patients with cardiac arrest...patients with cardiac arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว...

8
Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปริญญา คุณาวุฒิ Cardiac arrest เป็นภาวะฉุกเฉินที่ต้องให้การรักษาอย่างเร่งด่วน หลักในการรักษา สาหรับแพทย์มีสองประการ คือ 1. หาสาเหตุที่ทาให้เกิด cardiac arrest สาเหตุคืออะไร และ 2. ECG ในขณะนั ้น rhythm เป็นอะไร เราจาเป็นต้องรักษาทั ้งสองภาวะควบคู่กันไปเสมอ ยกตัวอย่างเช่น ผู ้ป่วยเจาะคอเกิด Cardiac arrest เพราะมี Secretion obstruction โดย ECG เป็น ventricular fibrillation ถ้าแพทย์มุ่งแต่รักษา ventricular fibrillation อย่างเดียว เช่น ทา defibrillation หรือให้ยาต่างๆ มากมาย แต่ไม่แก้ปัญหา secretion obstruction การ ช่วยชีวิตผู้ป่วยย่อมไม่ประสบผลสาเร็จ หรือแก้แต่ปัญหา Secretion obstruction อย่าง เดียว โดยไม่ทา defibrillation ภาวะ ventricular fibrillation ก็ไม่หายเช่นกัน การจะทราบประวัติของผู้ป่วยที่เกิด cardiac arrest แบ่งได้ 2 กรณี ตามสถานที่ทีแพทย์ปฏิบัติงาน 1. เมื่อปฏิบัติงานในหอผู้ป ่ วย ประวัติมักได้จาก Chart ของผู้ป่วย หรือถามจาก พยาบาล อาทิเช่น underlying disease ต่างๆ ผู้ป่วยมานอนโรงพยาบาลด้วยปัญหาอะไร ได้รับการผ่าตัดอะไร ผลการเจาะเลือดล่าสุด lab เป็นอย่างไร 2. ถ้าปฏิบัติงานที่ห้องฉุกเฉิน ประวัติจะได้จากญาติ หรือเจ้าหน้าที่กู้ภัยที่นาส ่ง ระหว่างทีกาลังช่วยผู้ป่วยก็ต้องให้พยาบาล หรือแพทย์ท่านอื่นถามประวัติควบคู ่ไปด้วย เช่น ได้ ประวัติว่าเป็นเบาหวานรักษาโดยการฉีด insulin อยู่ เป็นต้น การตรวจร่างกายในภาวะ cardiac arrest นั ้นแบ่งเป็น 2 ช่วง ใช้หลักว่า ทาไป ตรวจไป-คิดไป1. ช่วงแรก คือ primary ABCD survey เป็นช่วงที่ต้องทาอย่างรวดเร็ว A คือ Airway เปิดทางเดินลมหายใจ ทา head tilt - chin lift B คือ Breathing ช่วยหายใจ เช่น ใช้ bag mask C คือ Circulation ทา CPR และ D คือ Defibrillation ถ้ามี AED จังหวะนี ้ไม่ค่อยเป็นปัญหา มักจะประเมิน และปฏิบัติกันได้

Upload: others

Post on 16-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร

Patients with Cardiac Arrest

น.พ. ปริญญา คุณาวฒิุ

Cardiac arrest เป็นภาวะฉุกเฉินท่ีตอ้งใหก้ารรักษาอยา่งเร่งด่วน หลกัในการรักษาส าหรับแพทยมี์สองประการ คือ

1. หาสาเหตุท่ีท าให้เกิด cardiac arrest สาเหตุคืออะไร และ 2. ECG ในขณะนั้น rhythm เป็นอะไร

เราจ าเป็นตอ้งรักษาทั้งสองภาวะควบคู่กนัไปเสมอ ยกตวัอยา่งเช่น ผูป่้วยเจาะคอเกิด Cardiac arrest เพราะมี Secretion obstruction โดย ECG เป็น ventricular

fibrillation ถา้แพทยมุ์่งแต่รักษา ventricular fibrillation อยา่งเดียว เช่น ท า defibrillation หรือให้ยาต่างๆ มากมาย แต่ไม่แกปั้ญหา secretion obstruction การช่วยชีวติผูป่้วยยอ่มไม่ประสบผลส าเร็จ หรือแกแ้ต่ปัญหา Secretion obstruction อยา่งเดียว โดยไม่ท า defibrillation ภาวะ ventricular fibrillation ก็ไม่หายเช่นกนั การจะทราบประวติัของผูป่้วยท่ีเกิด cardiac arrest แบ่งได ้2 กรณี ตามสถานท่ีท่ีแพทยป์ฏิบติังาน

1. เม่ือปฏิบติังานในหอผูป่้วย ประวติัมกัไดจ้าก Chart ของผูป่้วย หรือถามจากพยาบาล อาทิเช่น underlying disease ต่างๆ ผูป่้วยมานอนโรงพยาบาลดว้ยปัญหาอะไร ไดรั้บการผา่ตดัอะไร ผลการเจาะเลือดล่าสุด lab เป็นอยา่งไร

2. ถา้ปฏิบติังานท่ีหอ้งฉุกเฉิน ประวติัจะไดจ้ากญาติ หรือเจา้หนา้ท่ีกูภ้ยัท่ีน าส่ง ระหวา่งท่ีก าลงัช่วยผูป่้วยก็ตอ้งใหพ้ยาบาล หรือแพทยท์่านอ่ืนถามประวติัควบคู่ไปดว้ย เช่น ได้ประวติัวา่เป็นเบาหวานรักษาโดยการฉีด insulin อยู ่เป็นตน้

การตรวจร่างกายในภาวะ cardiac arrest นั้นแบ่งเป็น 2 ช่วง – ใชห้ลกัวา่ “ท าไป – ตรวจไป-คิดไป”

1. ช่วงแรก คือ primary ABCD survey เป็นช่วงท่ีตอ้งท าอยา่งรวดเร็ว A คือ Airway เปิดทางเดินลมหายใจ ท า head tilt - chin lift B คือ Breathing ช่วยหายใจ เช่น ใช ้bag – mask C คือ Circulation ท า CPR และ D คือ Defibrillation ถา้มี AED จงัหวะน้ีไม่ค่อยเป็นปัญหา มกัจะประเมิน และปฏิบติักนัได ้

Page 2: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร

2. ช่วงท่ีสอง หรือ secondary ABCD survey + EFGH ท าต่อจากช่วงแรก

A + B คือ Airway และ Breathing พิจารณาใช ้advanced airway เช่น ET-tube เช็คลมเขา้ปอดสองขา้งเท่ากนัหรือไม่ เช็ค pneumothorax

C คือ Circulation ให ้iv fluid ใหย้า vasopressor เช็ค lab

D คือ Differential diagnosis (คิดถึง H + T mnemonic) และ Disability (พวก neuro score / stroke)

E คือ Expose ตรวจคนไขท้ั้งตวั จะตรวจมากนอ้ยเพียงไร ข้ึนกบัวา่ เป็นคนไขอ้ะไร และไดป้ระวติัหรือไม่ F คือ Finger, Foley และ Flip โดย Finger คือ Rectal หรือ vaginal

examination ยกตวัอยา่งเช่น ไดป้ระวติัวา่ เป็นชาวต่างชาตินอนหลบั และหยดุหายใจท่ีสนามบิน พวกน้ีบางคร้ังซ่อนยาเสพติดไวใ้นช่องคลอดหรือทวารหนกั การตรวจ Rectal หรือ vaginal examination ก็เป็นส่ิงจ าเป็น Foley catheter ก็เช่น เก็บปัสสาวะตรวจหายาเสพติด ตรวจ urine examination ตรวจสารพิษ Flip คือ ตอ้งพลิกตรวจดา้นหลงัของคนไขด้ว้ย จ าเป็นมากหากไดป้ระวติัวา่ทะเลาะววิาทกนัมาก่อน G คือ Gastric tube เก็บ gastric content ส่งตรวจ เช่น ตรวจหาสารเสพติด หรือสารพิษ ขอ้พึงระวงัคือการเก็บ specimen ส่วนใหญ่ใหแ้ช่ตูเ้ยน็ช่องธรรมดา ไม่ตอ้งแช่ในช่อง freeze นอกจากนั้นยงัสามารถเช็ค occult GI bleeding ไดอี้กดว้ย H คือ history ดงัไดก้ล่าวแลว้ขา้งตน้

เม่ือรักษาสาเหตุต่างๆควบคู่ไปดว้ยแลว้ ลองมาพิจารณาดูตาม Guideline

CPR จะพบวา่เขากล่าวถึงแต่การรักษาซ่ึงแบ่งออกตามลกัษณะของ ECG เท่านั้น

ซ่ึงก็เหมาะสมอยู ่สะดวกในการใชง้าน Flow chart ต่างๆ ไดแ้นบมาดว้ยแลว้ ดงัน้ี

1. Flow chart Pulseless Arrest

Page 3: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร
Page 4: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร

ในเร่ืองของ VF/Pulseless VT ขอ้พึงระวงัท่ีส าคญัคือ การใชย้าamiodarone นั้นตอ้ง dilute เสียก่อน ใน guideline ไม่ไดเ้จาะจงวา่จะ dilute เท่าไรและใหฉี้ดในเวลาเท่าไร ถา้เทียบตามขอ้มูลท่ีท า trial ตั้งแต่เร่ิมแรก ใช ้วธีิ dilute เป็น 30 cc ฉีดในเวลา 3 นาที แต่ปัจจุบนัตาม guideline พยาบาลจะขานเวลาทุกๆ 2 นาที ดงันั้น จึงมีผูแ้นะน าวา่ให ้dilute เป็น 20 cc แลว้ฉีดในเวลา 2

นาที ก็น่าจะเหมาะสม ถา้ฉีดเร็ว จะท าใหเ้กิด vasodilatation

ยา epinephrine ก็เช่นกนั ตอ้ง dilute ใหเ้ป็น 10 cc เสียก่อน จึงค่อยฉีด

2. Flow chart Bradycardia

Page 5: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร
Page 6: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร

พึงสังเกตวา่ ใน guideline bradycardia ยาหลกัท่ีใช ้คือ atropine

และ pacemaker กรณีตอ้งใช ้dopamine หรือ epinephrine IV drip

ขนาดยา dopamine เป็น microgram/kg/min คิดตามน ้าหนกัตวัผูป่้วย แต่ epinephrine เป็น microgram/min

3. Flow chart Tachycardia

Page 7: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร
Page 8: Patients with Cardiac Arrest...Patients with Cardiac Arrest น.พ. ปร ญญา ค ณาว ฒ Cardiac arrest เป นภาวะฉ กเฉ นท ตอ งให การร

SVT เป็นภาวะท่ีพบบ่อยท่ีสุด ถา้ผูป่้วย stable และท่านตดัสินใจจะใช ้adenosine เน่ืองจากยาน้ีมีค่า half life สั้นประมาณ 10 วนิาที ดงันั้นจึงมีผู ้แนะน าวา่ เร่ิมตั้งแต่ ต าแหน่งของการแทงเปิดน ้าเกลือ ต าแหน่งขอ้พบัแขน จะดีกวา่บริเวณหลงัมือ เพราะใกลห้วัใจมากกวา่ ใชเ้ขม็เบอร์โตเท่าท่ีผูแ้ทงจะสามารถแทงได ้หลงัจากนั้น ใหต่้อ extension และ three-way จึงต่อสายน ้าเกลือเขา้ขวด ก่อนลองฉีดยาจริง ควรลองดูดน ้าเกลือ ดูด-ฉีด ดูด-ฉีด ลองสัก 2-3 รอบ เพื่อเช็ควา่เส้นเลือดปกติดีอยู ่ เม่ือฉีดยา adenosine ตอ้งฉีดยาดว้ยความรวดเร็ว แลว้ flush น ้าเกลือตามไปหลายๆ syringe แค่เปิดใหน้ ้าเกลือไหล free flow นั้น ยงัไม่เพียงพอ และระหวา่งท่ีฉีดยานั้น ตอ้งบนัทึก ECG ไวต้ลอดเวลาดว้ย มิฉะนั้น จงัหวะท่ี ECG

เปล่ียนแปลงจะไม่ถูกบนัทึกไว ้

เอกสารอ้างองิ American Heart Association . Circulation 2005;

Vol112Issue24;Suppl1;December 13,2005;P1-125.