

    จึงตองปฏิรูปการผลิตครูเพ่ือใหสามารถจัดการศึกษาไดสอดคลองกับบริบทประเทศไทย 4.0 วงการศึกษา

    ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนจึงไดมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศนทางการศึกษาไปในทิศทาง

    เดียวกับการพัฒนาประเทศคือจากการศึกษา 1.0 ท่ีการสอนโดยการถายทอดมาสูการศึกษา 2.0 ท่ีเนนให

    ผูเรียนแสวงหาความรู และการศึกษา 3.0 ท่ีเนนใหผูเรียนสรางความรู จนมาถึงการศึกษา 4.0 ท่ีเนนใหผูเรียน

    สรางนวัตกรรม (Harkins, 2008) อยางไรก็ดีแมวากระบวนทัศนทางการศึกษาไดปรับเปลี่ยนไปแลวแตวิธี

    ปฏิบัติทางการศึกษายังคงอยูในวังวนของกระบวนทัศนการศึกษาเดิมๆคือขาดการสอนใหผูเรียนคิดวิเคราะห

    สังเคราะหและสรางสรรคและไมสามารถนําความรูไปปฏิบัติเนื่องจากเอาวิชาเปนตัวตั้ง การเรียนการสอนยัง

    ขาดความเชื่อมโยงกับสังคม พ่ึงพาตางประเทศ ไมสอดคลองกับสังคมไทยและผูเรียนยังไมไดใชประโยชนจาก

    เทคโนโลยีดิจิตอลเพ่ือประโยชนทางการศึกษาอยางเต็มท่ี (พรชัยและคณะ, 2016; ไพฑูรย สินลารัตน, 2559;

    สุเทพ พุทธจรรยา, 2559)

    การผลิตครูใหสอดรับกับบริบทการศึกษา 4.0 จําเปนตองอาศัยองคความรูเก่ียวกับสมรรถนะและการ

    ผลิตครูท่ีเหมาะสมกับการศึกษายุค 4.0 แตจากการสํารวจงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการผลิตครูท้ังในประเทศไทย

    และตางประเทศกลับไมพบวามีงานวิจัยเก่ียวกับครูและการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0 โดยตรง แตพบ

    งานวิจัยเชิงนโยบายท่ีศึกษาอดีต สภาพปจจุบันและเสนอแนวทางการผลิตครูในอนาคต เชน งานวิจัยของ

    วิชุดา กิจธรธรรม และคณะ (2554) เลขาธิการสภาการศึกษา (2558) และชนิตา รักษพลเมืองและคณะ

    (2557) ท่ีพบปญหาหลายประการเก่ียวกับระบบการผลิตครูในปจจุบันท้ังในดานปริมาณและคุณภาพ

    นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยของชมพูนุท รวมชาติ (2548) และศักดิ์ชาย เพชรชวย (2558) ท่ีเสนอภาพอนาคตของ

    การผลิตครู มีงานวิจัยท่ีพัฒนายุทธศาสตรการผลิตครูเพ่ือตอบสนองนโยบายและแผนพัฒนาประเทศและ

    การศึกษาในยุคสมัยตางๆ เชน งานวิจัยของณรงค อุยนอง (2549) ซ่ึงพัฒนายุทธศาสตรการผลิตครูวิชาชีพของ

    มหาวิทยาลัยราชภัฏในบริบทของพระราชบัญญัติการศึกษา 2542 และงานวิจัยของพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ

    (2544) ซ่ึงพัฒนายุทธศาสตรการพัฒนาคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรในบริบทแผนพัฒนาการศึกษาชองชาติ

    ระยะ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ระยะท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554) และยังมีงานวิจัยอีกหลายชิ้นท่ีพัฒนาหลักสูตร

    การผลิตครูใหเหมาะสมกับศตวรรษท่ี21 เชน งานวิจัยของดาวรุง ชะระอํ่า (2547) ฤตินันท สมุทรทัย (2556)

    และ ลิขิตกุล กุลรัตนรักษ (2557) นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยท่ีเปรียบเทียบการผลิตครูในหลายประเทศ เชน

    ผลงานของ Ingersoll et al. (2007) ในขณะเดียวกันก็พบเอกสารและงานวิจัยเก่ียวกับสมรรถนะครูท้ังในและ

    ตางประเทศ รวมถึงสมรรถนะครูในศตวรรษท่ี21 เชน ผลงานของ พิมพพันธ เดชะคุปตและคณะ (2551)

    SEAMEO INNOTECH (2010) และ Vidovic et al. (2010) แมจะพบหนังสือและบทความวิชาการเก่ียวกับ

    สมรรถนะของการศึกษาและครูยคุ 4.0 แตก็มีจํานวนจํากัดมาก เชน ผลงานของไพฑูรย สินลารัตน (2559) ยืน

    ภูวรวรรณ (2558) และพิมพพันธ เดชะคุปตและคณะ (2560) สวนงานวิจัยเก่ียวกับสมรรถนะและการผลิตครู

    สําหรับยุค 4.0 นั้นแทบไมมี จากเอกสารและงานวิจัยขางตนจะเห็นไดวาเปนงานวิจัยสวนใหญมุงความสนใจไป

  • 4

    ท่ีการพัฒนาการผลิตครูเพ่ือตอบสนองความตองการของการศึกษาในยุค 2.0 และ 3.0 แตปจจุบันการศึกษา

    ไทยกําลังกาวเขาถึงบริบทการศึกษายุค 4.0 ดวยเหตุนี้จึงมีความจําเปนตองทํางานวิจัยนี้เพ่ือศึกษาสมรรถนะ

    ครใูนการศึกษายุค 4.0 และพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพ่ือรองรับการศึกษายุค 4.0

    วัตถุประสงคของการวิจัย และ/หรือคําถามวิจัย

    1. เพ่ือวิเคราะหสมรรถนะท่ีจําเปนของครูในการศึกษายุค 4.0

    2. เพ่ือวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของการผลิตครูปจจุบันในประเทศไทย

    3. เพ่ือวิเคราะหการผลิตครูท่ีประสบความสําเร็จในระดับนานาชาติ

    4. เพ่ือพัฒนารูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0

    5. เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมและความเปนไปไดของรูปแบบการผลิตครูสําหรับการศึกษายุค 4.0

    ขอบเขตของการวิจัย

    1. ในการศึกษาสมรรถนะครูในการศึกษายุค 4.0 งานวิจัยนี้ศึกษาเฉพาะสมรรถนะของบัณฑิตครูหรือ

    บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจากคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร โดยไมครอบคลุมถึงสมรรถนะของครูประจําการ

    2. ในการพิจารณาจุดแข็งจุดออนของการผลิตครูปจจุบันจากวิเคราะหหลักสูตรนั้น ผูวิจัยใชวิธีวิเคราะห

    ความสอดคลองระหวางคําอธิบายรายวิชากับสมรรถนะของครูในการศึกษายุค 4.0 โดยเลือกวิเคราะหหลักสูตร

    ครุศาสตร/ศึกษาศาสตรระดับปริญญาตรีของสถาบันผลิตครู 4 แหงซ่ึงประกอบดวยสถาบันผลิตครูท่ีเปน

    ตัวแทนของสถาบันในสังกัดมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ 2 แหงและสถาบันในสังกัดของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

    2 แหง

    3. ในการวิเคราะหการผลิตครูท่ีประสบความสําเร็จในระดับนานาชาติ ผูวิจัยเลือกวิเคราะหการผลิตครู

    ในประเทศฟนแลนดและประเทศสิงคโปร เพราะมีระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพเปนท่ียอมรับ โดยพิจารณาจาก

    ประเทศท่ีมีผลการทดสอบ PISA1 และผลการจัดอันดับของ Economist Intelligence Unit (EIU) ประกอบ

    กับผลวิจัยของโครงการ PISA ท่ีระบุวาครูเปนปจจัยท่ีสําคัญมากท่ีสุดท่ีสงผลตอความสําเร็จทางการเรียน

    นอกจากนี้ยังพิจารณาจากผลการจัดอันดับประเทศท่ีมีความเปนครูท่ีดีท่ีสุด 10 อันดับแรก (Writer, 2011)

    โดยจากผลการทดสอบของโครงการ PISA พบวาประเทศฟนแลนดอยูในอันดับท่ี1ในป ค.ศ. 2000 ค.ศ. 2003

    และ ค.ศ. 2006 (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559) และติดอยูใน 5 อันดับแรกจากผลการประเมิน

    PISA ดานวิทยาศาสตรและการอาน (สสวท, 2558) นอกจากนี้ผลการสํารวจระบบการศึกษาท่ีดีท่ีสุดของโลก

    (The World Top 20 Project) ในป ค.ศ. 2017 ก็จัดอันดับใหการศึกษาในประเทศฟนแลนดอยูในอันดับท่ี1

    1 โครงการประเมินผลนักเรียนรวมกับนานาชาต ิ(Programme for International Student Assessment หรือ

    PISA) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินคุณภาพระบบการศึกษาของประเทศสมาชิกและประเทศรวมโครงการ

  • 5

    ยิ่งไปกวานั้น ในป ค.ศ. 2012 Economist Intelligence Unit (EIU) ก็จัดใหการศึกษาในประเทศฟนแลนด

    อยูในลําดับท่ี 1 สวนผลการจัดอันดับประเทศท่ีมีความเปนครูท่ีดีท่ีสุดก็ระบุวาฟนแลนดอยูในอันดับท่ี 2

    (Writer, 2011, อางใน ศักดิ์ชาย เพชรชวย, 2558) สวนการศึกษาของประเทศสิงคโปรจัดอยูในอันดับท่ี 1

    จากผลการประเมิน PISA ป ค.ศ. 2015 (สสวท, 2558) และอยูในอันดับท่ี 4 และ 15 จากผลการจัดอันดับ

    ของ The World Top 20 Project ในป ค.ศ.2016 และ 2017 ตามลําดับ (สํานักงานเลขาธิการสภา

    การศึกษา, 2559) นอกจากนี้ ในป ค.ศ. 2012 Economist Intelligence Unit (EIU) ยังจัดใหการศึกษาของ

    ประเทศสิงคโปรอยูในอันดับท่ี 5 สวนผลการจัดอันดับประเทศท่ีมีความเปนครูท่ีดีท่ีสุดระบุวาสิงคโปรอยูใน

    อันดับท่ี 9 (Writer, 2011, อางใน ศักดิ์ชาย เพชรชวย, 2558)

    4. หลักสูตรผลิตครูของการศึกษายุค 4.0 ท่ีพัฒนาจากผลวิจัยนี้เปนหลักสูตรผลิตครูระดับปริญญาตรี 5

    ปเนื่องจากเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามมาตรฐานและเกณฑการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการ

    ศึกษาเพ่ือการประกอบอาชีพ พ.ศ. 2557 ซ่ึงกําหนดโครงสรางหลักสูตรวิชาชีพครูระดับปริญญาตรีใหเปน

    หลักสูตร 5 ป โดยงานวิจัยนี้จะนําเสนอเฉพาะโครงสรางของโมดูลและคําอธิบายเนื้อหาสาระของโมดูลใน

    หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาชีพครู และกลุมวิชาเอกท่ีอยูในความรับผิดชอบของคณะ ครุศาสตร/ศึกษาศาสตร

    เทานั้น

    คําจํากัดความของคําท่ีใชในการวิจัย

    การศึกษายุค 4.0 หมายถึง การศึกษาในยุคของเศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม เทคโนโลยีและ

    ความคิดสรางสรรค

    สมรรถนะท่ีจําเปนของครูในการศึกษายุค 4.0 หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีเกิดจากการ

    ประยุกตความรู ทักษะและคุณลักษณะท่ีจําเปนสําหรับบัณฑิตครูหรือบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจากสถาบัน

    ครุศึกษาในการศึกษายุค 4.0 มีองคประกอบ 2 สวนคือ 1) สมรรถนะแกนกลาง (core competency) ของ

    การศึกษายุค 4.0 และ 2) สมรรถนะวิชาชีพครู

    สมรรถนะแกนกลางของการศึกษายุค 4.0 หมายถึง ความสามารถประยุกตความรู ทักษะและ

    คุณลักษณะท่ัวไปสําหรับการปฏิบัติงานในการศึกษายุค 4.0 โดยเปนสมรรถนะท่ีจําเปนสําหรับคนในทุกสาขา

    อาชีพรวมถึงครูหรือท่ีเรียกวา สมรรถนะขามสายงาน (transversal competency) เปนสมรรถนะท่ีควร

    สอดแทรกในรายวิชาตางๆตลอดท้ังหลักสูตรหรือท่ีเรียกวา (cross-curricular competency) และเปน

    สมรรถนะท่ีครูตองสามารถสอนใหนักเรียนมีสมรรถนะเหลานี้เพ่ือรองรับสังคมและเศรษฐกิจยุค 4.0

    สมรรถนะวิชาชีพครู หมายถึง ความสามารถประยุกตความรู ทักษะและคุณลักษณะเฉพาะท่ี

    จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพครู โดยครอบคลุมท้ังสมรรถนะพ้ืนฐานของวิชาชีพครูและสมรรถนะท่ีจําเปน

    ของครูยุค 4.0 โดยเฉพาะอยางยิ่งความสามารถในการสอน/พัฒนาใหนักเรียนมีสมรรถนะแกนกลางของ

    การศึกษายุค 4.0 ขางตน

  • 6

    จุดแข็งและจุดออนของการผลิตครู หมายถึง ลักษณะเดนและลักษณะดอยหรือท่ีควรปรับปรุงของการ

    ผลิตครูในประเทศไทย ซ่ึงไดจากการวิเคราะหหลักสูตรผลิตครูระดับปริญญาตรี การสัมภาษณผูทรงคุณวุฒิ

    และการวิเคราะหเอกสารท่ีเก่ียวของ สําหรับจุดแข็งและจุดออนของหลักสูตรผลิตครูในการวิจัยครั้งนี ้

    พิจารณาจากความสอดคลองระหวางสมรรถนะครูยุค 4.0 กับรายวิชาในหลักสูตรผลิตครู

    จุดแข็งของหลักสูตรการผลิตครู หมายถึง หลักสูตรมีรายวิชาท่ีสอดคลองกับสมรรถนะครูยุค

    4.0 ในระดับมาก (คือมีรายการสมรรถนะท่ีสอดคลอง 9-12 รายการ) ถึงมากท่ีสุด (คือมีรายการสมรรถนะท่ี

    สอดคลอง 13-16 รายการ)

    จุดออนของหลักสูตรการผลิตครู หมายถึง หลักสูตรมีรายวิชาท่ีสอดคลองกับสมรรถนะครูยุค

    4.0 ในระดับนอย (คือมีรายการสมรรถนะท่ีสอดคลอง 5-8 รายการ) ถึงนอยท่ีสุด (คือมีรายการสมรรถนะท่ี

    สอดคลอง 0-4 รายการ)

    การผลิตครูท่ีประสบความสําเร็จในระดับนานาชาติ หมายถึง การผลิตครูของประเทศท่ี มีระบบ

    การศกึษาและครู ซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีคณุภาพดีเป็นอนัดบัต้นๆของโลก ได้แก่ การผลิตครูในประเทศ

    ฟินแลนด์และสิงค์โปร์ โดยพิจารณาจากผลการทดสอบ Programme for International Student

    Assessment และผลการจดัอนัดบัของ Economist Intelligence Unit (EIU) และผลการจดัอนัดบัประเทศ

    ท่ีมีความเป็นครูท่ีดีท่ีสดุ

    รูปแบบการผลิตครู หมายถึง แบบแผนท่ีแสดงองคประกอบท่ีสําคัญของการผลิตครู ซ่ึงประกอบดวย

    1) วิสัยทัศนและหลักการของรูปแบบการผลิตครู 2) จุดมุงหมายของการผลิตครูและสมรรถนะท่ีพึงประสงค

    ของบัณฑิตครู 3) แนวทางการรับเขาศึกษา 4) หลักสูตรผลิตครู 5) การจัดการเรียนการสอนและการ

    ประเมินผล 6) การฝกประสบการณวิชาชีพ 7) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษาครูและ 8) สภาพแวดลอมการ

    เรียนรู

  • 7

    ภาพ 1.1 กรอบแนวคิดการวิจัย

    แนวคิดการศึกษายุค 4.0

    แนวคิดการผลิตคร ู

    1.แนวคิดการศึกษายุค 4.0 หมายถึงการศึกษาในยุคท่ีเนนการสรางผลผลิตและนวัตกรรมโดยมีเทคโนโลยีเปน

    เครื่องมือสนับสนุนการเรียนรูท่ีสําคัญ (ไพฑูรย สินลารัตน (2559; Stopsky, 2016; Harkin, 2008)

    2. สมรรถนะท่ีจําเปนของการศึกษายุค 4.0 ไดแก การคิดแบบมีวิจารณญาณ การคิดสรางสรรค การสราง

    นวัตกรรม การรวมมือ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การแกปญหา การเปนผูประกอบการ การเรียนรูตลอดชีวิต

    การมีจิตสาธารณะ การส่ือสารขามวัฒนธรรม ภาวะผูนํา (ไพฑูรย สิลารัตน, 2559; สุวิทย เมสินทรีย, 2559;

    Stopsky, 2016; World Economic Forum, 2016; Fidler, 2016)

    3. การจัดการศึกษายุค 4.0

    3.1 ปรัชญาการศึกษา ไดแก การศึกษาเชิงสรางสรรคและผลิตภาพ (ไพฑูรย สินลารัตน, 2559) นวัตกรรมศึกษา

    (Thorsteinson, 2013, Gunnarsdottir, 2013) ทฤษฏีความรูสรางสรรค (Papert อางใน Kafai & Resnick, 2011) 3.2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรเนนสมรรถนะ (อเนก เทียนบูชา, 2559; ราชบัณฑิตยสถาน, 2555) หลักสูตรโมดูล (วิชัย

    วงษใหญ, 2554; บุญชม ศรีสะอาด, 2541; ราชบัณฑิตยสถาน, 2555; Donnelly et al. 2005)

    3.3 การจัดการเรียนการสอน ไดแก การเรียนรูที่เนนการพัฒนาศักยภาพดานนวัตกรรม (D. school, 2010,

    Thorsteinsson et al., 2003) การเรียนรูความเปนผูประกอบการ (Zhao, 2012) การเรียนรูโดยใชการวิจยัเปนฐาน

    (ไพฑูรย สินลารัตน, 2557) การเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (อานภุาพ เลขะกุล, 2550) การเรียนรูโดยใชทีมเปนฐาน

    (Michaelsen et al., 2002) การเรียนรูเชิงประสบการณและตามสภาพจริง และการเรียนรูแบบผสมผสานการใชเทคโนโลย ี

    3.4 การประเมินผล เนนการประเมินระดับชั้นเรียน ใชวิธีประเมินที่หลากหลาย ประเมินแบบเปนองครวมและเนนสมรรถนะ

    การประเมินผลการปฏิบัติงานและประเมินตามสภาพจริง และประเมินแบบมีสวนรวม (อนุสรณ นามประดิษฐ, 2560;

    สุวิมล วองวาณิช, 2546; บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ, 2544; Ferrari et al., 2009)

    3.5 การพัฒนานักศึกษา ไดแก กจิกรรมพัฒนาศักยภาพดานนวัตกรรมและความเปนผูประกอบการ (Gerber et al.2012;

    Curtin, 2011; อัมพร อันผง, 2557)

    3.6 การจัดสภาพแวดลอมการเรียนรู ไดแก หองเรียนในศตวรรษที่21 (Jameson, 2005; Chism, 2006; Mititila, 2015;

    อภิภา ปรัชญพฤทธิ,์ 2558) จัดบรรยากาศการเรียนรูที่เอื้อตอการสรางสรรคนวัตกรรม (Couros, 2015; Peter-Szarka,

    2012; พิมพันธ เดชะคุปตและคณะ, 2560)

    1. สมรรถนะครูไทย (พิมพันธ เดชะคุปตและคณะ, 2551) และสมรรถนะครูตางประเทศ ไดแก สมรรถนะครู

    อาเซียน (SEAMEO INNOTECH, 2010) สมรรถนะครูสหภาพยุโรป (EU, 2013) สมรรถนะครูในสหรัฐอเมริกา

    (CCSSO, 2013; NBPTS, 2016) สมรรถนะครูในประเทศออสเตรเลีย (พิมพันธ เดชะคุปตและคณะ, 2551)

    2 การผลิตครูในประเทศไทย ตองสอดคลองกับ เกณฑการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพ่ือการ

    ประกอบอาชีพของคุรุสภา และเกณฑมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร/ศึกษาศาสตร(หลักสูตร 5 ป)

    3. การผลิตครูในตางประเทศ ไดแก 3.1 การผลิตครูประเทศฟนแลนดประกอบดวยหลักสูตรครูประจําชั้นและครู

    ประจําวิชาและมีลักษณะเดนคือเนนการ วิจัยและบูรณาการระหวางการเรียนรูภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติต้ังแตตน

    จนจบการศึกษา (รสสุคนธ มกรมณี, 2553; Neimi, 2013; Sahlberg, 2015) 3.2 การผลิตครูประเทศสิงคโปรมี

    ลักษณะเดนท่ีรูปแบบครุศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดวยขอเสนอแนะ 6 ขอ (NIE, 2009)

    (ราง) รูปแบบการผลิตครูเพ่ือ

    สําหรับการศึกษาในยุค 4.0 มี

    8 องคประกอบ

    1. ปรัชญา/หลักการและวิสัยทัศน

    2. จุดมุงหมายและสมรรถนะที่

    จําเปนของบัณฑิตครู

    3. แนวทางการรับเขาศกึษา

    4. หลักสูตรปริญญาตรี

    5. การเรียนการสอน

    6. การฝกประสบการณวิชาชีพ

    7. การพัฒนานักศึกษาครู

    8. การจัดสภาพแวดลอมการ

    เรียนรู

  • 8

    คําอธิบายกรอบแนวคิดในการวิจัย

    ในการวิจัยเรื่อง รูปแบบการผลิตครูเพ่ือรองรับการศึกษายุค 4.0 ผูวิจัยพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย

    จากศึกษาแนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของซ่ึงจําแนกไดเปน 2 กลุม คือ กลุมแรกคือ แนวคิดเก่ียวกับ

    การศึกษายุค 4.0 และ กลุม 2 คือ แนวคิดเก่ียวกับการผลิตครู ซ่ึงนํามาสูการพัฒนา (ราง) รูปแบบการผลิตครู

    สําหรับการศึกษายุค 4.0 มีสาระสําคัญดังนี้

    แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษายุค 4.0

    1. ความหมายการศึกษายุค 4.0

    จากการศึกษาแนวคิดของไพฑูรย สินลารัตน (2559) Stopsky (2016) และ Harkins (2008) สรุปไดวา

    การศึกษายุค 4.0 เปนการศึกษาในยุคท่ีเนนใหผูเรียนการสรางนวัตกรรมหรือผลผลิตตามความสนใจของ

    ตนเอง/ทีม เพ่ือประโยชนของชุมชนของตนเองและชุมชนอ่ืน โดยใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือสนับสนุนการสราง

    ความรูและนวัตกรรม และการแสวงหาความรูโดยไมจํากัดสถานท่ีและเวลา ในการศึกษายุคนี้ ผูเรียนมีอิสระใน

    การกําหนดวิธีการเรียนรู เนื้อหา และการนําความรูไปใช นอกจากนี้อํานาจหนาท่ีในการจัดการศึกษายุคนี้ก็ไม

    จํากัดอยูท่ีครูและสถาบันการศึกษาเทานั้นเพราะเทคโนโลยีสารสนเทศเสริมอํานาจใหผูเรียนสามารถเรียนรูได

    จากแหลงความรูทุกหนทุกแหง

    2. สมรรถนะท่ีจําเปนสําหรับการศึกษายุค 4.0

    สมรรถนะหมายถึงความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีเกิดจากการประยุกตใชความรู ทักษะและ

    คุณลักษณะท่ีพึงประสงค (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) สวนสมรรถนะท่ีจําเปนสําหรับการศึกษา

    ยุค 4.0 ตามแนวคิดนักวิชาการหลายคน เชน ไพฑูรย สินลารัตน (2559), สุวิทย เมสินทรีย (2559), Stopsky

    (2016), World Economic Forum (2016) และ Fidler (2016) สรุปไดวามีดังนี้ 1) การคิดแบบมี

    วิจารณญาณ ซึ่งรวมถึงการใช้ดลุยพินิจและการตดัสินใจ 2) การคิดสร้างสรรค์ 3) การสร้างนวตักรรม/

    ผลผลิต 4) การทํางานร่วมกบัผู้ อ่ืนซึ่งครอบคลมุ การติดตอ่ส่ือสาร การทํางานเป็นทีม การมีความฉลาด

    ทางอารมณ์และสงัคม การจัดการกับคน การประสานกับผู้ อ่ืน การมีจิตบริการ และการร่วมมือผ่านส่ือ

    เสมือนจริง 5) การใช้เทคโนโลยีการส่ือสารและสารสนเทศ 6) การคิดแก้ปัญหา 7) การเป็นผู้ประกอบการ

    8) การเป็นผู้ เรียนรู้ตลอดชีวิต 9) การมีจิตสาธารณะ 10) การส่ือสารข้ามวฒันธรรม และ 11) ภาวะผู้ นํา

    3. การจัดการศึกษายุค 4.0

    จากการศึกษาเอกสารวิชาการและงานวิจัยท่ีเก่ียวกับองคประกอบของการจัดศึกษายุค 4.0 ซ่ึง

    ประกอบดวยปรัชญา หลักสูตร การจดัการเรียนการสอน การประเมินผล การจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา และ

    การจัดสภาพแวดลอมการเรียนรู สรุปสาระสําคัญไดดังนี้

    3.1 ดานปรัชญาการศึกษายุค 4.0 ไพฑูรย สินลารัตน (2559) เสนอปรัชญาการศึกษาเชิงสรางสรรค

    และผลิตภาพซ่ึงเนนใหผูเรียนมีบทบาทเชิงรุกในการสรางผลงานแทนการรับความรูจากตางประเทศแตเพียง

    อยางเดียว และขยายความเก่ียวกับปรัชญาการศึกษาเชิงสรางสรรคและผลิตภาพวาเนนการสรางผลผลิตท่ีเกิด

    จากความคิดสรางสรรคควบคูกับการมีความรับผิดชอบตอสังคม ปรัชญาการศึกษาแนวนี้มุงพัฒนาบัณฑิตใหมี

  • 9

    ทักษะการคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค คิดผลิตภาพและรับผิดชอบตอสังคม สวน Thorsteinsson (2013) และ

    Gunnarsdottir (2013) เสนอแนวคิดนวัตกรรมศึกษา (innovation education) ท่ีมีสาระสําคัญคลายกันคือ

    มุงพัฒนาผูเรียนใหมีศักยภาพดานนวัตกรรม มีความคิดเปนอิสระและสามารถเผชิญกับสถานการณใหม โดย

    แกนของกระบวนการจัดการศึกษาตามแนวคิดนี้คือการพัฒนาทักษะการสรางความคิดใหม (ideation) โดยให

    ผูเรียนเรียนรูจากการประดิษฐและออกแบบเพ่ือแกปญหา หรือเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมและสังคมรอบตัว

    นอกจากนี้ Papert (อางใน Kafai & Resnick, 2011; ทิศนา แขมมณี, 2559) เสนอทฤษฏีความรูสรางสรรค

    (constructionism) ท่ีอธิบายวาการเรียนรูเกิดข้ึนเม่ือผูเรียนสรางความรูโดยออกแบบและสรางสิ่งประดิษฐท่ีมี

    ความหมายสําหรับตนเอง และนําไปสะทอนความคิดและแบงปนกับผูอ่ืนได โดยใชเครื่องมือ สื่อและเทคโนโลยี

    สนับสนนุการสรางความรูและสิ่งประดิษฐ สวน Resnick (1996) เสนอแนวคิดdistributed constructionism

    ท่ีอธิบายตอยอดจาก Papert วาการเรียนรูเกิดข้ึนจากการปฏิสัมพันธกับบุคคลอ่ืนและสภาพแวดลอมใน

    กระบวนการออกแบบและแลกเปลี่ยนเรียนรูเก่ียวกับผลผลิตท่ีสรางข้ึน สําหรับหลักการจัดการเรียนรูให

    สอดคลองกับทฤษฏีความรูสรางสรรคมีดงนี้ 1) สนับสนุนการเรียนรูจากการออกแบบและสรางสิ่งประดิษฐ

    2) สนับสนุนใหผูเรียนคนหาและพัฒนาความสนใจเปนของตนเอง และจัดผูเรียนมีเวลาในการสืบสอบและทํา

    โครงการสรางผลผลิต/สิ่งประดิษฐอยางตอเนื่อง 3) สรางชุมชนผูเรียน (community of learners) 4) จัด

    สภาพแวดลอมการเรียนรูใหมีการเคารพซ่ึงกันและกัน ไววางใจกัน อบอุน เปนมิตรและมีความหลากหลาย

    (Litts, 2015; ทิศนา แขมมณี, 2559)

    3.2 ดานหลักสูตร หลักสูตรในการศึกษายุค 4.0 ควรเปนหลักสูตรเนนสมรรถนะยุค 4.0 และทักษะ

    ศตวรรษท่ี21 เนนแกนความคิดท่ีสําคัญ พัฒนาทักษะการคิดข้ันสูงและการประยุกตใชความรู มีความยืดหยุน

    และตอบสนองความตองการเรียนรูของผูเรียนไดเปนรายบุคคล (กฤตธี วงศสถิต, 2560; สมเกียรติ

    ตั้งกิจวาณิชยและคณะ, 2556; Wagner, 2012) สําหรับหลักสูตรท่ีสอดคลองกับลักษณะขางตน ไดแก

    หลักสูตรเนนสมรรถนะและหลักสูตรแบบโมดูล สําหรับหลักสูตรเนนสมรรถนะเปนหลักสูตรเปนหลักสูตรท่ีใช

    ผลการปฏิบัติงานหรือสมรรถนะของผูเรียนตามมาตรฐานท่ีกําหนดไวเปนจุดมุงหมายการศึกษาและแนว

    ทางการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล (ราชบัณฑิตยสถาน, 2555) สวนหลักสูตรแบบโมดูลเปน

    หลักสูตรท่ีออกแบบเปนหนวยการเรียนรูสําเร็จรูปท่ีเนนสมรรถนะ โดยโครงสรางของหลักสูตรแบบโมดูล

    ประกอบดวยโมดูลยอยหลายชุดท่ีมีลักษณะเบ็ดเสร็จในตัวเองท่ีประกอบดวยหลักการ เหตุผล วัตถุประสงค

    เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรูและการประเมินผล (ราชบัณฑิตยสถาน, 2555; วิชัย วงษใหญ, 2554; บุญชม

    ศรีสะอาด, 2541; Donnelly et al. 2005)

    3.3. ดานการจัดการเรียนการสอน วิธีการเรียนการสอนท่ีเหมาะกับการศึกษายุค 4.0 จําแนกไดเปน 7

    กลุม ไดแก

    1) การเรียนรูท่ีเนนการพัฒนาศักยภาพดานนวัตกรรม ประกอบดวยการเรียนรูโดยใชการออกแบบเปน

    ฐาน (design-based learning) ซ่ึงเปนวิธีการจัดการเรียนรูโดยบูรณาการกระบวนการคิดเชิงออกแบบ สวน

    การคิดเชิงออกแบบเปนการใชกระบวนการคิดแกปญหาโดยคํานึงถึงความตองการของผูใชเปนศูนยกลาง มี

  • 10

    การระดมความคิดและมุมมองท่ีหลากหลายมาสรางไอเดีย/แนวทางในการแกปญหา นํามาสูการพัฒนาตนแบบ

    และทดสอบตนแบบกลับไปกลับมาหลายครั้งจนไดนวัตกรรมท่ีตอบสนองความตองการของผูใช (Hasso

    Platter Institute of Design at Stanford, 2010) สําหรับการสอนอีกวิธีในกลุมนี้ท่ีมีลักษณะคลายคือการ

    เรียนรูนวัตกรรม (innovation learning) ของ Thorsteinsson & Denton (2003) ซ่ึงเปนวิธีการสอนท่ีมุง

    พัฒนาทักษะการสรางความคิดใหมๆ (ideation skill) และศักยภาพในการสรางนวัตกรรม โดยผูเรียนเสนอ

    แนวคิดและวิจัยเพ่ือหาทางแกปญหาท่ีเกิดข้ึนจริง

    2) การเรียนรูความเปนผูประกอบการ (entrepreneurial learning) เปนวิธีจัดการเรียนรูท่ีชวยพัฒนา

    ใหผูเรียนมีคุณลักษณะและทักษะผูประกอบการโดยไมจํากัดวาตองเปนทักษะท่ีเก่ียวของกับการสรางธุรกิจใหม

    เทานั้น เชน การคิดริเริ่มสรางสรรคและคิดเชิงนวัตกรรม รูจักแสวงและใชโอกาส พ่ึงตนเอง และทํางานเชิงรุก

    (Lackeus, 2015) แมการเรียนรูความเปนผูประกอบการจะมีหลายวิธี แตวิธีการหนึ่งท่ีเหมาะกับการศึกษายุค

    4.0 คือการเรียนรูแบบมุงผลผลิต (product-oriented learning) ของ Zhao (2012) ซ่ึงเปนรูปแบบหนึ่งของ

    การเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน (project-based learning) ท่ีผูเรียนมีบทบาทเชิงรุกในกระบวนการเรียนรู

    นับตั้งแตระบุความตองการ/ปญหา ระดมควา