prospectus : 2009

307
หนังสือชี้ชวน บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) (CyberPlanet Interactive Public Company Limited) เสนอขาย หุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนจํานวน 60,000,000 หุโดยจัดสรรตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพย ราคาเสนอขายหุนละ 1.60 บาท มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท ระยะเวลาจองซื้อ ตั้งแตเวลา 9.00 . ถึง 16.00 . ของวันที11-13 พฤษภาคม 2553 ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัท ฟนเน็กซ แอดไวเซอรีจํากัด ผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย บริษัทหลักทรัพย ไอ วี โกลบอล จํากัด (มหาชน) วันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและรางหนังสือชี้ชวน วันที19 สิงหาคม 2552 วันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนมีผลบังคับใช วันที7 พฤษภาคม 2553 คําเตือน : กอนตัดสินใจลงทุน ผูลงทุนตองใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับผูออกหลักทรัพยและเงื่อนไขของหลักทรัพย รวมทั้ง ความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของเปนอยางดี การมีผลบังคับใชของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและราง หนังสือชี้ชวนนีมิไดเปนการแสดงวาคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยแนะนําใหลงทุนในหลักทรัพยที่เสนอขาย หรือมิไดประกันราคาหรือผลตอบแทนของหลักทรัพยที่เสนอขาย หรือรับรองความ ครบถวนและถูกตองของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนนี้แตอยางใด ทั้งนี้การรับรองความถูกตอง ครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนนี้เปนความรับผิดชอบของผูเสนอขายหลักทรัพย หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนมีขอความหรือรายการที่เปนเท็จ หรือขาดขอความที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ ผูถือหลักทรัพยที่ไดซื้อหลักทรัพยไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิ เรียกรองคาเสียหายจากบริษัทหรือเจาของหลักทรัพยไดตามมาตรา 82 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย .. 2535 ทั้งนีภายในหนึ่งปนับแตวันที่ไดรูหรือควรไดรูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยเปนเท็จหรือขาดขอความที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ แตไมเกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลมีผลใชบังคับ บุคคลทั่วไปสามารถขอตรวจสอบหรือขอสําเนาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนที่ยื่นไวตอสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไดที่ศูนยสารนิเทศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ชั้น 15 าคารจีพีเอฟ วิทยุ เลขที93/1 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ในทุกวันทําการของสํานักงาน ระหวางเวลา 9.00 . – 12.00 . และ 13.00 . – 16.00 . หรือทาง http://www.sec.or.th คําเตือน : การลงทุนมีความเสี่ยง ผูลงทุนควรศึกษาขอมูลกอนการตัดสินใจลงทุน

Upload: mongkon-wirunputi

Post on 29-Mar-2016

219 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

CYBER : PROSPECTUS 2009

TRANSCRIPT

Page 1: PROSPECTUS : 2009

หนังสือชี้ชวน

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

(CyberPlanet Interactive Public Company Limited)

เสนอขาย

หุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนจํานวน 60,000,000 หุน โดยจัดสรรตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพย

ราคาเสนอขายหุนละ 1.60 บาท มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท

ระยะเวลาจองซ้ือ

ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันที่ 11-13 พฤษภาคม 2553

ที่ปรึกษาทางการเงิน

บริษัท ฟนเน็กซ แอดไวเซอรี่ จํากัด

ผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย

บริษทัหลักทรัพย ไอ วี โกลบอล จํากัด (มหาชน) วันที่ยื่นแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและรางหนังสือชี้ชวน

วันที่ 19 สิงหาคม 2552

วันที่แบบแสดงรายการขอมลูการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือชี้ชวนมีผลบังคับใช วันที่ 7 พฤษภาคม 2553

คําเตือน : “กอนตัดสินใจลงทุน ผูลงทุนตองใชวิจารณญาณในการพิจารณาขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับผูออกหลักทรัพยและเงื่อนไขของหลักทรัพย รวมทั้ง

ความเหมาะสมในการลงทุน และความเสี่ยงที่เกี่ยวของเปนอยางดี การมีผลบังคับใชของแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและราง

หนังสือช้ีชวนนี้ มิไดเปนการแสดงวาคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ

ตลาดหลักทรัพยแนะนําใหลงทุนในหลักทรัพยที่เสนอขาย หรือมิไดประกันราคาหรือผลตอบแทนของหลักทรัพยที่เสนอขาย หรือรับรองความ

ครบถวนและถูกตองของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือช้ีชวนนี้แตอยางใด ทั้งนี้การรับรองความถูกตอง

ครบถวนของขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือช้ีชวนนี้เปนความรับผิดชอบของผูเสนอขายหลักทรัพย

หากแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือช้ีชวนมีขอความหรือรายการที่เปนเท็จ หรือขาดขอความที่ควรตองแจงใน

สาระสําคัญ ผูถือหลักทรัพยที่ไดซ้ือหลักทรัพยไมเกินหนึ่งปนับแตวันที่แบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยนั้นมีผลใชบังคับ มีสิทธิ

เรียกรองคาเสียหายจากบริษัทหรือเจาของหลักทรัพยไดตามมาตรา 82 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ทั้งนี้

ภายในหนึ่งปนับแตวันที่ไดรูหรือควรไดรูวาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยเปนเท็จหรือขาดขอความที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ

แตไมเกินสองปนับจากวันที่แบบแสดงรายการขอมูลมีผลใชบังคับ

บุคคลทั่วไปสามารถขอตรวจสอบหรือขอสําเนาแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพยและหนังสือช้ีชวนที่ยื่นไวตอสํานักงาน

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไดที่ศูนยสารนิเทศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ช้ัน 15

าคารจีพีเอฟ วิทยุ เลขที่ 93/1 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ในทุกวันทําการของสํานักงาน ระหวางเวลา 9.00 น. – 12.00

น. และ 13.00 น. – 16.00 น. หรือทาง http://www.sec.or.th

คําเตือน : การลงทุนมีความเส่ียง ผูลงทุนควรศึกษาขอมูลกอนการตัดสินใจลงทุน

Page 2: PROSPECTUS : 2009

สารบัญ

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) สวนที่ 1 หนา 1-8 สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย

1. ปจจัยความเสี่ยง สวนที่ 2.1 หนา 1-8

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ สวนที่ 2.2 หนา 1-7

3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ สวนที่ 2.3 หนา 1-31

4. การวิจัยและพัฒนา สวนที่ 2.4 หนา 1-2

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ สวนที่ 2.5 หนา 1-13

6. โครงการในอนาคต สวนที่ 2.6 หนา 1-3

7. ขอพิพาททางกฎหมาย สวนที่ 2.7 หนา 1

8. โครงสรางเงินทุน สวนที่ 2.8 หนา 1-2

9. โครงสรางการจัดการ สวนที่ 2.9 หนา 1-19

10. การควบคุมภายใน สวนที่ 2.10 หนา 1-2

11. รายการระหวางกัน สวนที่ 2.11 หนา 1-12

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน สวนที่ 2.12 หนา 1-33

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ สวนที่ 2.12 หนา 33 สวนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย

1. รายละเอียดของหลักทรัพยที่เสนอขาย สวนที่ 3 หนา 1

2. ขอจํากัดการโอนหลักทรัพยที่เสนอขาย สวนที่ 3 หนา 3

3. ที่มาของราคาหลักทรัพยที่เสนอขาย สวนที่ 3 หนา 4

4. ราคาหุนสามัญในตลาดรอง สวนที่ 3 หนา 4

5. การจอง การจําหนาย และการจัดสรร สวนที่ 3 หนา 4

สวนที่ 4 การรับรองความถูกตองของขอมูล สวนที่ 4 หนา 1-4

4. ราคาหุนสามัญในตลาดรอง

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร

ขอมูลการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ ผูบริหาร ในบริษัทยอย

เอกสารแนบ 2 แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน

เอกสารแนบ 3 งบการเงินสําหรับปส้ินสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม ป 2550 – 2552

Page 3: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary)

Page 4: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 1

อภิธานศัพท

เกมคอนโซล (Console game) : ซอฟตแวรเกมที่ผลิตขึ้นสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลและเครื่องเลนเกม

คอนโซลแบบพกพาโดยเฉพาะ

เกมคอมพิวเตอร (Computer game) : ซอฟตแวรเกมที่ผลิตขึ้นสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล

เกมแคชชวล (Casual game) : ซอฟตแวรเกมประเภทหนึ่งที่มีลักษณะวิธีการเลนที่เขาใจงายเนนความ

เพลิดเพลินในการเลนโดยที่ผูเลนไมจําเปนตองใชเวลานานในการเลน

กลุมเปาหมายหลักของผูเลนเกมแคชชวลคือกลุมผูที่เลนเกมเพื่อการ

ผอนคลายยามวาง (Casual gamer) ซึ่งมีการกระจายชวงอายุตั้งแตวัย

เด็กไปจนถึงวัยทํางาน

เกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่

(Mobile game)

:

ซอฟตแวรเเกมที่ผลิตขึ้นสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งรวมถึง Pocket PC

และ iphone

เครื่องเลนเกมคอนโซล

(Video game console)

:

อุปกรณเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับเลนเกมโดยเฉพาะ แบงเปนไดแก

เครื่องเลนเกมคอนโซลที่มีไวเลนเพื่อความบันเทิงภายในบานที่ใชวิธี

ถายทอดสัญญาณภาพและเสียงผานจอโทรทัศน และเครื่องเลนเกม

คอนโซลแบบพกพาที่มีขนาดเล็กเหมาะแกการพกพา

เครื่องมือในการพัฒนาเกม

(Game Engine)

: ซอฟตแวรที่ใชในการพัฒนาซอฟตแวรเกม เปนอุปกรณที่ชวยใหการ

พัฒนาสวนตางๆของซอฟตแวรเกม เชน การทําภาพกราฟก การเขียน

ชุดคําส่ัง การทําอนิเมชั่น เปนตน ทําไดสะดวกรวดเร็วขึ้น

ผูจัดจําหนายเกม (Game publisher) : ผูประกอบธุรกิจจัดจําหนายซอฟตแวรเกม โดยผูจัดจําหนายเกมบางราย

อาจเปนทั้งผูพัฒนาและผูจัดจําหนายเกม หรืออาจเปนผูจัดจําหนายเกม

ที่พัฒนาโดยบริษัทผูพัฒนาเกม (Game developer)

ผูพัฒนาเกม (Game developer) : ผูประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม ไมวาจะเปนเกมคอนโซล เกม

คอมพิวเตอรหรือเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่

ผูพัฒนาเกมที่ไดรับสิทธิ

ในการพัฒนาเกมจากนินเทนโด

(Nintendo Licensed Developer)

: ผูประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมที่ไดรับสิทธิจาก Nintendo Co.,

Ltd (“นินเทนโด”) ใหสามารถพัฒนาเกมคอนโซลที่ใชกับเครื่องเลนเกม

คอนโซลที่ผลิตโดยนินเทนโด โดยผูพัฒนาเกมที่จะไดรับสิทธิดังกลาว

จะตองมีคุณสมบัติตามที่นินเทนโดกําหนด

แพล็ตฟอรม(Platform) : ขอบเขตโครงสรางโดยรวมของระบบคอมพิวเตอรหนึ่งๆ ซึ่งหมายรวมถึง

สถาปตยกรรมทางดานฮารดแวรและซอฟตแวร อาทิเชน ระบบสําหรับ

เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล ระบบสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบ

สําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล เปนตน

Real-time strategy game (RTS) : เกมคอมพิวเตอรประเภทหนึ่ง ที่มีเนื้อหาและลักษณะการเลนเนนการ

วางแผนเพื่อเอาชนะคูแขง

ชุดคําส่ัง (Source Code) : ชุดคําส่ังภาษาคอมพิวเตอรที่เขียนขึ้นเพื่อส่ือสารกับเครื่องคอมพิวเตอร

Page 5: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 2

สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary)

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) กอตั้งขึ้นโดยครอบครัววานิชวงศ ในป

2543 เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมดวยทุนจดทะเบียนเริ่มตน 1.00 ลานบาท ตอมาไดมีการเพิ่มทุนจด

ทะเบียนอยางตอเนื่อง ปจจุบันบรษิัทมีทุนจดทะเบียนทั้งส้ิน 140 ลานบาทคิดเปนจํานวนหุนสามัญทั้งหมด 280 ลาน

หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท โดยแบงเปนทุนจดทะเบียนชําระแลวจํานวน 220 ลานหุน และหุนสามัญเพิ่มทุน

เพื่อทําการเสนอขายแกประชาชนทั่วไปจํานวน 60 ลานหุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 21.43 ของทุนจดทะเบียนของ

บริษัท

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทมีผูถือหุนหลัก 3 กลุม ไดแก ครอบครัววานิชวงศและบุคคลที่เกี่ยวของตาม

มาตรา 258 ซึ่งเปนผูบริหารหลักของบริษัท กองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมซึ่งบริหาร

และจัดการโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวมวรรณ และบริษัท เอเชีย อิควิตี้ เวนเจอร จํากัด ซึ่งถือหุนใน

สัดสวนรอยละ 37.80 รอยละ 40.40 และรอยละ 11.36 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวในปจจุบันของบริษัทตามลําดับ

ทั้งนี้สัดสวนการถือหุนของผูถือหุนหลักทั้ง 3 กลุมจะลดลงเหลือรอยละ 29.70 รอยละ 31.75 และรอยละ 8.93

ตามลําดับภายหลังการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกประชาชน

ปจจุบันกลุมบริษัทประกอบดวยบริษัทและบริษัทยอย ซึ่งถือหุนรอยละ 99.99 โดยบริษัทจํานวน 3 บริษัท

ดังนี้

• บริษัท แพลนเน็ต จี จํากัด (“แพลนเน็ต จี”) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 10.00 ลานบาท ประกอบ

ธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมดานการพัฒนาโปรแกรม

• บริษัท บลู วิซารด สตูดิโอ จํากัด (“บลู วิซารด”) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 5.00 ลานบาทประกอบ

ธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมดานการออกแบบกราฟก และอนิเมชั่น

• บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด (“อินฟอรเมติกซ”) ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 12.03 ลานบาท

และอยูระหวางการเพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 20.00 ลานบาท ประกอบธุรกิจสถาบันพัฒนาทักษะในการ

เรียนรูสําหรับเด็ก โดยเริ่มประกอบการในชวงไตรมาส 2 ของป 2552

ในอดีตกลุมบริษัทมีการประกอบธุรกิจใน 2 รูปแบบหลัก คือ ธุรกิจการพัฒนาซอฟตแวรเกม ซึ่งดําเนิน

ธุรกิจโดยบริษัทและบริษัทยอย อันไดแก แพลนเน็ต จี และ บลูวิซารด และธุรกิจผลิตและจําหนายแผนซีดีเกม

สําเร็จรูป ซึ่งดําเนินธุรกิจโดย บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด ซึ่งเคยเปนบริษัทยอยของบริษัท อยางไรก็

ตาม การดําเนินธุรกิจนําเขา ผลิตและจําหนายเกมในลักษณะแผนซีดีเกมสําเร็จรูปบรรจุกลองเพื่อจําหนายเปนธุรกิจ

ที่ตองใชเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานสูง ทั้งในการจัดหาสินคาคงคลัง การบริหารชองทางการจําหนาย และ

หากแผนซีดีเกมไดรับความนิยมจากผูเลนเกม จะยังมีแนวโนมที่จะไดรับผลกระทบจากการละเมิดลิขสิทธิ์โดยผูผลิต

แผนเกมที่ผิดกฎหมาย กลุมบริษัทจึงมีการปรับเปล่ียนโครงสรางการดําเนินธุรกิจ โดยลดบทบาทในธุรกิจดังกลาวลง

ตั้งแตป 2549 โดยปจจุบันมุงเนนการดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมเปนหลัก

Page 6: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 3

โดยในป 2551 กลุมบริษัททําการจําหนายเงินลงทุนในสัดสวนรอยละ 75 ของทุนชําระแลวของบริษัท ไซ

เบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด คิดเปนมูลคารวม 18 ลานบาท ใหแก บริษัท ซี-ทู วิชช่ัน จํากัด ซึ่งเปนหนึ่งในผูจัด

จําหนายเกมรายใหญของประเทศไทยและเปนบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับบริษัท อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทยังคงเห็นถึง

ศักยภาพและโอกาสในการขยายตัวของธุรกิจผลิตและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป จึงทําการถือหุนในบริษัท ซี-ทู

วิชชั่น จํากัด ในสัดสวนรอยละ 19.02 ของทุนชําระแลวของบริษัทดังกลาว หรือคิดเปนมูลคาเงินลงทุน 18 ลานบาท

แทน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบธุรกิจในชวงปลายป 2551 สงผลใหตั้งแตป 2552 เปนตนไป กลุมบริษัท

จะไมมีรายไดจากการนําเขาและจัดจาํหนายเกมในลักษณะแผนซีดีเกมสําเร็จรูป

ในสวนของธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น กลุมบริษัทถือเปนหนึ่งในผูพัฒนาซอฟตแวรเกมชาวไทยที่มี

ชื่อเสียง โดยไดรับรางวัลจากการประกวดในระดับประเทศไดแกงาน Thailand ICT Award (TICTA) ติดตอกันถึง 5 ป

และไดรับการเสนอชื่อใหเปนตัวแทนของประเทศไทยเพื่อเขารวมการประกวดในงาน Asia Pacific ICT Award

(APICTA) ติดตอกันถึง 5 ปจนถึงปจจุบัน ทั้งนี้ จากอดีตถึงปจจุบันกลุมบริษัทไดรับรางวัลจากทั้งในและตางประเทศ

รวมกันถึง 27 รางวัล และไดรับการยอมรับจากผูผลิตและจําหนายเกมชั้นนําทั่วโลก กลุมบริษัททําการพัฒนาและ

จําหนายซอฟตแวรเกมสําหรับอุปกรณเครื่องเลนเกมใน 3 ลักษณะ ไดแก เกมสําหรับคอมพิวเตอร เกมสําหรับ

โทรศัพทเคลื่อนที่ และเกมคอนโซล โดยในชวงแรกของการดําเนินธุรกิจกลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาเกมตลอดจน

นําเขาและจําหนายเกมสําหรับคอมพิวเตอรเปนหลัก ตอมาในป 2546 กลุมบริษัทไดขยายขอบเขตการดําเนินธุรกิจ

มายังการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งกลุมบริษัทถือไดวาเปนผูประกอบการไทยรายเดียวที่ทําการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ใหแกผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อนําไปติดตั้งในโทรศัพทของตน ตอมา

ในป 2550 กลุมบริษัทเริ่มพัฒนาเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลน Playstation2 และไดรับอนุญาตจากนินเทนโด อยาง

เปนทางการใหมีสิทธิในการพัฒนาเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล Nintendo DS และ Nintendo Wii และ

ในป 2551 กลุมบริษัทไดรับอนุญาตจากไมโครซอฟตใหมีสิทธิในการพัฒนาเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลน XBOX

ทั้งนี้ ปจจุบันกลุมบริษัทถือไดวาเปนผูประกอบการไทยรายเดียวที่ไดรับสิทธิในการพัฒนาเกมคอนโซลใหแกผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซลรายใหญทั้ง 3 ราย อันไดแก โซนี่ นินเทนโด และไมโครซอฟต

ในป 2551 กลุมบริษัทมีรายไดหลักมาจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลใน

สัดสวนประมาณรอยละ 61.47 ของรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกม และรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกม

สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรในสัดสวนรอยละ 35.03 สําหรับซอฟตแวรสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่นั้น กลุมบริษัทลด

บทบาทในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ลงตั้งแตป 2549 เนื่องจากเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง

และมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว

กลุมบริษัทไดกําหนดแนวทางในการดําเนินธุรกิจ โดยมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลประเภท

แคชชวลสําหรับครอบครัวและเด็กเปนหลัก เนื่องจากอุตสาหกรรมเกมคอนโซลและเกมประเภทแคชชวลไดรับความ

นิยมจากผูเลนเกมโดยทั่วไปและมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ประกอบกับเครื่องเลนเกมคอนโซลเปนเครื่อง

เลนที่มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีโดยสวนใหญประมาณ 7 ป ยาวนานกวาเครื่องคอมพิวเตอร และโทรศัพทเคลื่อนที่

ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีประมาณ 3-5 ป และ 1-2 ปตามลําดับ ทําใหซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการ

พัฒนาสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลจะมีแนวโนมที่จะมีระยะยาวในการจําหนายที่ยาวนานกวาซอฟตแวรเกมสําหรับ

เครื่องเลนเกมประเภทอื่น

Page 7: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 4

ทั้งนี้ ในการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทนั้น สามารถแบงการประกอบธุรกิจไดเปน 2

ลักษณะ คือ การพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายและการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกม ซึ่งจะมีความแตกตางในแง

การเปนเจาของลิขสิทธิ์ของเกม โดยในกรณีของการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรเกมจะเปน

ของกลุมบริษัท และกลุมบริษัทจะใหสิทธิผูจัดจําหนาย (Publisher) ในการทําซ้ํา และจําหนายเกมของกลุมบริษัทใน

ภูมิภาคที่กําหนด ในขณะที่การรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรเกมจะเปนของลูกคา โดยในป 2551

สัดสวนการพัฒนาเกมเพื่อจําหนาย และการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมอยูที่รอยละ 68.81 และรอยละ 31.19 ของ

รายไดจากคาบริการรวมของกลุมบริษัท

ในดานการแขงขันในภาวะอุตสาหกรรมพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น สวนใหญมิไดเปนการแขงขันระหวาง

ผูประกอบการโดยตรง แตจะเปนการแขงขันในการออกแบบและพัฒนาเกมใหมีความคิดสรางสรรค และตอบสนอง

ความตองการของผูบริโภค รวมทั้งการแขงขันในดานการพัฒนาเกมใหมีคุณภาพ ทั้งดานความสมจริงของภาพ และ

กราฟก และเสียงในเกมเปนหลัก ดังนั้นในการประกอบธุรกิจกลุมบริษัทจึงใหความสําคัญในการพัฒนาออกแบบเกม

ใหมีแนวคิดที่แตกตาง รวมทั้งใหความสําคัญการคุณภาพของเกมเปนสําคัญ อยางไรก็ตามจากการที่ตนทุนหลักใน

การพัฒนาซอฟตแวรเกมคือตนทุนทางดานบุคลากร ทําใหผูพัฒนาซอฟตแวรเกมในภูมิภาคที่มีตนทุนคาแรงงานต่ํา

รวมถึงประเทศไทย มีแนวโนมที่จะไดเปรียบในการแขงขันในดานตนทุนการผลิตและราคาจําหนายที่นําเสนอตอผูจัด

จําหนาย (Publisher) ตลอดจนมีโอกาสเพิ่มความสามารถในการแขงขันและโอกาสในการดําเนินธุรกิจในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมในลักษณะการรับจางพัฒนาซอฟตแวรอีกดวย

ในสวนความเสี่ยงหลักในการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทนั้น สามารถสรุปไดดังนี้

1. ความเสี่ยงจากการถูกละเมิดลิขสิทธิ์

การละเมิดลิขสิทธิ์นับเปนหนึ่งในปญหาสําคัญของธุรกิจซอฟตแวรทั่วโลก ซึ่งจะสงผลตอรายไดตอการ

จําหนายซอฟตแวรเกม กลุมบริษัทใชกลยุทธในการวางกลุมลูกคาเปาหมายและราคาสินคาเปนเครื่องมือในการ

ปองกันปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยมุงเนนการพัฒนาเกมแคชชวลสําหรับเด็กและครอบครัว ซึ่งผูเลนเกมกลุม

ดังกลาวมีอัตราการซื้อเกมละเมิดลิขสิทธิ์นอยกวาเกมซึ่งมีกลุมผูเลนเปนวัยรุนชาย ประกอบกับราคาจําหนายตอเกม

ของกลุมบริษัทไมไดสูงมากนักเมื่อเทียบกับคาครองชีพของประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนภูมิภาคหลักที่ทํา

การจําหนาย นอกจากนั้นกลุมประเทศในภูมิภาคดังกลาวมีความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมายการละเมิดลิขสิทธิ์

มากกวาในประเทศไทยและภูมิภาคเอเซีย ทําใหกลุมบริษัทเชื่อวาผลกระทบจากการละเมิดลิขสิทธิของซอฟตแวรเกม

ตอกลุมบริษัทจะไมอยูในระดับที่สูงมากนัก

2. ความเสี่ยงจากการลาสมัยของสินคา

การลาสมัยของซอฟตแวรเกมเกิดขึ้นไดใน 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของอุปกรณเครื่อง

เลน ซึ่งอาจทําใหซอฟตแวรเกมใชงานไดอยางไมสมบูรณ ซึ่งอาจทําใหความนิยมในซอฟตแวรเกมดังกลาวลดลง และ

การที่แนวคิดของซอฟตแวรเกมไมเหมาะสมสอดคลองกับสภาวะในชวงเวลานั้นๆ

จากการที่กลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทคอนโซลเปนหลัก ทําใหไดรับผลกระทบจาก

การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในระดับที่ไมสูงมากนัก เนื่องจากความถี่ของผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลในการ

เปล่ียนแปลงเทคโนโลยีของเครื่องเลนอยูที่ประมาณ 7 ป ทําใหแมวาสินคาของกลุมบริษัทมีความเกี่ยวพันกับ

เทคโนโลยีโดยตรง แตดวยลักษณะที่เฉพาะตัวของตลาดเกมคอนโซลทําใหมีความลาสมัยต่ํา นอกจากนั้น โดยสวน

Page 8: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 5

ใหญกลุมบริษัทยังสามารถปรับปรุงซอฟตแวรเกมที่มีอยูใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีได ทําใหยัง

สามารถทําการจําหนายไดอยางตอเนื่อง แมเทคโนโลยีของอุปกรณเครื่องเลนมีการเปลี่ยนแปลง

ในดานความลาสมัยที่อาจจะเกิดขึ้นไดจากการแนวคิดของเกมไมสอดคลองกับสภาวะการณในชวงเวลา

นั้นๆ ความลาสมัยของซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทก็มีอยูในระดับต่ําเชนกัน จากการที่กลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมแคชชวลสําหรับครอบครัวและเด็ก ซึ่งผูเลนเกมโดยสวนใหญจะเปนกลุมที่อาจถือไดวาไดรับอิทธิพล

จากสภาวะแวดลอมคอนขางต่ํา มีความชอบความสนใจเปนไปอยางตอเนื่อง มิไดเปล่ียนแปลงตามสภาวะแวดลอม

อยางไรก็ตาม เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นไดกลุมบริษัทไดติดตาม ขาวสารและการเคลื่อนไหว

เปล่ียนแปลงในอุตสาหกรรมอยูอยางสม่ําเสมอ เพื่อรับทราบการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่จะมีผลกระทบการ

ประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท และสามารถดําเนินการหามาตรการรองรับไดอยางทันตอเวลา ตลอดจนกลุมบริษัทมี

วาจางบริษัทวิจัยพฤติกรรมผูบริโภคของเยอรมันและญี่ปุน เพื่อติดตามลักษณะความชอบ ความสนใจ ของผูเลน

กลุมเปาหมาย เพื่อนํามาเปรียบเทียบปรับปรุงเกมของกลุมบริษัทใหมีความทันสมัยอยูเสมอ

3. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูบริหาร

บริษัทและบริษัทยอยทั้ง 3 บริษัทอยูภายใตการบริหารงาน โดยมีผูบริหารหลักคือ นายชนินทรเดช วานิช

วงศ ปจจุบันดํารงตําแหนงประธานกรรมการ และนายชนินทร วานิชวงศ ปจจุบันดํารงตําแหนงกรรมการผูจัดการ ซึ่ง

ปจจุบันผูบริหารทั้งสองทานและบุคคลที่เกี่ยวของตามมาตรา 258 ถือหุนของบริษัทรวมกันคิดเปนสัดสวนรอยละ

37.80 และรอยละ 29.70 ของทุนชําระแลวของบริษัทกอนและหลังการเสนอขายหุนแกประชาชน ตามลําดับ ทั้งนี้

ผูบริหารทั้งสองเปนผูกอตั้งบริษัท และมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายทางธุรกิจทั้งในดานการผลิต การตลาด

การกําหนดชองทางการจัดจําหนาย และการบริหารงานของกลุมบริษัท อยางไรก็ตาม บริษัทไดวางระบบการบริหาร

จัดการโดยกําหนดใหคณะกรรมการที่มีประสบการณในการบริหารธุรกิจเขามามีสวนรวมในการบริหารและแสดง

ความคิดเห็นในเรื่องสําคัญของบริษัท และยังไดแบงสวนการบริหารงานออกเปน 4 สวนตามแผนผังองคกรเพื่อ

กระจายอํานาจการบริหารงานไปยังผูบริหารระดับรองลงมา พรอมกับใหบุคลากรที่มีความสามารถและประสบการณ

เปนผูมีอํานาจตัดสินใจในแตละสวนงาน ซึ่งจะทําใหกลุมบริษัทสามารถลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูบริหารได

4. ความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระหนี้

จากการที่ ณ 31 ธันวาคม 2551 และ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทมีหนี้ที่คางชําระเกินกําหนดเกินกวา 3

เดือนเปนสัดสวนประมาณรอยละ 51.23 และรอยละ 25.64 ของลูกหนี้การคารวม คิดเปนมูลคารวม 14.37 ลานบาท

และ 9.80 ลานบาท ตามลําดับ โดยบริษัทไดทําการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลว 2.32 ลานบาท และ 5.43 ลาน

บาท ตามลําดับ ซึ่งลูกหนี้ดังกลาวประกอบดวยลูกหนี้ที่อยูระหวางการดําเนินคดีฟองรอง และลูกหนี้ที่อยูระหวางการ

เจรจาปรับสภาพหนี้ ทําใหกลุมบริษัทมีความเสี่ยงที่อาจจะไมไดรับชําระหนี้ตามมูลหนี้ที่แสดงอยู และจะสงผลตองบ

การเงินของกลุมบริษัทในอนาคตได เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต กลุมบริษัทมีการแนวทางใน

การดําเนินงานโดยกําหนดนโยบายในการตรวจสอบเครดิตของคูคารายใหมอยางรัดกุม รวมทั้งมีการสอบทานสถานะ

ทางการเงินของลูกคาปจจุบันอยางสม่ําเสมอ โดยประสานงานกับธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขา (Ex-Im Bank)

สําหรับลูกคาตางประเทศ ในกรณีที่ลูกคาของกลุมบริษัทมีปญหาในการชําระเงินตามงวดสัญญา กลุมบริษัทจะไมทํา

การสงมอบงานในขั้นงานถัดไปใหแกลูกคา นอกจากนี้กลุมบริษัทไดมีการปรับปรุงสัญญาการพัฒนาซอฟตแวร โดยมี

ขอความที่ระบุอยางชัดเจนวากลุมบริษัทสามารถริบเงินที่ลูกคามีการจายชําระตามแตละขั้นความสําเร็จงานไดใน

Page 9: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 6

กรณีที่ลูกคาของกลุมบริษัทผิดนัดชําระคาบริการ ซึ่งการกําหนดนโยบายในการดําเนินงานในการตรวจสอบเครดิต

และฐานะทางการเงินของคูคา จะชวยใหผลกระทบและความเสี่ยงของกลุมบริษัทไดในระดับหนึ่ง นอกจากนี้

เนื่องจากลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรโปรแกรมเกมโดยสวนใหญเปนของกลุมบริษัท ทําใหในกรณีดังกลาว กลุมบริษัทยัง

สามารถนําเสนอซอฟตแวรเกมใหแกผูจัดจําหนายหรือลูกคารายอื่นไดในอนาคตไดอีกดวย

5. ความเสี่ยงจากการจําหนายหุนของผูถือหุนรายใหญ

บริษัทมีผูถือหุนรายใหญ 3 กลุม ไดแก กลุมวานิชวงศ กองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดยอย ซึ่งจัดตั้งโดยกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม (“กองทุนรวม”) และบริษัท เอเชีย อิควิตี้ เวน

เจอร จํากัด (“AEV”) ซึ่งถือหุนจํานวน 83,150,600 หุน 88,888,800 หุน และ 25,000,000 หุนคิดเปนสัดสวนรอยละ

29.70 รอยละ 31.75 และรอยละ 8.93 ของทุนจดทะเบียนภายหลังจากเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกประชาชน

ทั่วไป จากการที่ผูถือหุนรายใหญ 2 ราย คือ กองทุนรวม และ AEV เปนการลงทุนในลักษณะเงินลงทุน ทําใหอาจมี

ความเสี่ยงที่ผูถือหุนรายใหญ 2 รายดังกลาวทําการทยอยจําหนายหุนภายหลังจากที่บริษัทเขาจดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ ซึ่งอาจมีผลกระทบตอราคาหุนได โดยเฉพาะในสวนของกองทุนรวมซึ่งจะส้ินสุดอายุกองทุนใน

วันที่ 28 กรกฎาคม 2553

อยางไรก็ตาม ตามขอตกลงในการลงทุนผูถือหุนทั้ง 2 ราย รวมทั้งกลุมวานิชวงศผูถือหุนหลัก ตองติด

ระยะเวลาหามขายหุน (Silent Period) ทําใหไมสามารถจําหนายไดทันที โดยจะสามารถจําหนายหุนไดเฉพาะสวนที่

ไมอยูในระยะเวลาหามขายหุน (Silent Period) เทานั้น ทั้งนี้ผูถือหุนทั้ง 2 รายและกลุมวานิชวงศจะมีหุนที่ติด

ระยะเวลาหามขายหุน ตามรายละเอียดดังนี้

ติดระยะเวลาหามขายหุน ผูถือหุน ทั้งหมด ไมติดระยะเวลาหาม

ขายหุน 6 เดือน 1 ป รวม

กองทุนรวม 88,888,800 24,722,180 13,500,000 50,666,620 64,166,620

ครอบครัววานิชวงศ 83,150,600 18,317,220 64,833,380 64,833,380

AEV 25,000,000 - 25,000,000 25,000,000

รวม 197,039,400 43,039,400 38,500,000 115,500,000 154,000,000

โดยหุนที่ผูถือหุนหลักทั้ง 3 รายติดระยะเวลาหามขายหุนจะคิดเปนสัดสวนรวมรอยละ 70.00 ของทุนจด

ทะเบียนกอนการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนของบริษัท และคิดเปนสัดสวน 78.16 ของหุนที่ผูถือหุนราย

ใหญทั้ง 3 รายถืออยูในปจจุบัน ทําใหในกรณีที่ผูถือหุนมีการทยอยจําหนายหุนจะสงผลกระทบตอราคาหุนสามัญใน

ตลาดไมรุนแรงมากนัก ในสวนของการสิ้นสุดอายุกองทุนของกองทุนรวมนั้น ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเพื่อ

ขยายระยะเวลาสิ้นสุดกองทุนออกไปเปนเวลา 3 ป 6 เดือน โดยสิ้นสุดวันที่ 26 มกราคม 2557 ซึ่งทําใหกองทุนมี

ระยะเวลาในการทยอยจําหนายหุนเพิ่มขึ้น

ในดานฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกลุมบริษัทนั้น กลุมบริษัทมีการเติบโตของรายไดอยาง

ตอเนื่องระหวางป 2549 – ป 2551 จาก 73.51 ลานบาทในป 2549 เปน 77.93 ลานบาท และ 89.99 ลานบาทในป

2550 และ 2551 ตามลําดับ ทั้งนี้การเติบโตเพิ่มขึ้นของรายไดเปนผลมาจากการขยายตัวเพิ่มขึ้นในสวนของรายได

จากคาบริการจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมเปนหลักจาก 60.68 ลานบาทในป 2549 เปน 64.90 ลานบาทและ 71.76

Page 10: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 7

ลานบาทในป 2550 และ 2551 ตามลําดับ หรือคิดเปนการปรับตัวเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 6.95 และรอยละ 10.57

ตามลําดับ ในขณะที่รายไดจากการขายอันเกิดจากธุรกิจผลิตและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูปมีสัดสวนลดลงจาก

การลดบทบาทในการดําเนินธุรกิจดังกลาวของกลุมบริษัท สําหรับในป 2552 รายไดรวมของกลุมบริษัทปรับตัวลดลง

เปน 67.00 ลานบาท ผลตอเนื่องจากการลดลงของรายไดจากการขายเปนหลักจากการหยุดประกอบธุรกิจ นําเขา

และจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป ประกอบกับการลดลงของรายไดจากการบริการ เนื่องจากกลุมบริษัทมีนโยบายให

ความสําคัญกับการเติบโตของผลกําไรมากกวาการขยายตัวของยอดขาย จึงบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ประเภทคอนโซล ซึ่งเปนซอฟตแวรเกมที่แนวโนมที่จะมีอายุการจําหนายยาวกกวาซอฟตแวรเกมประเภทอื่น และมี

แนวโนมที่จะสรางผลการดําเนินงานที่ดีกวาจากการที่สามารถกําหนดราคาจําหนายตอเกมไดสูงกวาเกมประเภทอื่น

ในขณะที่ตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสูงกวาการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทอื่นไมมากนัก

จากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบธุรกิจดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน และการขยายการดําเนินธุรกิจ

พัฒนาซอฟตแวรเกมไปยังเครื่องเลนเกมประเภทคอนโซลซึ่งมีแนวโนมที่จะมีอัตรากําไรขั้นตนที่สูงกวาซอฟตแวรเกม

สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่ ประกอบกับการบริหารทรัพยากรบุคคลและแผนการผลิตที่มี

ประสิทธิภาพของกลุมบริษัท รวมทั้งการสะสมชุดคําส่ัง (Source Code) และเครื่องมือ (Game Engine) ทําใหการ

พัฒนาซอฟตแวรของกลุมบริษัทสามารถดําเนินการไดรวดเร็วยิ่งขึ้น สงผลใหตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกม

โดยรวมของกลุมบริษัทมีแนวโนมที่ลดลง ดังจะเห็นไดจากอัตรากําไรขั้นตนของกลุมบริษัทปรับตัวเพิ่มขึ้นจากรอยละ

36.08 ในป 2549 เปนรอยละ 51.60 รอยละ 53.63 และรอยละ 63.69 ในป 2550 ป 2551 และป 2552 ตามลําดับ

และเมื่อประกอบกับการบริหารคาใชจายในการบริหารและขายที่รัดกุมและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทําใหกลุมบริษัทมี

ผลการดําเนินงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากที่มีผลขาดทุนสุทธิ 7.07 ลานบาทในป 2549 ลดลงเหลือขาดทุนสุทธิ 5.43

ลานบาทในป 2550 และสามารถแสดงผลการดําเนินงานที่เปนกําไรไดในป 2551 และ ป 2552 เปนมูลคา 9.04 ลาน

บาท และ 13.40 ลานบาทตามลําดับ โดยคิดเปนอัตรากําไรสุทธิตอรายไดรวม เทากับรอยละ (9.62) รอยละ (6.97)

รอยละ 9.93 และ รอยละ 20.00 ตามลําดับ โดยในป 2551 และในป 2552 กลุมบริษัทมีอัตรากําไรตอหุนเทากับ

0.05 บาทตอหุน และ 0.06 บาทตอหุนตามลําดับ (ราคาที่ตราไว 0.50 บาทตอหุน)

สินทรัพยรวมตามงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ณ ส้ินป 2549 เทากับ 186.98 ลานบาท และตามงบ

การเงินรวมของกลุมบริษัท ณ ส้ินป 2550 – 2552 อยูที่ 158.19 ลานบาท 190.18 ลานบาท และ และ 195.69 ลาน

บาทตามลําดับ โดยรายการหลักไดแกสินทรัพยที่ไมมีตัวตน ซึ่งไดแก ซอฟตแวรเกม ชุดคําส่ัง (Source Code) และ

เครื่องมือในการพัฒนาซอฟตแวรเกมตางๆ (Game Engine) ซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 35-45 ของสินทรัพยรวม

ของกลุมบริษัท ในสวนของ โครงสรางของเงินทุนของกลุมบริษัทถือไดวามีความมั่นคงสูง มีความเสี่ยงต่ํา หลงที่มา

ของเงินทุนสวนใหญของกลุมบริษัทเปนแหลงเงินทุนระยะยาว ซึ่งคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 80-90 ของเงินทุน

ทั้งส้ินของกิจการ และสวนใหญมาจากสวนของผูถือหุน โดยกลุมบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนของ

กลุมบริษัทในระดับต่ําอยูที่ 0.18 – 0.50 เทาตลอดระยะเวลาที่ผานมา ทั้งนี้ โครงสรางของเงินทุนของกลุมบริษัทถือ

ไดวามีความสอดคลองกับแหลงที่ใชไปของเงินทุน โดยพิจารณาจากสวนประกอบของสินทรัพย ซึ่งสวนใหญเปน

สินทรัพยไมหมุนเวียนเชนกัน

ทั้งนี้ การเสนอขายหุนสามัญใหแกประชาชนจํานวน 60 ลานหุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท คิด

เปนรอยละ 21.43 ของจํานวนหุนที่ออกและเรียกชําระแลวภายหลังการเสนอขายหุนสามัญในครั้งนี้ จะทําใหทุนจด

ทะเบียนของบริษัทเพิ่มขึ้นเปน 140.00 ลานบาท โดยบริษัทจะดําเนินการนําหุนสามัญของบริษัทเขาเปนหลักทรัพย

Page 11: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 8

จดทะเบียนตลาดหลักทรัพย เอ็มเอไอ โดยมีราคาเสนอขายหุนละ 1.60 บาท มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท มี

ระยะเวลาการจองซื้อตั้งแตเวลา 9.00 น. – 16.00 น. ของวันที่ 11-13 พฤษภาคม 2553

กลุมบริษัทมีวัตถุประสงคในการใชเงินที่ไดรับจากการจําหนายหุนสามัญตอประชาชนในครั้งนี้ จํานวนรวม

ประมาณ 90 ลานบาท หลังหักคาใชจายตาง ๆ แลว ดังตอไปนี้

วัตถุประสงคการใชเงิน สัดสวน

ของมูลคาระดมทุน

ระยะเวลาใชเงินโดยประมาณ

1. เพื่อใชในการวิจัยและพัฒนาซอฟตแวรเกม ~40% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

2. เพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียน ~25% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

3. เพื่อใชลงทุนในอุปกรณในการพัฒนาซอฟตแวรเกม ~10% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

4. เพื่อใชในธุรกิจสถาบันพัฒนาทักษะในการเรียนรู

สําหรับเด็ก

~25% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

รวม 100%

(ผูลงทุนควรอานศึกษาขอมูลในสวนที่ 2 และสวนที่ 3 กอนการตัดสินใจจองซื้อหลักทรัพย)

Page 12: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย

Page 13: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2

บริษัทที่ออกหลักทรัพย

Page 14: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 1

สวนที่ 2

บริษัทที่ออกหลักทรัพย

ชื่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย : บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ : พัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนาย

ที่ตั้งสํานักงานใหญ : 999/9 อาคารดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด ชั้นที่ 24 หองเลขที่

เอ็ มแอล 2407 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวั น เ ขตปทุมวั น

กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้งสตูดิโอพัฒนาเกมและอนิเมชั่น : เลขที่ 67/2 สุขุมวิทซอย 8 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย

กรุงเทพมหานคร

เลขทะเบียนบริษัท : 0107552000120

เว็บไซตบริษัท : http://www.cpigames.com

โทรศัพท : (662) 613 1730-2

โทรสาร : (662) 613 1730-2

กลุมบริษัทมีวัตถุประสงคในการนําเงินที่ไดจากการเสนอขายหลักทรัพยครั้งนี้จํานวนประมาณ 90 ลานบาท

(ภายหลังหักคาธรรมเนียมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย และคาใชจายอื่นที่เกี่ยวของ) เพื่อไปใชตาม

วัตถุประสงคดังนี้

วัตถุประสงคการใชเงิน สัดสวน

ของมูลคาระดมทุน

ระยะเวลาใชเงินโดยประมาณ

1. เพื่อใชในการวิจัยและพัฒนาซอฟตแวรเกม ~40% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

2. เพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียน ~25% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

3. เพื่อใชลงทุนในอุปกรณในการพัฒนาซอฟตแวรเกม ~10% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

4. เพื่อใชในธุรกิจสถาบันพัฒนาทักษะในการเรียนรู

สําหรับเด็ก

~25% ภายในไตรมาสที่ 3 ป 2553

รวม 100%

Page 15: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 2

1. ปจจัยความเสี่ยง

กอนตัดสินใจลงทุนในหุนสามัญของบริษัท นักลงทุนควรใชวิจารณญาณอยางรอบคอบในการพิจารณา

ปจจัยความเสี่ยงในหัวขอนี้รวมทั้งขอมูลอื่น ๆ ที่ปรากฏในเอกสารนี้ ทั้งนี้ปจจัยความเสี่ยงดังกลาวมิไดเปนปจจัย

ความเสี่ยงทั้งหมดที่มีอยูซึ่งอาจมีผลกระทบตอหุนสามัญของบริษัท ดังนั้นปจจัยความเสี่ยงอื่น ๆ ที่บริษัทมิทราบใน

ขณะนี้ หรือที่บริษัทเห็นวาเปนปจจัยความเสี่ยงที่ไมเปนสาระสําคัญในปจจุบันอาจเปนปจจัยความเสี่ยงที่มี

ผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษัทในอนาคต

1.1 ความเส่ียงจากลักษณะธุรกิจที่ขาดแคลนบุคลากร

จากการที่ในอดีตธุรกิจพัฒนาซอฟตแวร เกมเปนอุตสาหกรรมที่ มีบุคลากรที่ มีความชํานาญและ

ประสบการณตรงในการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนขางจํากัด ในขณะที่การดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม

จําเปนตองพึ่งพาความรูความสามารถและประสบการณของบุคลากรในทุกขั้นตอน ไมวาเปนขั้นตอนการออกแบบ

เกม การเขียนชุดคําส่ัง (Source code) การสรางคอมพิวเตอรกราฟกและอนิเมชั่น ตลอดจนการทดสอบแกไข

ขอบกพรองของซอฟตแวรเกม (Debugging) ทําใหในอดีตกลุมบริษัทมีความเสี่ยงในการพึ่งพิงบุคลากรและอาจ

สงผลกระทบตอการดําเนินงานกรณีที่ไมสามารถจัดหาบุคคลากรใหเพียงพอตอความตองการได แตในปจจุบัน

อุตสาหกรรมซอฟตแวร เกมได เติบโตและได รับการสนับสนุนจากหลายฝาย สงผลใหสถาบันการศึกษา

ระดับอุดมศึกษากวา 25 แหงไดมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีความเกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอรและการ

พัฒนาซอฟตแวรเกม ทําใหปจจุบันปญหาเรื่องการขาดแคลนบุคลากรลดลงอยางมาก อยางไรก็ตามแมวาโอกาสที่

จะเกิดความเสี่ยงในลักษณะดังกลาวมีไมมากนัก แตกลุมบริษัทมีการกําหนดแนวทางเพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะ

เกิดขึ้นไดจากการขาดแคลนทรัพยากรบุคคล ดังนี้

• จัดทําแผนการผลิตและการใชทรัพยากรบุคคลลวงหนา โดยจัดทําเปนแผนงานพัฒนาซอฟตแวรเกม

ประจําป และมีการทบทวนปรับปรุงใหมีความเปนปจจุบันอยูเสมอ เพื่อจัดสรรทรัพยากรบุคคลใหมีความ

สอดคลองกับแผนการผลิต

• วาจางบริษัทภายนอก (Outsource) ในการพัฒนาบางสวนงานของซอฟตแวรเกม อาทิเชน ชุดคําส่ังยอย

ภายในเกม คอมพิวเตอรกราฟกและอนิเมชั่นบางสวน เปนตน ในกรณีที่บุคลากรภายในของกลุมบริษัทไม

เพียงพอ หรือเปนลักษณะงานที่ตองการทักษะเฉพาะดาน ซึ่งการวาจางบริษัทภายนอกนั้น นอกจากเพื่อให

สามารถผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมไดทันตามกําหนดแลว ยังถือเปนนโยบายในการควบคุมคาใชจาย

ดานบุคลากรของกลุมบริษัทใหมีความเหมาะสม โดยกลุมบริษัทมีนโยบายวาจางบริษัทภายนอกรายที่เคย

รับงานของกลุมบริษัทเปนหลักเนื่องจากในการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น คุณภาพงานเปน

องคประกอบสําคัญที่จะทําใหการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมสามารถสงมอบไดทันตามกําหนด ทั้งนี้

กลุมบริษัทจะเผื่อระยะเวลาในกําหนดการสงงาน รวมทั้งการกําหนดคาปรับในสัญญาวาจางในกรณีที่ไม

สามารถสงงานไดตามกําหนดในสัญญาการวาจางบุคคลภายนอกในการพัฒนาซอฟตแวรเกม

• การรักษาทรัพยากรบุคคล โดยจัดใหพนักงานของกลุมบริษัทไดรับสวัสดิการและคาแรงในระดับเดียวกับ

บริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน และจัดใหมีคาตอบแทนพิเศษสําหรับพนักงานที่มีผลงานที่มีคุณภาพและ

เสร็จทันตามกําหนดเวลาซึ่งเปนการสรางแรงจูงใจแกพนักงานในอีกทางหนึ่ง

Page 16: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 3

• สรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพโดยมีการจัดการประกวดเพื่อคัดเลือกนักออกแบบเกมที่มีความสามารถและมี

แนวคิดแปลกใหมขึ้นเพื่อคัดเลือกนักพัฒนาซอฟตแวรเกมและนักพัฒนากราฟกอนิเมชั่นรุนใหมที่มี

ความสามารถเพื่อเขาทํางานกับบริษัท และกลุมบริษัทยังไดวางแผนในการจัดสงพนักงานไปอบรมพัฒนา

ทักษะความสามารถเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของกลุมบริษัท

กลุมบริษัทเชื่อวาดําเนินการดังกลาวขางตน จะสามารถชวยใหกลุมบริษัทสามารถบริหารทรัพยากรบุคคล

ใหสอดคลองกับแผนการพัฒนาซอฟตแวรเกมไดอยางมีประสิทธิภาพ และลดผลกระทบอันอาจจะเกิดขึ้นไดในกรณี

ขาดแคลนบุคลากรได

1.2 ความเส่ียงจากการถูกละเมิดลิขสิทธิ์

การละเมิดลิขสิทธิ์นับเปนหนึ่งในปญหาสําคัญของธุรกิจซอฟตแวรทั่วโลก ปจจุบันการละเมิดลิขสิทธิ์ไม

เพียงจํากัดในรูปแบบของแผนซอฟตแวรเกมละเมิดลิขสิทธิ์เทานั้น แตยังมีการเผยแพรผานทางเว็บไซต โดยเฉพาะ

ซอฟตแวรที่มีราคาสูงก็ยิ่งมีอัตราการละเมิดลิขสิทธิ์มากขึ้น การปองกันการเผยแพรซอฟตแวรอยางผิดกฎหมายบน

อินเตอรเน็ตยังเปนเรื่องควบคุมไดยาก ผูพัฒนาซอฟตแวรจึงตองหามาตรการอื่นในการปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ ใน

ขณะเดียวกันทางดานผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลก็ไดมีการปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวรโดยการจํากัดพื้นที่

จัดจําหนายของเครื่องเลนและปรับปรุงเทคโนโลยีของเครื่องเลนเกมคอนโซลทําใหการละเมิดลิขสิทธิ์ทําไดยากยิ่งขึ้น

ในการปองกันปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุมบริษัทไดใชกลยุทธในการวางกลุมเปาหมายและราคาสินคา

เปนเครื่องมือ โดยกลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมแคชชวลสําหรับเด็กและซอฟตแวรเกมในลักษณะ

ส่ือการศึกษาเปนหลัก ซึ่งลูกคากลุมเปาหมายของเกมประเภทดังกลาว ไดแก กลุมเด็ก ผูหญิงและครอบครัวซึ่งเปน

กลุมตลาดขนาดใหญ โดยผูบริโภคกลุมนี้มีอัตราการซื้อซอฟตแวรเกมละเมิดลิขสิทธิ์นอยกวาซอฟตแวรเกมซึ่งมีกลุม

ผูเลนวัยรุนชายเปนลูกคากลุมเปาหมาย ขณะเดียวกันการกําหนดราคาขายซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทที่ไมสูงมาก

เมื่อเทียบกับอัตราคาครองชีพในประเทศที่ทําการจัดจําหนาย ทําใหผูซื้อตัดสินใจซื้อไดงายขึ้นและสามารถลด

แนวโนมที่จะถูกละเมิดลิขสิทธิ์ไปไดในระดับหนึ่ง

นอกจากนี้ กลุมบริษัทไดจัดจําหนายซอฟตแวรเกมในกลุมประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกาเปนหลัก ซึ่งกลุม

ประเทศในภูมิภาคดังกลาวมีความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมายการละเมิดลิขสิทธิ์มากกวาในประเทศไทยและ

ภูมิภาคเอเชีย ทําใหกลุมบริษัทเชื่อวาผลกระทบจากการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวรเกมตอกลุมบริษัทจะไมอยูในระดับ

ที่สูงมากนัก

1.3 ความเส่ียงจากการลาสมัยของสินคา

การลาสมัยของสินคา คือ ซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัท อาจเกิดขึ้นไดใน 2 ลักษณะ คือ การเปลี่ยนแปลง

เทคโนโลยีซึ่งอาจทําใหซอฟตแวรเกมที่มีอยูของกลุมบริษัทเกิดความลาสมัยทางเทคโนโลยีโดยใชงานไดอยางไม

สมบูรณหรือไมสอดคลองกับประสิทธิภาพของอุปกรณเครื่องเลน อาจทําใหความนิยมในซอฟตแวรเกมดังกลาวลดลง

และ การที่รูปลักษณหรือแนวคิดของซอฟตแวรเกมที่มีอยูของกลุมบริษัทไมเหมาะสมสอดคลองกับสภาวะในชวงเวลา

นั้นๆ

โดยกลุมบริษัทเชื่อวาการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทนั้น ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

ในระดับที่ไมสูงมากนัก เนื่องจากธุรกิจเกมคอนโซลซึ่งเปนลูกคากลุมเปาหมายหลักของกลุมบริษัทนั้น มีผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซลรายใหญเพียง 3 รายในปจจุบัน ไดแก Nintendo Co., Ltd (“นินเทนโด”) Sony Corporation

Page 17: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 4

(”โซนี่”) และ Microsoft Corporation (”ไมโครซอฟท”) แมวาผูผลิตแตละรายอาจมีการแขงขันกันดานเทคโนโลยี และ

ประสิทธิภาพของเครื่องเลน แตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีแตละครั้งตองใชเงินลงทุนในการวิจัยและพัฒนา

เปนมูลคาที่สูงมาก ทําใหการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีเครื่องเลนเกมคอนโซลในแตละครั้งจึงมีระยะเวลาคอนขางนาน

กลาวคือประมาณ 7 ปผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลจึงนําเสนอเครื่องเลนรุนใหมออกสูตลาด ทําใหสินคาของกลุม

บริษัทซึ่งแมวาเปนสินคาที่มีความเกี่ยวพันกับเทคโนโลยีโดยตรง แตดวยลักษณะที่เฉพาะตัวของตลาดเกมคอนโซล

ทําใหมีความลาสมัยต่ํา นอกจากนั้น โดยสวนใหญเมื่อผูผลิตเกมคอนโซลนําเสนอเครื่องเลนรูปแบบใหมสูตลาด กลุม

บริษัทจะทําการพิจารณารายละเอียดของเทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลง และทําการปรับปรุงโปรแกรมซอฟตแวรเกมของ

กลุมบริษัทในกรณีที่สามารถปรับปรุงใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีได ซึ่งกรณีสามารถปรับปรุง

รายละเอียดดังกลาวอาจสงผลใหซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทสามารถทําการจําหนายไดอยางตอเนื่อง

ในดานความลาสมัยที่อาจจะเกิดขึ้นไดจากการที่รูปลักษณของเกมหรือแนวคิดของเกมไมสอดคลองกับ

สภาวการณในชวงเวลานั้นๆ กลุมบริษัทเชื่อวาโอกาสที่จะเกิดความลาสมัยของสินคาดังกลาวนั้นมีในระดับต่ํา ทั้งนี้

เนื่องจากกลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทแคชชวล และจะเปนซอฟตแวรเกมสําหรับครอบครัวและ

เด็ก ซึ่งผูเลนเกมประเภทดังกลาวโดยสวนใหญจะเปนกลุมที่อาจถือไดวาไดรับอิทธิพลจากสภาวะแวดลอมคอนขาง

ต่ําทําใหลักษณะความชอบความสนใจเปนไปอยางตอเนื่อง มิไดเปล่ียนแปลงตามสภาวะแวดลอม

ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ทําใหความเสี่ยงในดานความลาสมัยของสินคาของกลุมบริษัทนั้นถือวาอยูใน

ระดับตํ่า อยางไรก็ตาม เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นไดนั้น กลุมบริษัทไดทําการติดตาม ขาวสารและการ

เคลื่อนไหว เปล่ียนแปลงในอุตสาหกรรมอยูอยางสม่ําเสมอ เพื่อรับทราบถึงการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่อาจมี

ผลกระทบการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท และใหสามารถดําเนินการหามาตรการรองรับไดอยางทันตอเวลา

ตลอดจนกลุมบริษัทมีวาจางบริษัทวิจัยพฤติกรรมผูบริโภคของเยอรมันและญี่ปุน เพื่อติดตามลักษณะความชอบ

ความสนใจ ของผูเลนกลุมเปาหมาย เพื่อนํามาเปรียบเทียบปรับปรุงซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทใหมีความทันสมัย

อยูเสมอ

1.4 ความเส่ียงจากการรั่วไหลของขอมลูหรือแนวคิดของเกม (Game Concept Design)

ในการดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น แนวคิดของเกม (Game Concept Design) ถือเปนหนึ่งใน

ปจจัยหลักที่จะสงผลตอความสําเร็จและการไดรับความนิยมของซอฟตแวรเกมที่ทําการพัฒนา โดยกลุมบริษัทอาจ

ไดรับผลกระทบในกรณีที่มีการรั่วไหลของขอมูลเกมหรือแนวคิดของเกมไปยังผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายอื่น และมี

ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายอื่นทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมในลักษณะเดียวหรือลักษณะใกลเคียงกันซึ่งอาจสงผล

กระทบตอโอกาสในการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทได

ทั้งนี้ กลุมบริษัทเชื่อวาโอกาสที่จะเกิดการรั่วไหลของขอมูลหรือแนวคิดของเกมไปใหผูประกอบการรายอื่น

อยูในระดับต่ํา โดยการรั่วไหลของขอมูลอาจเกิดขึ้นไดในกระบวนการผลิตซึ่งกลุมบริษัทมีการกระจายงานในแตละ

ขั้นตอนของการพัฒนาเกมไปยังหลายๆ ฝาย ทั้งในสวนบริษัทยอยของบริษัทหรือบุคคลภายนอก (Outsource) ทั้งนี้

จากการที่ผูที่จะทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยเฉพาะในสวนของเกมคอนโซลจะตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการ

จากบริษัทผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล ซึ่งมีผูประกอบการในไทยเพียงไมกี่รายที่ไดรับอนุญาตดังกลาวทําใหโอกาส

ในการรั่วไหลของขอมูลไปยังคูแขงของกลุมบริษัทในประเทศมีในระดับต่ํา

Page 18: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 5

อยางไรก็ตาม เพื่อปองกันความเสี่ยงดังกลาว กลุมบริษัทจึงกําหนดเงื่อนไขการวาจางบุคลากรทั้งภายใน

และภายนอกใหตองรักษาขอมูลและความลับทางธุรกิจของบริษัท และมีนโยบายวาจางบุคคลภายนอกในงานเฉพาะ

บางสวนเทานั้น เพื่อไมใหบุคคลภายนอกสามารถลอกเลียนแบบซอฟตแวรเกมทั้งหมดได นอกจากนั้นในสวนของ

บุคคลากรภายในกลุมบริษัทมีการกําหนดนโยบายในการเขาถึงขอมูลตามระดับตําแหนงและหนาที่ของพนักงานแต

ละคน โดยพนักงานแตละคนจะสามารถเขาถึงขอมูลที่เกี่ยวของกับการทํางานของตนเทานั้น ซึ่งจะสามารถชวยลด

ความเสี่ยงในการรั่วไหลของรายละเอียดและแนวคิดของเกมไดในระดับหนึ่ง

1.5 ความเส่ียงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

จากการที่รายไดหลักของกลุมบริษัทมาจากรายไดคาบริการจากการพัฒนาซอฟตแวรเกม ซึ่งปจจุบันกลุม

บริษัทมีการนําเสนอตอลูกคาตางประเทศและรับรูรายไดเปนเงินสกุลดอลลารสหรัฐและเงินยูโรเปนหลัก โดยโดยในป

2551 และป 2552 กลุมบริษัทมีรายไดเปนเงินตราตางประเทศเปนจํานวนเงิน 47.81 ลานบาท และ 49.60 ลานบาท

หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 59.14 และรอยละ 81.82 ของรายไดรวมตามลําดับ ขณะที่กลุมบริษัทมีตนทุนและ

คาใชจายในการผลิตเปนสกุลเงินบาททั้งหมด ทําใหกลุมบริษัทอาจความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

เงินตราตางประเทศไดหากเกิดสถานการณที่ทําใหที่คาเงินบาทแข็งคาขึ้นจะทําใหรายไดบริการจากการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมของกลุมบริษทัมีมูลคาลดลง

จากการเปลี่ยนแปลงวิธีการรับรูรายได เปนรับรูรายไดเมื่อสงมอบงาน ทําใหคาตอบแทนตามขั้นงานสําเร็จ

ที่กลุมบริษัทไดรับถูกบันทึกเปนรายการรายไดรับลวงหนา ซึ่งทําการแปลงเงินตราสกุลตางประเทศเปนเงินตราสกุล

บาท ณ วันที่ไดรับชําระเงินจริง ดวยการรับรูรายไดในลักษณะดังกลาว ทําใหโอกาสที่จะเกิดผลกําไรหรือขาดทุนจาก

อัตราแลกเปลี่ยนของกลุมบริษัทจะเกิดขึ้นจากการชําระเงินหลังการสงมอบงานเทานั้น ดังนั้นความเสี่ยงในเรื่องความ

ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนของกลุมบริษัทที่มีตองบการเงินจึงไมสูงมากนัก อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทตระหนักดีวา

กลุมบริษัทอาจมีความเสี่ยงจากความผันผวนในเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเชิงการประกอบธุรกิจ เนื่องจากคาตอบแทน

ของการใหบริการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมถูกกําหนดขึ้นในวันที่ทําสัญญา ในขณะที่การรับชําระคาตอบแทน

ตามงวดงานนั้นเปนการทยอยรับชําระในระยะเวลาประมาณ 3-6 เดือน ซึ่งในกรณีที่มีความผันผวนของอัตรา

แลกเปลี่ยนเกิดขึ้นนั้น อาจทําใหคาตอบแทนที่ไดรับรวมในแตละชิ้นงานแตกตางจากที่กลุมบริษัทคาดการณไวได

กลุมบริษัทไดบริหารความเสี่ยงดังกลาวโดยการติดตามขาวสารที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงอัตรา

แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อวางแผนการแลกเปลี่ยนรายไดเงินตราตางประเทศเปนสกุลเงิน

บาทในชวงเวลาที่เหมาะสม ทั้งนี้ดวยลักษณะการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทที่มีการรับชําระเงินคาตอบแทนตาม

ขั้นความสําเร็จของงาน ซึ่งขึ้นอยูกับการตรวจสอบคุณภาพของซอฟตแวรเกม ทําใหอาจไมสามารถกําหนดเวลาที่แน

ชัดในการรับชําระได ดังนั้นการปองกันความเสี่ยงของอัตราแลกเปลี่ยนโดยการซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา

(Forward Contract) จึงดําเนินการไดคอนขางลําบาก อยางไรก็ตามดวยลักษณะการแบงจายชําระเปนงวดตามขั้น

ความสําเร็จของงานนั้น ทําใหรายรับแตละชวงเวลาของกลุมบริษัทมีไมสูงมากนัก กลุมบริษัทจึงเชื่อวาผลกระทบจาก

ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนที่อาจเกิดขึ้นไดกับกลุมบริษัทนั้นอยูในระดับที่ไมสูงมากนัก

Page 19: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 6

1.6 ความเส่ียงจากการผิดนัดชําระหนี้

จากการที่ ณ 31 ธันวาคม 2551 และ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทมีหนี้ที่คางชําระเกินกําหนดเกินกวา 3

เดือนเปนสัดสวนประมาณรอยละ 51.23 และรอยละ 25.64 ของลูกหนี้การคารวม คิดเปนมูลคารวม 14.37 ลานบาท

และ 9.80 ลานบาท ตามลําดับ โดยบริษัทไดทําการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลว 2.32 ลานบาท และ 5.43 ลาน

บาท ตามลําดับ ซึ่งลูกหนี้ดังกลาวประกอบดวยลูกหนี้ที่อยูระหวางการดําเนินคดีฟองรอง และลูกหนี้ที่อยูระหวางการ

เจรจาปรับสภาพหนี้ ทําใหกลุมบริษัทมีความเสี่ยงที่อาจจะไมไดรับชําระหนี้ตามมูลหนี้ที่แสดงอยู และจะสงผลตองบ

การเงินของกลุมบริษัทในอนาคตได

อยางไรก็ตาม เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต กลุมบริษัทมีการแนวทางในการ

ดําเนินงานโดยกําหนดนโยบายในการตรวจสอบเครดิตของคูคารายใหมอยางรัดกุม รวมทั้งมีการสอบทานสถานะ

ทางการเงินของลูกคาปจจุบันอยางสม่ําเสมอ โดยมีการประสานงานกับธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขา (Ex-Im

Bank) เพื่อตรวจสอบเครดิตและฐานะทางการเงินของลูกคาของกลุมบริษัท ทั้งนี้ ในกรณีที่ลูกคาของกลุมบริษัทมี

ปญหาในการชําระเงินตามงวดสัญญา กลุมบริษัทจะไมทําการสงมอบงานในขั้นงานถัดไปใหแกลูกคา นอกจากนี้

กลุมบริษัทไดมีการปรับปรุงสัญญาการพัฒนาซอฟตแวร โดยมีขอความที่ระบุอยางชัดเจนวากลุมบริษัทสามารถริบ

เงินที่ลูกคามีการจายชําระตามแตละขั้นความสําเร็จงานไดในกรณีที่ลูกคาของกลุมบริษัทผิดนัดชําระคาบริการ ซึ่ง

การกําหนดนโยบายในการดําเนินงานในการตรวจสอบเครดิตและฐานะทางการเงินของคูคา จะชวยใหผลกระทบและ

ความเสี่ยงของกลุมบริษัทไดในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ เนื่องจากลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรเกมโดยสวนใหญเปนของกลุม

บริษัท ทําใหในกรณีดังกลาว กลุมบริษัทยังสามารถนําเสนอซอฟตแวรเกมใหแกผูจัดจําหนายหรือลูกคารายอื่นไดใน

อนาคตไดอีกดวย

1.7 ความเส่ียงจากการพึ่งพิงผูบริหาร

บริษัทและบริษัทยอยทั้ง 3 บริษัทอยูภายใตการบริหารงานโดยผูบริหารหลักคือ นายชนินทรเดช วานิชวงศ

ปจจุบันดํารงตําแหนงประธานกรรมการ และนายชนินทร วานิชวงศ ปจจุบันดํารงตําแหนงกรรมการผูจัดการ ซึ่ง

ปจจุบันผูบริหารทั้งสองทานและบุคคลที่เกี่ยวของตามมาตรา 258 ถือหุนของบริษัทรวมกันคิดเปนสัดสวนรอยละ

37.80 และรอยละ 29.70 ของทุนชําระแลวของบริษัทกอนและหลังการเสนอขายหุนแกประชาชน ตามลําดับ ทั้งนี้

ผูบริหารทั้งสองเปนผูกอตั้งบริษัทและมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายทางธุรกิจทั้งในดานการผลิต การตลาด

การกําหนดชองทางการจัดจําหนาย และการบริหารงานของกลุมบริษัท

อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทไดวางระบบการบริหารจัดการโดยกําหนดใหคณะกรรมการที่มีประสบการณใน

การบริหารธุรกิจเขามามีสวนรวมในการบริหารและแสดงความคิดเห็นในเรื่องสําคัญของกลุมบริษัท และยังไดแบง

สวนการบริหารงานออกเปน 4 สวนตามแผนผังองคกรเพื่อกระจายอํานาจการบริหารงานไปยังผูบริหารระดับ

รองลงมา พรอมกับใหบุคลากรที่มีความสามารถและประสบการณเปนผูมีอํานาจตัดสินใจในแตละสวนงาน ทั้งนี้หาก

พิจารณาองคประกอบของการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัท ในสวนของงานดานการพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้นกลุม

บริษัทไดเปนผูพัฒนาซอฟตแวรเกมที่ไดรับสิทธิในการพัฒนาซอฟตแวรเกมจากนินเทนโด (Nintendo Licensed

Developer) ซึ่งแสดงถึงศักยภาพของบริษัทในดานการพัฒนาซอฟตแวร โดยกลุมบริษัทมีผูอํานวยการฝายผลิตและ

บุคลากรในฝายการผลิตที่มีความสามารถและมีประสบการณในการพัฒนาเกมจนทําใหซอฟตแวรเกมของกลุม

บริษัทชนะการประกวดในระดับประเทศและระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ขณะเดียวกันในดานการตลาด กลุมบริษัท

ไดสรางเครื่องหมายการคา “CyberPlanet Interactive” ใหเปนที่รูจักทั่วไปในฐานะหนึ่งในผูบุกเบิกธุรกิจซอฟตแวร

Page 20: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 7

เกมคอมพิวเตอรและซอฟตแวรเกมคอนโซลในประเทศไทย และสามารถจัดจําหนายซอฟตแวรเกมผานทางผูจัด

จําหนายรายใหญที่มีชื่อเสียงในระดับโลก นอกจากนี้ในดานของบุคลากร กลุมบริษัทยังมีนโยบายในการสรรหา

บุคลากรที่มีความสามารถและความคิดสรางสรรค และพัฒนาบุคลากรที่มีอยูเดิมอยางตอเนื่องเพื่อรองรับการเติบโต

ของกลุมบริษัท ซึ่งจะทําใหกลุมบริษัทสามารถลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงผูบริหารได

1.8 ความเส่ียงจากการจําหนายหุนของผูถือหุนรายใหญ

บริษัทมีผูถือหุนรายใหญ 3 กลุม ไดแก กลุมวานิชวงศ กองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดยอย ซึ่งจัดตั้งโดยกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม (“กองทุนรวม”) และบริษัท เอเชีย อควิตี้ เวน

เจอร จํากัด (“AEV”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของ บริษัท โกลเบล็กซ โฮลดิ้งส แมนเนจเมนท จํากัด (มหาชน) (“GBX”) ถือ

หุนจํานวน 83,150,600 หุน 88,888,800 หุน และ 25,000,000 หุนคิดเปนสัดสวนรอยละ 29.70 รอยละ 31.75 และ

รอยละ 8.93 ของทุนจดทะเบียนภายหลังจากเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกประชาชนทั่วไป และจากการที่ผูถือหุน

รายใหญ 2 ราย คือ กองทุนรวม และ AEV เปนการลงทุนในลักษณะกองทุน ทําใหกลุมบริษัทอาจมีความเสี่ยงใน

กรณีที่ผูถือหุนดังกลาวอาจทําการทยอยจําหนายหุนของบริษัท ภายหลังจากการเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย

เอ็ม เอ ไอ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอราคาหุนของบริษัทได โดยเฉพาะในสวนของกองทุนรวม ซึ่งจะสิ้นสุดอายุกองทุน

ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2553

อยางไรก็ตาม ตามขอตกลงในการลงทุนผูถือหุนทั้ง 2 ราย รวมทั้งกลุมวานิชวงศผูถือหุนหลัก ตองติด

ระยะเวลาหามขายหุน (Silent Period) ทําใหไมสามารถจําหนายไดทันที โดยจะสามารถจําหนายหุนไดเฉพาะสวนที่

ไมอยูในระยะเวลาหามขายหุน (Silent Period) เทานั้น ทั้งนี้ผูถือหุนทั้ง 2 รายและกลุมวานิชวงศจะมีหุนที่ติด

ระยะเวลาหามขายหุน ตามรายละเอียดดังนี้

ติดระยะเวลาหามขายหุน ผูถือหุน ทั้งหมด ไมติดระยะเวลาหาม

ขายหุน 6 เดือน 1 ป รวม

กองทุนรวม 88,888,800 24,722,180 13,500,000 50,666,620 64,166,620

ครอบครัววานิชวงศ 83,150,600 18,317,220 64,833,380 64,833,380

AEV 25,000,000 - 25,000,000 25,000,000

รวม 197,039,400 43,039,400 38,500,000 115,500,000 154,000,000

โดยหุนที่ผูถือหุนหลักทั้ง 3 รายติดระยะเวลาหามขายหุนจะคิดเปนสัดสวนรวมรอยละ 70.00 ของทุนจด

ทะเบียนกอนการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนของบริษัท และคิดเปนสัดสวน 78.16 ของหุนที่ผูถือหุนราย

ใหญทั้ง 3 รายถืออยูในปจจุบัน ทําใหในกรณีที่ผูถือหุนมีการทยอยจําหนายหุนจะสงผลกระทบตอราคาหุนสามัญใน

ตลาดไมรุนแรงมากนัก ในสวนของการสิ้นสุดอายุกองทุนของกองทุนรวมนั้น ปจจุบันทางกองทุนไดรับการอนุมัติจาก

คณะรัฐมนตรีเพื่อขยายระยะเวลาสิ้นสุดกองทุนออกไปเปนเวลา 3 ป 6 เดือน โดยสิ้นสุดวันที่ 26 มกราคม 2557 ซึ่ง

ทําใหกองทุนมีระยะเวลาในการทยอยจําหนายหุนเพิ่มขึ้น

Page 21: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.1 หนา 8

1.9 ความเส่ียงจากการเสนอขายหลักทรัพย

บริษัทมีความประสงคจะเสนอขายหุนตอประชาชนในครั้งนี้กอนที่จะไดรับผลการพิจารณาของตลาด

หลักทรัพย เอ็มเอไอ ทั้งนี้บริษัทไดยื่นคําขออนุญาตนําหลักทรัพยเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็มเอไอ แลว

เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2552 ซึ่งบริษัท ฟนเน็กซ แอดไวเซอรี่ จํากัด ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินไดพิจารณา

คุณสมบัติของบริษัทในเบื้องตนแลว เห็นวาบริษัทมีคุณสมบัติครบถวนที่จะสามารถเขาจดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพยตามขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การรับหลักทรัพยจดทะเบียนใน “ตลาด

หลักทรัพยใหม” พ.ศ. 2546 ฉบับลงวันที่ 24 มีนาคม 2546 (ปรับปรุง 25 กุมภาพันธ 2552) เวนแตคุณสมบัติเรื่อง

การกระจายการถือหุนใหแกนักลงทุนรายยอย ซึ่งบริษัทจะตองมีผูถือหุนสามัญรายยอยไมนอยกวา 300 ราย ซึ่ง

ขึ้นอยูกับผลของการเสนอขายหุนตอประชาชน บริษัทจึงยังมีความไมแนนอนที่จะไดรับอนุญาตจากตลาดหลักทรัพย

ใหเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาด เอ็ม เอ ไอ ดังนั้น ผูลงทุนจึงอาจมีความเสี่ยงเกี่ยวกับสภาพคลองในการซื้อ

ขายหุนของบริษัทในตลาดรองและอาจไมไดรับผลตอบแทนจากการขายหุนไดตามราคาที่คาดการณไว หาก

หลักทรัพยของบริษัทไมสามารถเขาจดทะเบียนได

Page 22: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 1

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1 ความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) มีชื่อภาษาอังกฤษวา “CyberPlanet

Interactive Public Company Limited” กอตั้งขึ้นในป 2543 ดวยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค

หลักในการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายและการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมภายใตเครื่องหมาย

การคา “CyberPlanet Interactive” โดยในระยะเริ่มตนของการดําเนินธุรกิจบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกม

สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล(“เกมคอมพิวเตอร”) หลังจากนั้นกลุมบริษัทไดขยายขอบเขตการทําธุรกิจ โดย

ทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ และเขาสูการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับ

เครื่องเลนเกมคอนโซล (“เกมคอนโซล” หรือ “Console game”) ซึ่งปจจุบันการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเคร่ือง

คอนโซลถือเปนรายไดหลักของกลุมบริษัท ซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรเกมแรกที่บริษัทเปนผูพัฒนาเพื่อจัดจําหนาย

ในประเทศคือเกม “Magic Chronicle” ซึ่งถือไดวาเปนเกมแนววางแผนกลยุทธ (Real-time strategy) เกมแรกของที่

ผลิตโดยผูประกอบการชาวไทย ทําใหบริษัทเริ่มมีชื่อเสียงเปนที่รูจักในฐานะหนึ่งในเปนผูบุกเบิกการพัฒนาซอฟตแวร

เกมคอมพิวเตอรในประเทศไทย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 140,000,000 บาท และทุนจดทะเบียนชําระแลวทั้งส้ิน

110,000,000 บาท โดยกลุมครอบครัววานิชวงศและบุคคลที่เกี่ยวของตามมาตรา 258 ซึ่งเปนผูบริหารหลักของกลุม

บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 37.80 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัท และกองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนใน

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และ บริษัท เอเซีย อิควิตี้ เวนเจอร จํากัด ถือหุนในสัดสวนรอยละ 44.44 และรอย

ละ 18.18 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัทตามลําดับ (ดูรายละเอียดในสวนที่ 2 ขอ 8.2 เรื่องผูถือหุน)

ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญของบริษัทสามารถสรุปไดดังนี้

ป 2543 - กอตั้งบริษัท เอเชี่ยน เดร็ก สตูดิโอ จํากัด ดวยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท โดยครอบครัววานิชวงศ

ป 2544 - จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อบริษัทเปนบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด และเพิ่มทุนจด

ทะเบียนชําระแลวเปน 9,000,000 บาท เพื่อลงทุนในการวิจัยและพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร

- ลงนามในสัญญารวมลงทุนกับกองทุนรวมเพื่อการรวมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

บริหารโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวมวรรณซึ่งถือหุนในสัดสวนรอยละ 44.44 ของทุนจด

ทะเบียนชําระแลวของบริษัท

ป 2546 - เพิ่มทุนจดทะเบียนชําระแลวเปน 17,000,000 บาท และ 23,400,000 บาท ตามลําดับ เพื่อใช

สนับสนุนสวนงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรและซอฟตแวรเกมสําหรับ

โทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งเพื่อเปนเงินทุนกอตั้งบริษัทยอย 3 บริษัทไดแก 1) บริษัท แพลนเน็ต จี จํากัด

มีทุนจดทะเบียนชําระแลว 5,000,000 บาท โดยบริษัทถือหุนคิดเปนสัดสวนรอยละ 99.99 เพื่อ

ประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม 2) บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด มีทุนจดทะเบียนชําระแลว

1,000,000 บาท โดยบริษัทถือหุนคิดเปนสัดสวนรอยละ 99.99 เพื่อประกอบธุรกิจรานอินเตอรเน็ตคา

เฟ และ 3) บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด (เดิมชื่อเปนบริษัท จี 3 เอ็นเตอรไพรส จํากัด) ทุน

จดทะเบียนแรกเริ่ม 18,000,000 บาทและเพิ่มทุนจดทะเบียนในปเดียวกันเปน 24,000,000 บาท โดย

Page 23: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 2

บริษัทถือหุนคิดเปนสัดสวนรอยละ 75.00 เพื่อประกอบธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายแผนซีดีเกม

สําเร็จรูป

ป 2547 - กอตั้งบริษัท บลูวิซารด สตูดิโอ จํากัด ดวยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท โดยบริษัทถือหุนคิดเปน

สัดสวนรอยละ 99.99 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตภาพกราฟกและอนิเมชั่น เพื่อรองรับธุรกิจพัฒนา

ซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัท

- ขยายการดําเนินธุรกิจไปยังระดับภู มิภาคเอเชียแปซิฟกโดยพัฒนาซอฟตแวร เกมสําหรับ

โทรศัพทเคลื่อนที่และ Pocket PC และจําหนายใหกับผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่และ Pocket PC อาทิ

เชน Dopod, Nokia และ Samsung เปนตน เพื่อติดตั้งซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทใหกับลูกคาใน

ระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟก

- รวมมือกับสํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (SIPA) ในโครงการ ICT เพื่อรวมพัฒนา

ซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรที่สนับสนุนโบบายจากทางรัฐบาลเพื่อแจกจายแกเยาวชนและประชาชน

ผูสนใจโดยไมคิดคาใชจาย อันประกอบดวย

- เกมมูนตรา คิด (Moontra Kid) ซึ่งมีจุดประสงคเพื่อใหเด็กและเยาวชนตระหนักถึงภัยจาก

ยาเสพติดและมีความรูเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด โดยมีกลุมเปาหมายที่เด็กวัยประถมศึกษา ซึ่ง

เกมดังกลาวไดรับความนิยมและไดรับรางวัล Best Entertainment Application ประจําป 2547

จาก Thailand ICT Award (“TICTA”) และรางวัลชนะเลิศในประเภท Media and Entertainment

ประจําป 2547 จาก Asia Pacific ICT Award (“APICTA”)

- เกมซีอีโอ ซิตี้ (CEO City) ซึ่งมีจุดประสงคเพื่อใหเกิดความเขาใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี

วัฒนธรรมและสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) ของจังหวัดสําคัญ ๆ ในประเทศไทย โดย

มีกลุมเปาหมายเปนกลุมวัยรุนตั้งแตระดับชั้นมัธยมศึกษาจนถึงระดับมหาวิทยาลัย และไดรับ

รางวัล Best Entertainment Application ประจําป 2548 จาก TICTA และรางวัลยอดเยี่ยมใน

ประเภท Media and Entertainment ประจําป 2548 จาก APICTA

- เกมทองเที่ยวทั่วไทยบองกาบองกา (Tourism Rally in Thailand: Bonga Bonga) ซึ่งมี

จุดประสงคเพื่อใหผูเลนไดทราบถึงขอมูลสถานที่ทองเที่ยวตาง ๆ ในประเทศไทย โดยมีเด็กเล็ก

เปนกลุมเปาหมายหลัก และไดรับรางวัล Best of Tourism and Hospitality Application

ประจําป 2548 จาก TICTA

- ไดรับการสงเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) เปนระยะเวลา 8 ป

- เพิ่มทุนจดทะเบียนชําระแลวเปน 45,000,000 บาทเพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกม

ป 2548 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 100,000,000 บาท เพื่อขยายการดําเนินธุรกิจไปยังการพัฒนาซอฟตแวรเกม

คอนโซลและเพื่อลงทุนเพิ่มเติมในบริษัทยอย

- เพิ่มทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัท บลูวิซารด สตูดิโอ จํากัด และบริษัท แพลนเน็ต จี จํากัด เปน

5,000,000 บาท และ 10,000,000 บาท ตามลําดับ

Page 24: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 3

- ขยายธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมและออกจําหนายไปยังผูจัดจําหนายเกมในตางประเทศ ทั้งใน

สหรัฐอเมริกาและยุโรป

ป 2549 - เริ่มดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลนเกม Playstation2 ผานผูจัดจําหนายใน

อเมริกา

ป 2550 - เริ่มดําเนินธุรกิจพัฒนาเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลนเกม Nintendo DS และ Nintendo Wii

- บริษัท เอเชีย อิควิตี เวนเจอร จํากัด ซื้อหุนจากผูถือหุนเดิมจํานวน 100,000 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ

10.00 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัท

ป 2551 - เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 110,000,000 บาทเพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการพัฒนาซอฟตแวรเกม

โดยเสนอขายใหแก บริษัท เอเชีย อิควิตี้ เวนเจอร จํากัด จํานวน 100,000 หุน ทําใหบริษัทดังกลาวถือ

หุนในบริษัทในสัดสวน 18.18 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัท

- ไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก Nintendo Co.,Ltd (“นินเทนโด”) ประเทศญี่ปุน ใหสามารถ

พัฒนาและจําหนายซอฟตแวรเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลนเกม Nintendo Wii และเครื่องเลนเกม

พกพา Nintendo DS

- ปรับโครงสรางการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัท โดยขายหุนของบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง

จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายซอฟตแวรเกม ใหแกบริษัท ซีทู วิชชั่น จํากัด ซึ่งประกอบ

ธุรกิจจําหนายซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรในลักษณะเดียวกัน เนื่องจากกลุมบริษัทตองการมุงเนนใน

ธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายและรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมเปนหลัก โดยในการปรับ

โครงสรางการดําเนินธุรกิจนั้น บริษัทไดจําหนายเงินลงทุนในบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด

จํานวน 1,800,000 หุนหรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 75 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัทดังกลาว

ในราคา 18,000,000 บาท และลงทุนในหุนของบริษัท ซีทู วิชช่ัน จํากัด ในจํานวนเดียวกัน ทําให

ภายหลังการปรับโครงสราง บริษัทถือหุนในบริษัท ซีทู วิชชั่น จํากัด ในสัดสวนรอยละ 19.02 ของทุน

ชําระแลวของบริษัทดังกลาว

ป 2552 - ดําเนินการแปรสภาพบริษัทเปนบริษัทมหาชนจํากัด และเปลี่ยนชื่อจาก “บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต

อินเตอรแอคทีฟ จํากัด” เปน “บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)”

- เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 110 ลานบาทเปน 140 ลานบาท และเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวของหุน

สามัญจากหุนละ 100 บาทเปนหุนละ 0.50 บาทซ่ึงทําใหจํานวนหุนสามัญที่จดทะเบียนไวเพิ่มขึ้นจาก

1,100,000 หุนเปน 280,000,000 หุน เพื่อนําบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด(มหาชน) ประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนาย

และรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกม ใหแกลูกคาทั้งในและตางประเทศ โดยในการประกอบธุรกิจนั้น กลุมบริษัทไดแบง

โครงสรางการดําเนินธุรกิจโดยบริษัทเปนผูวางแผนทางการตลาดและแผนการพัฒนาซอฟตแวรเกม และมอบหมาย

ใหบริษัทยอยทําหนาที่ออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยแบงเปนงานดานการพัฒนาโปรแกรมเกม อนิเมชั่นและ

คอมพิวเตอรกราฟก เสียงและดนตรีประกอบฉากภายในเกมรวมทั้งการทดสอบแกไขจุดบกพรองของซอฟตแวรเกม

จากนั้นจึงจัดจําหนายผานบริษัท

Page 25: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 4

ณ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีการลงทุนในบริษัทยอย 3 บริษัท โดยโครงสรางกลุมบริษัทสามารถแสดงไดดังนี้

บริษัท

1. บริษัท ไซเบอร แพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจเปนผูผลิตและพัฒนา

ซอฟตแวรเกม เพื่อจําหนายใหแกลูกคาทั้งในและตางประเทศ โดยบริษัทมุงเนนการดําเนินธุรกิจดาน

การทําการตลาด รวมถึงออกแบบ และดูแลภาพรวมของการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกม โดยมีการ

กระจายงานบางสวนในดานการผลิตไปยังบริษัทยอย

บริษัทยอย

1. บริษัท แพลนเน็ต จี จํากัด ดําเนินธุรกิจเปนผูพัฒนาชุดคําส่ัง จัดทําดนตรีและเสียงประกอบใน

ซอฟตแวรเกมใหกับบริษัท ปจจุบันมีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 10,000,000 บาท โดยบริษัทถือหุน

รอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว

2. บริษัท บลู วิซารด สตูดิโอ จํากัด ดําเนินธุรกิจรับจางผลิตอนิเมชั่นและคอมพิวเตอรกราฟก ปจจุบันมี

ทุนจดทะเบียนชําระแลว 5,000,000 บาท โดยบริษัทถือหุนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนเรียก

ชําระแลว

3. บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด เดิมชื่อ “บริษัท ไอแทรกซ จํากัด” มีทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว

12,025,000 บาท โดยบริษัทถือหุนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว ปจจุบันกําลัง

ดําเนินสถาบันพัฒนาและสงเสริมทักษะสําหรับเด็ก โดยใชเครื่องเลนเกมพกพา Nintendo DS เปนส่ือ

การเรียนการสอน (ดูรายละเอียดไดในสวนที่ 2.6 โครงการในอนาคต)

ปจจุบันบริษัทไดพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่อง Nintendo Wii จํานวน 18 เกม, เกมสําหรับเครื่อง

Nintendo DS จํานวน 19 เกม, ซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่อง Playstation2 จํานวน 13 เกม, ซอฟตแวรเกม

คอมพิวเตอรจํานวน 32 เกม และซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่กวา 100 เกม และยังมีการดัดแปลงเกมเปน

ภาษาตาง ๆ อีกไมนอยกวา 8 ภาษาเพื่อจัดจําหนายในตางประเทศ โดยมีคูคาสําคัญที่มีช่ือเสียงเปนที่รูจักในระดับ

นานาชาติอาทิเชน Activision Value Publishing, Inc., Mindscape, Lexicon, Valcon Games LLC. และ UFO

Interactive Games, Inc. เปนตน

99.99% 99.99% 99.99%

Blue Wizard Studio Co.,Ltd. ทุนชําระแลว: 5 ลานบาท

Planet G Co.,Ltd. ทุนชําระแลว: 10 ลานบาท

Informatix Plus Co.,Ltd. ทุนชําระแลว: 12.03 ลานบาท

Computer graphic and

animation Studio

Software Production Education Business

CyberPlanet Interactive Public Company Limited

Page 26: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 5

นอกจากนี้บริษัทยังไดสงผลงานเขาประกวดและไดรับรางวัลจากการประกวดทั้งในระดับประเทศไดแก

Thailand ICT Award (TICTA) และในตางประเทศไดแก Asia Pacific ICT Award (APICTA) มาแลวถึง 30 รางวัล

ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสามารถและศักยภาพในการพัฒนาซอฟตแวรที่มีคุณภาพและมีแนวคิดที่โดดเดน รวมทั้ง

ไดรับรางวัล Business Innovation Award จากการเปนตัวแทนของประเทศไทยเพื่อเขาแขงขันในโครงการ Asia

Pacific ICT Award ติดตอกันถึง 5 ป จนถึงปจจุบัน ทั้งนี้ตัวอยางรางวัลที่กลุมบริษัทไดรับจากงานประกวดตางๆ

ระหวางป 2546-2552 มีดังนี้ ป ผูใหรางวัล จํานวน

รางวัล

ประเภทรางวัล

2552 Thailand ICT Awards (TICTA) 2 - Research and Development

- E-Learning Application (โดยบริษัทยอย—

Informatix Plus Co., Ltd)

SIPA Game Award 3 - Best offline game award

- Best Handheld and mobile game award

- Best creative game award

2551 Thailand ICT Awards (TICTA) 2 - Media and Entertainment Application

2550 Thailand ICT Awards (TICTA) 5 - Media and Entertainment Application

- Application and Infrastructure Tool

- Education and Training

- Research and Development

Asia Pacific ICT Awards (APICTA) 1 - Media and Entertainment

2549 Thailand ICT Award (TICTA) 1 - Application And Infrastructure Tools

Thailand Animation and Multimedia (TAM) 1 - Short Animation

Asia Pacific ICT Awards (APICTA) 1 - Application And Infrastructure Tools

2548 Thailand ICT Award (TICTA) 3 - Media and Entertainment

- Tourism and Hospitality Application

- Communication on Virtual Messenger

Application

The United Nations 60th Anniversary

Short Animation Competition

1 - Second Prize Winner on

“The Story of Child and War”

Thailand Animation and Multimedia (TAM) 3 - Short Animation

- Best Mobile Game – Symbian

- Best Mobile Game

2547 Thailand ICT Award (TICTA) 3 - Entertainment Application

- Education and Training Application

- Business Applicatiion

Asia Pacific ICT Awards (APICTA) 2 - Media and Entertainment

- General Applications

2546 Asia Pacific ICT Awards (APICTA) 1 - Entertainment Applications

Thailand BEST Innovation Awards 1 - Small and Medium-Sized Businesses

Page 27: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 6

2.2 โครงสรางรายได โครงสรางรายไดของกลุมบริษัทในป 2549-2552 สามารถจําแนกไดดังนี้

• ตามกลุมธุรกิจ

ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

ธุรกิจพฒันาซอฟตแวรเกมเพือ่จําหนาย

- เกมคอมพวิเตอร 19.58 27.03 11.91 16.22 20.44 25.28 6.26 10.33

- เกมคอนโซล - - 5.09 6.93 26.43 32.69 45.84 75.62

- เกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ 0.17 0.23 0.03 0.04 2.51 3.10 0.17 0.28

รวม 19.75 27.26 17.03 23.18 49.38 61.08 52.27 86.23

ธุรกิจรับจางพฒันาซอฟตแวรเกม

- เกมคอมพวิเตอร 32.04 44.22 46.67 63.53 4.70 5.81 3.30 5.44

- เกมคอนโซล - - - - 17.68 21.87 2.04 3.36

- เกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ 8.90 12.28 1.20 1.63 - - - -

รวม 40.93 56.50 47.87 65.15 22.38 27.68 5.33 8.79

ธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายเกม

- เกมคอมพวิเตอร 11.77 16.24 8.57 11.66 9.08 11.23 0.64 1.06

- เกมคอนโซล - - - - - - - -

- เกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ - - - - - - - -

รวม 11.77 16.24 8.57 11.66 9.08 11.23 0.64 1.06

ธุรกิจสถาบันพัฒนาทกัษะ - - - - - - 2.38 3.93

รวมรายไดจากการดําเนนิธุรกิจ 72.45 100.00 73.46 100.00 80.84 100.00 60.62 100.00

ป 2552รายไดจําแนกตามกลุมธุรกิจ

2549 2550 2551

หมายเหตุ: ธุรกิจนําเขาและจัดจําหนายซอฟตแวรเกมดําเนินโดยบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชช่ิง จํากัด ซ่ึง ณ 29 ธันวาคม 2551

บริษัทไดจําหนายหุนของบริษัทดังกลาว 1.8 ลานหุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 75 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกลาวใหแกบริษัท ซีทู

วิชช่ัน จํากัด และไดลงทุนในหุนสามญัของบริษัท ซีทู วิชช่ัน จํากัด จํานวน 1.8 ลานหุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.02 ของทุนจดทะเบียน

ของบริษัท ซีทู วิชช่ัน จํากัด

Page 28: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

. สวนที่ 2.2 หนา 7

• ตามกลุมภูมิภาค

ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

รายไดในประเทศ 67.39 93.01 66.83 90.97 33.03 40.86 11.02 18.18

รวมในประเทศ 67.39 93.01 66.83 90.97 33.03 40.86 11.02 18.18

รายไดตางประเทศ

อเมริกา 3.81 5.25 0.03 0.05 21.28 26.33 27.94 46.08

ยุโรป 1.04 1.44 5.02 6.84 21.82 26.99 19.27 31.78

เอเซีย 0.22 0.30 1.58 2.15 4.71 5.82 2.40 3.96

อืน่ ๆ - - - - - - -

รวมตางประเทศ 5.06 6.99 6.64 9.03 47.81 59.14 49.60 81.82

รายไดรวม 72.45 100.00 73.46 100.00 80.84 100.00 60.62 100.00

2552รายไดจําแนกตามภูมภิาค

2549 2550 2551

ระหวางป 2549 - 2550 กลุมบริษัทเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรและซอฟตแวรเกมสําหรับ

โทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อจําหนายในประเทศเปนหลัก โดยกลุมลูกคาหลักของกลุมบริษัทในขณะนั้นไดแกผูจําหนายปลีก

ซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร ผูจําหนายเครื่องคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่ ตั้งแตป 2550 เปนตนมา กลุมบริษัท

เริ่มมีรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลเพื่อจําหนายและการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลใหกับผู

จัดจําหนายในตางประเทศ โดยในระยะเริ่มตนนั้นซอฟตแวรเกมคอนโซลที่กลุมบริษัทพัฒนาขึ้นเปนการนําเอา

ซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรที่พัฒนาเสร็จแลวมาปรับปรุงใหสามารถใชงานกับเครื่องเลนเกมคอนโซลได จากนั้นกลุม

บริษัทจึงไดพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลใหมเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่การพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรลดนอยลง

ตามลําดับ สงผลใหในป 2550 - 2551 กลุมบริษัทมีสัดสวนรายไดจากตางประเทศและรายไดจากการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมคอนโซลเพิ่มมากขึ้น

2.4 เปาหมายการดําเนนิธุรกิจ

จากการที่ปจจุบันบริษัทเปนผูพัฒนาซอฟตแวรเกมชั้นนําของประเทศไทย และสามารถทําใหซอฟตแวรเกม

ภายใตเครื่องหมายการคา “CyberPlanet Interactive” เปนที่รูจักในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมแลว บริษัทยังได

วางเปาหมายที่จะใชความสามารถและศักยภาพทางดานเทคโนโลยีที่มีอยู นําบริษัทสูการเปนผูพัฒนาวิดีโอเกมชั้น

นําของโลกเทียบเทากับบริษัทผูผลิตซอฟตแวรเกมชั้นนําในตางประเทศ ภายใตการดําเนินธุรกิจของคนไทยเพื่อเปน

การสรางโอกาสในการขยายขอบเขตการจําหนายซอฟตแวรเกมของบริษัทไปยังตางประเทศทั่วโลก

Page 29: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 1

3. การประกอบธุรกิจ

3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ

กลุมบริษัทดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม โดยถือเปนหนึ่งในผูบุกเบิกในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม

โดยเฉพาะซอฟตแวรเกมคอนโซลในประเทศไทย ภายใตเครื่องหมายการคา “CyberPlanet Interactive” ทั้งนี้

ผลิตภัณฑของกลุมบริษัทสามารถแบงแยกได 3 ลักษณะตามประเภทของอุปกรณที่ใชเลนเกม ไดแก ซอฟตแวรเกม

สําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล ซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร และซอฟตแวรสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่

ซึ่งการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับอุปกรณแตละประเภทนั้น จะมีความแตกตางในเรื่องรูปแบบความ

ซับซอนของซอฟตแวรเกม เพื่อใหสามารถใชงานไดสอดคลองกับเทคโนโลยีทั้งทางดานฮารดแวร ซอฟตแวร และ

รูปแบบการในการใชงานของแตละประเภทอุปกรณ โดยวงจรชีวิตผลิตภัณฑของอุปกรณเครื่องเลนแตละประเภทมี

ความแตกตางกันตามระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงทางดานการตลาด ซึ่งโดยสวน

ใหญแตละประเภทอุปกรณที่ใชสําหรับเลนเกม มีระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลง

ทางดานการตลาด ดังนี้

วงจรชีวิตผลิตภัณฑ (Product Life Cycle)

เกมคอนโซล 7 ป

เกมคอมพิวเตอร 3-5 ป

เกมโทรศัพทเคลื่อนที่ 1-2 ป

ทั้งนี้ สัดสวนรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมระหวางป 2549 - 2552 สามารถแสดงไดดังนี้

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552

ซอฟตแวรเกมคอนโซล 0.00% 7.84% 61.47% 83.11%

ซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร 85.06% 90.27% 35.03% 16.59%

ซอฟตแวรเกมโทรศัพทเคลื่อนที่ 14.94% 1.88% 3.50% 0.29%

รวม 100.00% 100.00% 100.00% 100.00%

Page 30: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 2

3.1.1 ซอฟตแวรเกมคอนโซล (Console game)

ซอฟตแวรเกมคอนโซลถือเปนผลิตภัณฑหลักของกลุมบริษัทในปจจุบัน กลุมบริษัทเริ่มทําการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมคอนโซลตั้งแตป 2550 และมีขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในป 2551 และป 2552 กลุมบริษัทมี

รายไดการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลในสัดสวนรอยละ 61.47 และรอยละ 83.11 ของรายไดจากการพัฒนา

ซอฟตแวรเกม

ทั้งนี้ เครื่องเลนเกมคอนโซล คือ เครื่องเลนเกมประเภทหนึ่งที่แสดงภาพผานทางหนาจอภายในเครื่อง หรือ

ตอกับเครื่องแสดงภาพอื่นๆ เชน โทรทัศน หรือ เครื่องขยายภาพ (Projector) ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลัก

ตามลักษณะการใชงาน ไดแก เครื่องเลนเกมคอนโซลที่มีไวเลนเพื่อความบันเทิงภายในบาน และเครื่องเลนเกม

คอนโซลประเภทพกพา โดยปจจุบันมีบริษัทผูผลิตเครื่องเกมคอนโซลรายใหญเพียง 3 ราย ไดแก นินเทนโด โซนี่ และ

ไมโครซอฟต โดยผูผลิตแตละรายไดผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล ดังนี้

เครื่องเลนเกมคอนโซล ภายในบาน

เครื่องเลนเกมคอนโซล ประเภทพกพา

Nintendo Co., Ltd (นินเทนโด) Nintendo Wii, Gamecube Nintendo DSi, Nintendo DS

Sony Corporation (โซนี่) Playstation3, Playstation2 Playstation Portatble (PSP),

Microsoft Corporation (ไมโครซอฟท) Xbox360, Xbox -

• เครื่องเลนเกมคอนโซลภายในบาน 1. Xbox360

ปที่วางจําหนาย: 2548

ลักษณะเดน: ภาพกราฟกความละเอียดสูง

ลูกคากลุมเปาหมาย: วัยรุน

จํานวนเครื่องที่จําหนายไดแลวทั่วโลก: 37.05 ลานเครื่อง

จํานวนซอฟตแวรเกมที่วางจําหนายทั่วโลก: ประมาณ 800 เกม

สวนแบงการตลาดในป 2552: 20.66% ของเครื่องเลนเกมคอนโซลภายในบาน

2. Nintendo Wii

ปที่วางจําหนาย: 2549

ลักษณะเดน: อุปกรณควบคุมไรสาย Wii mode

ลูกคากลุมเปาหมาย: เด็กและครอบครัว

จํานวนเครื่องที่จําหนายไดแลวทั่วโลก: 65.65 ลานเครื่อง

จํานวนซอฟตแวรเกมที่วางจําหนายทั่วโลก: ประมาณ 1,200 เกม

สวนแบงการตลาดในป 2552: 44.23% ของเครื่องเลนเกมคอนโซลภายในบาน

3. Playstation 3

ปที่วางจําหนาย: 2549

ลักษณะเดน: ภาพกราฟกความละเอียดสูงในระบบ Blue-ray Disc

ลูกคากลุมเปาหมาย: วัยรุน

จํานวนเครื่องที่จําหนายไดแลวทั่วโลก: 30.95 ลานเครื่อง

จํานวนซอฟตแวรเกมที่วางจําหนายทั่วโลก: ประมาณ 700 เกม

สวนแบงการตลาดในป 2552: 25.05% ของเครื่องเลนเกมคอนโซลภายในบาน

Page 31: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 3

4. Playstation 2

ปที่วางจําหนาย: 2543

ลักษณะเดน: ภาพกราฟกความละเอียดสูง

ลูกคากลุมเปาหมาย: วัยรุน

จํานวนเครื่องที่จําหนายไดแลวทั่วโลก: 135.24 ลานเครื่อง

จํานวนซอฟตแวรเกมที่วางจําหนายทั่วโลก: ประมาณ 3,000 เกม

สวนแบงการตลาดในป 2552: 10.06% ของเครื่องเลนเกมคอนโซลภายในบาน

• เครื่องเลนเกมคอนโซลประเภทพกพา 1. Nintendo Dual Screen (Nintendo DS, NDS)

ปที่วางจําหนาย: 2547

ลักษณะเดน: หนาจอ 2 ดานและการใชหนาจอสัมผัส

ลูกคากลุมเปาหมาย: เด็กและครอบครัว

จํานวนเครื่องที่จําหนายไดแลวทั่วโลก: 124.47 ลานเครื่อง

จํานวนซอฟตแวรเกมที่วางจําหนายทั่วโลก: ประมาณ 2,600 เกม

สวนแบงการตลาดในป 2552: 74.95% ของเครื่องเลนเกมคอนโซลพกพา

2. Playstation Portable (PSP)

ปที่วางจําหนาย: 2547

ลักษณะเดน: ภาพกราฟกความละเอียดสูง และการใชงานมัลติมีเดีย

ลูกคากลุมเปาหมาย: วัยรุน

จํานวนเครื่องที่จําหนายไดแลวทั่วโลก: 55.50 ลานเครื่อง

จํานวนซอฟตแวรเกมที่วางจําหนายทั่วโลก: ประมาณ 1,100 เกม

สวนแบงการตลาดในป 2552: 25.05% ของเครื่องเลนเกมคอนโซลพกพา

หมายเหตุ: ขอมูลสวนแบงการตลาดและจํานวนเครื่องที่จําหนายไดอางอิงจาก www.vgchartz.com โดยใชขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2552

จากการที่เครื่องเลนเกมคอนโซลมีวัตถุประสงคหลักในการใชงาน คือ เพื่อเลนเกมและสรางความบันเทิง

ใหแกผูใชงาน ทําใหซอฟตแวรเกมที่ทําการพัฒนาสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล จะมีรายละเอียดและความซับซอน

ของโปรแกรมสูงเมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องเลนเกมประเภทอื่น เพื่อใหรูปแบบของเกมมีความสมจริง และสอดคลอง

กับอุปกรณตอพวงสําหรับการใชงานที่มีความหลากหลาย

ในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลนั้น ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลแตละรายจะมี

การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีของตนเองทั้งดานฮารดแวร และซอฟตแวร ตลอดจนมีการควบคุมการใช

เทคโนโลยีดังกลาวซึ่งครอบคลุมถึงเทคโนโลยีที่ใชเพื่อการพัฒนาซอฟตแวรเกมดวย ทําใหในการประกอบธุรกิจ

พัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลนั้น ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมจึงตองไดรับอนุญาตจากผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลในการ

ดําเนินธุรกิจ ทั้งในรูปแบบการไดรับอนุญาตในการพัฒนาซอฟตแวรเกมอยางเปนทางการ หรือการไดรับสิทธิในการ

ใชเทคโนโลยี และอุปกรณทดสอบการใชงานของซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลแตละรุน

Page 32: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 4

จากการที่ผูผลิตแตละรายมีการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี และมีการควบคุมการใชเทคโนโลยีของ

ตนเองนั่นเอง ทําใหเครื่องเลนเกมคอนโซลของผูผลิตแตละรายมีความแตกตางทางดานเทคโนโลยีทั้งทางดาน

ฮารดแวร และซอฟตแวรในการบันทึกและแปลงขอมูล ดังนั้นซอฟตแวรเกมที่ออกแบบมาสําหรับเครื่องเลนเกม

คอนโซลของผูผลิตรายหนึ่ง จึงไมสามารถใชกับเครื่องเลนเกมคอนโซลของผูผลิตรายอื่นได รวมทั้งเมื่อผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซลมีการปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นโดยการพัฒนาเครื่องเลนเกมคอนโซลรุนใหม เชน

จากเครื่องเลนเกม Playstation2 เปนเครื่องเลนเกม Playstation3 ซอฟตแวรเกมคอนโซลที่ทําการผลิตพัฒนาไวจะ

เกิดความลาสมัยของเทคโนโลยี โดยไมสามารถใชประสิทธิภาพของเครื่องเลนรุนใหมไดอยางเต็มที่ ทําใหความ

นาสนใจในเกมลดนอยลง ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมจะตองทําการพัฒนาปรับปรุงโปรแกรมซอฟตแวรเกมเพิ่มเติมให

สอดคลองกับเทคโนโลยีของเครื่องเลนรุนนั้นๆ อยางไรก็ตาม เนื่องจากผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลหลักในปจจุบันมี

เพียง 3 รายทําใหการแขงขันทางดานการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของเครื่องเลนเกมคอนโซลมีไมมากนัก ดังจะเห็นได

จากอายุการใชงานของเครื่องเลนเกมคอนโซลแตละรุน ซึ่งสวนใหญจะมีอายุประมาณ 7 ป

ในการประกอบธุรกิจกลุมบริษัทมุงเนนทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลของนิน

เทนโด และโซนี่ เปนหลัก เนื่องจากเครื่องเลนเกมคอนโซลดังกลาวมีจํานวนผู เลนเปนจํานวนมาก มีลูกคา

กลุมเปาหมายและเทคโนโลยีที่ใชในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องคอนโซลดังกลาวที่ความเหมาะสมกับ

ซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทไดรับการแตงตั้งจากนินเทนโดใหเปนผูพัฒนาซอฟตแวรเกมที่ไดรับ

อนุญาต (Nintendo Licensed Developer) ในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลน Nintendo Wii และ

Nintendo DS รวมทั้งมีสิทธิในการใชเทคโนโลยีและอุปกรณในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกม

คอนโซลดังกลาว นอกจากนี้กลุมบริษัทยังไดรับสิทธิในการใชเทคโนโลยีและอุปกรณสําหรับเครื่องเลนเกม

Playstaion2 และเครื่องเลนเกม PSP ซึ่งเปนเครื่องเลนเกมคอนโซลที่ผลิตโดยโซนี่ รวมทั้งไดรับสิทธิในการใช

เทคโนโลยีและอุปกรณสําหรับเครื่องเลนเกม Xbox360 ซึ่งผลิตโดยไมโครซอฟตอีกดวย

ปจจุบันกลุมบริษัทไดพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลแลวทั้งส้ิน 50 เกม โดยมีรายชื่อซอฟตแวรเกมคอนโซลที่

พัฒนาแลวเสร็จ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ดังตอไปนี้ ซอฟตแวรเกม Nintendo Wii (Wii) Nintendo DS (NDS) Playstation 2 (PS2)

1. Amusement Park

2. Army Rescue

3. Barbie Fashion Show 4. Beauty Salon

5. Burger Bot

6. Crabby

7. Caveman Rock

8. Dance Craze

9. Dancing Star

10. Elvish

11. Finkles World

12. Flower Fever

13. Hoppies II

Page 33: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 5

ซอฟตแวรเกม Nintendo Wii (Wii) Nintendo DS (NDS) Playstation 2 (PS2)

14. Iron Chef II

15. Jaja Adventure

16. Jello Brewery

17. Monster Egg II 18. Nursery Mania

19. Nursery Story

20. Ocean Commander 21. Offshore Tycoon

22. Paddle Pop: The Pyrata

23. Polar Rampage 24. Rock Blast 25. Saint and Sinner

26. Scoop Me Up

27. Steam Express 28. Veggy World 29. World Traveller II

30. War of Heaven

ตัวอยางซอฟตแวรเกมคอนโซลที่พัฒนาโดยกลุมบริษัท จําแนกตามประเภทเครื่องเลนเกมคอนโซล

Nintendo Wii

Nintendo DS

Playstation2

Page 34: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 6

ซอฟตแวรเกมคอนโซลที่กลุมบริษัทพัฒนาในระยะเริ่มตนนั้น เปนการนําซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรที่กลุม

บริษัทพัฒนาไวแลวมาปรับปรุงเพิ่มเติม เพื่อใหสามารถใชงานไดกับเคร่ืองเลนเกมคอนโซลของผูผลิตตางๆ ตอมาจึง

ไดมีการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลใหมๆ ที่จัดเปนเกมที่มีคุณภาพสูง (Premium Game) เชน เกม Barbie

Fashion Show และเกม Beauty Salon เปนตน โดยกลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมแนวแคชชวล

(Casual) ที่มีเนื้อหาที่สรางสรรคและสงเสริมการเรียนรู สําหรับผูเลนเด็กและครอบครัวเปนหลัก ซึ่งเกมแนวแคชชวล

นั้นเปนเกมที่เหมาะสําหรับการผอนคลายยามวาง (Casual gamer) มีเนื้อหาและรูปแบบการเลนที่หลากหลาย อาทิ

เชน เกมแนวผจญภัย (Adventure), เกมแนววางแผนกลยุทธ (Strategy), เกมไขปริศนา (Puzzle) เปนตน ทั้งนี้กลุม

บริษัทไดพัฒนาซอฟตแวรเกมเนื้อหาเดียวกันสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลมากกวาหนึ่งประเภทเพื่อเพิ่มโอกาสใน

การเขาถึงกลุมลูกคาปลายทางที่มีความหลากหลายในการเลือกใชงานเครื่องเลนเกมคอนโซลของผูผลิตเครื่องเลนแต

ละราย

3.1.2 ซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร (Computer Game)

ซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรเปนผลิตภัณฑหลักของกลุมบริษัทในชวงระหวางป 2543-2550

โดยในป 2551 และป 2552 กลุมบริษัทมีรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรในสัดสวนรอยละ 35.03

และรอยละ 16.59 ของรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ทั้งนี้ ซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร สามารถแบงไดเปน 2 รูปแบบ คือ เกมคอมพิวเตอรแบบ

ออฟไลน (Offline Game) และเกมคอมพิวเตอรแบบออนไลน (Online Game) โดยปจจุบันกลุมบริษัทมุงเนนการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรในลักษณะออฟไลนเปนหลัก

กลุมบริษัทเริ่มพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรตั้งแตป 2543 โดยในชวงแรกของการประกอบธุรกิจกลุม

บริษัทมีการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรหลากหลายรูปแบบ ทั้งเกมวางแผนกลยุทธ(Real-time Strategy) เกม

ตอสู (Action) เกมจําลองสถานการณ (Simulation) รวมถึงการนําเอาตัวละครที่ไดรับความนิยมมาเปนตัวละครหลัก

ในเกมที่ทําการพัฒนา เชน ปงปอนด อุลตราแมน เปนตน นอกจากนี้กลุมบริษัท ยังใหความรวมมือกับหนวยงานของ

ภาครัฐและเอกชน ในการพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีเนื้อหาเปนประโยชนตอเยาวชนและสนับสนุนนโยบายของภาครัฐ

อาทิเชน เกม Moontra Kid ซึ่งเปนเกมที่มีเนื้อหาตอตานยาเสพติด และเกม CEO City ที่มีเนื้อหาประชาสัมพันธ

สินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) เปนตน

ตั้งแตป 2550 กลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมแนวแคชชวลเพื่อความบันเทิงและสงเสริมความรู

(Edutainment) สําหรับเด็กเล็กอายุตั้งแต 2 ปจนถึงระดับประถมศึกษา โดยจะเปนเกมที่มีเนื้อหาสงเสริมการเรียนรู

และความรูรอบตัวตางๆ ควบคูไปกับการเลนเกม โดยใชตัวการตูนเปนส่ือในการเรียนรู อาทิเชน ซอฟตแวรเกมในชุด

ของ Bonga Bonga Series และ Bonga Bonga Learning ที่มีเนื้อหาสงเสริมทักษะและความรูดานคณิตศาสตร

รูปทรงเรขาคณิต ดนตรีและศิลปะสําหรับเด็ก เปนตน

Page 35: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 7

รายชื่อซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรที่กลุมบริษัทเปนผูพัฒนาแลวเสร็จจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีดังนี้

1. Bongabonga Electric

2. Bongabonga Home

3. Bongabonga Learning 1-4

4. Bongabonga Travel

5. Bongabonga Traveler

6. Bongabonga Zoo

7. Barbies Fasion Show

8. CEO City

9. Caveman Rock

10. Crabby Adventure

11. Finkle Adventure

12. Monster Egg

13. N.I.T.E.

14. Ocean Commander

15. Offshore Tycoon

16. Pangpond Airboard Racer

17. Saint and Sinner

18. Ultraman Episode 1 :The

Taro Adventure

19. Ultraman Galaxy Alert

20. Ultraman Happy Study 1-4

21. Ultraman Monster Crisis

22. Ultraman Power Fighter

23. World Traveller

24. Magic Chronicle

25. Paddle Pop: The Pyrata

26. Paddle Pop: Kombatei

ตัวอยางซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรที่พัฒนาโดยกลุมบริษัท

Page 36: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 8

3.1.3 ซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคล่ือนที่ (Mobile Phone Game)

ซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่เปนผลิตภัณฑหลักของกลุมบริษัทป 2546-2548 อยางไรก็ตามกลุม

บริษัททําการลดบทบาทการดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ลงตั้งแตป 2549 โดยในป

2551 และป 2552 กลุมบริษัทมีรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่เพียงรอยละ 3.49 และ

รอยละ 0.29 ของรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมตามลําดับ

ในชวงระหวางป 2546 – 2548 กลุมบริษัทถือไดวาเปนหนึ่งในผูนําในการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับ

โทรศัพทเคลื่อนที่และถือเปนผูประกอบการคนไทยรายเดียวที่ประกอบธุรกิจดังกลาว โดยกลุมบริษัททําการพัฒนา

ซอฟตแวรเพื่อจําหนายใหแกบริษัทผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่ชั้นนําหลากหลายราย เชน Nokia, Sony, Ericsson, IEC,

Samsung, O2 และ Smart Phone เปนตน ซึ่งผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่จะนําซอฟตแวรของกลุมบริษัทติดตั้งไวใน

เครื่องโทรศัพทของตน เพื่อเพิ่มคุณสมบัติเสริมดานความบันเทิงใหแกผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ในชวงเวลาดังกลาว

กลุมบริษัทมียอดจําหนายลิขสิทธิ์ใหแกผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อนําไปขายรวมกับโทรศัพทเคลื่อนที่ (Bundle) รวม

แลวประมาณ 500,000 - 1,000,000 ลิขสิทธิ์ตอป

อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทไดทําการวิเคราะหศักยภาพ โอกาสในการขยายตัวในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม

สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ ตลอดจนภาวะการแขงขันพบวาเปนธุรกิจที่มีภาวะการแขงขันสูงประกอบกับมีการ

เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว โดยเทคโนโลยีของโทรศัพทเคลื่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงอันกอใหเกิดความ

ลาสมัยประมาณ 1-2 ป ทําใหผูพัฒนาซอฟตแวรเกมตองทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมๆ ออกสูตลาดอยาง

ตอเนื่อง และซอฟตแวรเกมที่ทําการพัฒนาจะมีอายุการใชงานเพียง 1-2 ป ซึ่งจะสงผลโดยตรงตอโอกาสในการ

จําหนายซอฟตแวรของกลุมบริษัท ตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกม ตลอดจนความสามารถในการทํากําไร และการ

บริหารทรัพยากรบุคคลของกลุมบริษัท ดังนั้นกลุมบริษัทจึงมีนโยบายลดบทบาทในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับ

โทรศัพทเคลื่อนที่ลงตั้งแตป 2549

ดวยปจจุบันเทคโนโลยีของโทรศัพทเคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงไป จากการเขามาของเทคโนโลยีหนาจอ

สัมผัส (Touch screen) ทําใหโทรศัพทเคลื่อนที่รุนใหมมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นสามารถรองรับรูปแบบการใชงานที่มี

ความหลากหลาย รวมถึงซอฟตแวรเกมที่มีรายละเอียดและความซับซอนของเกมไดเพิ่มขึ้น ตลอดจนมีอายุการใช

งานและระยะเวลาในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีนานขึ้น เชน iphone เปนตน ทําใหกลุมบริษัทอาจมีเพิ่มบทบาทใน

การดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่มากขึ้นอีกครั้งในอนาคต ทั้งนี้ในป 2552 บริษัทไดเริ่ม

พัฒนาเกมสําหรับเครื่อง iphone เปนครั้งแรกโดยไดแกเกม Rock Blast ซึ่งเปนเกมที่ดัดแปลงจากเกมคอมพิวเตอร

Page 37: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 9

3.1.4 สิทธิพิเศษจากการสงเสริมการลงทุน

บริษัทและบริษัทยอยไดรับสิทธิพิเศษทางดานภาษีอากรจากกรมสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 สําหรับการประกอบธุรกิจผลิตซอฟตแวร

โดยการอนุมัติของคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนภายใตเงื่อนไขตาง ๆ ที่กําหนดไว บริษัทและบริษัทยอยไดรับสิทธิประโยชนทางดานภาษีอากรที่มีสาระสําคัญ ดงัตอไปนี้

รายละเอียด บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

บริษัท บลู วิซารด สตูดิโอจํากัด บริษัท แพลนเน็ต จี จํากัด บริษัท อินฟอเมติกซ พลัส จํากัด

1. บัตรสงเสริมเลขที่ 2084(7)/2547 1181(7)/2549 1230(7)/2549 1804(7)/2551

2. เพื่อสงเสริมการลงทุนในกิจการ ซอฟตแวร (Digital Content) ซอฟตแวร (Digital Content) ซอฟตแวร (Digital Content) ซอฟตแวร (Digital Content)

3. สิทธิประโยชนสําคัญที่ไดรับ

3.1 ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมและไดรับอนุญาตใหนําผลขาดทุนประจําปที่เกิดขึ้นในระหวางเวลานั้นไปหักออกจากกําไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลมีกําหนดเวลาไมเกิน 5 ปนับแตวันพนกําหนดเวลานั้น

8 ป

8 ป

8 ป 8 ป

3.2 ไดรับยกเวนไมตองนําเงินปนผลจากกิจการที่ไดรับการสงเสริมซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินได นิติบุคคลไปรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีตลอดระยะเวลาที่ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลนั้น

ไดรับ ไดรับ ไดรับ ไดรับ

3.3 ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ

ไดรับ ไดรับ ไดรับ ไดรับ

4. วันที่เริ่มใชสิทธิตามบัตรสงเสริม 17 มีนาคม 2549 16 มกราคม 2549 25 มกราคม 2549 8 กรกฎาคม 2551

Page 38: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 10

3.2 ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

3.2.1 อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซล

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลถือเปนสวนหนึ่งของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมทั่วโลก ในป 2551

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมทั่วโลกมีมูลคาประมาณ 46,200 ลานเหรียญสหรัฐ โดยอุตสาหกรรมเกมคอนโซลมีสวน

แบงทางการตลาดรอยละ 57.60 ของอุตสาหกรรมหรือคิดเปนมูลคาถึง 26,618 ลานเหรียญสหรัฐ* *ขอมูลจาก Pricewaterhousecoopers: Global Entertainment and Media Outlook 2008-2012

กราฟแสดงมูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซล และสวนแบงตลาดตามภูมิภาค

มูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลทั่วโลก

0

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

2549 2550 2551

ลานเหรียญสหรัฐ

สวนแบงตลาดซอฟตแวรเกมคอนโซลในป 2551

ที่มา : Pricewaterhousecoopers, NPD Group, Inc.

ในระหวางป 2549 – 2551 มูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลทั่วโลกมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยาง

ตอเนื่องในอัตราประมาณรอยละ 8.04 รอยละ 34.06 และรอยละ 6.90 ตามลําดับ ทั้งนี้ในชวงปดังกลาว ผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซล ทั้ง ไมโครซอฟต นินเทนโด และโซนี่ ไดวางจําหนายเครื่องเลนเกมคอนโซลรุนใหม ไดแก

Xbox360, Nintendo Wii และ Playstation3 ตามลําดับสงผลใหผูพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล

มีการนําเสนอซอฟตแวรเกมออกสูตลาดเปนจํานวนมากเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเครื่องเลนดังกลาว

ประกอบกับผูบริโภคมีความสนใจและตื่นตัวในการเลนเครื่องเลนเกมรุนใหมทําใหมูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมมี

การเติบโตเพิ่มขึ้นอยางมาก โดยเมื่อพิจารณาสวนแบงตลาดมูลคาการจําหนายซอฟตแวรเกมคอนโซลในภูมิภาค

ตางๆ ในป 2551 พบวามูลคาการจําหนายสวนใหญอยูในภูมิภาคสหรัฐอเมริกา โดยมีสัดสวนอยูที่รอยละ 41.17

ในขณะที่เอเชียแปซิฟก และยุโรปอยูที่รอยละ 29.16 และรอยละ 24.68 ตามลําดับ

ในป 2552 อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลมีแนวโนมชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับป 2551 เนื่องจาก

ผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในหลายภูมิภาค ประกอบกับในป 2552 ผูจัดจําหนายเกมรายใหญไดวาง

จําหนายเกมที่อยูในกระแสความสนใจหลักในจํานวนที่นอยลงเมื่อเทียบกับป 2551 ทําใหยอดขายโดยรวมของ

อุตสาหกรรมลดลง

Page 39: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 11

ภาวะอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในสหรัฐอเมริกา

สหรัฐอเมริกามีตลาดซอฟตแวรเกมคอนโซลขนาดใหญเปนอันดับหนึ่งของโลก โดยในป 2551 อุตสาหกรรม

ซอฟตแวรเกมคอนโซลในสหรัฐอเมริกามีมูลคารวมกวา 10,000 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนรอยละ 41.17 ของ

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลทั่วโลก โดยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องระหวางป 2549 – 2551 ในอัตรา

รอยละ 7.40 รอยละ 33.70 และรอยละ 26.85 ตามลําดับ

มูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในสหรัฐอเมริกา

0

5,000

10,000

15,000

2549 2550 2551 2552

ลานเหรียญสหรัฐ

ที่มา : Pricewaterhousecoopers, NPD Group, Inc.

ในป 2552 เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจที่ยังคงชะลอตัวและจํานวนซอฟตแวรเกมในกระแสความนิยมที่

วางจําหนายใหมมีจํานวนลดลงเมื่อเทียบกับปที่แลว ทําใหอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในสหรัฐอเมริกามี

อัตราการเติบโตลดลง สงผลใหในป 2552 รายไดรวมของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมมีมูลคา 10,500 ลานเหรียญ

สหรัฐ ลดลงรอยละ 10.26 เมื่อเทียบกับรายไดรวมของอุตสาหกรรมในป 2551

ภาวะอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในยุโรป

ปจจุบันมูลคารวมของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในยุโรปคิดเปนสัดสวนรอยละ 24.68 ของมูลคา

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลทั่วโลก โดยประเทศอังกฤษ ฝร่ังเศส และเยอรมันมีสัดสวนทางการตลาดมาก

ที่สุดถึงรอยละ 31.51, รอยละ 19.18 และรอยละ 17.81 ของมูลคาตลาดรวมในภูมิภาค ตามลําดับ อัตราการเติบโต

ของตลาดซอฟตแวรเกมคอนโซลในยุโรปในป 2549-2550 อยูที่รอยละ 6.08 และรอยละ 14.63 ตามลําดับ ขณะที่ใน

ป 2551 อัตราการเติบโตลดลงเหลือรอยละ 7.37 เนื่องจากภาวะชะลอตัวของเศรษฐกิจโดยรวมในยุโรป ดังจะเห็นได

จากรายไดรวมของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมในประเทศอังกฤษซึ่งมีสัดสวนมากที่สุดในภูมิภาค ซึ่งในป 2551

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมในประเทศอังกฤษมีรายไดรวม 6,400 ลานเหรียญสหรัฐ และไดลดลงเหลือ 5,300 ลาน

เหรียญสหรัฐในป 2552 หรือเปนการลดลงรอยละ 18.00 เนื่องจากป 2552 ประเทศอังกฤษประสบปญหาเศรษฐกิจ

ชะลอตัว

Page 40: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 12

มูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในยุโรป

0

2,000

4,000

6,000

8,000

2549 2550 2551

ลานเหรียญสหรัฐ

ที่มา : Pricewaterhousecoopers, GfK Group

ภาวะอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในเอเชียแปซิฟก

ปจจุบันมูลคารวมของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกคิดเปนสัดสวนรอยละ

29.16 ของมูลคาอุตสาหกรรมเกมคอนโซลทั่วโลก โดยประเทศญี่ปุนและเกาหลีใตครองสัดสวนทางการตลาดมาก

ที่สุดถึงรอยละ 40.16 และรอยละ 27.08 ของมูลคาตลาดรวมในภูมิภาคตามลําดับ อัตราการเติบโตของตลาด

ซอฟตแวรเกมคอนโซลในเอเชียแปซิฟกในป 2549-2550 อยูที่รอยละ 10.24 และรอยละ 20.96 ตามลําดับ ขณะที่ใน

ป 2551 อัตราการเติบโตชะลอตัวลงเหลือรอยละ 9.17

มูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในเอเชียแปซิฟก

0

2,0004,000

6,0008,000

10,000

2549 2550 2551

ลานเหรียญสหรัฐ

ที่มา : Pricewaterhousecoopers, Enterbrain, Inc.

ป 2552 อุตสาหกรรมเกมโดยรวมมีอัตราการเติบโตลดลง เนื่องจากยอดจําหนายฮารดแวรเกมที่ลดลงจาก

ป 2551 ในขณะที่อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมในเอเชียแปซิฟกมีแนวโนมการเติบโตคอนขางคงที่ โดยจะเห็นไดจาก

รายไดรวมของตลาดซอฟตแวรเกมในประเทศญี่ปุนซึ่งมีอุตสาหกรรมใหญซอฟตแวรเกมใหญที่สุดในภูมิภาค ซึ่งมี

รายไดรวมในป 2552 ลดลงเหลือ 3,550 ลานเหรียญสหรัฐ หรือลดลงรอยละ 1.8 เมื่อเทียบกับรายไดรวมในป 2551

ซึ่งมีมูลคา 3,615 ลานเหรียญสหรัฐ

Page 41: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 13

ปจจัยที่มีผลตอการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซล

1. การแขงขันกันระหวางผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล

การแขงขันระหวางผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล (Platform Owner) เปนไปในเชิงของการแขงขันดานนวัตกรรม

เทคโนโลยีและการตลาดเปนหลัก โดยผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลแตละรายใชจุดเดนทางดานนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีดานมัลติมีเดียของตนเปนจุดดึงดูดความสนใจจากผูบริโภค ปจจุบันทั่วโลกมีผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล

รายใหญเพียง 3 ราย ซึ่งการแขงขันระหวางผูผลิตดังกลาว สงผลใหเกิดเทคโนโลยีมัลติมีเดียใหมๆ อาทิเชน การผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซลพกพาที่สามารถเชื่อมตออินเตอรเน็ตและสามารถเปดดูวิดีโอและใชฟงเพลงได การผลิต

เครื่องเลนเกมแบบหนาจอระบบสัมผัส และการผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลที่ใชการตรวจจับการเคลื่อนไหวของผูเลน

ในการควบคุม เปนตน นวัตกรรมเหลานี้มีสวนชวยสนับสนุนใหเกิดผูเลนเกมรายใหมเพิ่มขึ้น สงผลใหตลาดซอฟตแวร

เกมคอนโซลโดยภาพรวมมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น

2. การวางจําหนายเครื่องเลนเกมคอนโซลรุนใหม

จากขอมูลในอดีตพบวาอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลในชวง 1-2 ปแรกหลังการวาง

จําหนายเครื่องเลนเกมคอนโซลรุนใหมเปน จะเปนไปอยางกาวกระโดด เนื่องจากความตื่นตัวของผูบริโภคและ

ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลในการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีของ

เครื่องเลนเกมรุนใหม ทั้งนี้ อัตราเติบโตจะชะลอตัวลงจนกวาจะมีการวางจําหนายเครื่องเลนเกมคอนโซลรุนใหมอีก

ครั้ง ซึ่งโดยทั่วไปผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลจะทําการปรับเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีและผลิตเครื่องเลนเกม

คอนโซลรุนใหมในระยะเวลาประมาณ 7 ป

ในป 2548-2549 ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลรายใหญของโลก ไดแก นินเทนโด โซนี่ และไมโครซอฟต ได

ทยอยวางจําหนายเครื่องเลนเกมคอนโซลรุนใหม สงผลใหมูลคาตลาดซอฟตแวรเกมคอนโซลทั่วโลกในป 2550 มี

อัตราการเติบโตสูงถึงรอยละ 34.06 เมื่อเทียบกับมูลคาตลาดซอฟตแวรเกมคอนโซลทั่วโลกในป 2549

3. การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวรเกม (Software Piracy)

การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวรเกมสงผลโดยตรงตอรายไดของผูพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซล ผูจัดจําหนายเกม

คอนโซล ไปจนถึงผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล ซึ่งนับเปนอุปสรรคสําคัญอยางหนึ่งของอุตสาหกรรมเกมคอนโซล

ปจจุบันรูปแบบการละเมิดลิขสิทธิ์ไมจํากัดอยูเพียงการจําหนายซอฟตแวรเกมละเมิดลิขสิทธิ์ และการจําหนาย

อุปกรณที่ละเมิดลิขสิทธิ์สําหรับเกมคอนโซลเทานั้น ยังมีการแจกจายซอฟตแวรละเมิดลิขสิทธิ์ผานเว็บไซตตางๆ ซึ่ง

การปองกันและควบคุมยังทําไดลําบากโดยเฉพาะในประเทศที่การบังคับใชกฎหมายลิขสิทธิ์ขาดความเขมงวด ซึ่ง

ปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวรเกมจะสงผลโดยตรงตอการขยายตัวและการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟตแวร

เกม

4. ภาวะทางเศรษฐกิจ

ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อซอฟตแวรเกมของผูบริโภค เนื่องจากซอฟตแวรเกมไมใชส่ิง

อุปโภคบริโภคที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิต ในภาวะเศรษฐกิจซบเซาจึงมีแนวโนมที่ผูบริโภคจะชะลอการตัดสินใจ

ซื้อซอฟตแวรเกมเพื่อเปนการประหยัดคาใชจาย ในป 2551 อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซล

ลดลงจากป 2550 อยางเห็นไดชัด สาเหตุสวนหนึ่งมาจากการที่บางประเทศโดยเฉพาะประเทศญี่ปุนซึ่งมีตลาด

Page 42: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 14

ซอฟตแวรเกมคอนโซลใหญเปนอันดับสองของโลกประสบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ทําใหยอดขายซอฟตแวรและ

ฮารดแวรเกมคอนโซลลดลง

ปจจัยทั้งหมดดังกลาวสงผลกระทบตอการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอนโซลโดยรวม ซึ่งมีผล

ตอการวางแผนกลยุทธในการแขงขันในอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมดวย โดยซอฟตแวรเกมคอนโซลที่พัฒนาขึ้น

สําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลจะตองมีระดับเทคโนโลยีและลูกคากลุมเปาหมายที่สอดคลองกับเครื่องเลนเกม

คอนโซลนั้นๆ นอกจากนี้สวนแบงทางการตลาดของเครื่องเลนเกมคอนโซลนั้นๆ มีผลตอโอกาสในการประสบ

ความสําเร็จทางดานยอดขายของซอฟตแวรเกมคอนโซลดวยเชนกัน

3.2.2 อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรในปจจุบันมีมูลคารวม 11,469 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปน

สัดสวนรอยละ 24.82 ของมูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมทั่วโลก อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร

ประกอบดวยเกมออฟไลนซึ่งไมสามารถเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตได และเกมออนไลนซึ่งผูเลนจําเปนตองเชื่อมตอกับ

อินเตอรเน็ตในการเลน ปจจุบันเกมออนไลนไดรับความนิยมมากขึ้นและมีสวนแบงทางการตลาดเพิ่มขึ้นอยาง

ตอเนื่อง โดยในป 2551 เกมคอมพิวเตอรออฟไลนมีสัดสวนรอยละ 32.73 ของมูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกม

คอมพิวเตอร ขณะที่เกมออนไลนมีสัดสวนรอยละ 67.27 ของมูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร (ขอมูล

จาก Pricewaterhousecoopers: Global Entertainment and Media Outlook 2008-2012 โดยขอมูลในสวนของ

เกมออนไลนนั้นหมายรวมถึงซอฟตแวรเกมที่ผูเลนจําเปนตองเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตในการเลน ทั้งนี้กวารอยละ 80

ของเกมออนไลนเปนเกมคอมพิวเตอร)

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกและยุโรปมีมูลคามากที่สุดคิดเปนรอยละ

43.50 และรอยละ 29.88 ของมูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรทั่วโลก

มูลคาอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรทั่วโลก

02,0004,0006,0008,000

10,00012,00014,000

2549 2550 2551

ลานเหรียญสหรัฐ

สวนแบงตลาดซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรในป 2551

ที่มา : Pricewaterhousecoopers

ทั้งนี้ อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรทั่วโลก มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง แตมีอัตราการ

ขยายตัวที่มีแนวโนมลดลง จากปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร การลดลงของความนิยมในเกมคอมพิวเตอร

Page 43: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 15

ออฟไลน และภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวในป 2551 โดยในป 2549-2551 อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมซอฟตแวร

เกมคอมพิวเตอรทั่วโลกเทากับรอยละ 17.54, รอยละ 14.98 และรอยละ 10.29 ตามลําดับ

ภาวะอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมโดยรวมในประเทศไทย

ในป 2551 ตลาดซอฟตแวรเกมโดยรวมในประเทศไทยมีมูลคาประมาณ 5,682 ลานบาท โดยสวนใหญ

ประมาณรอยละ 90 ของมูลคาตลาดเปนการนําเขาซอฟตแวรเกมจากตางประเทศทั้งส้ิน สําหรับตลาดซอฟตแวรเกม

คอนโซลในประเทศไทยในป 2549 มีมูลคารวม 1,150 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 20.24 ของมูลคาตลาดซอฟตแวร

เกมในประเทศ โดยที่มูลคาตลาดซอฟตแวรเกมคอนโซลในประเทศไทยทั้งหมดมาจากการนําเขาเกมจากตางประเทศ

สัดสวนมูลคาตลาดเกมในประเทศไทยป 2549

ขอมูล : รายงานการศึกษาอุตสาหกรรมแอนิเมช่ันและเกมของไทยป 2550

สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (SIPA)

ปจจุบันแมภาครัฐจะเริ่มใหความสําคัญกับอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมและไดจัดตั้งองคกรเพื่อสนับสนุน

ผูประกอบการในธุรกิจซอฟตแวรเกมเชน สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (SIPA) แลวก็ตาม

จํานวนผูพัฒนาซอฟตแวรเกมในประเทศไทยยังมีนอยรายและสวนมากเปนผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายยอยเนื่องจาก

อุปสรรคสําคัญของผูพัฒนาซอฟตแวรเกมในประเทศไทยคือปญหาเรื่องเงินทุน ความชํานาญของบุคลากร การตลาด

และปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ในประเทศไทย

ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลในประเทศไทยที่สามารถพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลจนแลวเสร็จและวาง

จําหนายไดในปจจุบันคาดวามีไมเกิน 5 ราย ทั้งนี้ กลุมบริษัทถือไดวาเปนผูประกอบการไทยรายเดียวที่ไดรับสิทธิใน

การพัฒนาซอฟตแวรเกมของผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลทั้ง นินเทนโด โซนี่ และไมโครซอฟต

Page 44: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 16

3.2.3 ภาวะการแขงขัน

• ภาพรวมของการแขงขัน

อุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมเปนอุตสาหกรรมเพื่อความบันเทิงที่มีการเติบโตและขยายตัวอยางตอเนื่อง โดย

ในชวงทศวรรษที่ผานมา ผูบริโภคทั่วโลกหันมาใหความนิยมในการแสวงหาความบันเทิงจากการเลนเกมเพิ่มขึ้น ซึ่ง

เปนผลตอเนื่องจากการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และอินเตอรเน็ตที่เขามามีบทบาทในชีวิตประจําวัน

ของคนโดยทั่วไป อยางไรก็ตาม ในสวนของผูประกอบการในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสูตลาด ยังมีจํานวนนอยราย

เมื่อเทียบกับผูบริโภค โดยปจจุบันมีบริษัทพัฒนาซอฟตแวรเกมประมาณ 10,000 รายทั่วโลก ซึ่งบริษัทพัฒนา

ซอฟตแวรที่ตองการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลจะตองไดรับการอนุญาตจากผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล ทําให

การเขาสูอุตสาหกรรมสําหรับการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลไมสามารถทําไดโดยเสรี ทั้งนี้ ผูประกอบธุรกิจพัฒนา

ซอฟตแวรเกมคอนโซลสวนใหญ จะอยูในภูมิภาคสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรป เปนหลัก

จากการที่ผูประกอบการในอุตสาหกรรมมีจํานวนนอยราย ประกอบกับดวยลักษณะของสินคาซึ่งเปนสินคา

เพื่อความบันเทิง ที่มีลักษณะเฉพาะ คือ ผูบริโภคจะพิจารณาตัดสินใจซ้ือจากความพึงพอใจในตัวสินคาเปนสําคัญ

ทําใหการแขงขันในภาวะอุตสาหกรรมมิไดเปนการแขงขันระหวางผูประกอบการโดยตรง แตจะเปนการแขงขันในการ

ออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมีความคิดสรางสรรค แปลกใหม และตอบสนองความตองการของผูบริโภค

รวมทั้งการแขงขันในดานการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมีคุณภาพ อันไดแก ความสมจริงของภาพ และกราฟกที่แสดง

ในเกมเปนสําคัญ

อยางไรก็ตาม จากการที่ตนทุนหลักในการพัฒนาซอฟตแวรเกม คือ ตนทุนทางดานบุคลากร ทําใหผูพัฒนา

ซอฟตแวรเกมในภูมิภาคที่มีตนทุนคาแรงงานต่ํา เชน เอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมถึงประเทศไทย มีแนวโนมที่จะ

ไดเปรียบในการแขงขันในดานตนทุนการผลิตและราคาจําหนายที่นําเสนอตอผูจัดจําหนาย (Publisher) ตลอดจนมี

โอกาสเพิ่มความสามารถในการแขงขันและโอกาสในการดําเนินธุรกิจในการพัฒนาซอฟตแวรเกมจากการรับจาง

พัฒนาซอฟตแวรตามแนวคิดและการออกแบบรายละเอียดเกม จากเจาของผลิตภัณฑและผูจัดจําหนาย ซึ่งจะมีการ

ใหความสําคัญในดานตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเปนหลัก

• ภาวะการแขงขันในประเทศไทย

สําหรับอุตสาหกรรมพัฒนาซอฟตแวรเกมในประเทศไทยยังจัดอยูในขั้นเริ่มตน โดยมีบริษัทพัฒนา

ซอฟตแวรเกมในประเทศไทยจํานวนคอนขางจํากัด สวนมากเปนผูประกอบการรายยอยโดยมีผูประกอบการเพียงไมกี่

รายที่มีขีดความสามารถในการพัฒนาซอฟตแวรเกมจนถึงระดับที่สามารถจัดจําหนายผานทางผูจัดจําหนายรายใหญ

ของโลกได การประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลทั้งหมดในประเทศไทยจึงเปนการผลิตเพื่อจําหนายใน

ตางประเทศ

สําหรับภาวะการแขงขันภายในอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมในประเทศนั้น แมปจจุบันตลาดซอฟตแวรเกมที่

พัฒนาโดยผูประกอบการในประเทศไทยจะยังมีขนาดเล็ก แตจากการสนับสนุนจากภาครัฐและหนวยงานการศึกษาที่

ไดจัดใหมีหลักสูตรการฝกอบรมรวมทั้งจัดใหมีการแขงขันพัฒนาซอฟตแวรเกมและอนิเมชั่นมากขึ้น ทําใหจํานวน

บุคลากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทยมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับประเทศไทยมีอัตราคาจางต่ํา

กวาประเทศอื่นที่มีแรงงานคุณภาพในระดับเดียวกัน เปนผลใหผูพัฒนาซอฟตแวรเกมในตางประเทศมีแนวโนมที่จะ

ยายฐานการผลิตมายังประเทศไทยมากขึ้น ดังจะเห็นไดจากที่ปจจุบันมีนักลงทุนจากตางประเทศเขามากอตั้งบริษัท

Page 45: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 17

เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม และมีการวาจางบริษัทในประเทศในลักษณะการวาจาง (Outsource) เพื่อ

พัฒนาโปรแกรมและคอมพิวเตอรกราฟกสําหรับซอฟตแวรเกมใหกับบริษัทผูพัฒนาซอฟตแวรเกมในตางประเทศ

สงผลใหจํานวนคูแขงในอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้นขณะที่ตลาดเกมในประเทศไทยยังมีขนาดจํากัด ทําใหธุรกิจพัฒนา

ซอฟตแวรเกมเปนธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูงสําหรับบริษัทผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายยอยที่เพิ่งเริ่มดําเนินธุรกิจ เนื่องจาก

ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายยอยมักมีปญหาขาดแคลนเงินทุนหมุนเวียนทําใหไมสามารถพัฒนาซอฟตแวรเกมที่ตองใช

เวลาและเงินทุนในการสรางงานได ปจจุบันผูพัฒนาซอฟตแวรเกมในประเทศไทยจํานวนมากจึงยังเปนผูประกอบการ

รายยอยหรือเปนผูรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมใหกับผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายใหญในประเทศและตางประเทศ ซึ่ง

การดําเนินธุรกิจดังกลาวจําเปนตองไดรับความเชื่อถือดานความสามารถของผูพัฒนาซอฟตแวรเกม คุณภาพและ

การสงมอบชิ้นงานตรงตอเวลา จากคูคาโดยเฉพาะคูคาในตางประเทศ

• ความสามารถในการแขงขันของกลุมบริษัท

ในดานการแขงขันในอุตสาหกรรมพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น กลุมบริษัทมีขอไดเปรียบในดานประสบการณในการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลและซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรมาเปนเวลาถึง 9 ป ทั้งจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมใน

นามของกลุมบริษัทและการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกม ทําใหปจจุบัน กลุมบริษัทมีบุคลากรที่มีความชํานาญ

สามารถวางแผนการผลิตและควบคุมตนทุนการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถพัฒนาและสงมอบ

ซอฟตแวรเกมที่มีคุณภาพใหแกผูจัดจําหนายหรือลูกคาผูวาจางในระยะเวลาที่กําหนด ซึ่งชวยใหกลุมบริษัทมีสภาพ

คลองทางการเงินคอนขางสูง ทั้งนี้การขาดสภาพคลองทางการเงินเปนหนึ่งในอุปสรรคสําคัญสําหรับผูประกอบธุรกิจ

พัฒนาซอฟตแวรรายยอยในประเทศไทยการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมมาเปนระยะเวลานานยังสงผลให

กลุมบริษัทไดรับประโยชนจากการมีจํานวนซอฟตแวรเกมที่พัฒนาเสร็จสมบูรณแลวจํานวนมาก ซึ่งซอฟตแวรเกมที่

พัฒนาเสร็จสมบูรณแลวนั้นยังสามารถนํามาประยุกตหรือพัฒนาตอเนื่องเปนซอฟตแวรเกมใหมไดในอนาคต ทําให

กลุมบริษัทสามารถลดตนทุนโดยเฉลี่ยตอเกมลง และสามารถลดระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหลดลง

นอกจากนี้กลุมบริษัทยังมีฐานลูกคาผูจัดจําหนายเกมรายใหญของโลกหลายราย อาทิเชน Activision Value

Publishing, Inc., Zoo Games, Inc. และ THQ, Inc. เปนตน ซึ่งผูจัดจําหนายรายใหญดังกลาวมีความสามารถใน

การจัดจําหนายซอฟตแวรเกมไปยังภูมิภาคตางๆ ไดอยางทั่วถึง ทําใหกลุมบริษัทสามารถกระจายซอฟตแวรเกมใหถึง

มือผูบริโภคปลายทางไดมากขึ้น อีกทั้งยังไดรับประโยชนจากการแลกเปลี่ยนขาวสารในอุตสาหกรรมเกมระหวางผูจัด

จําหนายและพันธมิตรทางธุรกิจอื่นๆ ซึ่งชวยเสริมใหกลุมบริษัทมีศักยภาพที่จะแขงขันในอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกม

ระดับโลกไดมากยิ่งขึ้น

Page 46: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 18

3.3 แนวทางในการดําเนนิธุรกิจและกลยุทธในการแขงขัน

ธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม เปนธุรกิจที่ถือไดวายังมีศักยภาพในการขยายตัวอยางตอเนื่อง ตลอดจนมี

โอกาสในการดําเนินธุรกิจสูง โดยภาวะการแขงขันระหวางผูพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยตรงถือวายังมีไมสูงมากนัก ซ่ึง

ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมแตละรายจะใหความสําคัญกับการพัฒนาซอฟตแวรเกมของตนใหมีแนวคิด และรูปแบบที่

สอดคลองกับความตองการของผูเลนเกมกลุมเปาหมายของตนเองเปนหลัก โดยกลุมบริษัทมีแนวทางที่ชัดเจนในการ

ดําเนินธุรกิจ ดังนี้

• แนวทางในการดําเนินธุรกิจ

1. มุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทคอนโซล

กลุมบริษัทกําหนดแนวทางในการดําเนินธุรกิจโดยมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซล ทั้งนี้เนื่องจาก

กลุมบริษัทเล็งเห็นถึงศักยภาพในการขยายตัวในธุรกิจซอฟตแวรเกมประเภทดังกลาว โดยเกมคอนโซลเปนเกมที่

ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางมากในปจจุบัน และมีจํานวนผูเลนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จากรายงาน Global

Entertainment and Media Outlook 2008 - 2012 ของ Pricewaterhousecoopers ซอฟตแวรเกมคอนโซล มี

สวนแบงตลาดรอยละ 57.60 ของอุตสาหกรรมซอฟตแวรเกมทั้งหมด และดวยลักษณะพื้นฐานของผูเลนเกมโดย

สวนใหญจะมีการแสวงหาเกมใหมๆ เพิ่มเติมอยางตอเนื่อง ดังนั้นการมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซล

จะทําใหกลุมบริษัทมีโอกาสในการขยายตัวและเติบโตเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของธรุกิจ

นอกจากนั้นแลว เมื่อพิจารณาในสวนของรอบระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เครื่องเลนเกมคอนโซล

จะมีรอบระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีประมาณ 7 ป ซึ่งนานกวาเครื่องคอมพิวเตอร และ

โทรศัพทเคลื่อนที่ ที่มีรอบระยะเวลาประมาณ 3-5 ป และ 1-2 ปตามลําดับ ทําใหระยะเวลาในการจําหนาย

ซอฟตแวรเกมที่ทําการพัฒนามีแนวโนมที่ยาวนานกวาซอฟตแวรเกมสําหรับอุปกรณเครื่องเลนอื่นๆ สงผลตอ

โอกาสในการหารายไดและศักยภาพในการทํากําไรของกลุมบริษัท ซึ่งโดยเฉลี่ยแลวอัตรากําไรขั้นตนของ

ซอฟตแวรเกมคอนโซลมีแนวโนมที่สูงกวาเกมประเภทอื่นทําใหการเพิ่มขึ้นของยอดจําหนายซอฟตแวรเกม

คอนโซล จะมีสวนชวยผลักดันใหความสามารถในการทํากําไรของกลุมบริษัทปรบัตัวเพิ่มขึ้นได

2. มุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทแคชชวล (Casual Game)

กลุมบริษัทกําหนดแนวทางในการดําเนินธุรกิจโดยมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทแคชชวล ทั้งนี้

เนื่องจากเกมแคชชวลเปนประเภทของเกมที่ไดรับความนิยมอยางตอเนื่องในกลุมผูเลนเกม โดยเปนกลุมเกมที่ผู

เลนมิไดมีกระแสนิยมที่เปล่ียนแปลงตามสภาวะแวดลอม ปจจุบันมีผูเลนจํานวนมากกวา 200 ลานคนทั่วโลก

จากขอมูล Casual Game Association: CGA ซึ่งเปนองคกรระหวางประเทศที่ตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม

เกมแคชชวล ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากผูประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมแคชชวลในหลายประเทศทั่วโลก

ในป 2550 เกมแคชชวลมีอัตราเติบโตประมาณรอยละ 20 ตอป และมีมูลคารวมกวา 2,250 ลานเหรียญสหรัฐ

คิดเปนสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 8.45 ของอุตสาหกรรมความบันเทิงอินเตอรแอคทีฟทั่วโลก จากการที่

ซอฟตแวรเกมแคชชวลสวนใหญมีราคาจําหนายที่ไมสูงมากตลอดจนมีระยะเวลาในการเลนเกมจนจบสั้นกวา

เกมประเภทอื่น ทําใหผูบริโภคมีแนวโนมที่จะซื้อซอฟตแวรเกมใหมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนั้น การมุงเนนในการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทแคชชวลจะชวยเพิ่มโอกาสในการจําหนายซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทไดอยาง

ตอเนื่องในระยะยาว

Page 47: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 19

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาในดานการผลิตนั้น เกมแคชชวลใชเวลาและตนทุนการพัฒนาต่ํากวาเกมคอนโซล

หลัก (Core Game) ซึ่งมีรายละเอียดของเกมทั้งในดานการออกแบบและภาพกราฟกในระดับสูงและตองใช

เทคโนโลยีระดับสูงในการผลิต การพัฒนาซอฟตแวรเกมไดในระยะเวลาสั้นนั้น จะชวยลดปญหาดานเงินทุน

หมุนเวียนในระหวางการพัฒนาซอฟตแวรเกมซึ่งเปนปญหาสําคัญของผูพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยสวนใหญ และ

ทําใหตนทุนในการดําเนินงานต่ําลง สงผลตอความสามารถในการทํากําไรของกลุมบริษัท

3. มุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับครอบครัวและเด็ก

กลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับครอบครัวและเด็ก โดยซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการ

พัฒนาจะเปนเกมที่สมาชิกในครอบครัวสามารถเลนรวมกันไดเพื่อความผอนคลาย รวมถึงซอฟตแวรเกมใน

ลักษณะสื่อความรู (Edutainment Game) เพื่อพัฒนาความรูและทักษะดานตางๆ ใหแกเด็กโดยจะสามารถเลน

เกมรวมกับสมาชิกอื่นๆ ในครอบครัว ซึ่งซอฟตแวรเกมในลักษณะดังกลาวจะชวยเสริมสรางความสัมพันธอันดี

ระหวางสมาชิกภายในครอบครัว ทั้งนี้ กลุมบริษัทตระหนักดีวาความสัมพันธอันดีภายในครอบครัวจะมีสวนชวย

พัฒนาบุคคลากรที่มีคุณภาพออกสูสังคมในอนาคต

ทั้งนี้ตลาดสินคาซอฟตแวรเกมสําหรับครอบครัวและเด็กถือเปนตลาดที่มีขนาดคอนขางใหญ เนื่องจาก

ปจจุบันเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวาการนําเทคโนโลยีรูปแบบตางๆ เขามาใชเปนส่ือการเรียนการสอนมีผลตอเนื่อง

ถึงการพัฒนาทักษะดานตางๆ ของเด็กอยางมาก ทําใหซอฟตแวรเกมสําหรับครอบครัวและเด็กจึงเปนส่ือในการ

เรียนรูรูปแบบใหมที่เปนที่นิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและแพรหลายในวงกวาง

• กลยุทธในการแขงขัน

โดยกลุมบริษัทไดกําหนดกลยุทธในการแขงขัน อันจะนําไปสูความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ดังนี้

1. การพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีแนวคิดแตกตาง

การพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีแนวคิดแตกตางถือเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญที่จะทําใหซอฟตแวรเกมที่ทํา

การพัฒนาไดรับความนิยมและมีโอกาสประสบความสําเร็จ โดยกลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ที่มีรายละเอียด หรือรูปแบบการเลนของผูเลนที่แตกตางจากซอฟตแวรเกมที่มีเสนอขายอยูในปจจุบัน เพื่อ

นําเสนอทางเลือกเพิ่มเติมใหแกนักเลนเกมตลอดจนลดการแขงขันโดยตรงกับผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายอื่น

ซึ่งถือเปนการเพิ่มโอกาสใหซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาไดรับความนิยมในหมูนักเลนเกม

เพิ่มขึ้น และจากการที่กลุมบริษัทมุงเนนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับครอบครัวและเด็ก ทําใหในการ

กําหนดแนวคิดในการพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทนั้น นอกจากจะใหความสนุกสนานและความ

เพลิดเพลินแลวนั้น การคํานึงถึงประโยชนที่ผูเลนจึงจะเปนอีกหนึ่งในปจจัยสําคัญที่กลุมบริษัทจะนํามา

พิจารณารวมดวย

ทั้งนี้ แนวคิดในการสรางสรรคเกมใหมของกลุมบริษัทจะมีการออกแบบอยางมีระบบและแบบแผน

โดยกลุมบริษัทจะทําการวิจัยความตองการของตลาดเพื่อศึกษาแนวโนมความนิยมของนักเลนเกม เพื่อ

กําหนดรูปแบบของเกม (Game Trend) ที่จะทําการพัฒนา เชน เกมบริหาร เกมแอคชั่น เกมปริศนา เกม

ฟารมเล้ียงสัตว เปนตน หลังจากนั้นกลุมบริษัทจะกําหนดรายละเอียดและแนวคิดโดยรวมของเกม (Game

Concept)ซึ่งเปนตัวกําหนดความเปนเอกลักษณของเกมแตละเกม (Uniqueness) ที่จะทําใหซอฟตแวรเกม

Page 48: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 20

ที่ทําการพัฒนาโดยกลุมบริษัทมีรูปแบบที่แตกตางจากผูพัฒนาซอฟตแวรเกมรายอื่น ดังเชน เกม Tourism

Rally in Thailand: Bonga Bonga ซึ่งเปนการนํารูปแบบเกมผจญภัยผสมผสานกับแนวคิดของการ

ทองเที่ยว ทําให Tourism Rally in Thailand: Bonga Bonga เปนเกมแนวผจญภัยที่มีลักษณะเฉพาะตัว

โดยผูเลนสามารถบังคับตัวละครเพื่อผจญภัยในสถานที่ทองเที่ยวตางๆ ในประเทศไทย หรือ เกม Moontra

Kids ซึ่งเปนการนํารูปแบบเกมแอคชั่นผสมผสานกับแนวคิดในการตอตานยาเสพติด รวมกันเปนเกม

แอคชั่นที่ผูเลนสามารถผจญภัยตอสูในรูปแบบตางๆ เพื่อปศาจรายที่มาจากยาเสพติด เปนตน

โดยการพัฒนาแนวคิดใหมีความแตกตางจะทําใหซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาไดรับความ

สนใจและเปนที่ความนิยมของผูเลน ซึ่งจะสงผลตอความสามารถในการหารายไดของกลุมบริษัทในอนาคต

2. การใหความสําคัญกับคุณภาพของซอฟตแวรเกม

กลุมบริษัทตระหนักดีวา คุณภาพของซอฟตแวรเกมซึ่งรวมถึงรูปลักษณะของเกม รูปแบบภาพกราฟกที่

มีสีสันสวยงาม และการเคลื่อนไหวภายในเกมที่มีความสมจริงและตรงตามรสนิยมของผูเลนนั้น จะมีสวน

ชวยใหซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาไดรับความนิยมจากผูเลนและสนับสนุนการตัดสินใจซื้อของ

ผูเลนเกมเปนอยางมาก ตลอดจนสามารถเพิ่มมูลคาของซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทได กลุมบริษัทจึงได

ใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของซอฟตแวรเกมในทุกขั้นตอนการพัฒนา ตั้งแตการวิจัยพัฒนา

รูปแบบตัวละคร การเขียนโปรแกรมใหมีระบบการเคลื่อนไหวอยางเปนธรรมชาติ การใหความสําคัญกับ

ระบบเสียงที่สอดคลองกับสถานการณตางๆ ภายในเกมเพื่อสรางบรรยากาศและความรูสึกรวมของผูเลน

เกม การพากยเสียงโดยผูพากยซึ่งเปนเจาของภาษาอยางแทจริง เชน ภาษาอิตาเลี่ยน ภาษาสเปน เปนตน

รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพของซอฟตแวรเกมโดยระบบการตรวจสอบตามมาตรฐานขิงผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซล โดยตลอดระยะเวลาที่ผานมากลุมบริษัทมีการดําเนินการในรูปแบบตางๆ เพื่อ

พัฒนาคุณภาพโดยรวมของซอฟตแวรเกมอยางตอเนื่อง ดังเชน

• กลุมบริษัทมีการวาจางที่ปรึกษาทางดานการตลาดเชน IEM Consulting ประเทศเยอรมัน และ

M&M Consulting, Inc. ประเทศญี่ปุน เพื่อรับทราบขอมูลดานรสนิยมและความชอบของลูกคา

กลุมเปาหมายของกลุมบริษัทแตละภูมิภาคโดยละเอียด และนํามาวิเคราะห เพื่อออกแบบ

รูปลักษณ และภาพกราฟกของตัวละครใหสอดคลอง กับรสนิยมและความชอบของลูกคา

กลุมเปาหมายในแตละภูมิภาคซึ่งจะสงผลตอการไดรับความนิยมของซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัท

ทําการพัฒนา เชน เด็กชาวยุโรปชอบตัวละครที่มีริมฝปากอวบอิ่ม และชอบเสื้อผาโทนสีฟาสบาย

ตา ในขณะที่เด็กชาวอเมริกันชอบตัวละครที่มีริมฝปากบาง และชอบเสื้อผาโทนสีที่มีความโดด

เดน เปนตน

• ในกรณีที่กลุมบริษัททําการพัฒนาซอฟตแวรเกม ซึ่งมีลักษณะการเคลื่อนไหวที่มีลักษณะ

เฉพาะเจาะจง เชน การเดินแฟชั่นโชวในเกม Barbie Fashion Show กลุมบริษัทไดมีการวาจาง

นางแบบทําการโพสตทาตางๆ และใชอุปกรณ motion capture ซึ่งเปนอุปกรณเซนเซอรติดตาม

รางกายเพื่อจับความเคลื่อนไหวของรางกายนางแบบ และนํามาใสเปนการเคลื่อนไหวของตัว

ละครซึ่งจะทําใหการเคลื่อนไหวของตัวละครในเกมมีความสมจริง ทําใหผูเลนเกิดความรูสึก

สนุกสนานและความเพลิดเพลินในการเลนเกมเพิ่มขึ้น

Page 49: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 21

• กลุมบริษัทใหความสําคัญกับการทําการวิจัย เพื่อศึกษาขอมูลในเรื่องที่เกี่ยวของกับเกมที่ทําการ

พัฒนา เพื่อใหซอฟตแวรเกมที่ทําการพัฒนามีรายละเอียดดานอื่นๆ ที่ครบถวน เชน ในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกม Beauty Salon กลุมบริษัทไดทําการศึกษาลักษณะทรงผมรูปแบบตางๆ กวา 300

ทรง และทําการสรุปใหเหลือรูปทรงหลักที่มีความใกลเคียงกัน เพื่อใหเปนทางเลือกกับผูเลนในการ

เลือกออกแบบทรงผมใหแกตัวละครในเกม เปนตน

ทั้งนี้การใหความสําคัญกับการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมีคุณภาพโดยเฉพาะดานความสมจริง และมี

รูปลักษณะที่ตรงตามรสนิยมและความสนใจของผูเลนนั้น กลุมบริษัทเชื่อวาจะมีสวนชวยเพิ่มโอกาสใหเกม

ที่กลุมบริษัททําการพัฒนาไดรับความนิยมจากผูเลน ซึ่งจะสงผลตอการขยายตัวเพิ่มขึ้นของรายไดและ

ความสามารถในการทํากําไรของกลุมบริษัทไดในอนาคต

3. การบริหารตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมีประสิทธิภาพ

การบริหารตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมีประสิทธิภาพถือเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญที่จะสงผล

ตอความสามารถในการทํากําไรของบริษัทผูพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยทั่วไป โดยกลุมบริษัทมีการดําเนินงาน

หลากหลายแนวทางเพื่อบริหารตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหลดลงซึ่งโดยสวนใหญแลวจะมีความ

เกี่ยวพันกับการบริหารและควบคุมระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมเปนหลัก เนื่องจากคาจางแรงงาน

ถือเปนตนทุนหลักของตนทุนการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยรวม โดยกลุมบริษัทไดมีนโยบายในการ

ดําเนินงานดังนี้

• ทําการพัฒนาเครื่องมือที่ชวยในการพัฒนาซอฟตแวรเกม (Game Engine) อาทิเชน 3D Face

Engine และ 3D Engine เปนตน ซึ่งใชสําหรับการสรางภาพใบหนาตัวละครแบบสามมิติ หรือ

ภาพสามมิติทั่วไป การพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการพัฒนาซอฟตแวรเกมจะสามารถชวยลดตนทุน

ในสวนของคาลิขสิทธิ์ในการจัดหาซอฟตแวรสําเร็จรูป เชน โปรแกรม 3D Max, Maya, Adobe

Illustrator ของกลุมบริษัทลงไดทําใหตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยรวมของกลุมบริษัท

ลดลง

• ทําการพัฒนาชุดคําส่ัง (Source Code) ซึ่งเปนการเขียนภาษา C++ เพื่อกําหนดคําส่ังตางๆ ใน

ซอฟตแวรเกม เชน คําส่ังใหตัวละครเคลื่อนไหวไปในทิศทางหรือลักษณะที่ตองการ เชน การ

แตงหนา เขียนคิ้ว การเตนรํา หรือ คําส่ังใหกําหนดลักษณะอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นในเกม เชน หิน

ถลม น้ําทวม หรือ คําส่ังใหเกมทําการเปลี่ยนลําดับความยากเมื่อผูเลนสามารถปฏิบัติไดตาม

เงื่อนไขที่กําหนด เปนตน ทั้งนี้ กลุมบริษัทสามารถนําชุดคําส่ังที่มีการพัฒนาไวแลวนั้น มาใชซ้ําใน

การพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีลักษณะการทํางานที่คลายคลึงไดในอนาคต เชน การนําชุดคําส่ังที่

เกี่ยวของกับการแตงหนา ในเกม Barbie Fashion Show มาใชในเกม Beauty Salon ทําให

ระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมในลําดับถัดไปมีความรวดเร็วเพิ่มขึ้น สงผลใหระยะเวลา

และตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมของกลุมบริษัทลดลง และกลุมบริษัทสามารถพัฒนา

ซอฟตแวรเกมไดมากขึ้น และมีตนทุนในการพัฒนาที่สามารถแขงขันกับผูพัฒนาซอฟตแวรเกม

รายอื่นในตลาดโลกได

Page 50: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 22

• ทําการพัฒนาซอฟตแวรเกม สําหรับทุกระบบเครื่องเลนเกมคอนโซล ทั้ง เครื่องเลนเกม Wii ของ

นินเทนโด และเครื่องเลนเกม Playstation ของ โซนี่ เปนตน ซึ่งจะชวยใหตนทุนการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมโดยภาพรวมของกลุมบริษัทตอเกมลดลง เนื่องจากโดยทั่วไปแลวในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลแตละประเภทนั้นจะมีความแตกตางหลักในสวนของ

การเขียนโปรแกรมใหสอดคลองกับเทคโนโลยีของแตละผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล ในขณะที่

การพัฒนาในสวนของกราฟก และเสียงนั้นความแตกตางจะมีไมมากนักและสามารถดําเนินการ

ควบคูไปไดพรอมกันซึ่งจะทําใหตนทุนในการพัฒนากราฟกและเสียงตอเกมลดลงได นอกจากนั้น

แลวการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลทุกรูปแบบ จะชวยเพิ่มความ

หลากหลายในตัวสินคา และโอกาสในการกระจายซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทไปยังกลุมผูเลนที่

หลากหลายยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลตอโอกาสที่ซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาจะไดรับความ

นิยมจากผูเลนในวงกวางได

• การบริหารวางแผนการพัฒนาซอฟตแวรเกมอยางมีประสิทธิภาพ โดยกลุมบริษัทกําหนดแผนใน

การพัฒนาซอฟตแวรเกมในแตละป เพื่อวางแผนกระจายงานและทรัพยากรบุคคลในแตละ

โครงการใหมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากการใชทรัพยากรภายในกลุมบริษัทแลวยังมีการวาจาง

บริษัทและบุคคลภายนอกในการพัฒนาซอฟตแวรเกมบางสวน ซึ่งการบริหารทรัพยากรบุคคลใน

ลักษณะดังกลาวมีสวนชวยใหตนทุนการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยรวมของกลุมบริษัทลดลงได

เนื่องจากกลุมบริษัทจะทําการวาจางบริษัทและบุคคลภายนอกสําหรับลักษณะงานบางสวนของ

เกมที่ตองการทักษะหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคลสูง ซึ่งกรณีที่กลุมบริษัทตองจัดหาพนักงาน

ที่มีคุณสมบัติดังกลาวในลักษณะพนักงานประจํา จะทําใหกลุมบริษัทมีตนทุนการดําเนินงานคงที่

เพิ่มสูงขึ้นมาก นอกจากนี้การวาจางบุคคลภายนอกทําใหกลุมบริษัทสามารถควบคุมระยะเวลา

ในการผลิตไดดียิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลตอตนทุนการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยรวมของกลุมบริษัทดวย

• การวางระบบการบริหารจัดการที่ดีกลุมบริษัทตระหนักดีวาการมีระบบบริหารจัดการที่ดีและมี

ประสิทธิภาพ จะทําใหการทํางานมีความคลองตัวและสามารถลดความลาชาในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมลงได โดยเฉพาะระบบการจัดการในดานการจัดทําเอกสารการออกแบบเกม

(Game Design Document) โดยกลุมบริษัทใหความสําคัญกับการจัดทําเอกสารการออกแบบ

เกมใหมีรายละเอียดและครอบคลุมเนื้อหาของเกมโดยละเอียด เพื่อใหการสื่อสารทั้งภายใน

องคกร และระหวางกลุมบริษัทและลูกคามีความชัดเจนเปนไปทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะสามารถชวย

ลดการแกไขอันเกิดจากความเขาใจในความตองการที่ผิดพลาด อันจะนํามาสูความรวดเร็วในการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมและสงผลใหตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทลดลง

ทั้งนี้ การบริหารจัดการดังที่กลาวมาแลวขางตน ทั้งทางดานการพัฒนาเครื่องมือที่ชวยในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกม (Game Engine) การพัฒนาชุดคําส่ัง (Source Code) การพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับทุก

ระบบเครื่องเลนเกมคอนโซล การวางแผนพัฒนาซอฟตแวรเกมและการบริหารทรัพยากรบุคคล รวมทั้งการ

วางระบบการจัดการที่ดีนั้น กลุมบริษัทเชื่อวาจะชวยใหกลุมบริษัทสามารถพัฒนาซอฟตแวรเกมไดอยางมี

ประสิทธิภายใตการควบคุมตนทุนในการพัฒนาที่เหมาะสม ซึ่งจะสงผลตอความสามารถในการแขงขัน

และความสามารถในการทํากําไรของกลุมบริษัทได

Page 51: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 23

4. การกําหนดชองทางการจําหนายที่มีประสิทธิภาพ

ชองทางการจัดจําหนายถือเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญที่จะชวยสนับสนุนใหซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททํา

การพัฒนากระจายไปสูผูเลนในภูมิภาคตางๆ ซึ่งจะนํามาถึงโอกาสในการเพิ่มยอดจําหนายและรายไดของ

กลุมบริษัท ทั้งนี้ กลุมบริษัทมีนโยบายที่จะมุงเนนการติดตอจัดจําหนายซอฟตแวรเกมผานผูจัดจําหนาย

เกมรายใหญของโลก เชน Activision Value Publishing, Inc., Zoo game, Inc., THQ, Inc. เปนตน

เนื่องจากการจัดจําหนายเกมผานผูจัดจําหนายรายใหญของโลกที่มีศักยภาพในการกระจายสินคาไดทั่วถึง

ยอมเปนการเปดโอกาสใหผูบริโภคปลายทางเขาถึงสินคาของกลุมบริษัทไดมากขึ้น ประกอบกับการที่กลุม

บริษัทสามารถจัดจําหนายสินคาผานผูจัดจําหนายที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักในหมูผูบริโภคยังเปนการบงบอกถึง

คุณภาพของซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัทเปนผูพัฒนา ซึ่งจะเปนการสรางชื่อเสียงของกลุมบริษัทใหผูบริโภค

รูจักมากยิ่งขึ้นสงผลถึงโอกาสในการขยายตัวและเติบโตของกลุมบริษัทในอนาคต

ปจจุบันกลุมบริษัทมีเปาหมายที่จะขยายชองทางการจําหนายไปยังผูจัดจําหนายรายใหญในภูมิภาค

เอเชีย เชน ญี่ปุน เพื่อขยายขอบเขตการกระจายสินคาของกลุมบริษัทไปยังผูบริโภคในภูมิภาคดังกลาวซึ่ง

ถือเปนตลาดที่มีศักยภาพในการขยายตัวในอนาคต ทั้งนี้การขยายชองทางการจําหนายไปยังภูมิภาคเอเชีย

นั้นนอกจากจะสงผลใหรายไดของกลุมบริษัทมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นแลว ยังเปนการกระจายความเสี่ยงใน

การดําเนินธุรกิจอีกดวย

3.4 การจัดจําหนายและชองทางการจําหนาย

การจัดจําหนายซอฟตแวรเกม

ในการจัดจําหนายซอฟตแวรเกมโดยทั่วไปนั้นมีผูที่เกี่ยวของ 3 กลุมหลักคือ ผูพัฒนาซอฟตแวรเกม ผูจัด

จําหนายเกม และรานจําหนายปลีก โดยมีกระบวนการจัดจําหนายซอฟตแวรเกมดังนี้

กระบวนการจัดจําหนายซอฟตแวรเกม

เมื่อกลุมบริษัทพัฒนาซอฟตแวรเกมเสร็จสมบูรณและผานการตรวจสอบคุณภาพแลว จะทําการสงมอบ

ซอฟตแวรเกมใหกับผูจัดจําหนาย ซึ่งผูจัดจําหนายจะทําการตรวจสอบคุณภาพของซอฟตแวรเกมอีกครั้งหนึ่ง กอนทํา

การสั่งผลิตแผนซีดีเกมและจัดจําหนายใหกับรานจําหนายปลีกอื่นๆ

ทั้งนี้สําหรับการจัดจําหนายเกมคอนโซลนั้น ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลจะเขามามีบทบาทในการ

ตรวจสอบคุณภาพและผลิตแผนซีดีเกม และผูจัดจําหนายเกมคอนโซลจะตองไดรับการแตงตั้งจากผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซล (Licensed Game Publisher) เทานั้น เนื่องจากผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลเปนเจาของสิทธิ

ในเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับเกมคอนโซลนั้นๆ ทั้งหมด โดยมีภาพรวมของการผลิตและจําหนายซอฟตแวรเกมคอนโซล

สามารถแสดงไดดังตอไปนี้

กลุมบริษัทสงมอบ

ซอฟตแวรเกม

(Master Copy)

ผูจัดจําหนาย

ตรวจสอบคุณภาพ

ซอฟตแวรเกม

ผูจัดจําหนายผลิต

แผนซีดีและจัด

จําหนาย

หางคาปลีก

หางสรรพสินคา

รานคาปลีก

เว็บไซต

Page 52: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 24

กระบวนการจัดจําหนายซอฟตแวรเกมคอนโซล

รายละเอียดการจัดจําหนายแตละขั้นตอน

1. การตรวจสอบคุณภาพโดยผูจัดจําหนาย

กลุมบริษัทสงมอบตนฉบับซอฟตแวรเกมที่เสร็จสมบูรณและผานการตรวจสอบคุณภาพเบื้องตนโดย

กลุมบริษัทแลว (Master Copy) ใหกับผูจัดจําหนาย โดยผูจัดจําหนายจะทําการตรวจสอบคุณภาพของ

ซอฟตแวรเกมอีกครั้งหนึ่ง ในระหวางนี้หากผูจัดจําหนายตรวจพบจุดบกพรองในซอฟตแวรเกม จะแจงกลุม

บริษัทเพื่อทําการแกไขอีกครั้ง

2. การตรวจสอบคุณภาพและระดับความเหมาะสมของเนื้อหาโดยผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล

เมื่อซอฟตแวรเกมผานการตรวจสอบคุณภาพโดยผูจัดจําหนายแลว ผูจัดจําหนายจะนําสงตนฉบับ

ซอฟตแวรเกมดังกลาวใหกับผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลเพื่อทําการตรวจสอบคุณภาพในขั้นสุดทาย

นอกจากนี้ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลจะทําการตรวจสอบระดับความเหมาะสมของเนื้อหาเกมอีกครั้งหนึ่ง

โดยสําหรับนินเทนโดนั้นซอฟตแวรเกมคอนโซลที่จะผานการตรวจสอบตองไมมีเนื้อหารุนแรงเกินกวาระดับ

“M” ซึ่งหมายถึงเกมที่มีเนื้อหาเหมาะสําหรับผูเลนที่มีอายุมากกวา 17 ป ขึ้นไปตามมาตรฐานของ

สหรัฐอเมริกา

3. การสั่งผลิตแผนซีดีเกมคอนโซล

เมื่อผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลตรวจสอบคุณภาพของซอฟตแวรเกมเปนที่เรียบรอยแลว ผูจัด

จําหนายจึงสามารถสงคําส่ังซื้อไปยังผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลเพื่อใหทําการผลิตแผนซีดีเกมรวมทั้ง

บรรจุภัณฑทั้งหมด โดยผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลมีสิทธิในการผลิตแผนเกมคอนโซลแตเพียงผูเดียว

จากนั้นแผนซีดีเกมและบรรจุภัณฑที่ผลิตเสร็จแลวจะถูกสงกลับไปยังผูจัดจําหนายเกมเพื่อทําการจัด

จําหนายตอไป

สงมอบตนฉบับเกม

(Master Copy)

ตรวจสอบคุณภาพ

โดยผูจัดจําหนาย

ตรวจสอบคุณภาพโดย

ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล

ผลิตสื่อซีดี/ตลับเกม

จัดสงสินคาและ รายงานยอดการผลิต

กระจายสินคาใหแกรานคา

กลุมบริษัทCyberPlanet

ผูจัดจําหนาย (Game Publisher)

ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล (Platform Owner)

สงคําสั่งซ้ือเพื่อแจงยอด

ที่ตองการผลิต

Page 53: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 25

4. การจัดจําหนายแกรานคาปลีก

ผูจัดจําหนายจะทําการจัดจําหนายแกผูจําหนายปลีกตางๆ อาทิเชน หางคาปลีก หางสรรพสินคา และรานคา

ปลีกอื่นๆ นอกจากนี้ผูจําหนายปลีกบางรายอาจมีจําหนายแผนซีดีเกมทางเว็บไซตของรานคาของตน

ชองทางการจดัจําหนาย

ในการจัดจําหนายซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรและซอฟตแวรเกมคอนโซลนั้น กลุมบริษัทดําเนินการผาน 2

ชองทางคือ

1. การจําหนายใหแกผูจัดจําหนาย

กลุมบริษัทจะใหสิทธิในการจัดจําหนายซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการผลิตและพัฒนาแกผูจัดจําหนาย

ในตางประเทศ ทั้งในภูมิภาคยุโรปและสหรัฐอเมริกา เชน Zoo Games, Inc.และ THQ, Inc. เปนตน โดยผูจัด

จําหนายจะเปนดําเนินการกระจายสินคาใหวางจําหนายตามรานคาตางๆ ทั้งรานคาปลีกขนาดใหญ หางสรรพสินคา

ภายในภูมิภาคที่ไดรับสิทธิ นอกจากนี้สําหรับกรณีของการจําหนายซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร ผูจัดจําหนายบางราย

อาจใชการจําหนายผานอินเตอรเน็ต ซึ่งผูเลนสามารถสั่งซื้อแผนซีดีเกมหรือดาวนโหลดซอฟตแวรเกมจากเว็บไซตของ

ผูจัดจําหนายโดยตรงได อาทิเชน บริษัท Big Fish Games, Inc. ซึ่งจําหนายซอฟตแวรเกมผานการดาวนโหลดทาง

เว็บไซต www.bigfishgames.com เปนตน

2. การจัดจําหนายโดยตรงกับลูกคา

กลุมบริษัทจะติดตอกับลูกคาโดยตรงเพื่อนําเสนอซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาใหแกลูกคา หรือ

นําเสนอบริการในการพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงที่ลูกคาตองการ โดยลูกคาที่กลุมบริษัททํา

การติดตอโดยตรงนั้นสามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ

• เจาของผลิตภัณฑที่มีความตองการนําสินคาของกลุมบริษัทเปนสินคาแถมเพื่อสงเสริมการจําหนาย

สินคาของตน โดยสวนใหญจะเปนผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งจะทําการซื้อสิทธิในการนําซอฟตแวร

เกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาไวแลว ติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร หรือแนบเปนสินคาแถมแกลูกคา

เพื่อเพิ่มมูลคาเพิ่มใหแกตัวสินคา โดยตัวอยางผูผลิตคอมพิวเตอรที่เปนลูกคาของกลุมบริษัท เชน

บริษัท เอเซอรคอมพิวเตอร จํากัด และ บริษัท ฮิวเลตต-แพคการด (ประเทศไทย) จํากัด เปนตน

นอกจากนี้ยังมีผูใหบริการอินเตอรเน็ตบางราย ซึ่งจะทําการซื้อสิทธิในการนําซอฟตแวรเกมที่กลุม

บริษัททําการพัฒนาไวแลว ติดตั้งในเว็บไซต ของตนเพื่อใหผูใชบริการอินเตอรเน็ต ตัวอยางผูใหบริการ

อินเตอรเน็ต ไดแกบริษัท ทีโอที จํากัด(มหาชน) เปนตน ทั้งนี้ การจําหนายสิทธิใหแกลูกคาโดยตรงใน

กลุมนี้ โดยสวนใหญจะเปนการใหสิทธิในลักษณะรวมซอฟตแวรเกมหลายเกมเขาดวยกัน

• เจาของผลิตภัณฑที่มีความตองการพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีคุณลักษณะเจาะจงสําหรับตนเอง เพื่อใช

เปนส่ือในการประชาสัมพันธ และสงเสริมการขายสินคาของตน โดยลูกคาจะระบุรายละเอียดของเกม

ที่ตองการเพื่อใหกลุมบริษัททําการพัฒนา ตัวอยางลูกคากลุมนี้ไดแก บริษัท Activision Value

Publishing, Inc. ซึ่งวาจางกลุมบริษัทใหทําการพัฒนาซอฟตแวรเกม Barbie Fashion Show บริษัท

Myscape ที่จางกลุมบริษัทใหพัฒนาซอฟตแวรเกม Nursery Mania และบริษัท ยูนิลีเวอรไทย เทรดดิ้ง

จํากัด ซึ่งทําสัญญาวาจางกลุมบริษัทพัฒนาซอฟตแวรเกม Paddle Pop: The Pyrata โดยเปนการนํา

Page 54: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 26

ตัวการตูนหลักที่เปนตัวแทนของไอศกรีม Paddle Pop ในส่ือโฆษณารูปแบบตางๆ มาพัฒนาสูรูปแบบ

เกมคอมพิวเตอรและเกมคอนโซลใหเปนเกมผจญภัยไขปริศนา ซึ่งผูเลนสามารถนํารหัสที่ไดรับเมื่อซื้อ

ไอศกรีม Paddle Pop แลกเปนรางวัลและอุปกรณตางๆ ภายในเกมได โดยซอฟตแวรเกมดังกลาวนั้น

ลูกคาจะนําไปแจกโดยสามารถดาวนโหลดจากอินเตอรเน็ต หรือใชวิธีแจกแผนซอฟตแวรเกมแกผูที่ซื้อ

ไอศกรีมเปนการสงเสริมการขาย

ลูกคากลุมเปาหมาย

กลุมลูกคาเปาหมายของกลุมบริษัท ไดแก กลุมผูจัดจําหนายเกม (Game Publisher) ในตางประเทศเปน

หลัก ทั้งนี้ในการประกอบธุรกิจจัดจําหนายเกมคอนโซล ผูจัดจําหนายจะตองไดรับการอนุญาตและใหสิทธิในการจัด

จําหนายเกมคอนโซลจากผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลแตละราย ทั้งนี้ ปจจุบันกลุมบริษัทถือเปนผูประกอบการไทย

รายเดียวที่ไดรับการอนุญาตใหเปนผูจัดจําหนายสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล Nintendo Wii จากนินเทนโด อยางไร

ก็ตาม ดวยการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม และธุรกิจผูจัดจําหนายเกมมีความแตกตางกันในเรื่องการทํา

การตลาด รวมถึงเงินลงทุนในการดําเนินงาน ทําใหปจจุบันกลุมบริษัทมุงเนนการดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม

เพียงอยางเดียวเทานั้น

กลุมบริษัททําการจําหนายซอฟตแวรเกมใหกับผูจัดจําหนายเกมใน 2 ลักษณะคือ

1) กลุมบริษัทใหสิทธิแกผูจัดจําหนายในการทําซ้ํา และจําหนายซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทใน

ภูมิภาคที่กําหนด โดยผูจัดจําหนายจะเปนกําหนดจํานวนแผนเกมที่จะทําการผลิตและกระจาย

สินคาไปยังรานคาปลีกตางๆ ในภูมิภาคที่ผูจัดจําหนายนั้นมีสิทธิในการจัดจําหนาย กลุมผูบริโภคที่

เปนลูกคากลุมเปาหมายหลักของผูจัดจําหนายเกมในการจําหนายซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัทเปน

ผูพัฒนา คือ กลุมผูเลนวัยเด็กเล็กไปจนถึงวัยประถมศึกษาซึ่งตองการเลนเกมเพื่อความเพลิดเพลิน

(Casual Gamer) เปนหลัก การจําหนายในลักษณะดังกลาวลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรเกมที่พัฒนาขึ้น

นั้นจะถูกจดในนามของกลุมบริษัท

2) กลุมบริษัทรับจางผูจัดจําหนายหรือผูผลิตสินคาทั้งในและตางประเทศในการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ซึ่งผูจัดจําหนายเกมหรือผูผลิตสินคาจะเปนผูกําหนดความตองการและกําหนดลักษณะโดยรวม

ของเกมที่จะทําการพัฒนา จากนั้นกลุมบริษัทจึงออกแบบรายละเอียดของเกมและสงใหผูวาจาง

พิจารณากอนเริ่มการพัฒนาซอฟตแวรเกม ทั้งนี้ซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัทรับจางผูผลิตสินคาใน

การพัฒนานั้น โดยมากจะถูกนําไปใชในการสงเสริมการขายและประชาสัมพันธสินคาของผูวาจาง

ดังกลาว อาทิเชน เกม Paddle Pop the Pyrata สําหรับเครื่องเลนเกม Nintendo Wii และเครื่อง

คอมพิวเตอร ซึ่งเปนซอฟตแวรเกมที่พัฒนาขึ้นเพื่อใชในการสงเสริมการขายและประชาสัมพันธโดย

แจกใหกับลูกคาที่ซื้อไอศกรีม Wall Paddle Pop เปนตน โดยลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรเกมที่พัฒนาขึ้น

นั้นถูกจดในนามของลูกคาผูวาจาง

ในป 2551 กลุมบริษัทจําหนายซอฟตแวรเกมคอนโซลผานผูจัดจําหนายจํานวน 8 ราย เพื่อ

กระจายซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทในอเมริกาและยุโรปเปนหลัก โดยมีสัดสวนรายไดในประเทศตอ

รายไดจากตางประเทศคิดเปน 40.86: 59.14 ทั้งนี้ในป 2551 กลุมบริษัทไมมีการจําหนายซอฟตแวรเกม

คอนโซลใหแกผูจัดจําหนายรายใดรายหนึ่งเกินกวารอยละ 30 ของรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกม

Page 55: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 27

3.5 การจัดหาผลิตภัณฑ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทมีสตูดิโอสําหรับพัฒนาซอฟตแวรเกมและอนิเมชั่นตั้งอยูที่ เลขที่

67/2 สุขุมวิทซอย 8 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร มีพนักงานที่ทําหนาที่พัฒนา

ซอฟตแวรเกมและอนิเมชั่นจํานวนรวม 19 คน โดยทั้งหมดเปนพนักงานของบริษัทยอยไดแก บริษัท แพลนเน็ต จี

จํากัด จํานวน 13 คน และบริษัท บลู วิซารด สตูดิโอ จํากัด จํานวน 6 คน และนอกเหนือไปจากพนักงานประจําของ

กลุมบริษัท กลุมบริษัทยังไดวาจางบุคคลและ/หรือบริษัทภายนอก (Outsource) ในการพัฒนาบางสวนของซอฟตแวร

เกมภายใตการควบคุมดูแลของหัวหนาทีมของกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทมีนโยบายในการตรวจสอบคุณภาพและ

ควบคุมกําหนดแลวเสร็จของชิ้นงานทุกชิ้น

ในป 2552 กลุมบริษัทมีการวาจางบริษัทและบุคคลภายนอกจํานวน 29 รายเพื่อพัฒนาซอฟตแวรเกม โดย

แบงเปนการพัฒนาดานโปรแกรมจํานวน 8 ราย การพัฒนางานดานภาพกราฟกและอนิเมชั่นจํานวน 5 ราย จัดทํา

รายละเอียดการออกแบบเกม 12 ราย จัดทําเสียงและดนตรีประกอบ 4 ราย เนื่องจากดวยลักษณะการประกอบธุรกิจ

ในการพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น คุณภาพของงานและการสงมอบงานตามกําหนดเวลาถือเปนปจจัยหลักในการ

ดําเนินธุรกิจ ดังนั้นโดยสวนใหญกลุมบริษัทจึงพิจารณาและทําการวาจางบริษัทหรือบุคคลภายนอกที่มีประสบการณ

ในการทํางานรวมกันมา และสามารถเชื่อถือไดเปนสําคัญ

สตูดิโอสําหรับพัฒนาซอฟตแวรเกมและอนิเมชั่นของกลุมบริษัท

Page 56: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 28

3.5.1 นโยบายการผลิต

กลุมบริษัทมีนโยบายการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมใน 2 ลักษณะ คือ

1. การพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อเสนอขายตอลูกคา (Made to stock)

กลุมบริษัทจะเปนผูออกแบบและกําหนดรายละเอียดทั้งหมดของเกม จากนั้นจึงดําเนินการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมจนแลวเสร็จและจึงนําเสนอตอลูกคา ทั้งในลูกคาซึ่งเปนผูจัดจําหนายเกม หรือเจาของผลิตภัณฑที่มี

ความตองการนําสินคาของกลุมบริษัทเปนสินคาแถมเพื่อสงเสริมการจําหนายสินคาของตน เชน ผูผลิตเครื่อง

คอมพิวเตอร โดยสวนใหญแลวการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อเสนอขายแกลูกคานั้น ลิขสิทธิ์ของซอฟตแวรโปรแกรมที่

ทําการพัฒนาจะเปนของกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทจะใหสิทธิลูกคาในการทําการจําหนายตามจํานวน หรือ

ระยะเวลาที่ไดตกลงกัน

2. การพัฒนาซอฟตแวรเกมตามความตองการของลูกคา (Made to order)

กลุมบริษัทจะพัฒนาซอฟตแวรเกมตามความตองการของลูกคา ทั้งลูกคาที่เปนผูจัดจําหนายเกมหรือลูกคา

ที่เปนเจาของผลิตภัณฑ โดยลูกคาเปนผูกําหนดรายละเอียดของเกมที่ตองการและมีตรวจสอบคุณภาพ และชําระ

คาบริการใหการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมใหแกกลุมบริษัทตามระดับความสําเร็จของชิ้นงานนับตั้งแตเอกสาร

ประกอบการออกแบบเกม (Design Document) เกมขั้นทดลอง (Alpha & Beta Testing) ไปจนถึงขั้นตอนการ

ตรวจสอบคุณภาพครั้งสุดทาย (Quality Assuring) การพัฒนาซอฟตแวรเกมในลักษณะนี้สวนมากใชกับการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมที่มีตนทุนการผลิตสูงหรือมีรูปแบบเปนเอกลักษณอันถือเปนเกมที่มีคุณภาพสูง (Premium) โดยสวน

ใหญลิขสิทธิ์ของซอฟตแวรโปรแกรมสําหรับการพัฒนาในลักษณะนี้จะเปนของลูกคา

โดยในป 2551 รายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อเสนอขายตอลูกคา และการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ตามความตองการของลูกคา อยูที่สัดสวนประมาณ 68.81: 31.19

3.5.2 ขั้นตอนการผลติ

ภาพรวมของการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ในการดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น กลุมบริษัทจะมีการจัดประชุมผูบริหารระดับสูงของแตละสวน

งานเพื่อวางแผนการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมประจําป ตลอดจนออกแบบเกมในเบื้องตน อาทิเชน แนวคิดของ

เกม และสวนประกอบตางๆ ของเกม โดยทําการศึกษาขอมูล ภาวะอุตสาหกรรม และงานวิจัยจากที่ปรึกษาทางการ

ตลาดเพื่อติดตามแนวโนมความเปลี่ยนแปลงของตลาดซอฟตแวรเกมซึ่งจะมีสวนชวยใหเกมที่กลุมบริษัทจะทําการ

ผลิตและพัฒนานั้น มีแนวคิดและรูปแบบตรงกับความตองการใชงานของผูเลนเกม สงผลโดยตรงตอการประสบ

ความสําเร็จและการไดรับความนิยมของซอฟตแวรเกมที่จะทําการผลิต นอกจากนี้กลุมบริษัทยังไดเขารวมงานแสดง

เกมในตางประเทศทั้งในทวีปยุโรปและอเมริกาอยางสม่ําเสมอเพื่อนําเสนอซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนา

แกตัวแทนจําหนายชั้นนําทั่วโลก โดยที่ผานมากลุมบริษัทไดเขารวมงาน E3 Expo ซึ่งจัดในเดือนมิถุนายนที่เมือง

ลอสแองเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา งาน Game Connection ซึ่งมีจัดปละสองครั้งในเดือนมีนาคมที่เมืองซานฟราน

ซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา และในเดือนธันวาคมที่เมืองลียอง ประเทศฝรั่งเศส และงาน Gamescom ซึ่งจัดในเดือน

สิงหาคมที่เมืองโคโลญ ประเทศเยอรมนี อยางสม่ําเสมอ เพื่อนําเสนอซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนาแก

ตัวแทนจําหนายชั้นนําทั่วโลก โดยการเขารวมงานดงักลาวนอกจากเปนชองทางการจําหนายของกลุมบริษัทแลว ยังมี

สวนชวยใหกลุมบริษัทรับรูทิศทางการพัฒนาซอฟตแวรเกมของผูประกอบการรายอื่นอีกดวย

Page 57: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 29

ทั้งนี้เมื่อกลุมบริษัทกําหนดแนวคิดเกมที่จะทําการพัฒนาไดแลวนั้น จะเขาสูกระบวนการพัฒนาซอฟตแวร

เกมโดยละเอียดซึ่งสามารถแสดงไดดังนี้

แผนภาพแสดงขั้นตอนการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกม

กระบวนการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมแบงออกเปน 4 ขั้นตอนหลัก ดังตอไปนี้

1. Game Design เปนขั้นตอนการออกแบบแนวคิดของเกม ในขั้นตอนนี้ฝายออกแบบจะกําหนดรูปแบบและ

ออกแบบรายละเอียดตางๆของเกม อาทิเชน รูปแบบภาพกราฟก ตัวละครในเกม การปฏิสัมพันธกับ

ผูใชงาน(User Interface) การออกแบบระดับความยากงายของเกม (Level Design) เปนตน รายละเอียด

การออกแบบทั้งหมดจะถูกรวบรวมเปนเอกสารการออกแบบเกม (Game Design Document) เพื่อใชใน

การนําเสนอตอลูกคาและใชในการวางแผนการผลิตตอไป

2. Production Plan เปนขั้นตอนวางแผนการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยบริษัท เปนการกําหนดขอบเขตของงาน

กําหนดระยะเวลาแลวเสร็จของงานแตละสวน การบริหารและจัดสรรบุคลากรจากพนักงานภายในกลุม

บริษัทหรือการจัดจางบุคคลภายนอก (Outsource) เพื่อทํางานรวมกันเปนทีมตามความเหมาะสม โดย

ลักษณะงานจะแบงออกเปน 3 สวน คือ สวนงานพัฒนาโปรแกรม (Game Programming) สวนงานพัฒนา

ภาพคอมพิวเตอรกราฟก (Computer Graphic) และสวนงานสรางดนตรีและเสียงประกอบภายในเกม

(Music and sound) ซึ่งในการปฏิบัติงานนั้น บริษัทจะมอบหมายใหบริษัทยอย คือ บริษัท แพลนเน็ต จี

จํากัด ดูแลรับผิดชอบดานงานพัฒนาโปรแกรม ดนตรีและเสียงประกอบภายในเกม และบริษัท บลู วิซารด

สตูดิโอ จํากัด ดูแลรับผิดชอบดานคอมพิวเตอรกราฟกอนิเมชั่น โดยมีหัวหนาโครงการเปนผูควบคุมดูแล

ประสานงานการทํางานภายในทีม

Game Design

Alpha & Beta Testing

Quality Assuring / Debugging

Send Master copy to Publisher

Production Plan

Computer Graphic Music & Sound Game Programming

Page 58: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 30

3. Alpha and Beta Testing เปนขั้นตอนการทดสอบซอฟตแวรเกมที่อยูระหวางพัฒนาตามระยะขั้น

ความสําเร็จของงานโดยแบงขั้นความสําเร็จออกเปน

1. ขั้นอัลฟา(Alpha) ซึ่งซอฟตแวรเกมที่พัฒนาจนถึงขั้นตอนดังกลาวจะสามารถใชงานไดบางสวน

ในขณะที่ภาพกราฟกและเสียงประกอบภายในเกมยังไมเสร็จสมบูรณ การทดสอบเกมในขั้นนี้เพื่อ

ตรวจสอบภาพรวมและทดสอบความสมดุลของระบบการเลนในเกม

2. ขั้นเบตา (Beta) ซึ่งซอฟตแวรเกมที่พัฒนาจนถึงขั้นตอนนี้เปนซอฟตแวรเกมที่สามารถใชงานได

เกือบสมบูรณ เหลือเพียงการทดสอบขอบกพรองของโปรแกรมเทานั้น ซึ่งการทดสอบในขั้นตอนนี้

จะเปนการตรวจสอบในรายละเอียดเพื่อหาจุดบกพรองภายในเกม

4. Quality Assuring / Debugging เปนขั้นตอนตรวจสอบคุณภาพและหาจุดบกพรองของซอฟตแวรเกมขั้น

สุดทาย ซึ่งโดยทั่วไปแลว ในกรณีที่เปนการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลนั้นผูผลิตเครื่องเกมคอนโซลจะมี

รายการตรวจสอบเพื่อตรวจสอบคุณภาพดานตางๆ เชน การตรวจสอบขอบกพรอง (Bug) ที่เกิดขึ้นระหวาง

การเลนและระหวางการเปลี่ยนเขาหนาจอคําส่ังตางๆ การตรวจสอบขอบกพรองระหวางการบันทึกขอมูล

เปนตน กอนที่จะสงตนฉบับซอฟตแวรเกมที่พัฒนาเสร็จสมบูรณแลว (Master copy) ใหแกผูจัดจําหนาย

เพื่อสงใหผูผลิตเครื่องเกมคอนโซลทําการตรวจสอบคุณภาพขั้นสุดทาย และเมื่อไดรับการอนุมัติใหทําการ

ผลิตจากผูผลิตเครื่องเกมคอนโซลแลวจึงจําเขาสูกระบวนการจัดจําหนายตอไป

ทั้งนี้ระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมจะแตกตางกันตามแตละประเภทของ Platform และรายละเอียด

ของแตเกม ซึ่งสวนใหญใชเวลาประมาณ 3-4 เดือน อยางไรก็ตาม สําหรับซอฟตแวรเกมที่มีความรายละเอียดสูงและ

มีความยากในการพัฒนา ตลอดจนตองมีการพัฒนาชุดคําส่ังและเครื่องมือเพิ่มเติม จะใชเวลาเพิ่มขึ้นเปนประมาณ

5-7 เดือน โดยระหวางขั้นตอนการพัฒนาซอฟตแวรเกมดังกลาว ลูกคาหรือผูจัดจําหนายเกม อาจเขามามีสวนรวมใน

การทดสอบเกมตั้งแตขั้นการทําสอบเกมระหวางการผลิต เพื่อเปนการตรวจสอบคุณภาพ และติดตามความคืบหนา

ของการพัฒนาซอฟตแวรเกม ทั้งนี้ ในการจัดทําแผนการผลิตและพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น บริษัทจะทําการเผื่อ

ระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมไวเพื่อปองกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได ที่จะทําใหไมสามารถนําสงเกม

ที่พัฒนาสําเร็จแลวใหแกลูกคาไดทันตามกําหนด

3.6 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

-ไมมี-

Page 59: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.3 หนา 31

3.7 งานที่ยังไมไดสงมอบ

ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 - วันที่ 30 เมษายน 2553 กลุมบริษัทมีการลงนามในสัญญาพัฒนาซอฟตแวรเกม

ดังนี้

ประเภทของโครงการ ประเภท (Platform)

ภูมิภาค ระยะเวลาที่คาดวา

จะสงมอบ

รับจางพัฒนาซอฟตแวร

PC

DS

PC

PC

ประเทศไทย

USA

ประเทศไทย

ประเทศไทย

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

พัฒนาซอฟตแวรเพื่อจําหนาย

DS

DS

PC

DS

USA

USA

USA

ไตรมาส 1

ไตรมาส 1

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

รวมมูลคางานระหวางพัฒนา (ลานบาท) 35-45 ลานบาท

Page 60: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.4 หนา 1

4. การวิจัยและการพัฒนา (Research and Development)

ในการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทนั้น สามารถแบงลักษณะการวิจัยและพัฒนาได

เปน 2 ลักษณะหลัก คือ การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือในการพัฒนาเกม (Game Engine) และชุดคําส่ัง (Source

Code) และการวิจัยและพัฒนาดานอื่นๆ เชน ดานกราฟกและรูปลักษณของตัวละครในเกม เปนตน

• การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือในการพัฒนาเกม (Game Engine) และชุดคําส่ัง (Source Code)

การวิจัยและพัฒนาเครื่องมือในการพัฒนาเกม และชุดคําส่ัง เปนการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค

หลัก เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการพัฒนาซอฟตแวรเกมตลอดจนรักษาระดับมาตรฐานของซอฟตแวรเกม

ที่พัฒนาขึ้น ซึ่งจะมีสวนชวยยนระยะเวลาในการผลิตใหส้ันลง และสงผลตอตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกม

โดยรวมของบริษัท โดยการบริหารในเรื่องระยะเวลาการพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น ถือเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญที่จะ

ชวยเพิ่มศักยภาพในการแขงขันในธุรกิจของผูประกอบการในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม ทั้งในแงจํานวนเกมที่ทําการ

ผลิต เพื่อออกสูตลาด และตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมแตละเกม

ในกระบวนการผลิตนั้น ผูประกอบการโดยทั่วไปจะมีการนําซอฟตแวรสําเร็จรูป เชน 3D Max, Maya,

Adobe Illustrator และ Adobe Photoshop เปนตน เขามาใชชวยในการพัฒนาโปรแกรมและรายละเอียดกราฟก

ภายในเกม เพื่อใหสามารถพัฒนาซอฟตแวรเกมไดรวดเร็วยิ่งขึ้นสงผลตอตนทุนการพัฒนาซอฟตแวรเกมลดต่ําลง

อยางไรก็ตาม การใชซอฟตแวรสําเร็จรูปดังกลาวจะทําใหผูประกอบการมีตนทุนในดานคาลิขสิทธิ์ ประกอบกับสวน

ใหญมักมีรูปแบบคําส่ังของเครื่องมือในการพัฒนาซอฟตแวรเกมตามลักษณะพื้นฐานทั่วไป ดังนั้นกลุมบริษัทจึงได

พัฒนาเครื่องมือในการพัฒนาเกม (Game engine) ขึ้น สําหรับใชในการพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทเพื่อ

รองรับการพัฒนาเกมในหลายสวน อาทิเชน 3D Face Engine และ 3D Engine ซึ่งใชสําหรับการสรางภาพใบหนาตัว

ละครแบบสามมิติ และการสรางภาพสามมิติ เปนตน ทําใหกลุมบริษัทสามารถลดตนทุนในการซื้อลิขสิทธิ์เครื่องมือ

ในการพัฒนาเกมลงได

นอกจากการพัฒนาเครื่องมือในการพัฒนาเกมแลวนั้น กลุมบริษัทยังมีการพัฒนาชุดคําส่ัง (Source Code)

ซึ่งเปนการเขียนภาษาคอมพิวเตอร เชน ภาษา C++ เพื่อใชกําหนดคําส่ังตางๆ ในเกม เชน คําส่ังกําหนดรูปแบบของ

หนาจอเพื่อเขาสูหนาจอ (Menu) ตางๆ ของเกม คําส่ังใหตัวละครเคลื่อนไหวตามทิศทาง และในรูปแบบที่กําหนด

หรือ คําส่ังใหกําหนดลักษณะอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นในเกม เชน หินถลม น้ําทวม หรือ คําส่ังใหเกมทําการเปลี่ยนลําดับ

ความยากของเกม เมื่อผูเลนสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไวได เปนตน

โดยเครื่องมือในการพัฒนาเกม (Game Engine) และชุดคําส่ัง (Source Code) ที่กลุมบริษัทไดทําการ

พัฒนานั้น ถือเปนหนึ่งในสินทรัพยที่ไมมีตัวตนที่สําคัญของกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทสามารถนําเครื่องมือในการ

พัฒนาเกมที่ทําการพัฒนาไวแลวนั้นมาใชในการพัฒนาซอฟตแวรเกมอื่นๆ ได หรือสามารถนําชุดคําส่ังที่มีการพัฒนา

ไวแลวนั้น มาใชซ้ําไดในการการพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีลักษณะการทํางานคลายคลึงกันไดในอนาคต ทําให

ระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมในลําดับถัดไปมีความรวดเร็วเพิ่มขึ้น สงผลใหระยะเวลาและตนทุนในการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมใหมของบริษัทลดลง

Page 61: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.4 หนา 2

• การวิจัยและพัฒนาดานอื่นๆ เชน ดานกราฟกและรูปลักษณของตัวละครในเกม เปนตน

การวิจัยและพัฒนาดานอื่นๆ นั้น โดยสวนใหญเปนการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณลักษณะใหภาพ

(Graphic) และเสียง (Sound) ที่เปนสวนประกอบหลักของเกมนั้นมีความสมจริงยิ่งขึ้น จากการที่การตัดสินใจเลือก

ซื้อซอฟตแวรเกมของผูบริโภคทั้งผูจําหนายเกม (Publisher) และผูเลนเกม (End User) ในปจจุบันใหความสําคัญกับ

ความสวยงามและความสมจริงของเกมยิ่งขึ้น ทําใหกลุมบริษัทใหความสําคัญกับการวิจัยขอมูลการเคลื่อนไหว หรือ

รูปลักษณะ ทาทางของตัวละครเพื่อความสมจริงของเนื้อหาเกม อาทิเชน ในการพัฒนาเกม “Beauty Salon” ซึ่งเปน

ซอฟตแวรเกมที่ใหผูเลนสวมบทบาทเปนชางทําผมและออกแบบทรงผมตางๆ กลุมบริษัทไดทําการวิจัยลักษณะทรง

ผมตางๆ โดยวาจางผูเชี่ยวชาญดานการตัดผมในการวิจัยขอมูลดังกลาว โดยการกําหนดความเหมาะสมในการทํา

วิจัยเพื่อพัฒนาดานคุณลักษณะและความสมจริงนั้น จะมีการพิจารณาเปนกรณี โดยขึ้นอยูกับเนื้อหาและระดับ

คุณภาพของซอฟตแวรเกม ตลอดจนแนวโนมในการพัฒนาซอฟตแวรเกมในลักษณะที่คลายคลึงกันในอนาคต ซึ่งการ

วิจัยและพัฒนาดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนนั้น จะทําใหซอฟตแวรเกมที่กลุมบริษัททําการพัฒนามีความสมจริง

เพิ่มขึ้น ซึ่งจะสงผลโดยตรงตอยอดจําหนายและความนิยมของเกม นอกจากนี้ ในกรณีที่กลุมบริษัททําการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมในลักษณะที่คลายคลึงกันในอนาคตนั้น กลุมบริษัทสามารถนําขอมูลที่ไดทําการวิจัยและพัฒนาไวแลว

นั้น มาใชปรับปรุงและพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมได ทําใหระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหมและตนทุนในการ

พัฒนาสามารถลดลงได

ทั้งนี้ในการพัฒนาเครื่องมือในการพัฒนาเกม (Game Engine) ชุดคําส่ัง (Source Code) และคุณลักษณะ

ดังกลาว ถือเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญที่ทําใหกลุมบริษัทสามารถบริหารระยะเวลา ตนทุนที่ใชในการพัฒนาซอฟตแวร

เกมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีสวนชวยเพิ่มศักยภาพในการแขงขันในดานการกําหนดราคาจําหนาย และสราง

ความแตกตางในตัวสินคาใหแกกลุมบริษัทได

ในสวนของตนทุนในการวิจัยและพัฒนานั้น จากการที่การวิจัยและพัฒนา สวนใหญเปนการวิจัยและ

พัฒนาที่เกิดขึ้นระหวางการกระบวนการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อการจําหนาย ทําใหตนทุนในการวิจัย

และพัฒนาบางสวน ซึ่งไดแกการพัฒนาชุดคําส่ัง (Source Code) และ คุณลักษณะอื่นๆ จะแฝงอยูในตนทุนของ

ซอฟตแวรเกมที่ทําการพัฒนาในกรณีที่ซอฟตแวรเกมดังกลาวถูกพัฒนาจนสําเร็จ และจะถูกบันทึกเปนคาใชจายใน

การวิจัยและพัฒนาในกรณีที่การพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้นมีการยกเลิกการพัฒนากอนนําเสนอตอผูจัดจําหนาย

อยางไรก็ตามชุดคําส่ังและภาพกราฟกที่ไดมีการพัฒนาขึ้นแลวนั้น กลุมบริษัทยังสามารถนําไปใชซ้ําในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมอื่นๆ ไดในอนาคต สําหรับตนทุนในการวิจัยและพัฒนาในสวนของการพัฒนาเครื่องมือในการพัฒนา

เกม (Game Engine) นั้น จะถูกบันทึกเปนสินทรัพยรวมเปนสินทรัพยที่ไมมีตัวตนของกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทได

ทําการจดสิทธิบัตรในเครื่องมือที่สรางขึ้นทั้งหมด (ดูรายละเอียดไดในสวนที่ 2.5 ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ)

ทั้งนี้ กลุมบริษัทมิไดมีการตั้งงบประมาณสําหรับการวิจัยและพัฒนาไวโดยจําเพาะในแตละป

Page 62: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 1

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

5.1 ทรัพยสินถาวรหลักที่ใชในการประกอบธุรกิจ

ทรัพยสินถาวรที่สําคัญของบริษัทและบริษัทยอยมีรายละเอียดตามมูลคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ดังนี้

ที่ดิน อาคาร และส่ิงปลูกสราง ที่อยู ประเภท ลักษณะ

กรรมสิทธิ มูลคาสุทธิ (ลานบาท)

ภาระผูกพัน

โฉนดเลขที่ 101314

เลขที่ 67/2 สุขุมวิทซอย 8

คลองเตย กรุงเทพฯ

ที่ดินและอาคารสตูดิโอ

พัฒนาซอฟต แ ว ร เ กม

จํานวน 1 หลัง

เจาของ 25.40 *จดจํานองกับสถาบันการเงิน

* ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดจํานองที่ดินพรอมส่ิงปลูกสรางกับสถาบันการเงินในประเทศเพื่อค้ําประกัน

วงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินกูยืมระยะสั้นเปนวงเงินรวม 10.75 ลานบาท และค้ําประกันวงเงินกูยืมระยะยาวจํานวน

11 ลานบาทซึ่งเปนการกูยืมเพื่อปรับโครงสรางทางการเงินของเงินกูระยะยาวเดิมที่มีวงเงิน 14 ลานบาท

สวนปรับปรุงสํานกังานเชา เครื่องใชสํานักงาน เครื่องตกแตงติดตั้ง และยานพาหนะ

ประเภท ลักษณะ

กรรมสิทธิ์

มูลคาสุทธิ

(ลานบาท)

ภาระผูกพัน

สวนปรับปรุงสํานักงานเชา เจาของ 0.81 *ปลอดภาระผูกพัน

เครื่องใชสํานักงาน เจาของ 3.30 *ปลอดภาระผูกพัน

เครื่องตกแตงและติดตั้ง เจาของ 2.22 *ปลอดภาระผูกพัน

ยานพาหนะ เจาของ 2.19 *สัญญาเชาซื้อส้ินสุดวันที่ 10 พฤศจิกายน 2553

กลุมบริษัทมีนโยบายในการตั้งคาเสื่อมราคาสําหรับ อาคารและอุปกรณโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงาน

โดยประมาณ 5 ป

5.2 ทรัพยสินที่ไมมีตัวตนที่ใชในการประกอบธุรกิจ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทมีสินทรัพยที่ไมมีตัวตน อันไดแก โปรแกรมคอมพิวเตอร ซอฟตแวร

เกมที่พัฒนาแลวเสร็จ ซอฟตแวรเกมที่อยูระหวางพัฒนา และลิขสิทธโดยมีมูลคา 0.68 ลานบาท 72.01 ลานบาท

23.29 ลานบาท และ 0.15 ลานบาท ตามลําดับ ทั้งนี้กลุมบริษัทมีนโยบายการตัดจําหนายลิขสิทธิ์และซอฟตแวรเกม

เปนระยะเวลา 5 ป โดยพิจารณาสอดคลองกับระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของเครื่องเลนเกมในอดีต

ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีการจดลิขสิทธิ์ในสินทรัพยไมมีตัวตนทั้งส้ิน 249 รายการประกอบดวย

ลิขสิทธิ์ในดานวรรณกรรมซึ่งไดแกรายละเอียดการออกแบบเกมจํานวน 21 รายการ ลิขสิทธิ์ในดานโสตทัศนวัสดุซึ่ง

ไดแกภาพและเสยีงรวมถึงอนิเมชั่นที่ใชในเกมจํานวน 206 รายการ และลิขสิทธิ์ดานศิลปกรรมซึ่งไดแกภาพกราฟกตัว

ละครในเกมจํานวน 22 รายการ

Page 63: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 2

5.3 เครื่องหมายการคา

ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 กลุมบริษัทเปนเจาของเครื่องหมายการคาดังตอไปนี้

เครื่องหมายการคา/บริการ วันที่จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย รูปเครื่องหมายการคา/บริการ

CyberPlanet Interactive *อยูระหวางการจดทะเบียน

Geniusplanet 13 กุมภาพันธ 2552

5.4 รายละเอียดของสัญญาที่สําคัญของกลุมบริษัท

ณ วันที่ 15 มีนาคม 2552 กลุมบริษัทมีสัญญาหลักในการประกอบธุรกิจโดยแบงไดเปน 3 ลักษณะ ไดแก

1. สัญญาพัฒนาซอฟตแวรเกม

• แกผูจัดจําหนายทําการจําหนาย

คูสัญญา : ผูจัดจําหนายเกมคอนโซล และเกมคอมพิวเตอร

จํานวนสัญญาที่คงคางในปจจุบัน

: - ไมมี-

เนื่องจากในป 2552ไดมีการสงมอบซอฟตแวรเกมตาม

สัญญาพัฒนาซอฟตแวร เกมที่ มีอยู เดิมใหแก ผูจัด

จําหนายเกมและรับรูรายไดจากการพัฒนาซอฟตแวร

เกมเพื่อจําหนายทั้งหมดแลว ขณะนี้บริษัทกําลังอยู

ระหวางการเจรจาเพื่อทําสัญญาพัฒนาซอฟตแวรเกม

ใหมกับผูจัดจําหนาย

มูลคาสัญญาที่คงคางในปจจุบัน : -ไมมี-

ทั้งนี้เงื่อนไขการทําสัญญาพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อใหสิทธิในการจําหนายแกผูจัดจําหนายนั้น มี

รายละเอียดของสัญญาโดยทั่วไปดังนี้

ระยะเวลาในการใหเครดิต : 120 วัน

ระยะเวลาในการใหสิทธิในการจําหนาย : 3-5 ป

ขอบเขตของงานโดยเบื้องตน : พัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อสงมอบตนฉบับเกม(Master

Version) ใหกับผูจัดจําหนายเพื่อนําสงผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซลใหทําการตรวจสอบเกม และทํา

การปรับปรุงแกไขตามที่ผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซล

กําหนด เพื่อใหสามารถวางจําหนายได(Released

Approve)

Page 64: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 3

เงื่ อนไขในการจายชําระคาตอบแทน

โดยทั่วไป

: ชําระคาตอบแทนตามลําดับขั้นความสําเร็จในการ

พัฒนาเกมแตละเกมโดยแบงเปน 4 ขั้น ดังนี้

30% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Alpha

30% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Beta

20% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Master

20% : เมื่อเกมผานการตรวจสอบโดยนินเทนโด

ทั้งนี้ผูจัดจําหนายเกมบางรายอาจมีเงื่อนไขการจาย

ชําระคาตอบแทนแตกตางออกไป และเมื่อผูจัดจําหนาย

สามารถจัดจําหนายเกมที่พัฒนาขึ้นโดยมีกําไรขั้นตน

ของเกมดังกลาวสูงเกินกวาจํานวนเงินคาตอบแทนที่ผู

จัดจําหนายไดจายแกบริษัทไปแลวนั้น ผูจัดจําหนายจะ

จายชําระคาตอบแทนในการใชสิทธิ(Royalty Fee)

ใหแกบริษัทในทุกๆ ไตรมาส ทั้งนี้บริษัทสามารถขอเขา

ไปตรวจสอบรายการบัญชีของผูจัดจําหนายไดในกรณีที่

มีขอสงสัยวาการจายชําระคาตอบแทนในการใชสิทธิไม

ถูกตองครบถวน

การยกเลิกสัญญา : คูสัญญาสามารถขอยกเลิกสัญญาไดโดยบอกกลาว

ลวงหนาไมต่ํากวา 30 วัน และสามารถขอยกเลิก

สัญญาไดในกรณีที่คูสัญญารายใดรายหนึ่งมีเหตุใหไม

สามารถดําเนินธุรกิจตอไปได หรือในกรณีที่คูสัญญามี

เหตุแหงการผิดสัญญาและไมสามารถแกไขเหตุดังกลาว

ไดใน 30 วัน

เงื่อนไขที่สําคัญในการเรียกรองคาเสียหาย : ในกรณีที่ผูจัดจําหนายเกมไมจายชําระคาตอบแทนตาม

กําหนดเวลาที่ตกลงในสัญญาจะตองเสียคาปรับใน

อัตรารอยละ 15

Page 65: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 4

• ในลักษณะรับจางผลิต

คูสัญญา : เจาของผลิตภัณฑ หรือองคกร

จํานวนสัญญาที่คงคางในปจจุบัน : 3 สัญญา โดยมีจํานวนเกมทั้งส้ิน 3 เกม แบงเปน

Nintendo DS 1 เกม และเกมคอมพิวเตอร 2 เกม

มูลคาสัญญาที่คงคางในปจจุบัน : 7.64 ลานบาท

คาดวาจะทําการจายชําระ : ไตรมาสที่ 3 ป 2553

ขอบเขตของงานโดยเบื้องตน : พัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อสงมอบตนฉบับเกม(Master

Version) ใหกับผูวาจาง

เงื่ อนไขในการจายชําระคาตอบแทน

โดยทั่วไป

: ชําระคาตอบแทนตามลําดับขั้นความสําเร็จในการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมแตละเกมโดยแบงเปน 3 ขั้น ดังนี้

50% : เมื่อลงนามในสัญญา

25% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Beta

25% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Master

การยกเลิกสัญญา : ผูวาจางสามารถบอกเลิกสัญญาไดโดยแจงเปนลาย

ลักษณอักษรและตองชําระคาใชจายที่ไดเกิดขึ้นแลว

ใหแกบริษัท และในกรณีที่คูสัญญาฝายหนึ่งฝายใดไม

ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา คูสัญญาอีกฝายมีสิทธิ

บอกเลิกสัญญาไดทันทีและมีสิทธิเรียกรองหรือฟองรอง

เรียกคาเสียหายอื่นใดตามสัญญาไดทั้งหมด

เงื่อนไขที่สําคัญในการเรียกรองคาเสียหาย : คูสัญญาทั้งสองฝายไมตองรับผิดชอบตอความลาชา

หรือความลมเหลวของซอฟตแวรเกมในกรณีที่ เหตุ

ดังกลาวอยูนอกเหนือการควบคุมของคูสัญญาทั้งสอง

ฝาย

2. สัญญาการวาจาง Outsource

คูสัญญา : ผูพัฒนาโปรแกรม ผูพัฒนาเสียงและดนตรีประกอบ และ

ผูพัฒนากราฟกและอนิเมชั่น

จํานวนสัญญาที่คงคางอยูในปจจุบัน : 40 สัญญา เปนการผลิตและพัฒนาเกมจํานวน 22 เกม โดยมี

คูสัญญาจํานวน 16 ราย

มูลคาสัญญาที่คงคางในปจจุบัน : 1.51 ลานบาท (คาดวาจะจายชําระในไตรมาส 1 และ

ไตรมาส 2 มีระยะเวลาเครดิต 30 วันนับจากสงมอบงาน)

ขอบเขตของงานโดยเบื้องตน : พัฒนาโปรแกรมเกม กราฟกตาง เสียงและดนตรีประกอบใน

เกม รวมทั้งงานอื่นๆ อาทิเชน การแปลภาษาภายในเกม การ

จัดทําคูมือประกอบการเลนเกม เปนตน

Page 66: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 5

: การวาจางพัฒนาเกมจะแบงชําระตามขั้นความสําเร็จของ

ชิ้นงานโดยแบงเปน 4 ขั้น คือ

20% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Alpha

20% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Beta

20% : เมื่อสงมอบงานในขั้น Master

40% : เมื่อเกมผานการตรวจสอบโดยผูผลิตเครื่องเกม

คอนโซล (นินเทนโด โซนี่ หรือไมโครซอฟต)

ทั้งนี้ผูรับจางบางรายอาจมีเงื่อนไขการจายชําระคาตอบแทน

แตกตางออกไป สําหรับการวาจางพัฒนาอื่นๆ ที่เปนการ

วาจางบุคคลทั่วไปที่เปนงานระยะสั้นและมีมูลคาของชิ้นงาน

ไมสูง จะทําการจายชําระทั้งหมดเมื่อผูรับจางไดสงมอบงาน

ใหกับบริษัทแลวเทานั้น

การยกเลิกสัญญา : ในกรณีที่คูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามเงื่อนไขใน

สัญญา คูสัญญาอีกฝายมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที่โดย

ตองแจงเปนลายลักษณอักษร และมีสิทธิเรียกรองหรือ

ฟองรองเรียกคาเสียหายอื่นใดตามสัญญาไดทั้งหมด

เ งื่ อ น ไ ข ที่ สํ า คัญ ใ นก า ร เ รี ย ก ร อ ง

คาเสียหาย

: กรณีที่ผูรับจางสงมอบงานลาชากวาที่กําหนดในสัญญา โดย

ที่ไมไดเกิดจากความบกพรองของผูวาจาง ผูรับจางจะตอง

เสียคาปรับในอัตรารอยละ 15 และยินยอมใหบริษัทนํา

ชิ้นงานนั้นๆ ไปใหบุคคลอื่นดําเนินการตอโดยผูรับจางจะตอง

เปนผูรับผิดชอบคาใชจายที่เกิดขึ้น

3. สัญญาขอใชลิขสิทธิ์

คูสัญญา : เจาของลิขสิทธิ์สินคา ตัวละคร และหลักสูตรตางๆ เพื่อนํา

สินคา ตัวละคร และหลักสูตรดังกลาวมาใชในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกม

จํานวนสัญญาที่คงคางอยูในปจจุบัน : 2 สัญญา

ระยะเวลาในการขอใชลิขสิทธิ์ : 5-10 ป นับตั้งแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการนําลิขสิทธิ์ไปใช

เปนครั้งแรก และเมื่อหมดอายุสัญญาจะตองใหบริษัทมี

สิทธิในการพิจารณาตอสัญญาเปนรายแรก

Page 67: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 6

เงื่ อนไขในการจายชําระคาตอบแทน

โดยทั่วไป

: จายชําระเมื่อซอฟตแวรเกมที่มีการนําลิขสิทธิ์ดังกลาวมาใช

ผ า นกา รต ร วจสอบและ ได รั บ อนุญาตจากผู ผ ลิ ต

เครื่องเลนเกมคอนโซลใหสามารถจัดจําหนายได

หรือ จายชําระคาตอบแทนโดยคิดเปนสัดสวนจากรายไดที่

เกิดจากการนําลิขสิทธิ์นั้นไปใช โดยจายชําระในอัตรา

คาตอบแทนระหวางรอยละ 10-12 ของรายไดที่เกิดขึ้น โดย

ทําการจายชําระตามระยะบัญชีทุก 3 เดือน

การยกเลิกสัญญา : สามารถยกเลิกสัญญาไดโดยแจงเปนลายลักษณอักษร

ลวงหนาไมต่ํากวา 30 วัน

4. สัญญาแตงตั้งตัวแทน

คูสัญญา : บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด : ผูใหสัญญา

และ บริษัท เฮอรคิวลิส ซอฟต จํากัด : ตัวแทน

อายุสัญญา ไมมีอายุสัญญา

สาระสําคัญของสัญญา : • ผูใหสัญญา แตงตั้งตัวแทนเพื่อเปดสาขาสถาบัน

เสริมทักษะเด็กในภูมิภาคตะวันออกจํานวนไมเกิน

30 สาขา แบงเปน จังหวัดชลบุรี 16 สาขา จังหวัด

ระยอง 2 สาขา จังหวัดจันทบุรี 2 สาขา จังหวัด

ตราด 1 สาขา จังหวัดสระแกว 2 สาขา จังหวัด

ปราจีนบุรี 1 สาขา และจังหวัดฉะเชิงเทรา 5 สาขา

• คาตอบแทนแบงไดเปน 2 ลักษณะไดแก คาแรก

เขาและสวนแบงรายไดที่ตัวแทนไดรับจากการ

สมัครของนักเรียนหักคาอุปกรณในการเรียนการ

สอน โดยสวนแบงรายไดภายในวันที่ 7 ของทุก

เดือน อัตราคาแรกเขา และสวนแบงรายได อาจมี

ความแตกตางกันในแตละภู มิภาค ขึ้นอยูกับ

ภาวะการแขงขันและจํานวนสาขาที่เปด โดยบริษัท

กําหนดโดยเบื้องตนวา คาแรกเขาจะอยูในระดับ

ประมาณ 300,000 - 500,000 บาทตอสาขา และ

สวนแบงรายไดที่บริษัทจะไดรับจะอยูในระดับ

ประมาณรอยละ 30 – 50 ของรายไดจากการสมัคร

ของนักเรียนหักคาอุปกรณการเรียนการสอน

• ผูใหสัญญา จะเปนผูจัดเตรียมปายชื่อโรงเรียน

จัดหาโตะเกาอี้ เคาทเตอรประชาสัมพันธ แผนพับ

โฆษณา และโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับการ

Page 68: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 7

ลงทะเบียน

• ผูใหสัญญาจะทําการอบรมบุคคลากรของตัวแทน

จํานวน 2 คน/สาขา

5. สัญญาอื่นๆ

• สัญญาเชาพื้นที่อาคารสํานักงาน

สถานที่ : พื้นที่อาคารสํานักงานหองเลขที่ ML2407 ชั้น 24 สํานัก

งานดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด 999/9 ถ.พระราม

1 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ

คูสัญญา : บริษัท ไซเบอรแพลเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด(มหาชน)

กับ บริษัท เซ็นทรัล เวิรด ทาวเวอร จํากัด

วัตถปุระสงคการเชา : เพื่อใชเปนสํานักงานบริษัท

ระยะเวลาเชา : 3 ป ส้ินสุด 15 สิงหาคม 2553

อัตราคาเชาและคาบริการ : 0.89 ลานบาทตอป

การตอสัญญา

: เมื่อระยะเวลาการเชาส้ินสุดลง คูสัญญาอาจตกลงทํา

สัญญาเชาฉบับใหม โดยผูเชาจะสงหนังสือแจงแกผูให

เชาทราบถึงความประสงคในการตออายุสัญญาเชาอยาง

นอย 6 เดือนกอนวันที่สัญญาเชาจะหมดอายุ

การบอกเลิกสัญญา

: ผูใหเชามีสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีที่ผูเชาผิดนัดชําระ

เงินใดๆ เมื่อครบกําหนดชําระ ผิดขอกําหนดและเงื่อนไข

ใดๆของสัญญาเชา ไมปฏิบัติตนภายใตกฎหมาย หรือ

หากพื้นที่เชาถูกยึดโดยคําส่ังศาล ผูเชาถูกฟองในคดี

ลมละลายหรือมีบุคคลใดๆรองขอใหฟนฟูกิจการของผู

เชา หรือในกรณีที่ที่ดินที่ตั้งของอาคารสํานักงานถูก

เวนคืน หรือเกิดอัคคีภัยหรือความสูญเสียตออาคาร

สํานักงานหรือพื้นที่ เชาจนไมอาจใชประกอบธุรกิจ

สําหรับผูเชาไดอีกตอไป

Page 69: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 8

• สัญญาเชาพื้นที่อาคาร

สถานที่ : พื้นที่ภายในอาคารชั้น 8 เซ็นทรัลชิดลมทาวเวอร เลขที่

22 ซอยสมคิด ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน

กรุงเทพฯ

คูสัญญา : บริษัท สรรพสินคาเซ็นทรัล จํากัด (สาขาชิดลม)

วัตถุประสงคการเชา : เพื่อใชประกอบธุรกิจศูนยพัฒนาทักษะเด็ก

“GeniusPlanet”

ระยะเวลาเชา : 3 ป ส้ินสุด 31 มีนาคม 2555

อัตราคาเชาและคาบริการ : 0.76 ลานบาทตอป

การตอสัญญา

: เมื่อครบกําหนดอายุสัญญาเชาผูเชาสามารถตกลงทํา

สัญญาเชาใหมโดยตองแจงใหผูใหเชาทราบลวงหนาไม

นอยกวา 3 เดือนกอนครบกําหนดอายุสัญญาเชา

การบอกเลิกสัญญา

: ในกรณีที่ผูเชาละเมิดขอตกลงในสัญญา ไมชําระคาเชา

หรือไมปฏิบัติตามหนาที่ของผูเชาตามกฎหมาย หรือใน

กรณีสถานที่เชาถูกอายัดตามคําส่ังศาลเวนแตกรณีการ

ยึดหรืออายัดตามคําส่ังศาลอันเนื่องมาจากความผิด

ของผูใหเชาหรือผูเชาถูกฟองในคดีลมละลาย ผูเชามี

สิทธิบอกเลิกสัญญานี้และกลับเขายึดครอบครอง

สถานที่เชาไดทันที

• สัญญารวมลงทุนกับกองทุนรวมเพื่อการลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (“กองทุนรวม”)

วัตถุประสงคในการเสนอขายหุนเพิ่มทุน : 1. เพื่อนําเงินที่ไดจากการเขารวมลงทุนมาใชในการดําเนินธุรกิจ

2. เพื่อเปนการเสริมภาพลักษณที่ดีใหกับบริษัท

3. เพื่อเปนการแสดงถึงความโปรงใสในการบริหารงาน

คูสัญญา : กองทุนรวมเพื่อการลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและ

ขนาดยอม กับ บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ

จํากัด และ ผูถือหุนหลักซึ่งประกอบดวย นายชนินทรเดช

วานิชวงศ นายสุโรจน นิ่มวชิระสุนทร และ นายชนินทร

วานิชวงศ

วันที่ลงนามในสัญญา : 27 ธันวาคม 2544

ระยะเวลาบังคับใชสัญญา : ตั้งแตวันที่ 27 ธันวาคม 2544 โดยจะสิ้นสุดตามอายุของ

กองทุนรวม (วันที่ 28 กรกฎาคม 2553) เวนแตในกรณีที่

ผูถือหุนฝายใดฝายหนึ่งขาย หรือโอนหุนที่ตนถือทั้งหมด

ในบริษัทแลว

Page 70: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 9

จํานวนหุน และมูลคาการลงทุน : ปจจุบันกองทุนรวมถือหุนของบริษัทจํานวน 88,888,800

หุน (ราคาที่ตราไว 0.50 บาท) เปนมูลคาการลงทุน

54,844,400 บาท

โดยมีการซื้อหุนเพิ่มทุนตั้งแตป 2543 ถึงปจจุบันดังนี้

(ราคาที่ตราไว 0.50 บาท)

ป จํานวนหุน มูลคาเงินลงทุน

2543 8,000,000 8,000,000

2546 12,800,000 12,800,000

2547 19,200,000 9,600,000

2548 48,888,800 24,444,400

การบริหารงาน : กองทุนรวมไมมีนโยบายที่จะมีสวนรวมในการบริหารงาน

ของบริษัท แตบริษัทมีหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามหนาที่

ปฏิบัติที่ระบุไวในสัญญารวมลงทุน

สาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการเขา

จดทะเบียน

: บริษัทจะตองดําเนินการแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนและ

เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือ

ตลาดหลักทรัพย MAI กอนวันที่ 31 ธันวาคม 2549

นโยบายการขายหุนภายหลังจากการเขา

เปนบริษัทจดทะเบียน

: ใหจัดสรรหุนสามัญของบริษัทเขาชวงระยะเวลาการหาม

ขายหุน(Silent Period) ตามสัดสวนและหลักเกณฑที่ตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือตลาดหลักทรัพย MAI

กําหนด โดยสามารถขายหุนไดตามสัดสวนที่ถืออยู ทั้งนี้

กําหนดระยะเวลาการขายหุนของกองทุนรวมจะตองไมเกิน

อายุของกองทุนรวม

Page 71: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 10

กรณีไมสามารถเขาจดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพยได

: ผูถือหุนหลักจะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่กองทุนรวมถืออยู

ทั้งหมดจากกองทุนรวมภายในวันที่ 31 มกราคม 2550* ใน

ราคาที่สูงกวามูลคาทางบัญชี (Book value) ของงบการ

เงินเดือนลาสุดกอนการซื้อขาย หรือราคาที่กองทุนรวมเขา

รวมลงทุนบวกดวยจํานวนเงินที่รวมกันแลวทําใหอัตรา

ผลตอบแทนจากการลงทุนของกองทุนรวมเปนรอยละ 20

ตอป คํานวณจนถึงวันชําระเงินคาซื้อหุนคืน ทั้งนี้คํานวณ

รวมถึงระยะเวลาที่กองทุนรวมชําระเงินคาหุนเพิ่มทุนใหแก

บริษัทในแตละชวงและเงินปนผลที่ไดรับในระหวางการ

ลงทุนดวย

: กรณีที่ ผูถือหุนหลักไมซื้อหุนสามัญของบริษัทคืนจาก

กองทุนรวม กองทุนรวมมีสิทธิที่จะเสนอขายหุนสามัญของ

บริษัทที่กองทุนรวมถืออยูทั้งหมดใหกับผูลงทุนรายใหมได

โดยผูถือหุนหลักตกลงใหความรวมมือในการหาผูลงทุนราย

ใหมเพื่อซื้อหุนสามัญของบริษัทที่กองทุนรวมถืออยูทั้งหมด

ดังกลาว

หมายเหตุ

* ปจจุบันกองทุนรวมยังมิไดใชสิทธิตามเงื่อนในสัญญาที่จะ

เสนอขายหุนสามัญของบริษัทที่กองทุนรวมถืออยูคืนแกผู

ถือหุนหลักหรือผูถือหุนรายใหม ทั้งนี้ระยะเวลาที่กองทุน

รวมสามารถลงทุนในหุนสามัญบริษัทไดตองไมเกินอายุ

ของกองทุนรวม

กรณีผิดสัญญา : กองทุนรวมมีสิทธิที่จะขายหุนของบริษัทในสวนที่กองทุน

รวมถืออยูทั้งหมดโดยผูถือหุนหลักตกลงที่จะซื้อหุนดังกลาว

จากกองทุนรวมในราคาตอหุนที่สูงกวาระหวาง (i) มูลคา

ตามบัญชี (Book Value) หรือ (ii) ราคาที่กองทุนรวมเขา

รวมลงทุนโดยบวกผลตอบแทน (Interest Rate Return

หรือ IRR) ตลอดระยะเวลาถือหุนของโครงการในอัตรารอย

ละ 25 ตอป ทั้งนี้ใหคํานวณรวมถึงเงินปนผลที่ไดระหวาง

ลงทุนดวย

Page 72: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 11

เงื่อนไขในระหวางการรวมลงทุน : บริษัทจะรักษาอัตราสวนหนี้ตอทุน (Debt to Equity

Ratio) ใหอยูในระดับไมเกิน 3:1

บริษัทจะตองไดรับความเห็นชอบจากกองทุนนรวมกอน

จะมีการเปลี่ยนแปลงผลรวมของอัตราสวนการถือหุนใดๆ

ของผูถือหุนหลัก ซึ่งมีผลทําใหอัตราสวนการถือหุนใน

บริษัทของผูถือหุนหลักดังกลาวลดลงเหลือนอยกวารอย

ละ 50 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทในขณะนั้นๆ

บริษัทจะเปลี่ยนแปลงผูสอบบัญชีหรือผูบริหารของบริษัท

หรือลดหรือเพิ่มผูบริหารของบริษัทรวมทั้ งจะปรับ

โครงสรางองคกรหรือจัดระบบการบริหารใหมเพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการบริหารงานของบริษัทตามที่กองทุน

รวมเห็นชอบโดยมีเหตุผลอันสมควร

• สัญญารวมลงทุนกับบริษัท เอเซีย อิควิตี้ เวนเจอร จํากัด (“AEV")

วัตถุประสงคในการเสนอขายหุนเพิ่มทุน : เพื่อนําเงินที่ไดจากการเขารวมลงทุนมาใชในการดําเนิน

ธุรกิจ

คูสัญญา : บริษัท เอเซีย อิควิตี้ เวนเจอร จํากัด กับนายชนินทรเดช

วานิชวงศ และนายชนินทร วานิชวงศ

วันที่ลงนามในสัญญา : 20 ธันวาคม 2550

จํานวนหุนและมูลคาการลงทุน : ปจจุบันมีหุนในบริษัท 40,000,000 หุน (ราคาที่ตราไว

0.50 บาท) คิดเงินลงทุนในบริษัทรวม 41,500,000 บาท

โดยเปนการลงทุนเริ่มแรกตามสัญญา 20,000,000 หุน

เปนเงินลงทุน 31,500,000 บาท(เปนสวนเกินมูลคาหุน

เทากับ 21,500,000 บาท) ภายหลัง AEV ไดซื้อหุนเพิ่ม

ทุนของบริษัท 20,000,000 หุน เปนจํานวนเงินลงทุน

10,000,000 บาท

เงื่อนไขของของสัญญาในการเขาจด

ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย

:

บริษัทจะตองดําเนินการแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนและ

เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ภายในป 2552

การกําหนดราคา IPO : ราคาไมต่ํากวา 3.15 บาท (มูลคาที่ตราไว 1 บาทตอหุน)

นโยบายการขายหุนภายหลังจากการเขา

เปนบริษัทจดทะเบียน

: ตามที่ระบุในสัญญานั้น AEV สามารถขายหุนไดใน

สัดสวนไมต่ํากวาหรือเทากับรอยละ 25 ของจํานวนหุน

สุทธิที่ AEV ถือครองอยูกอนบริษัทเขาจดทะเบียนใน

ตลาดหลักทรัพยตามกําหนดเวลาดังนี้

Page 73: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 12

1. ทันทีในวันที่บริษัทเริ่มทําการซื้อขายหุนในตลาด

หลักทรัพย

2. เมื่อหุนของบริษัททําการซื้อขายหุนในตลาด

หลักทรัพยครบกําหนด 6 เดือน

3. เมื่อหุนของบริษัททําการซื้อขายหุนในตลาด

หลักทรัพยครบกําหนด 12 เดือน

4. เมื่อหุนของบริษัททําการซื้อขายหุนในตลาด

หลักทรัพยครบกาํหนด 18 เดือน

ทั้งนี้เงื่อนไขดังกลาวเปนเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญา

รวมลงทุน ณ วันที่ทําสัญญา เพื่อใหสอดคลองกับ

หลักเกณฑในเรื่องการหามผูบริหารหรือผูถือหุนและผูที่

เกี่ยวของขายหุนและหลักทรัพยภายในระยะเวลาที่

กําหนดตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย อยางไรก็ตามในป 2551 มีการ

เปล่ียนแปลงหลักเกณฑและเงื่อนไขในเรื่องดังกลาว ผู

ถือหุนจึงมีการตกลงกันดวยวาจาปรับเงื่อนไขการ

จําหนายหุนของ AEV ใหสอดคลองกับหลักเกณฑใหม

โดย AEV จะสามารถทยอยขายหุนสามัญในสวนที่ไม

ติดระยะเวลาหามขายไดทันทีเมื่อบริษัทเริ่มทําการซื้อ

ขายหุนในตลาดหลักทรัพย สําหรับหุนสามัญที่ติด

ระยะเวลาหามขายใหเปนไปตามหลักเกณฑที่ตลาด

หลักทรัพยกําหนด*

กรณีไมสามารถเขาจดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพยได หรือราคาเสนอขาย IPO ต่ํา

กวาที่กําหนดในสัญญา

: กรณีที่บ ริษัทไมสามารถเข าจดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทยไดภายในป 2552 หรือราคา

เสนอขายตอประชาชนครั้งแรกต่ํากวา 3.15 บาท (มูล

คาที่ตราไว 1 บาทตอหุน) นายชนินทรเดช วานิชวงศ

และนายชนินทร วานิชวงศจะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่

AEV ถืออยูทั้งหมดภายใน 30 วันนับจากวันที่ไดรับ

หนังสือสัญญาเสนอขายโดยไมเพิกถอน ในราคา 3.15

บาทตอหุน (มูลคาที่ตราไว 1 บาทตอหุน) บวกดวยอัตรา

ผลตอบแทนรอยละ 10 ตอป คํานวณจนถึงวันที่รับโอน

หุนที่ซื้อคืน อยางไรก็ตาม ปจจุบัน AEV ไดจําหนายหุน

สามัญของบริษัทที่ AEV ถือครองจํานวน 15 ลานหุน

ใหแกนักลงทุนรายอื่นคือ นายหรรษทาน ปยชาติวงศ

โดยมิไดขายคืนใหแกนายชนินทรเดช วานิชวงศ และนาย

ชนินทร วานิชวงศ

Page 74: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.5 หนา 13

เงื่อนไขในระหวางการรวมลงทุน : นายชนินทรเดช วานิชวงศ และนายชนินทร วานิชวงศ

จะตองรักษาสัดสวนการถือครองหุนในบริษัทของรวมกัน

ไมต่ํากวารอยละของทุนจดทะเบียนชําระแลวในขณะใด

ขณะหนึ่งที่กําหนดไวตามชวงระยะเวลาตอไปนี้

a. ไมต่ํากวารอยละ 21 ในชวงระยะเวลาตั้งแต

วันที่ 20 ธันวาคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม

2550

b. ไมต่ํากวารอยละ 25 ในชวงเวลาตั้งแตวันที่ 1

มกราคม 2551 ถึงวันที่มีการกระจายหุนแก

ประชาชนทั่วไป

c. ไมต่ํากวารอยละ 27.50 ในชวงเวลาตั้งแตวันที่

มีการกระจายหุนแกประชาชนทั่วไป จนถึงวัน

แรกที่หุนของบริษัทเขาทําการซื้อขายในตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทย

หากไมสามารถรักษาสัดสวนการถือหุนตามที่ตกลงไวได

นายชนินทรเดช วานิชวงศ และนายชนินทร วานิชวงศจะ

ซื้อหุนสามัญของบริษัทที่บริษัท เอเซีย อิควิตี้ เวนเจอร

จํากัดถืออยูทั้งหมดในราคา 3.15 บาทตอหุน (มูลคาที่

ตราไว 1 บาทตอหุน) บวกดวยอัตราผลตอบแทนรอยละ

10 ตอป คํานวณจนถึงวันที่รับโอนหุนที่ซื้อคืน

หมายเหตุ: *ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเลขที่ บจ/ร 01-03 (ปรับปรุง 20 ก.พ. 51) ไดกําหนด

ระยะเวลาหามขายหุนเปนเวลา 1 ป โดยบุคคลที่ถูกหามขายหุนสามารถทยอยขายหุนหรือหลักทรัพยไดใน

จํานวนรอยละ 25 ของจํานวนหุนหรือหลักทรัพยที่บุคคลดังกลาวถูกหามขายทั้งหมด เมื่อครบกําหนด 6 เดือน

นับจากวันแรกที่เร่ิมทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย

5.5 นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม

บริษัทมีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอยที่มีธุรกิจที่เกี่ยวของและเกื้อหนุนกับธุรกิจหลักของบริษัท โดยบริษัท

จะควบคุมดูแลโดยสงตัวแทนของบริษัทไปเปนกรรมการของบริษัทยอย เพื่อมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายในการ

ดําเนินงานใหเปนไปในทิศทางเดียวกันและเอื้อประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัท ในกรณีของบริษัทรวม

บริษัทจะไมเขาไปควบคุมดูแลการบริหารงานมากนัก เพียงแตจะสงตัวแทนของบริษัทเขาไปเปนกรรมการของบริษัท

รวมนั้นๆ ทั้งนี้จํานวนตัวแทนจากบริษัทที่เขาไปเปนกรรมการจะขึ้นอยูกับสัดสวนการถือหุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีบริษัทยอย 3 แหงโดยมีเงินลงทุนในบริษัทยอยจํานวน 21.66 ลานบาท

ตามวิธีราคาทุน หรือคิดเปนรอยละ 10.06 ของสินทรัพยรวมของบริษัทตามงบการเงินเฉพาะของบริษัท

Page 75: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.6 หนา 1

6. โครงการในอนาคต

กลุมบริษัทมีเปาหมายที่จะขยายขอบเขตการดําเนินธุรกิจการปจจุบัน ซึ่งทําธุรกิจผลิตและพัฒนา

ซอฟตแวรเกมไปยังธุรกิจเสริมทักษะการเรียนรูสําหรับเด็ก ซึ่งถือเปนธุรกิจที่มีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจในปจจุบัน

ของกลุมบริษัท โดยให บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทดําเนินธุรกิจสถาบันเสริม

ทักษะการเรียนรูสําหรับเด็กภายใตชื่อเครื่องหมายการคา “Geniusplanet”

โดยกลุมบริษัททําการผลิตและพัฒนาซอฟตแวร เกมเพื่อการศึกษา

(Edutainment) เพื่อใชเปนส่ือประกอบการเรียนการสอนผานเครื่องเลนเกม

Nintendo DS ซึ่งถือเปนส่ือสงเสริมการเรียนรูที่ทําใหเด็กสามารถไดรับความรู

ทางดานวิชาการ และความเพลิดเพลินจากการเลนเกมควบคูกันไปได โดย

หลักสูตรแรกที่กลุมบริษัทพัฒนาขึ้นคือหลักสูตร “English Monster” ซึ่งเปน

หลักสูตรที่ มุงเนนการพัฒนาทักษะการเรียนรู สําหรับวิชาภาษาอังกฤษ

หลักสูตรดังกลาวมีระยะเวลาของหลักสูตร 16 เดือน โดยลูกคากลุมเปาหมาย

คือกลุมเด็กประถมศึกษา โดยกลุมบริษัทใชเงินลงทุนในการพัฒนาหลักสูตร

และซอฟตแวรประมาณ 2,000,000 บาท และกอตั้งสถาบันเสริมทักษะการ

เรียนรูสาขาแรกที่หางสรรพสินคาเซ็นทรัลชิดลมโดยใชเงินลงทุนในการจัดเตรียมอาคารสถานที่ทั้งส้ินประมาณ

400,000 บาท โดยเงินลงทุนทั้งหมดมาจากเงินทุนหมุนเวียนภายในของกลุมบริษัท และเริ่มเปดดําเนินการสถาบัน

“Geniusplanet” ในเดือนเมษายน 2552 โดย ณ 31 มกราคม 2553 มีจํานวนนักเรียนทั้งส้ิน 73 คน โดยคาดวาจะมี

นักเรียนทั้งส้ินประมาณ 100 คนภายในหนึ่งป

ตัวอยางหนาจอของซอฟตแวรเกม English Monster ที่ใชเปนส่ือการเรียนการสอน

เครื่องหมายการคา

“Geniusplanet”

Page 76: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.6 หนา 2

สําหรับหลักสูตรที่กลุมบริษัทพัฒนาขึ้นนั้น นักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนจะไดรับแจกเครื่องเลนเกม

Nintendo DS ซึ่งจะมีซอฟตแวรเกม English Monster เพื่อใชเปนส่ือในการเรียนที่สามารถสรางแรงจูงใจในการ

เรียนใหกับนักเรียน โดยเมื่อนักเรียนทําแบบฝกหัดในซอฟตแวร ตัวละคร English Monster ของนักเรียนจะมี

พัฒนาการตามความถี่ในการทําแบบฝกหัด และนักเรียนจะตองเขามาที่โรงเรียนทุกสัปดาหเพื่อปลดล็อกแบบฝกหัด

และเกม และใหคุณครูไดตรวจสอบการบานตลอดจนอธิบายวิชาการในระดับถัดไป ซึ่งวิธีการเรียนดังกลาวจะชวยให

นักเรียนสามารถจําคําศัพทตางๆ หรือรูปแบบการเขียนประโยคไดโดยไมรูตัว ตลอดจนโปรแกรมดังกลาวจะชวย

สรางความสัมพันธภายในครอบครัวเพิ่มขึ้น ในการที่ผูปกครองจะดูแลเรื่องการทองศัพทของนักเรียน โดยภายใน

โปรแกรมประกอบดวยโจทยปญหามากกวา 10,000 ขอ คําศัพทประมาณ 2,000 คํา

นอกจากหลักสูตร English Monster แลว กลุมบริษัทยังไดวางแผนที่จะพัฒนาหลักสูตรอื่นๆ ที่ชวยพัฒนา

ทักษะการเรยีนรูของเด็กในดานตางๆ ไดแก

1) หลักสูตร Brain Training ที่มุงเนนการพัฒนาสมองของเด็กใหสามารถเรียนรูและจดจําไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จในไตรมาส 2 ป 2553

2) หลักสูตร Math ที่มุงเนนพัฒนาทักษะและความรูทางดานคณิตศาสตรสําหรับเด็ก ซึ่งคาดวาจะแลว

เสร็จในไตรมาส 4 ป 2553

3) หลักสูตร Science ที่มุงเนนพัฒนาทักษะและความรูทางดานวิทยาศาสตรสําหรับเด็ก ซึ่งคาดวาจะ

แลวเสร็จในไตรมาส 4 ป 2553

ทั้งนี้ ตนทุนในการพัฒนาหลักสูตรดังกลาวขางตน คิดเปนจํานวนเงินประมาณไมเกิน 2,000,000 บาทตอ

หลักสูตร กลุมบริษัทคาดวาภายในป 2553 จะสามารถขยายสาขาทั่วกรุงเทพฯ และตางจังหวัดไดประมาณ 100

สาขา ทั้งในลักษณะการเปดสาขาเพื่อบริหารจัดการเอง และการจําหนายลิขสิทธิ์ในการบริหารงานสถาบัน

Geniusplanet ใหแกนักลงทุนที่สนใจซื้อลิขสิทธิ์เพื่อดําเนินการ (Franchise)

ทั้งนี้ เงินลงทุนในการเปดสาขาเพื่อบริหารจัดการเองนั้นจะอยูประมาณไมเกิน 200,000 บาทตอสาขา คิด

เปนเงนิลงทุนทั้งส้ินไมเกิน 6,000,000 บาท ในสวนของการจําหนายลิขสิทธิใหผูอื่นบริหารจัดการกลุมบริษัทจะไดรับ

คาตอบแทนใน 2 ลักษณะไดแก คาแรกเขาและสวนแบงรายไดจากการสมัครของนักเรียนหักคาอุปกรณในการเรียน

การสอน ซึ่งการกําหนดอัตราคาแรกเขา และสวนแบงรายได อาจมีความแตกตางกันในแตละภูมิภาค ขึ้นอยูกับ

ภาวะการแขงขันและจํานวนสาขาที่เปด โดยบริษัทกําหนดโดยเบื้องตนวา คาแรกเขาจะอยูในระดับประมาณ

300,000 - 500,000 บาทตอสาขา และสวนแบงรายไดที่บริษัทจะไดรับจะอยูในระดับประมาณรอยละ 30 – 50 ของ

รายไดจากการสมัครของนักเรียนหักคาอุปกรณการเรียนการสอน

ในป 2552 กลุมบริษัทไดมีการจําหนาย Franchise ใหแกผูประกอบการรายหนึ่ง เพื่อทําการเปดสาขาใน

ภาคตะวันออกจํานวน 30 สาขา โดยมีคาแรกเขาเปนเงินจํานวน12,000,000 บาท ทั้งนี้บริษัทไดรับชําระเงินมัดจํา

สําหรับคาแรกเขาแลวเปนเงิน 3,000,000 บาทภายในไตรมาส 1 ป 2553 โดยกลุมบริษัทมีเปาหมายที่จะขยายการ

จําหนาย Franchise ไปยังภูมิภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ในลําดับถัดไป

นอกจากการพัฒนาซอฟตแวรในการเรียนการสอนโดยใชเครื่อง Nintendo DS เปนส่ือการเรียนรูแลว กลุม

บริษัทยังมีโครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอื่นๆ เพิ่มเติมไดแก “Kid Computer” ซึ่งเปนเครื่องคอมพิวเตอร

พกพา (Notebook Computer) สําหรับเด็ก ที่ออกแบบใหสามารถใชงานไดงายและมีรูปลักษณแตกตางจากสื่อการ

Page 77: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.6 หนา 3

เรียนรูอื่นๆ เพื่อกระตุนใหเด็กมีความสนใจและสรางแรงจูงใจในการเรียนรูเพิ่มขึ้น และสนับสนุนระบบการเรียนการ

สอนรูปแบบอื่นเพิ่มเติม เชน การเรียนการสอนผานทางวิดีโอแบบออนไลน เปนตน ทั้งนี้กลุมบริษัทไดวางแผนที่จะ

เริ่มดําเนินการโครงการดังกลาวควบคูกับการพัฒนาซอฟตแวรที่ใชกับ Kid Computer ในปลายป 2552 และคาดวา

จะแลวเสร็จในป 2553

Page 78: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.7 หนา 1

7. ขอพิพาททางกฎหมาย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทยอยไมมีคดีความหรือขอพิพาททางกฎหมายที่อาจมีผลกระทบ

ทางดานลบอยางมีนัยสําคัญตอการดําเนินธุรกิจหรือสงผลกระทบดานลบตอทรัพยสินของบริษัทและบริษัทยอยที่มี

จํานวนสูงกวารอยละ 5.0 ของสวนของผูถือหุน

ทั้งนี้ บริษัทมีขอพิพาททางกฏหมายกับคูคารายหนึ่งของบริษัท โดยบริษัทไดรับจางคูคารายดังกลาวทําการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรจํานวน 4 เกม และเมื่อพัฒนาเกมแลวเสร็จบริษัทดังกลาวจะทําการผลิตแผนซีดี

ซอฟตแวรเกมโดยแตงตั้งใหบริษัทเปนผูจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย

อยางไรก็ตาม เมื่อทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมแลวเสร็จจํานวน 2 เกม คูคารายดังกลาวไดผิดสัญญาวาจาง

พัฒนาซอฟตแวรเกมแกบริษัทโดยไมชําระคาจาง ซึ่งแสดงเปนลูกหนี้คงคางในงบการเงินของบริษัทมูลคา 2.78 ลาน

บาท บริษัทจึงยื่นฟองรองตอศาล โดยเมื่อศาลไดพิจารณาแลวเสนอใหบริษัทเตรียมเอกสารประกอบการฟองรอง

เพิ่มเติม รวมทั้งตองยกเลิกสัญญาระหวางบริษัทกับคูคารายดังกลาวกอน ปจจุบันบริษัทกําลังอยูระหวางการเตรียม

ยื่นฟองรองกับบริษัทดังกลาวโดยมีมูลคาความเสียหายประมาณ 5.91 ลานบาท ในทางกลับกัน คูคารายดังกลาวได

ยื่นฟองรองบริษัทสําหรับคาเสียหายในการผิดสัญญารับประกันการจําหนายแผนซีดีเกมที่พัฒนาแลวเสร็จแลว เปน

มูลคาตามสัญญาทั้งส้ิน 1.82 ลานบาท ทั้งนี้บริษัทไดมีการจายชําระคาซอฟตแวรเกมดังกลาวเปนมูลคาทั้งส้ิน 0.91

ลานบาทเทากับจํานวนแผนซีดีซอฟตแวรเกมที่บริษัทไดรับ สําหรับซีดีซอฟตแวรเกมในสวนที่เหลือนั้น บริษัทไดขอรับ

สินคาแตไมไดรับการตอบรับจากคูคารายดังกลาว บริษัทจึงมิไดชําระเงินสําหรับสินคาในสวนที่ยังมิไดรับมอบสินคา

นั้น คูคารายดังกลาวจึงไดฟองเรียกคาเสียหายจากบริษัทเปนจํานวนเงิน 0.83 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5

ตอป โดยขณะนี้คดียังไมถึงที่ส้ินสุด

Page 79: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.8 หนา 1

8. โครงสรางเงนิลงทุน

8.1 หลักทรัพยของบริษัท

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งส้ิน 140,000,000 บาท แบงเปนหุนสามัญจํานวน

280,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาท โดยเปนทุนจดทะเบียนชําระแลวจํานวน 220,000,000 หุน และหุน

สามัญเพิ่มทุนสําหรับการเสนอขายแกประชาชนทั่วไปในครั้งนี้จํานวน 60,000,000 หุน หรือคิดเปนรอยละ 21.43

ของทุนจดทะเบียนของบริษัท

8.2 ผูถือหุน

รายชื่อผูถือหุนที่ปรากฏตามสมุดทะเบียนผูถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 มีดังนี้

สัดสวนรอยละของหุนที่ถือ รายชื่อ

จํานวนหุน (หุน)

กอนเสนอขายหุนตอ

ประชาชน

ภายหลังเสนอขายหุน

ตอประชาชน

1. กองทุนรวมเพือ่รวมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม * 88,888,800 40.40 31.75

2. กลุมวานิชวงศ และบุคคลที่เกีย่วของตามม.258 ** 83,150,600 37.80 29.70

3. บจ. เอเซีย อิควิต้ี เวนเจอร *** 25,000,000 11.36 8.93

4. นายหรรษทาน ปยชาติวงศ**** 15,000,000 6.82 5.36

5. นายอรรถสิทธิ ์เอือ้อารักษ 4,000,000 1.82 1.43

6. นายจตุพร โชติกวณิชย 1,200,000 0.55 0.43

7. นายชัยยศ จันทวศุ 960,000 0.44 0.34

8. นางสาวฌยดา โกวิทยวณิชชา 800,000 0.36 0.29

9. นางสาวกอบพร สุนทเรกานนท 600,000 0.27 0.21

10. นายชุมฤกษ อุดมมงคลกุล 400,000 0.18 0.14

11. นางสาวสภุาภรณ นิ่มวชิระสุนทร 200 0.00 0.00

12. นางสาวดวงพร มีทรัพยยอดสุข 200 0.00 0.00

13. นางสาวสชุัญญา นิ่มวชิระสุนทร 200 0.00 0.00

รวมจํานวนหุนสามัญกอนเสนอขายประชาชน 220,000,000 100.00 78.57

จํานวนหุนที่เสนอขายตอประชาชน 60,000,000 - 21.43

รวมจํานวนหุนภายหลังเสนอขายตอประชาชน 280,000,000 - 100.00

หมายเหตุ :

* กองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนในวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมของกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม โดยมีบริษัท

หลักทรัพยจัดการกองทุนรวม วรรณ จํากัดเปนผูจัดการกองทุน

** กลุมครอบครัววานิชวงศ ประกอบดวย นายชนิทรเดช วานิชวงศ ถือหุนจํานวน 50,484,400 หุน และนายชนินทร วานิชวงศ

ถือหุน 30,666,200 หุน และนางสาวศศิวิมล เกดิผล ถือหุน 2,000,000 หุน

Page 80: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.8 หนา 2

*** บจ. เอเซีย อิควิต้ี เวนเจอร ประกอบธุรกิจดานการลงทุน ซึ่งถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวโดยบ

มจ. โกลเบล็ก โฮลด้ิง แมนเนจเมนท (ณ วันที่ 4 มีนาคม 2553 ครอบครัวคูหาเปรมจิต ถือหุนในสัดสวนรอยละ 25.69 ของทุน

จดทะเบียนชําระแลวของบริษัทดังกลาว) ซึ่งถือเปนบุคคลที่ไมมีความขัดแยงตามมาตรา 258 กับบริษัท

**** นายหรรษทาน ปยชาติวงศ ซื้อหุนของบริษัทจํานวน 15,000,000 หุนจาก บจ.เอเซีย อิควิต้ี เวนเจอร ในวันที่ 30 มีนาคม 2553

ทั้งนี้ ณ วันที่ 4 มีนาคม 2553 นายหรรษทานถือหุนของ มจ. โกลเบล็ก โฮลด้ิง แมนเนจเมนท ในสัดสวนรอยละ 0.72 ของทุน

จดทะเบียนชําระแลวของบริษัทดังกลาว

8.3 นโยบายการจายเงินปนผล

ในกรณีที่กลุมบริษัทไมมีความจําเปนในการใชเงินเพื่อการลงทุนหรือขยายกิจการ และมีกระแสเงินสด

เพียงพอ กลุมบริษัทมีนโยบายจายปนผลไมนอยกวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินไดนิติบุคคล และสํารอง

ตามกฎหมาย ทั้งนี้อัตราการจายเงินปนผลดังกลาวอาจเปลี่ยนแปลงได โดยขึ้นอยูกับความจําเปนและความ

เหมาะสมโดยพิจารณาจากประโยชนสูงสุดของผูถือหุนเปนสําคัญ ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการบริษัทที่อนุมัติให

จายเงินปนผลจะตองถูกนําเสนอเพื่อขอนุมัติตอที่ประชุมผูถือหุน เวนแตเปนการจายเงินปนผลระหวางกาล ซึ่ง

คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจอนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลไดและใหรายงานใหที่ประชุมผูถือหุนทราบในการ

ประชุมคราวตอไป

Page 81: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 1

9. การจัดการ โครงสรางการจัดการ

โครงสรางการจัดการของบริษัท ณ วันที่ 30 เมษายน 2553 สามารถแสดงไดดังนี้

บริษัทยอย

คณะกรรมการตรวจสอบ

ผูตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริษัท

ประธานเจาหนาที่บริหาร

กรรมการผูจัดการ

ฝายการตลาด

ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการ ผูอํานวยการฝายการตลาด ผูอํานวยการฝายผลิต

ฝายบัญชี ฝายการเงิน ฝายจัดซื้อ ฝายบุคคล ฝายผลิต ฝายตรวจสอบคุณภาพ

คณะกรรมการบริหาร

Page 82: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 2

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2553 บริษัทมีกรรมการทั้งหมด 9 ทาน ดังนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ ประธานกรรมการ

2. นายชนินทร วานิชวงศ กรรมการ

3. นายไกรภพ แพงสภา กรรมการ

4. นายวิชัย ควรสุวรรณ* กรรมการ

5. นายภาคภูมิ ภาคยวิศาล** กรรมการ

6. ดร.โสรัชย อัศวะประภา กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ

7. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

8. นายวิลักษณ โหลทอง กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

9. นายอนันต ล้ีตระกูล กรรมการอิสระ * นาย วิชัย ควรสุวรรณ ซ่ึงเปนตัวแทนจาก กองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขาดํารงตําแหนงเปน

กรรมการบริษัทแทนนายมงคล เกษมสันต ณ อยุธยา ต้ังแตวันที่ 23 พฤศิจกายน 2552

** นายภาคภูมิ ภาคยวิศาล ซ่ึงเปนตัวแทนจาก บจ. เอเซีย อิควิต้ี เวนเจอร เขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการบริษัท แทนนายเกรียงไกร ศิระ

วณิชการ ต้ังแตวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552

กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัท มีดังนี้

นายชนินทรเดช วานิชวงศ หรือ นายชนินทร วานิชวงศ หรือ นายไกรภพ แพงสภา 2 ใน 3 ทาน ลงลายมือ

ชื่อรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท ขอบเขตและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ

นอกจากคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจและหนาที่ตามที่กําหนดในขอบังคับของบริษัทแลว ให

คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจหนาที่ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่

22 เมษายน 2552 ดังตอไปนี้

1) ดูแลและกําหนดนโยบายที่สําคัญของบริษัท ไดแก นโยบายหลักในการดําเนินธุรกิจ นโยบายทางดาน

การเงิน นโยบายการระดมทุน นโยบายในการบริหารเงินทุน นโยบายในการบริหารความเสี่ยงของ

บริษัท

2) พิจารณาเกี่ยวกับการลงทุน โดยพิจารณาอนุมัติงบประมาณ โครงการลงทุนของบริษัท และกํากับดูแล

ดําเนินโครงการใหเปนไปตามแผนงานที่วางไว

3) ดูแลการดําเนินงานของบริษัท เพื่อใหเปนไปตามเปาหมายหรือดีกวาเปาหมายที่วางไวและกําหนดแนว

ทางแกไขกรณีที่มีปญหาอุปสรรคเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่วางไวหรือดีกวาเปาหมายที่วางไว

4) จัดใหมีรายงานขอมูลทั่วไป และขอมูลทางการเงนิของบริษัท เพื่อรายงานตอผูถือหุนและผูมีสวนไดเสีย

หรือผูลงทุนทั่วไปอยางถูกตอง ทันกาลและเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

Page 83: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 3

5) รับทราบรายงานการตรวจสอบที่สําคัญของคณะกรรมการตรวจสอบหรือฝายตรวจสอบภายใน รวมทั้ง

ผูตรวจสอบบัญชี และที่ปรึกษาฝายตาง ๆ ของบริษัท และมีหนาที่กําหนดแนวทางในการปรับปรุงแกไข

กรณีที่พบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ

6) สอบทานความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของ

บริษัท

7) จัดให มีกระบวนการสรางผูบ ริหารระดับสูงของบริษัทเพื่อให มีขึ้นมาทดแทนอยางตอเนื่อง

(Succession Plan)

8) แตงตั้งกรรมการตรวจสอบ และใหความเห็นชอบเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

9) แตงตั้งคณะกรรมการบริหารหรือมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งคนใดหรือหลายคนหรือบุคคลอื่น

กระทําการอยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การมอบอํานาจดังกลาว ผูไดรับมอบ

อํานาจนั้นตองไมมีอํานาจอนุมัติรายการที่บุคคลดังกลาวหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง (“บุคคลที่

อาจมีความขัดแยง” ใหมีความหมายตามที่กําหนดไวในประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย

และตลาดหลักทรัพย) มีสวนไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัท

หรือบริษัทยอย

เวนแตเร่ืองตอไปนี้ จะกระทําไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอน ทั้งนี้กําหนดให

รายการที่กรรมการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่น

ใดกับบริษัทหรือบริษัทยอย ใหกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องนั้น ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น

- เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดมติที่ประชุมผูถือหุน

- การทํารายการที่กรรมการมีสวนไดเสียและอยูในขายที่กฎหมาย สํานักงานคณะกรรมการกํากับ

หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยหรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยระบุใหตองไดรับอนุมัติจากที่

ประชุมผูถือหุน

- นอกจากนั้นในกรณีดังตอไปนี้จะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการและที่ประชุมผู

ถือหุนดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุนที่เขาประชุมและมี

สิทธิออกเสียงลงคะแนน

การขายหรือโอนกิจการของบริษัททั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญใหแกบุคคลอื่น

การรับซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทมหาชนอื่นหรือบริษัทเอกชนมาเปนของบริษัท

การทํา แกไข หรือเลิกสัญญา เกี่ยวกับการใหเชากิจการของบริษัททั้งหมดหรือบางสวนที่

สําคัญ การมอบหมายใหบุคคลอื่นเขาจัดการธุรกิจของบริษัท หรือการรวมกิจการกับบุคคล

อื่นโดยมีวัตถุประสงคจะแบงกําไรขาดทุนกัน

การออกหุนใหมเพื่อชําระแกเจาหนี้ของบริษัท ตามโครงการแปลงหนี้เปนทุน

การลดทุนจดทะเบียนของบริษัท โดยการลดจํานวนหุน หรือลดมูลคาหุน

การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุนกู การควบหรือเลิกบริษัท

เรื่องอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด

Page 84: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 4

คณะกรรมการตรวจสอบ/คณะกรรมการอิสระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมตรวจสอบของบริษัท ประกอบดวย 3 ทาน ดังรายนามตอไปนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง

1. ดร.โสรัชย อัศวะประภา* ประธานกรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

2. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา* กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

3. นายวิลักษณ โหลทอง กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ หมายเหตุ : * เปนกรรมการตรวจสอบที่มีความรูความสามารถดานบัญชีและการเงิน

ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ไดมีการกําหนด

ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบดังตอไปนี้

1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตอง และเปดเผยอยางเพียงพอ โดยการ

ประสานงานกับผูสอบบัญชีภายนอกและผูบริหารที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงิน ทั้งราย

ไตรมาสและประจําป คณะกรรมการตรวจสอบอาจเสนอแนะใหผูสอบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบ

รายการใดๆที่เห็นวาจําเปนและเปนเรื่องสําคัญในระหวางการตรวจสอบบัญชีของบริษัทก็ได

2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสมและมี

ประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบ

ในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน

3. สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท

4. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแตงตั้ง บุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัท

และเสนอคาตอบแทนของผูสอบบัญชี รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขา

รวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง

5. พิจารณารายการเกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนไปตามกฎหมาย

และขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหม่ันใจวารายการดังกลาวมีความสมเหตุสมผลและเปน

ประโยชนสูงสุดตอบริษัท

6. จัดทํารายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่ง

รายงานดังกลาวลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอย

ดังตอไปนี ้

• ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตองครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท

• ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท

• ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยขอกําหนดของ

ตลาดหลักทรัพยหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท

• ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี

Page 85: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 5

• ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน

• จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละ

ทาน

• ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร

• รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขต หนาที่ และความ

รับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

ตรวจสอบ เชน ทบทวนนโยบายการบริหารทางการเงิน และบริหารความเสี่ยง ทบทวนการปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณทางธุรกิจของผูบริหาร ทบทวนรวมกับผูบริหารของบริษัทในรายงานที่สําคัญ ๆ ที่ตอง

เสนอตอสาธารณชนตามที่กฎหมายกําหนด ไดแก บทรายงานและวิเคราะหของฝายบริหาร เปนตน

เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบมีประสิทธิภาพที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบอาจ

แสวงหาความเห็นที่เปนอิสระ จากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใดเมื่อเห็นวาจําเปนก็ได ทั้งนี้ดวยคาใชจาย

ของบริษัท โดยผูที่จะเขามาดํารงตําแหนงกรรมการตรวจสอบของบริษัท จะตองเปนกรรมการอิสระ ซึ่ง

บริษัททําการสรรหาโดยพิจารณาคุณสมบัติ ใหสอดคลองกับคุณสมบัติ ของกรรมการอิสระและ

กรรมการตรวจสอบที่สํานักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพยกําหนดไวดังนี้

• คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ

1) ตองเปนกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติดังนี้

ก. ถือหุนไมเกินรอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัท

ยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของ

กรรมการอิสระรายนั้นๆดวย

ข. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือน

ประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือบริษัทยอยลําดับ

เดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม

นอยกวาสองปกอนวันที่ยื่นขออนุญาตตอสํานักงาน

ค. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฏหมาย ในลักษณะที่

เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผู

มีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท

หรือ บริษัทยอย

ง. ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคล

ที่อาจมีความขัดแยง ในลักษณะที่อาจขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไม

เปนหรือเคยเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ หรือผูบริหาร ของผู มี

ความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ

ขัดแยง เวนแตไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองป กอนวันที่ยื่นขออนุญาต

ตอสํานักงาน

Page 86: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 6

ความสัมพันธทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการทางการคาที่กระทําเปน

ปกติเพื่อประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ

หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ําประกัน การใหสินทรัพย

เปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติกรรมอื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเปนผลใหบริษัทหรือคูสัญญามี

ภาระหนี้ที่ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือ

ตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ดังกลาวใหเปนไป

ตามวิธีการคํานวณมูลคาของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทยวาดวยการเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่

เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลมแตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นใน

ระหวางหนึ่งปกอนวันที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

จ. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจ

มีความขัดแยง และไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือ

หุนสวนผูจัดการของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม

หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม

นอยกวาสองปกอนวันที่ยื่นคําขออนุญาตตอสํานักงาน

ฉ. ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่

ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจาก บริษัท บริษัทใหญ บริษัท

ยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผูใหบริการทางวิชาชีพเปนนิติ

บุคคล ใหรวมถึงการเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวน

ผูจัดการ ของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม

นอยกวาสองปกอนวันยื่นคําขออนุญาตตอสํานักงาน

ช. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ

หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท

ซ. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของผูขอนุญาต

หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน

ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกินรอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิ

ออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มี

นัยกับกิจการของผูขออนุญาตหรือบริษัทยอย

ฌ. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของ

บริษัท

ญ. ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดําเนินงานของ

บริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ

ขัดแยงและไมเปนกรรมการของบริษัทจดทะเบียนที่เปนบริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัท

ยอยในลําดับเดียวกัน

Page 87: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 7

ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระที่มีลักษณะเปนไปตามวรรคหนึ่ง (ก) ถึง (ฌ) แลว

กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัท

ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการ

ตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (Collective decision) ได

2) ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัท

บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

3) ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัทยอยลําดับเดียวกัน เฉพาะที่เปนบริษัทจด

ทะเบียน

4) มีความรู และประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ตองมี

กรรมการตรวจสอบอยางนอยหนึ่งคนที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ใน

การสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริหารของบริษัท ประกอบดวย 4 ทาน ดังรายนามตอไปนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ ประธานกรรมการบริหาร

2. นายชนินทร วานิชวงศ กรรมการบริหาร

3. นายไกรภพ แพงสภา กรรมการบริหาร

4. นางสาวศิริรัตน จันดิษ กรรมการบริหาร

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร

ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2552 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2552 ไดมีการกําหนด

ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารดังตอไปนี้

1) กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานหลักในการดําเนินธุรกิจของบริษัทที่

กําหนดใหสอดคลองและสนับสนุนตอสภาพเศรษฐกิจและการแขงขันที่ไดกําหนดและแถลงไวตอผูถือหุน

เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทฯเห็นชอบ

2) กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และหลักในการดําเนินธุรกิจใหสอดคลองกับเปาหมายที่ไดรับมอบหมาย

จากคณะกรรมการบริษัท และใหมีอํานาจควบคุมดูแลการดําเนินธุรกิจการบริหารตางๆ ของบริษัท ให

เปนไปตามนโยบายธุรกิจ แผนธุรกิจและกลยุทธทางธุรกิจที่คณะกรรมการบริษัทไดอนุมติแลวภายใต

กฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และขอบังคับบริษัท ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนิน

ธุรกิจ

3) กําหนดโครงสรางองคกรและการบริหาร โดยใหครอบคลุมถึงนโยบายอัตราคาตอบแทนและสวัสดิการ

โครงสรางเงินเดือนของบริษัท และภาพรวมในการคัดเลือก การฝกอบรม การวาจาง การแตงตั้ง การ

โยกยาย การเลิกจางพนักงานของบริษัท

Page 88: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 8

4) มีอํานาจอนุมัติการดําเนินงานเพื่อธุรกรรมตามปกติของบริษัทฯ เชนการจัดซื้อสินคา การจัดซื้อสินทรัพย

การลงทุนในสินทรัพย ภายในวงเงินสําหรับแตละสัญญาซึ่งมากกวา 4 ลานบาท แตไมเกิน 8 ลานบาท

5) ตรวจสอบ ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ที่กําหนด ใหเปนไปตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัตไิว

6) ดําเนินการจัดทําธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินในการเปดบัญชี กูยืม จํานํา จํานอง ค้ําประกัน และ

การอื่น รวมถึงการซื้อขายและจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ที่ดินใด ๆ ตามวัตถุประสงค เพื่อการดําเนินงาน

ตามปกติตามที่เห็นสมควรภายในวงเงินไมเกิน 10 ลานบาท

7) พิจารณาผลกําไรขาดทุนของบริษัทฯ และเสนอจายเงินปนผลระหวางกาลหรือเงินปนผลประจําป เพื่อเสนอ

ตอคณะกรรมการบริษัท

8) มีอํานาจในการมอบอํานาจใหบุคคลหนึ่งหรือหลายบุคคลมีอํานาจกระทําการใดๆ แทนคณะกรรมการ

บริหารตามเห็นสมควรภายใตการควบคุมของคณะกรรมการบริหาร และภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการ

บริหารเห็นสมควร และคณะกรรมการบริหารอาจยกเลิก เพิกถอน เปล่ียนแปลงหรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได

9) ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯมอบหมายเปนคราวๆ ไป

ทั้งนี้การมอบอํานาจดังกลาวขางตนใหแกคณะกรรมการบริหารนั้น จะไมรวมถึงการมอบอํานาจในการ

อนุมัติรายการใดที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด

(ตามขอบังคับของบริษัทฯและตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด) กับ

บริษัทหรือบริษัทยอย ซึ่งการอนุมัติรายการดังกลาวจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให

คณะกรรมการบริษัทพิจารณาตอไป โดยกรรมการบริหารทานนั้นและบุคคลที่อาจมีความขัดแยงจะไม มีสิทธิ

ออกเสียงลงคะแนนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯในเรื่องดังกลาว

ผูบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผูบริหารของบริษัทประกอบดวย 6 ทาน ดังรายนามตอไปนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ ประธานเจาหนาที่บริหาร

2. นายชนินทร วานิชวงศ กรรมการผูจัดการ,ผูอํานวยการฝายการตลาด

3. นางสาวศิริรัตน จันดิษ ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน

4. นายสมศักดิ์ วงศสินสกุล ผูอํานวยการฝายผลิต

5. นางสุรีพร สิริภารดร ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการ

6. นางสาวอารียา วงศวารี ผูจัดการฝายบัญชี

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหาร

ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ไดมีการกําหนด

ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของประธานเจาหนาที่บริหารดังตอไปนี้

1. ควบคุมดูแลการดําเนินกิจการและ/หรือบริหารงานทั่วไปของบริษัทและบริษัทยอย

Page 89: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 9

2. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดอนุมัติจาก

คณะกรรมการบริษัท

3. มีอํานาจอนุมัติ และมอบอํานาจชวงอนุมัติเบิกจายเพื่อการอนุมัติการซื้อขายสินคาอันเปนปกติธุระ

ของบริษัทในวงเงินไมเกิน 4 ลานบาท หากเกินจํานวนที่สามารถอนุมัติใหนําเสนอเพื่อขออนุมัติตอที่

ประชุมคณะกรรมการบริษัท

4. มีอํานาจออกคําส่ัง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปตามนโยบาย และ

ผลประโยชนของบริษัท และเพื่อรักษาระเบียบวินัยการทํางานภายในองคกร

5. มีอํานาจกระทําการและแสดงตนเปนตัวแทนของบริษัทตอบุคคลภายนอกในกิจการที่เกี่ยวของและ

เปนประโยชนตอบริษัท

6. อนุมัติการแตงตั้งที่ปรึกษาดานตาง ๆ ที่จําเปนตอการดําเนินงานของบริษัทและบริษัทยอย

7. เปนผูรับมอบอํานาจของบริษัทในการบริหารกิจการของบริษัทใหเปนตามวัตถุประสงค ขอบังคับ

นโยบาย ระเบียบ ขอกําหนด คําส่ัง มติที่ประชุมผูถือหุนและ/หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท

ทุกประการ

ทั้งนี้การมอบอํานาจใหแกประธานเจาหนาที่บริหาร ตลอดจนการมอบอํานาจแกบุคคลอื่นที่ประธาน

เจาหนาที่บริหารเห็นควร จะไมรวมถึงอํานาจและ/หรือการมอบอํานาจในการอนุมัติรายการใดที่ตนหรือบุคคลที่อาจมี

ความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัทและตามที่

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด) กับบริษัทหรือบริษัทยอย ซึ่งการอนุมัติรายการ

ในลักษณะดังกลาวจะตองเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาและอนุมัติ

รายการดังกลาวตามขอบังคับของบริษัท หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนด เวนแตเปนการอนุมัติรายการที่เปน

ลักษณะการดําเนินธุรกรรมการคาปกติทั่วไปของบริษัทที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทได

พิจารณาอนุมัติไว

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการ

ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ไดมีการกําหนด

ขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของกรรมการผูจัดการ ดังตอไปนี้

1. ควบคุมดูแลการดําเนินกิจการและ/หรือบริหารงานทั่วไปของบริษัท

2. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดอนุมัติจาก

คณะกรรมการบริษัท

3. มีอํานาจอนุมัติ และมอบอํานาจชวงอนุมัติเบิกจายเพื่อการซื้อขายสินคาอันเปนปกติธุระของบริษัทใน

วงเงินไมเกิน 1 แสนบาท หากเกินจํานวนที่สามารถอนุมัติใหนําเสนอเพื่อขออนุมัติตอประธาน

เจาหนาที่บริหาร

4. มีอํานาจออกคําส่ัง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อใหการปฏิบัติงานเปนไปตามนโยบาย และ

ผลประโยชนของบริษัท และเพื่อรักษาระเบียบวินัยการทํางานภายในองคกร

5. มีอํานาจกระทําการและแสดงตนเปนตัวแทนของบริษัท ตอบุคคลภายนอกในกิจการที่เกี่ยวของและ

เปนประโยชนตอบริษัท

Page 90: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 10

6. อนุมัติการแตงตั้งที่ปรึกษาดานตาง ๆ ที่จําเปนตอการดําเนินงานของบริษัท

7. เปนผูรับมอบอํานาจของบริษัทในการบริหารกิจการของบริษัทใหเปนตามวัตถุประสงค ขอบังคับ

นโยบาย ระเบียบ ขอกําหนด คําส่ัง มติที่ประชุมผูถือหุนและ/หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท

ทุกประการ

ทั้งนี้การมอบอํานาจใหแกกรรมการผูจัดการ ตลอดจนการมอบอํานาจแกบุคคลอื่นที่กรรมการผูจัดการเห็น

ควร จะไมรวมถึงอํานาจและ/หรือการมอบอํานาจในการอนุมัติรายการใดที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวน

ไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัทและตามที่สํานักงานคณะกรรมการ

กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด) กับบริษัทหรือบริษัทยอย ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะดังกลาว

จะตองเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาและอนุมัติรายการดังกลาว

ตามขอบังคับของบริษัท หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนด เวนแตเปนการอนุมัติรายการที่เปนลักษณะการดําเนิน

ธุรกรรมการคาปกติทั่วไปของบริษัทที่เปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาอนุมัติไว

การสรรหา กรรมการ

• การสรรหากรรมการบริษัท

การคัดเลือกบุคคลที่จะดํารงตําแหนงกรรมการของบริษัท แมปจจุบันยังไมไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการ

สรรหา (Nominating Committee) แตคณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาคัดเลือกกรรมการโดยใชหลักเกณฑและ

วิธีการสรรหา โดยคณะกรรมการบริษัทจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑคุณสมบัติตามมาตรา 68 แหง

พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด

หลักทรัพยที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ยังเนนถึงประสบการณ ความรู และความสามารถ จากนั้นจึงนํารายชื่อเสนอที่

ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาแตงตั้ง

ในการเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้ง โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและ

วิธีการดังตอไปนี้

1. ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับจํานวนหุนที่ตนถือ

2. ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตามที่ตนมี เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอย

เพียงใดก็ได

3. บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน

กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมา

มีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวนที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออก

เสียงชี้ขาด

Page 91: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 11

• การสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ

คณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผูถือหุนสามัญประจําปของบริษัทเปนผูมีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการ

ตรวจสอบขึ้น ซึ่งกําหนดใหมีจํานวนไมนอยกวา 3 คน แตไมเกิน 5 คน โดยคัดเลือกจากคณะกรรมการบริษัท

และผูที่ไดรับคัดเลือกเปนคณะกรรมการตรวจสอบ 1 คน ตองเปนผูที่มีความรูดานบัญชีหรือการเงิน เมื่อ

กรรมการตรวจสอบวางลงจนมีจํานวนต่ํากวา 3 คน ใหคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้งใหครบ

จํานวนภายในระยะเวลาไมเกินกวา 3 เดือนนับจากวันที่คณะกรรมการตรวจสอบมีจํานวนนอยกวา 3 คน

คาตอบแทนกรรมการ กรรมการบริหารและผูบริหาร 9.3.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน

คาตอบแทนกรรมการ กรรมการบริหารและผูบริหารที่เปนตัวเงินในป 2551 และ ป 2552 มีดังนี้

จํานวนครั้งเขาประชุม/ คาตอบแทนรายเดือน (บาท)

คาเบี้ยประชุม (บาท) จํานวนประชุมทัง้หมด

รายชื่อ

ป 2551 ป 2552 ป 2551 ป 2552 ป 2551 ป 2552

คาตอบแทนคณะกรรมการบริษัท

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ - - - 88,888.89 5/5 11/11

2. นายชนินทร วานิชวงศ - - - 77,777.78 5/5 11/11

3. นายมงคล เกษมสันต ณ อยุธยา1 - - - 70,000.00 1/5 8/9

4. นายเกรียงไกร ศิระวณิชการ2 - - - 66,666.67 1/5 7/9

5. นายไกรภพ แพงสภา - - - 55,555.55 0/1 8/11

6. ดร.โสรัชย อัศวะประภา - - - 88,888.91 0/1 10/11

7. นายกิตติพล ปราโมทย ณ อยุธยา - - - 91,111.10 0/1 11/11

8. นายวิลักษณ โหลทอง - - - 24,444.44 0/1 5/11

9. นายภาคภูมิ ภาคยวิศาล2 - - - - - 1/2

10. นายวิชัย ควรสุวรรณ1 - - - - - 0/2

คาตอบแทนกรรมการบริษัทในฐานะของ

ผูบริหาร และคาตอบแทนกรรมการบริหาร** 7,290,195.00 6,816,911.00

- - - -

คาตอบแทนผูบริหาร** 914,250.00 2,097,733.00 - - - -

รวมทั้งสิน้ 8,204,445.00 8,914,644.00 - 563,333.33 - -

หมายเหตุ * รับคาตอบแทนกรรมการในนามของบลจ.วรรณ

** ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม คานายหนา การตรวจสุขภาพประจําป การประกันสุขภาพกลุม การประกัน ชีวิตกลุม การ

ประกันอุบัติเหตุกลุม

1 กองทุนรวมเพื่อรวมลงทุนในวิสาหกจิขนาดกลางและขนาดยอม แจงเปลี่ยนแปลงตัวแทนจากกองทุน จากนายมงคล เกษมสันต

ณ อยุธยา เปน นาย วิชัย ควรสุวรรณ โดยไดเขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการบริษัทตั้งแตวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552

2 บจ. เอเซีย อิควิต้ี เวนเจอร แจงเปลียนแปลงตัวแทนจากนายเกรียงไกร ศิระวณิชการ เปนนายภาคภูมิ ภาคยวิศาล โดยไดเขา

ดํารงตําแหนงเปนกรรมการบริษัท ต้ังแตวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552

Page 92: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 12

9.3.2 คาตอบแทนอื่น บริษัทจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยมอบหมายใหบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน กสิกรไทย จํากัด ทํา

หนาที่จัดการและบริหารกองทุนดังกลาว โดยบริษัทจายสมทบเขากองทุนในอัตรารอยละ 3 ของเงินเดือนของ

พนักงาน

การกํากับดูแลกิจการ

บริษัทมีนโยบายนําหลักการ การปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดี (Code of Best Practices) ใชเปนแนวทางใน

การดําเนินงานของบริษัท เพื่อประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท และเพื่อเปนการเสริมสรางความโปรงใส

ในการดําเนินงาน ตลอดจนเพื่อเพิ่มความมีประสิทธิภาพของฝายบริหารจัดการ อันจะทําใหเกิดความเชื่อม่ันขึ้น

ในกลุมผูถือหุน ผูลงทุนและผูที่เกี่ยวของทุกฝาย ซึ่งหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ครอบคลุมหลักการ

5 หมวด ดังมีรายละเอียดดังนี้

1) สิทธิของผูถือหุน

บริษัทไดตระหนักและใหความสําคัญถึงสิทธิของผูถือหุน โดยจะไมกระทําการใดๆ ที่เปนการละเมิดหรือ

ริดรอนสิทธิของผูถือหุน รวมถึงสงเสริมใหผูถือหุนไดใชสิทธิของตน โดยสิทธิขั้นพื้นฐานของผูถือหุนไดแก สิทธิใน

การซื้อขายหรือการโอนหุน สิทธิในการไดรับขาวสารขอมูลของกิจการอยางเพียงพอ สิทธิในสวนแบงกําไรของ

กิจการ สิทธิในการเลือกตั้งและถอดถอนกรรรมการ และใหความเห็นชอบในการแตงตั้งผูสอบบัญชีอิสระ สิทธิใน

การเขารวมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุนเพื่อตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบตอบริษัท เชน

การจัดสรรเงินปนผล การกําหนดหรือการแกไขขอบังคับและหนังสือบริคณหสนธิ การลดทุนหรือเพิ่มทุน และ

การอนุมัติรายการพิเศษ เปนตน

นอกเหนือจากสิทธิพื้นฐานตางๆ ขางตนแลว บริษัทฯ มีนโยบายในการดําเนินการในเรื่องตางๆ ที่เปนการ

สงเสริม และอํานวยความสะดวกในการใชสิทธิของผูถือหุน ดังนี้

• จัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจําปทุกป โดยจะจัดภายใน 4 เดือน นับจากวันส้ินสุดรอบบัญชีใน

แตละป พรอมทั้งจัดสงหนังสือนัดประชุม และขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ ใหแกผูถือหุน

รับทราบลวงหนากอนวันประชุม 7 วัน และลงประกาศหนังสือพิมพแจงวันนัดประชุมลวงหนาเปนเวลา

ติดตอกัน 3 วันกอนที่จะถึงวันประชุมไมนอยกวา 3 วัน โดยในแตละวาระการประชุมจะมีความเห็นของ

คณะกรรมการประกอบไปดวย

• เผยแพรขอมูลประกอบวาระการประชุมผูถือหุนลวงหนาในเว็บไซตของบริษัทฯ พรอมทั้งชี้แจงสิทธิของ

ผูถือหุนในการเขาประชุม และสิทธิออกเสียงลงมติของผูถือหุน

• ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษัทฯ จะเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถมอบ

ฉันทะใหกรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เขารวมประชุมแทนตนไดเพื่อสนับสนุนการใชสิทธิออกเสียง

ของผูถือหุน โดยใชหนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่บริษัทไดจัดสงไปพรอมกับหนังสือนัดประชุม

• กอนการประชุมเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถสงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ขอซักถามไดลวงหนากอน

วันประชุมผานอีเมลแอดแดรสของนักลงทุนสัมพันธ และอีเมลแอดแดรสของเลขานุการคณะกรรมการ

บริษัท

Page 93: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 13

• ในการประชุม บริษัทจะจัดสรรเวลาใหเหมาะสม และจะเปดโอกาสใหผูถือหุนแสดงความคิดเห็น

ขอเสนอแนะ หรือตั้งคําถามในวาระตางๆ อยางอิสระ กอนการลงมติในวาระใดๆ เพื่อใหผูถือหุนไดให

ขอมูลรายละเอียดในเรื่องดังกลาวอยางเพียงพอตอการตัดสินใจอนุมัติทํารายการใดๆ โดยในวาระที่ผู

ถือหุนมีขอสงสัย ขอซักถาม บริษัทฯ จะจัดเตรียมบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญในแตละสาขา

เปนผูใหคําตอบภายใตความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

• กรรมการทุกคนจะเขารวมประชุม เพื่อใหผูถือหุนสามารถซักถามขอมูลรายละเอียดในเรื่องตางๆ ที่

เกี่ยวของได

2) การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

บริษัท มีนโยบายที่จะสรางความเทาเทียมกันตอผูถือหุนทุกราย ทุกกลุม ดวยความเปนธรรม ทั้งผูถือหุนที่

เปนผูบริหาร ผูถือหุนที่ไมเปนผูบริหาร ผูถือหุนตางชาติ และผูถือหุนสวนนอย ดังนี้

• การปฏิบัติและอํานวยความสะดวกตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน และไมกระทําการใดๆ ที่เปนการ

จํากัดหรือละเมิดหรือริดรอนสิทธิของผูถือหุน

• การกําหนดใหสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเปนไปตามจํานวนหุนที่ผูถือหุนถืออยู โดยหนึ่งหุนมีสิทธิ

เทากับหนึ่งเสียง

• การกําหนดใหกรรมการอิสระเปนผูมีหนาที่ดูแลผูถือหุนสวนนอย โดยผูถือหุนสวนนอยสามารถ

เสนอแนะ แสดงความคิดเห็นหรือขอรองเรียนไปยังกรรมการอิสระ โดยกรรมการอิสระจะเปนผู

พิจารณาดําเนินการใหเหมาะสมในแตละเรื่อง เชน หากเปนขอรองเรียน กรรมการอิสระจะดําเนินการ

ตรวจสอบขอเท็จจริงและหาวิธีการเยียวยาที่เหมาะสม หรือกรณีเปนขอเสนอแนะที่กรรมการอิสระ

พิจารณาแลวมีความเห็นวาเปนเรื่องสําคัญที่มีผลตอผูมีสวนไดเสียโดยรวม หรือมีผลตอการประกอบ

ธุรกิจของบริษัท กรรมการอิสระจะเสนอเรื่องดังกลาวตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณากําหนดเปน

วาระการประชุมในการประชุมผูถือหุน

• คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดมาตรการปองกันการใชขอมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของ

บุคคลที่เกี่ยวของซึ่งรวมถึง กรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของกลุมบริษัทฯ ที่เกี่ยวของกับ

ขอมูล (รวมทั้งคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว) รวมถึงไดกําหนดโทษเกี่ยวกับ

การเปดเผยขอมูลของบริษัท หรือการนําขอมูลของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตนไวแลวตาม

นโยบายการปองกันการนําขอมูลภายในไปใชประโยชน รวมทั้งไดใหความรูความเขาใจแก

คณะกรรมการของบริษัทและผูบริหาร ในหนาที่การรายงานการถือหลักทรัพยตอสํานักงาน

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติ

หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 รวมทั้งจะแจงขาวสารและขอกําหนดตางๆของสํานักงาน

กลต. และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยใหแกคณะกรรมการของบริษัท และผูบริหารตามที่ไดรับ

แจงจากทางหนวยงานดังกลาวอยางสม่ําเสมอ

3) บทบาทของผูมีสวนไดเสีย

บริษัทไดตระหนักถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุมที่เกี่ยวของกับบริษัท ทั้งผูมีสวนไดสวนเสียภายใน ไดแก

ผูถือหุน พนักงาน และผูบริหารของบริษัท หรือ ผูมีสวนไดสวนเสียภายนอก ไดแก คูแขง คูคา ลูกคา เปนตน โดย

Page 94: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 14

บริษัทตระหนักดีวาการสนับสนุน และรับฟงขอคิดเห็น ตลอดจนการสรางสัมพันธอันดี กับผูมีสวนไดสวนเสียทุก

กลุม จะเปนประโยชนในการดําเนินงาน และพัฒนาใหธุรกิจของบริษัทมีการเติบโต และขยายตัวไดในอนาคต

โดยบริษัทจะจัดใหใหทุกกลุมมีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันและเปนธรรม รวมทั้งปฏิบัติตาม

ขอกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ ดังนี้

• ผูถือหุน : บริษัทจะเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจ โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโต

ของมูลคาบริษัทในระยะยาว รวมทั้งมีระบบการควบคุมและตรวจสอบภายใน

• พนักงาน : บริษัทตระหนักดีวาพนักงานเปนหนึ่งในทรัพยากรหลักที่มีความสําคัญในการพัฒนา

องคกรใหมีความเติบโต บริษัทจึงสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรบุคคลใหเกิด

ประโยชนสูงสุดตอบริษัท รวมทั้งสงเสริมการทํางานในลักษณะเปนทีมเพื่อเพิ่มความคลองตัวในการ

ทํางาน และจัดใหสภาพแวดลอมในการทํางานมีความปลอดภัยตอพนักงาน รวมทั้งปฏิบัติตอพนักงาน

ทุกคนอยางเทาเทียม เปนธรรม โดยใหผลตอบแทนที่เหมาะสม

• คูคา : ปฏิบัติตอคูคาตามกรอบการคาที่สุจริต โดยยึดหลักการปฏิบัติตามสัญญาเงื่อนไข ทาง

การคา และคํามั่นที่ใหใวกับคูคาอยางเครงครัด

• คูแขง :ปฏิบัติตอคูแขงอยางมีจรรยาบรรณในเชิงธุรกิจ ตามกรอบกติการแหงการแขงขันที่ดี

โดยหลีกเลี่ยงการแขงขันดวยวิธีไมสุจริต

• ลูกคา : บริษัทมีความมุงมั่นที่จะผลิตสินคาที่มีคุณภาพ และใหบริการที่ดีแกลูกคา โดยทํา

การคากับลูกคาดวยความซื่อสัตยและเปนธรรม

• สังคม : บริษัทใหความสําคัญในการดูแลรักษาสภาพแวดลอมของชุมชนรอบๆ ที่ตั้งสํานักงาน

ของบริษัท

ทั้งนี้ บริษัทไดกําหนดแนวทางที่ตองปฏิบัติเพื่อตอบสนองความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียแตละกลุมไว

อยางชัดเจนใน “จริยธรรมธุรกิจ” พรอมทั้งเผยแพรและรณรงคใหคณะกรรมการบริษัท ฝายบริหาร ตลอดจน

ผูปฏิบัติงาน ยึดถือเปนหลักปฏิบัติในการดําเนินงาน และถือเปนภาระหนาที่ที่สําคัญของทุกคน

4) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

บริษัทตระหนักดีถึงความสําคัญของการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน และโปรงใส ทั้งรายงาน

ขอมูลทางการเงินและข อมูลทั่วไป ตามหลักเกณฑการเปดเผยขอมูลและสารสนเทศของสํานักงาน

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ตลอดจนขอ มูลอื่น

ที่สําคัญที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของบริษัท ซึ่งมีผลตอกระบวนการตัดสินใจของผูลงทุนและผูมีสวนได

เสียของบริษัท

โดยบริษัทจะเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัทตอผูถือหุนนักลงทุน และสาธารณชนผานชองทางและสื่อ

การเผยแพรขอมูลตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึงเว็บไซตของบริษัท คือ www.cpigames.com

ในสวนของงานดานผูลงทุนสัมพันธนั้น บริษัทยังไมไดมีการจัดตั้งหนวยงานเฉพาะ อยางไรก็ตามในเบื้องตน

บริษัทไดมอบหมายใหกรรมการผูจัดการของบริษัท ทําหนาที่ติดตอส่ือสารกับผูลงทุน ผู ถือหุ น รวมทั้ง

Page 95: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 15

นักวิเคราะห และภาครัฐที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ผูถือหุนและนักลงทุนสามารถติดตอหนวยงานดังกลาวไดที่ คุณชนินทร

วานิชวงศ โทรศัพท 0-2613-1730-2 โทรศัพท หรือที่ E-mail address: [email protected]

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

• โครงสรางของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทประกอบดวย บุคคลที่มีความรู ทักษะ และประสบการณที่สามารถเอื้อประโยชนไดกับ

บริษัท โดยเปนผูมีบทบาทสําคัญในการใหความเห็นชอบการวางนโยบายและแผนการดําเนินธุรกิจและมีการ

ติดตามผลการดําเนินงานเปนรายไตรมาส อีกทั้งยังใหความสําคัญกับระบบการควบคุมภายในและการ

ตรวจสอบภายในเพื่อประโยชนของบริษัทและผูถือหุนโดยรวม

คณะกรรมการของบริษัทมีจํานวน 8 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร จํานวน 3 ทาน กรรมการ

ทั่วไป 2 ทาน และมีกรรมการอิสระจํานวน 3 ทาน โดยมีสัดสวนเกินกวา 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการบริษัท

ทั้งหมด เพื่อทําหนาที่ถวงดุลในการออกเสียงพิจารณาเรื่องตาง ๆ ตลอดจนสอบทานการบริหารงานของฝาย

บริหารเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอบริษัท

คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัท โดย

บริษัทไดมีการแบงแยกบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบที่มี

ตอผูถือหุนไวอยางชัดเจนเพื่อความเปนอิสระในการตัดสินใจและนําเสนอวิสัยทัศน ดังรายละเอียดที่กลาวไวแลว

ภายใต หัวขอโครงสรางการจัดการบริษัทมีคณะกรรมการตรวจสอบทั้งส้ิน 3 ทานเพื่อปฏิบัติหนาที่เฉพาะเรื่อง

และเสนอเรื่องใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาหรือรับทราบตามขอบเขต อํานาจหนาที่ที่ไดระบุไว

นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายในการแบงแยกตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหเปนคนละ

บุคคลกัน เพื่อปองกันมิใหบุคคลใดมีอํานาจโดยไมจํากัด โดยคณะกรรมการของบริษัทจะเปนผูกําหนดอํานาจ

หนาที่และคัดเลือกบุคคลเพื่อเขาดํารงตําแหนงดังกลาว

• คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร

บริษัทไดรายงานคาตอบแทนกรรมการของคณะกรรมการไวอยางชัดเจนตามประกาศของสํานักงาน

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) โดยคาตอบแทนดังกลาวตองไดรับการอนุมัติจาก

การประชุมผูถือหุนสามัญประจําป (Annual General Meeting (AGM) ทุกป กรณีที่กรรมการของบริษัท ไดรับ

มอบหมายใหมีหนาที่และความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น เชน การเปนกรรมการตรวจสอบรวมดวย เปนตน จะ

ไดรับคาตอบแทนที่เหมาะสมกับหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายเพิ่มมากขึ้นดวย ซึ่งตองพิจารณา

ตามความสามารถของบริษัท ประกอบดวย ทั้งนี้รายละเอียดคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารไดรายงานไวใน

หัวขอ “คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร”

• นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการเปนลายลักษณอักษร โดยนโยบาย

ดังกลาวไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2552

Page 96: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 16

โดยบริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญของนโยบายกํากับดูแลกิจการเนื่องจากเปนประโยชนตอการดําเนิน

ธุรกิจของบริษัทและจะสงเสริมใหบริษัทมีความมั่นคงและเจริญเติบโตไดอยางยั่งยืนในระยะยาว สําหรับการ

กําหนดแนวทางในการดําเนินงานนั้น บริษัทใหความสําคัญเรื่องการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน

โดยคณะกรรมการบริษัทจะมีการประเมินความเพียงพอการควบคุมภายในรวมกันเปนประจําทุกปตั้งแตป 2552

เปนตนไป เพื่อใหบริษัทไดปฏิบัติตามหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง

ประเทศไทย

ทั้งนี้ คณะกรรมการจะจัดใหมีการทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจํา

นอกจากนี้ ภายหลังจากที่หุนสามัญของบริษัท เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยไดแลว บริษัทจะถือปฏิบัติ

ตามกฎและขอบังคับตางๆ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาด

หลักทรัพยกําหนด

• จรรยาบรรณธุรกิจ

บริษัทไดกําหนดหลักปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝายบริหาร และพนักงาน เพื่อใหผูที่

เกี่ยวของ ยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทดวยความซื่อสัตย จริต และเที่ยงธรรมทั้ง

การปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ทั้งนี้ บริษัทไดมีการประกาศและแจงใหพนักงาน และผูบริหารทุกคน

รับทราบ และยึดปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางเครงครัด

• ความขัดแยงทางผลประโยชน

คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชน บนหลักการที่วา การ

ตัดสินใจใดๆ ในการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะตองทําเพื่อผลประโยชน สูงสุดของบริษัทเทานั้น และควร

หลีกเลี่ยงการกระทําที่กอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน โดยกําหนดใหผูที่มีสวนเกี่ยวของหรือเกี่ยวโยงกับ

รายการที่พิจารณา ตองแจงใหบริษัททราบถึงความสัมพันธหรือการเกี่ยวโยงของตนในรายการดังกลาว และตอง

ไมเขารวมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไมมีอํานาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ

คณะกรรมการตรวจสอบจะนําเสนอคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มี

ความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่งไดมีการพิจารณาความเหมาะสมอยางรอบคอบ รวมทั้งบริษัท ไดปฏิบัติตาม

หลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางเครงครัดในเรื่องการกําหนดราคาและเงื่อนไขตางๆกับ

บุคคลที่อาจมีความขัดแยงดานผลประโยชนใหเสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอกและสงรายงานตาม

ระยะเวลาที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด และจะไดมีการเปดเผยไวในงบการเงิน รายงานประจําป

และแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ดวย

• รายงานของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหมีการจัดทํารายงานความรับผิดชอบของตนตอรายงานทางการเงินไวใน

รายงานประจําปไดรายงานดังกลาวจะถัดจากรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตเพื่อรับรองวาเปนรายงานทาง

การเงินที่ถูกตองครบถวน สมเหตุสมผล เชื่อถือไดและใชนโยบายการบัญชีที่เหมาะสม โดยปฏิบัติตามมาตรฐาน

การบัญชีที่รับรองทั่วไปและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ

Page 97: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 17

• การประชุมคณะกรรมการ

บริษัทจะจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอยางสม่ําเสมอ อยางนอยทุกไตรมาส และมีการประชุม

พิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปนโดยกําหนดวาระการประชุมที่ชัดเจนลวงหนา และมีวาระพิจารณาติดตามผล

การดําเนินงานเปนประจํา โดยในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้งจะมีเลขานุการคณะกรรมการเปน

ผูจัดทาํวาระตางๆ ของการประชุมและดําเนินการจัดสงเอกสารการประชุมใหคณะกรรมการบริษัทลวงหนาอยาง

นอย 7 วันกอนการประชุมเพื่อใหกรรมการไดมีเวลาพิจารณาและศึกษาขอมูลอยางเพียงพอ รวมถึงการบันทึก

การประชุม และจัดสงรายงานดังกลาวใหแกกรรมการบริษัทเปนรายบุคคลตามความเหมาะสม ตลอดจนจัดเก็บ

รายงานการประชุมกรรมการที่ผานการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทอยางเปนระบบและพรอมให

คณะกรรมการของบริษัท และผูที่เกี่ยวของตรวจสอบได

ในป 2551 บริษัทจัดการประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งหมดจํานวน 5 ครั้ง และ 6 เดือนแรกของป 2552

บริษัทจัดการประชุมคณะกรรมการบริษัททั้งหมดจํานวน 4 ครั้ง

• ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน

บริษัทไดใหความสําคัญตอระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงาน และเพื่อใหเกิด

ความมีประสิทธิภาพในการดําเนินงาน บริษัทจึงไดกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติ งาน

และผูบริหารไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทให เกิดประโยชน

และมีการแบงแยกหนาที่ ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน นอกจากนี้ บริษัทยังจัดใหมี

ผูที่ทําหนาที่ตรวจสอบภายในเพื่อทําการสอบทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมีความ

เหมาะสม และมีประสิทธิผลมีการควบคุมทางดานการเงินและมีการปฏิบัติงานที่เปนไปตามแนวทางที่วางไว

อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวของกับบริษัท

โดยผลการตรวจสอบจะถูกรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบและผูบริหารระดับสูง

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการในการดูแลผูบริหาร และพนักงานในการนําขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพื่อ

ประโยชนสวนตน รวมทั้งเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยในระหวางที่หลักทรัพยของบริษัทเปนหลักทรัพยจดทะเบียน ดังนี้

• ใหความรูแกกรรมการรวมทั้งผูบริหารฝายตางๆ เกี่ยวกับหนาที่ที่ตองรายงานการถือครองหลักทรัพย

ของตน คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตอ สํานักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพยตาม มาตรา

59 และบทกําหนดโทษ ตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.

2535

• บริษัทกําหนดใหผูบริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการ

กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาด

หลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดสงสําเนารายงานนี้ใหแกบริษัทในวันเดียวกับวันที่สงรายงานตอ

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

• บริษัทกําหนดมิใหคณะกรรมการ ผูบริหาร หรือผูปฏิบัติงานที่ไดรับทราบขอมูลภายในเปดเผยขอมูล

ภายในตอบุคคลภายนอก หรือบุคคลที่ไมมีหนาที่ที่เกี่ยวของ และควรละเวนการซื้อขายหุนของบริษัท

ในชวงเวลากอนที่จะเผยแพรงบการเงิน หรือเผยแพรสถานะของบริษัท รวมถึงขอมูลสําคัญอื่นๆ และ

Page 98: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 18

ควรรอคอยอยางนอย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปดเผยขอมูลใหแกสาธารณชนแลว กอนที่จะซื้อขายหุน

ของบริษัท

นอกจากนี้ บริษัทไดกําหนดโทษทางวินัยสําหรับผูแสวงหาผลประโยชนจากการนําขอมูลภายในบริษัทไปใช

หรือนําไปเปดเผยจนอาจทําใหบริษัทไดรับความเสียหาย โดยพิจารณาลงโทษตามควรแกกรณี ไดแก การ

ตักเตือนดวยวาจา การตักเตือนเปนตัวหนังสือ การภาคทัณฑ ตลอดจนการเลิกจางพนสภาพการเปนพนักงาน

ดวยเหตุไลออก ปลดออกหรือใหออกแลวแตกรณี เปนตน

บุคคลากร จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทและบริษัทยอยมีดังนี้

หมายเหตุ : จํานวนพนักงานที่แสดงไมนับรวมพนักงานที่เปนผูบริหาร 9.6.1 การเปล่ียนแปลงจํานวนพนักงานของบริษัท ในไตรมาสที่ 1 ของป 2551 กลุมบริษัทไดมีการปรับเปล่ียนโครงสรางการดําเนินธุรกิจ โดยไดโอนยาย

สวนงานการผลิตซึ่งมีพนักงานทั้งหมดไปยังบริษัทยอย ไดแกบริษัท แพลนเน็ต จี จํากัด ดูแลรับผิดชอบดาน

งานพัฒนาโปรแกรม และบริษัท บลู วิซารด สตูดิโอ จํากัด ดูแลรับผิดชอบดานคอมพิวเตอรกราฟฟกอนิเมชั่น

ดนตรีและเสียงประกอบภายในเกม

9.6.2 คาตอบแทนที่เปนตัวเงนิ

(หนวย: บาท)

คาตอบแทนพนักงาน ประเภท ป 2551 ป 2552

เงินเดือน* 12,664,618.33 11,528,299.86

โบนัส 490,285.20 -

เงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ - 114,689.01

อื่นๆ ** 553,966.00 780,096.00

รวม 13,708,869.53 12,423,084.87 หมายเหตุ * เงินเดือนประกอบดวยคาจางรายเดือนและคานายหนา

** คาตอบแทนอื่นๆ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม การตรวจสุขภาพประจําป การประกันสุขภาพกลุม การประกัน

ชีวิตกลุม การประกันอุบัติเหตุกลุม คาลวงเวลา

บุคลากร จํานวนพนักงาน(คน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

จํานวนพนักงาน(คน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

พนักงานสวนงานบัญชีและการเงิน 4 4

พนักงานสวนงานปฏิบัติการ 10 12

พนักงานสวนงานผลิต 22 19

พนักงานสวนงานการตลาด 5 7

รวม 41 42

Page 99: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.9 หนา 19

9.6.3 ขอพิพาทดานแรงงานในระยะเวลา 3 ปที่ผานมา - ไมมี- 9.6.4 นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษัทมีนโยบายอยางตอเนื่องที่จะสงเสริมและพัฒนาบุคลากรในแตละระดับชั้นใหมีความรู ความ

ชํานาญและความสามารถในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอเพื่อใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพ

สูงสุดตอบริษัท โดยแบงการพฒันาในระดับตางๆ ดังตอไปนี้

1. ระดับบริหาร บริษัทมุงเนนเรื่องการพัฒนาดานการบริหารจัดการ ภาวะความเปนผูนําและวิสัยทัศน

ในการเปนผูนําขององคกร

2. ระดับหัวหนางาน บริษัทมุงเนนเรื่องการพัฒนาดานการจัดการบริหารเบื้องตน ทักษะการเปน

หัวหนางาน การสรางทีมงานและการสรางความรวมมือในการทํางาน ทักษะการสื่อสารอยางมี

ประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกองคกร ตลอดจนการสงเสริมพัฒนาความรูความเขาใจเฉพาะ

ทาง

3. ระดับพนักงาน บริษัทมุงเนนเรื่องการสรางความรู ประสบการณและความเชี่ยวชาญในงานที่ตนเอง

รับผิดชอบสรางแรงจูงใจใหเกิดการพัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอและการมีทัศนคติที่ดีตอฝายบริหาร

และบริษัท

Page 100: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.10 หนา 1

10. การควบคุมภายใน

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2553 ซึ่งมีคณะกรรมการ

ตรวจสอบทั้งสามทาน เขารวมประชุมดวย ไดทําการประเมินแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม

ภายในของ บริษัทไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) โดยการซักถามขอมูลจากฝายบริหารสรุป

ไดวา จากการประเมินระบบควบคุมภายในของกลุมบริษัทในดานตางๆ 5 ดาน คือ

1. องคกรและสภาพแวดลอม

2. การบริหารความเสี่ยง

3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร

4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล

5. ระบบติดตาม

คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ในสภาพปจจุบันกลุมบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ

และสอดคลองกับแบบประเมินการควบคุมภายในของสํานักงานคณะกรรมการ กลต. โดยเฉพาะในสวนของการ

ควบคุมภายในที่เกี่ยวกับเรื่องการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหารและบุคคลที่เกี่ยวของกับ

บุคคลดังกลาว (ตามขอ 3.3 ถึง 3.7 ของแบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน) นั้น กลุมบริษัทมี

ระบบการควบคุมภายในที่รัดกุมและเพียงพอใหการทํารายการดังกลาวมีความโปรงใส และเปนธรรม สําหรับการ

ควบคุมภายในหัวขออื่นของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการเห็นวา ปจจุบันกลุมบริษัทมีการควบคุมภายใน

ที่เพียงพอในระดับหนึ่ง กลุมบริษัทมีนโยบายที่จะใชผูตรวจสอบภายในโดยวาจางบุคคลภายนอก

(Outsource) คือ บริษัท ปรมา คอนซัลแตนท จํากัด (”ปรมา”) เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบระบบควบคุมภายในของ

องคกร โดยไดเริ่มวาจางบริษัทตั้งแตเดือนตุลาคม 2550 ใหทําการตรวจสอบและใหคําแนะนําในการปรับปรุง

ระบบควบคุมภายในของกลุมบริษัทใหมีความเหมาะสม โดยกลุมบริษัทมีการดําเนินการปรับปรุงตามคําแนะนํา

มาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ในวันที่ 18 เดือนกุมภาพันธ 2552 ปรมาไดทําการประเมินระบบควบคุมภายในตอ

รายงานทางการเงินของกลุมบริษัท ตามแมบทการควบคุมภายในที่กําหนด โดย The Committee of

Sponsoring Organization of the Tread way Commission (“COSO”) พบวากลุมบริษัท มีการควบคุมภายใน

ตอการรายงานทางการเงินโดยรวมอยูในระดับที่ดีพอควร ทั้งนี้ ปรมา ไดใหขอสังเกตในเรื่องการปฏิบัติงานให

เปนไปตามคูมือการจัดทําบัญชีการเงิน โดยคูมือดังกลาวไมมีบทกําหนดโทษที่เปนลายลักษณอักษรที่ชัดเจน ซึ่ง

อาจทําใหกิจกรรมการควบคุมไมมีประสิทธิพลตามควร ซึ่งฝายบริหารของกลุมบริษัท ไดมีการประกาศใหใชคูมือ

การปฏิบัติงานสําหรับการจัดทําบัญชีการเงิน พรอมทั้งกําหนดใหเปนสวนหนึ่งของการประเมินผลงานประจําป

ของพนักงานแตละทานอยางเปนลายลักษณอักษร เพื่อใหเกิดประสิทธิพลจากการปฏิบัติตามกิจกรรมการ

ควบคุมที่เลือกใช

Page 101: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.10 หนา 2

นอกจากนี้ บริษัทไดรับทราบขอสังเกตการณของผูสอบบัญชีสําหรับการตรวจสอบงบการเงินของกลุม

บริษัทในป 2552 และอยูระหวางการปรับปรุงการดําเนินงานตามขอสังเกตการณของผูสอบบัญชี โดยมีประเด็น

สําคัญโดยสรุปดังตอไปนี้

ขอสังเกตการณของผูสอบบัญชี ความเห็นของผูบริหาร

1. การจัดทําทะเบียนสินทรัพยถาวร

จากการตรวจสอบบัญชีทะเบียนสินทรัพยถาวรของ

บริษัทพบวาบริษัทมีการจัดทําโดยใชโปรแกรม Excel

ซึ่งอาจมีขอผิดพลาดในการจัดทําและการคํานวณคา

เส่ือมราคา ซึ่งบริษัทควรใชโปรแกรมทําเบียนสินทรัพย

ถาวรในการจัดทําเพื่อใหการทํางานมีประสิทธิภาพ

และรวดเร็ว

ผูบ ริหารของบริษัทชี้ แจงว า เนื่ อ งจากบริษัทมี

รายละเอียดสินทรัพยถาวรในปริมาณที่ไมมาก จึงไมได

ใชโปรแกรมสินทรัพยถาวร แตถาหากบริษัทมีปริมาณ

ที่มากอาจจะมีการจัดซื้อโปรแกรมดังกลาวมา เพื่อลด

โอกาสในการเกิดขอผิดพลาด

2. ลูกหนี้การคาคางชําระเปนเวลานาน

จากการตรวจสอบบัญชีลูกหนี้การคา พบวาบริษัทมี

ลูกหนี้การคาบางรายที่คางชําระเปนเวลานาน โดย

ปจจุบันบริษัทใชวิธีพิจารณาการตั้งเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

ของลูกหนี้การคาเปนรายๆ บริษัทจึงควรกําหนด

เงื่อนไขทางการคาและการใหเครดิตเทอมแกลูกคา

รวมทั้งติดตามเรียกเก็บเงินจากลูกหนี้อยางใกลชิด

สําหรับลูกคาที่มีประวัติผิดนัดชําระ ควรมีการพิจารณา

เปนพิเศษเพื่อปองกันปญหาการชําระเงินลาชา

ผูบริหารของบริษัทชี้แจงวาในอนาคตบริษัทจะมีการ

จัดอันดับลูกคาเกรด เอ ถึง ซี โดยลูกคาตั้งแตเกรดซีลง

ไป บริษัทจะใหทํา L/C กรณีที่จะทํารายการคาเพื่อ

ปองกันความเสี่ยง

3. การปองกันความเสี่ยงเรื่องความผันผวนของอัตรา

แลกเปลี่ยน

จากการตรวจสอบพบวา รายไดสวนใหญของบริษัท

เปนเงินตราตางประเทศ ซึ่งบริษัทยังไมมีการปองกัน

ความเส่ียงในเรื่องความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

บริษัทจึงควรมีมาตรการในการปองกันความเสี่ยงเรื่อง

ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

ผูบริหารของบริษัทชี้แจงวาปจจุบันบริษัทไดดําเนินการ

ขออนุมัติวงเงินสําหรับ Forward Contract กับสถาบัน

การเงินแลว

Page 102: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 1

11. รายการระหวางกัน

รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

ในระหวางป 2551 และป 2552 บริษัทมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่

เกี่ยวของกัน สวนใหญเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินธุรกิจตามปกติ ทั้งนี้ รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไข

หรือเกณฑที่ตกลงรวมกันระหวางบริษัทและบริษัทดังกลาว และเปนไปตามปกติทางธุรกิจ โดยรายละเอียด

รายการระหวางกันไดเปดเผยไวแลวในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินของบริษัท สําหรับป

ส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ขอ 8 ซึ่งไดผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีรับอนุญาตแลว

Page 103: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 2

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

คุณชนินทร วานิชวงศ เปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามและผู

ถือหุนรายใหญของบริษัท โดยถือหุนใน

สัดสวนรอยละ 13 .94 ของทุนจด

ทะเบียนชําระแลวของบริษัท

1. คานายหนา

1.75 0.75 - รายการดังกลาวเปนรายการที่บริษัทจายคานายหนาใหแก

ผูอํานวยการฝายการตลาดในการจําหนายสินคาของบริษัท ซึ่ง

ปจจุบันคุณชนินทร วานิชวงศ ดํารงตําแหนงดังกลาวอยู โดยในป

2551 บริษัทมีการกําหนดอัตราคาตอบแทนในอัตรารอยละ 3 –

รอยละ 7 ของกําไรขั้นตน (รอยละ 3 สําหรับผลงานที่

ผูใตบังคับบัญชาทําการจําหนาย และรอยละ 7 สําหรับกรณีที่ทํา

การจําหนายเอง)

- ทั้งนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 4/2552 ในวันที่12

พฤษภาคม 2552 ไดมีมติปรับปรุงเงื่อนไขและคาตอบแทนการทํา

การตลาดแกผูอํานวยการฝายการตลาดเปนอัตรารอยละ 2.00 –

รอยละ 2.50 ของยอดขายสุทธิ (รอยละ 2.00 สําหรับผลงานที่

ผูใตบังคับบัญชาทําการจําหนายและรอยละ 2.50 สําหรับกรณีที่

ทําการจําหนายเอง) ตอมาที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่

5/2552 ในวันที่ 23 กรกฏาคม 2552 ไดมีมติปรับปรุงเงื่อนไขและ

อัตราคาตอบแทนการทําการตลาดแกผูอํานวยการฝายการตลาด

โดยใหไดรับคาตอบแทนเทากับรอยละ 2.5 ของยอดขายสุทธิ

สําหรับการทําการตลาดเอง และไมมีการจายคานายหนาใหกับ

ผูอํานวยการฝายการตลาดเนื่องจากการขายของผูใตบังคับบัญชา

- โดยป 2551 และป 2552 คุณชนินทรทําการตลาดเพื่อจําหนาย

ซอฟตแวรเกมคิดรายไดรวม 41.13 ลานบาท และ 19.70 ลานบาท

ตามลําดับ

Page 104: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 3

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวา รายการ

ดังกลาวมีความสมเหตุสมผล และเปนไปตามเงื่อนไขปกติของ

การคาโดยเปนการจายคาตอบแทนในการทําการตลาดใหแก

บุคคลากรในฝายการตลาด ซึ่งเปนไปตามลักษณะการประกอบ

ธุรกิจทั่วไป อัตราคาตอบแทนที่กรรมการตรวจสอบของบริษัทได

พิจารณาแลวเห็นวา รายการดังกลาวมีความสมเหตุสมผล และ

เปนไปตามเงื่อนไขปกติของการคาโดยเปนการจายคาตอบแทนใน

การทําการตลาดใหแกบุคคลากรในฝายการตลาด ซึ่งเปนไปตาม

ลักษณะการประกอบธุรกิจทั่วไป อัตราคาตอบแทนที่ทําการจาย

ชําระนั้น จากการสอบถามของผูบริหารของบริษัท และสอบยันกับ

บริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตเกมพบวาอยูในอัตราประมาณรอยละ 5

ของรายไดจากการขาย ซึ่งเมื่อพิจารณาแลวพบวาอัตราที่บริษัททํา

การจายชําระนั้นมีความสมเหตุสมผลและเปนธรรม

Page 105: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 4

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

บจก. บลูฟน อินเทลลิเจนส

ธุรกิจ :

นํา เข าและจําหนายซิมการด

สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่

คุณชนินทรเดช วานิชวงศ และคุณ

ชนินทร วานิชวงศ เปนกรรมการผูมี

อํานาจลงนาม และผูถือหุนใหญของ

บริษัท ซึ่ งถือหุนในสัดสวนรอยละ

22.95 และรอยละ 13.94 ของทุนชําระ

แลวของบริษัท และ เปนกรรมการผูมี

อํานาจลงนามและผูถือหุนรายใหญ

โดยถือหุนในสัดสวนรอยละ 59.99

และรอยละ 10.00 ของทุนชําระแลว

ของบริษัท บลูฟน อินเทลลิเจนส จํากัด

ซึ่ ง ป จ จุ บั นบ ริ ษั ท ดั ง ก ล า ว ไ ด จ ด

ทะเบียนเลิกกิจการแลว ณ วันที่ 1

ธันวาคม 2551

1. ลูกหนี้เงินทดรอง

0.012

- - รายการดังกลาวเกิดขึ้นจากการที่ บริษัท บลูฟน อินเทลลิเจนส

จํากัด ซึ่งหยุดดําเนินธุรกิจมาตั้งแตป 2548 โดยไดทําการจด

ทะเบียนเลิกกิจการในวันที่ 1 ธันวาคม 2551 อยางไรก็ตาม

เนื่องจากบริษัทดังกลาวไมมีการดําเนินธุรกิจมาเปนระยะเวลานาน

ทําใหไมมีสภาพคลองทางการเงินจึงไดขอยืมเงินจํานวนดังกลาว

จากบริษัทเปนระยะเวลาประมาณ 1 เดือนโดยไมคิดดอกเบี้ย

ระหวางกัน เพื่อนําไปชําระคาที่ปรึกษากฎหมายและคาธรรมเนียม

ในการจดทะเบียนเลิกกิจการ ทั้งนี้บริษัทไดรับชําระคืนแลวทั้ง

จํานวนในวันที่ 5 มกราคม 2552

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวารายการ

ดังกลาวเปนรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว และเมื่อพิจารณา

ดอกเบี้ยที่ไมมีการคิดระหวางกันนั้นมีมูลคาต่ํากวา 100 บาท จึง

เห็นวารายการดังกลาวมิไดสงผลเสียตอการประกอบธุรกิจของ

บริษัท

Page 106: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 5

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

บจก. ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิช

ชิ่ง

ธุรกิจ :

นํ า เข า และจัด จํ าหน าย เกม

คอมพิวเตอร

ป 2551

บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 75.00

ของทุนชําระแลวของบริษัทดังกลาว

และ กองทุนรวมเพื่อการรวมลงทุนใน

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมถือ

หุนในสัดสวนรอยละ 25.00 โดยมี คุณ

ชนินทรเดช วานิชวงศ และคุณชนินทร

วานิชวงศ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ของบริษัท เปนกรรมการผูมีอํานาจลง

นามของบริษัทดังกลาว

ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2551 บริษัทได

จําหนายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท ไซ

เบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด ใหแก

บริษัท ซี -ทู วิช ชั่น จํากัด ซึ่ งมิ ไดมี

ความสัมพันธกับกรรมการและผูถือหุน

ของบริษัทและบริษัทยอย

1. รายไดจากการขาย

2. รายไดอื่น

8.75

0.10

-

-

- รายการดังกลาวเกิดขึ้นเนื่องจาก ในป 2551 กลุมบริษัทไดจําหนาย

เกมคอมพิวเตอรพรอมบรรจุภัณฑเพื่อจําหนายในราคาตนทุนบวก

กําไรในอัตราประมาณรอยละ 10-15 ใหแกบริษัทดังกลาว และให

ระยะเวลาเครดิต 30 วัน ซึ่งในขณะนั้นเปนบริษัทยอยของบริษัท

และทําหนาที่จัดจําหนายเกมใหแกกลุมบริษัทโดยจัดจําหนาย

สินคาไปยังผูคาและรานคาปลีกตอไป

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ

- กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวารายการ

ดังกลาวเปนการทําการคาระหวางบริษัทและบริษัทยอย โดยราคา

ที่ทําการจําหนายและเงื่อนไขการคาที่ระบุเปนไปตามการคา

ตามปกติ ซึ่งเปรียบเทียบไดกับการทําการจําหนายใหแกคูคาราย

อื่น

- รายการดังกลาวเกิดขึ้นเนื่องจากบริษัทใหบริการดานระบบบัญชี

และการเงิน ระบบจัดซื้อ และระบบพัฒนาทรัพยากรบุคคล ใน

อัตราเดือนละ 10,000 บาทตอเดือน ซึ่งเปนอัตราเดียวกับที่บริษัท

คิดกับบริษัทยอยรายอื่น โดยระยะเวลาในสัญญาเริ่มตั้งแตวันที่ 1

มีนาคม 2551 – 31 ธันวาคม 2551 ภายหลังจากที่บริษัทได

จําหนายเงินลงทุนในบริษัทดังกลาวแลว สัญญาการใหบริการ

ดังกลาวจึงสิ้นสุดลง

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ

- กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวารายการ

ดังกลาวเปนการทําการคาระหวางบริษัทและบริษัทยอย โดยราคา

ที่ทําการจําหนายและเงื่อนไขการคาที่ระบุเปนไปตามการคา

ตามปกติ ซึ่งเปรียบเทียบไดกับการทําการจําหนายใหแกบริษัทยอย

รายอื่น

Page 107: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 6

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

3. เจาหนี้จากการซื้อ

ทรัพยสิน

3.35 - - รายการดังกลาวเกิดขึ้น จากการที่บริษัทมีแผนการจําหนายเงิน

ลงทุนในบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พลับบลิชิ่ง จํากัด อยางไรก็ตาม

กอนการเสนอขายบริษัทไดทําการซื้อทรัพยสินที่อยูภายไดชื่อบริษัท

ดังกลาว ที่บริษัทสามารถนํามาใชประโยชนไดในอนาคต อันไดแก

Source Code ของ G3 ซึ่งเปนสินทรัพยไมมีตัวตน ที่ บริษัท ไซ

เบอรแพลนเน็ต พลับบลิชิ่ง จํากัด ไดจดลิขสิทธิไว โดย Source

Code ดังกลาว ใชสําหรับระบบโทรศัพทมือถือและสามารถนํามา

พัฒนาตอเนื่องเพื่อใชกับเครื่องเลนประเภทอื่นๆ เชน เครื่องเลนเกม

NDS และ PDA ได ซึ่งบริษัทซื้อในราคา 3.35 ลานบาท ซึ่งต่ํากวา

มูลคาทางบัญชีของ Source Code ดังกลาวซึ่งเทากับ 7.99 ลาน

บาท

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวา ทรัพยสิน

ดังกลาวสามารถนํามาพัฒนาตอเนื่อง และเปนประโยชนตอการ

ดําเนินงานของบริษัทไดในอนาคต และเมื่อเปรียบเทียบราคาที่ทํา

การซื้อกับตนทุนคงเหลือของโปรแกรมดังกลาวแลวเห็นวาเปนราคา

ซื้อที่บริษัทไดรับประโยชน

Page 108: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 7

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

บริษัท ซี-ทู วิชชั่น จํากัด

ธุรกิจ :

จํ าหน ายแผนซอฟต แวร เ กม

สําเร็จรูป

ณ 29 ธันวาคม 2551 บริษัทลงทุนใน

หุนสามัญของบริษัทดังกลาว โดยมี

สัดสวนการถือหุนในอัตรารอยละ

19.02 ของทุนชําระแลวของบริษัท

ดังกลาว

1.ร า ย ไ ด จ า ก ก า ร

จําหนายสินทรัพยที่

ไมมีตัวตน

2. ซื้อสินทรัพยไมมี

ตัวตน

-

-

4.50

3.30

- กลุมบริษัทจําหนายลิขสิทธิ์ซอฟตแวรเกมเกมคอมพิวเตอร ใหกับ

บริษัทดังกลาวเพื่อผลิตแผนซอฟตแวรเกมภายในป 2552 โดยการ

ทํารายการดังกลาวกอใหเกิดผลกําไรแกกลุมบริษัท 1.02 ลานบาท

ซึ่งแสดงเปนรายไดอื่นของกลุมบริษัทในงบกําไรขาดทุน

- กลุมบริษัทมีการซื้อเครื่องมือในการพัฒนาเกม Motion Detect

Engine จากบริษัทดังกลาว ซึ่งเปนเครื่องมือที่ใชจับลักษณะการ

เคลื่อนไหวของผูเลน ปจจุบันบริษัทอยูระหวางการพัฒนาเพื่อ

จําหนายใหแก Dell และ DTAC รวมทั้ง Engine ดังกลาวจะ

สามารถชวยลดระยะเวลาและตนทุนในการพัฒนาเกมสําหรับ

เครื่องเลนเกมคอนโซล XBOX360 ที่จะออกจําหนายในอนาคตได

อีกดวย

- ณ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทดังกลาว มิไดมีภาระหนี้สิน

คงคางระหวางกัน

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวารายการ

ดังกลาวเปนรายการที่เปนประโยชนตอบริษัท สําหรับเงื่อนไขทาง

การคาที่ตกลงชําระเฉพาะสวนตางนั้น เปนลักษณะที่เกิดขึ้นได

สําหรับธุรกิจโดยทั่วไป

Page 109: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 8

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

บริษัท ซีพลัส เน็ตเวิรค จํากัด

ธุรกิจ :

จํ าหน ายแผนซอฟต แวร เ กม

สําเร็จรูป

บริษัท ซี-ทู วิช ชั่น จํากัด ถือหุนใน

บริษัทดังกลาวในสัดสวนรอยละ 98.92

(โดยถือหุน 6,392,996 จากทั้งหมด

6,463,000 หุน) ตั้งแตวันที่ 28

ธันวาคม พ.ศ. 2551 และ กรรมการผูมี

อํานาจลงนามของบริษัท ซี-ทู วิชชั่น

จํากัด เปนกรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ในบริษัทดังกลาว

1. ลูกหนี้การคา 4.13 - - กลุมบริษัทจําหนายซอฟตแวรเกมสําเร็จรูปใหแกบริษัทดังกลาว

อยางตอเนื่องตั้งแตป 2547 อยางไรก็ตามในป 2549 บริษัท

ดังกลาวไดมีการผิดนัดชําระหนี้ ทําใหบริษัทหยุดการจําหนาย

สินคาใหแกบริษัทดังกลาว และไดมีการเจรจาและเริ่มมีการทยอย

จายชําระในป 2551 โดยรับชําระเปนเช็คลงวันที่ลวงหนา ทั้งนี้กลุม

บริษัทไดรับชําระหนี้รายการดังกลาวเรียบรอยแลว

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวา รายการ

ดังกลาวเปนรายการที่ เกิดขึ้นจากการดําเนินธุรกิจในอดีต ซึ่ง

ปจจุบันไดมีการเจรจาปรับโครงสรางภาระหนี้ และมีการทยอยจาย

ชําระแลวหนี้คงคางดังกลาวแลว

Page 110: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 9

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

บริษัท มายา วิซารด จํากัด

ดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวร

คุณอนุสรณ กระสานติสุขและคุณเมธี

ทรัพยรื่นรวย ผูถือหุนของบริษัท บลูวิ

ซา ร ด ส ตู ดิ โ อ จํ ากั ด และบริ ษั ท

อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด ซึ่งเปน

บริษัทยอยของบริษัท โดยถือหุนทาน

ละ 1 หุนในแตละบริษัท เปนกรรมการ

ผูมีอํานาจลงนามของบริษัท มายา วิ

ซารด จํากัด ทั้งนี้ ณ 30 มิถุนายน

2552 ทั้ง 2 ทานมิไดถือหุนในบริษัท

ยอยของบริษัทแลว

1. เจาหนี้การคา

2 . ซื้ อสินทรัพยที่ ไม มี

ตัวตน

0.19

8.28

-

1.78

- รายการที่เกิดขึ้นดังกลาวทั้งรายการที่ 1 และ 2 นั้น เปนการวาจาง

บริษัท Outsource ในการพัฒนาเกม ซึ่งโดยทั่วไปแลวบริษัทจะทํา

การ Outsource ใหแกบุคคลภายนอกเพื่อบริหารกําลังคนของ

บริษัท โดยการ Outsource จะชวยใหบริษัทสามารถควบคุมตนทุน

ในการดําเนินงานและควบคุมคุณภาพของชิ้นงานไดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้

บริษัทไดวาจางบริษัทดังกลาวพัฒนาซอฟตแวรสําหรับเกมของ

บริษัทจํานวน 26 เกม โดยมีเงื่อนไขการสงมอบงานและชําระเงิน

คาจางตามขั้นความสําเร็จของงาน ซึ่งรูปแบบของสัญญาเปนไป

ตามมาตรฐานที่บริษัทใชกับบริษัททั่วไป โดยในแตละสัญญาอาจมี

ความแตกตางในดานเงื่อนไขการสงมอบงานและชําระเงินคาจาง

โดยจะพิจารณาตามความเหมาะสมของแตละชิ้นงานเปนหลัก ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวา รายการ

ดังกลาวเปนรายการที่กอใหเกิดประโยชนตอการดําเนินงานของ

บริษัท โดยมีความสมเหตุสมผลและเปนไปตามเงื่อนไขปกติทาง

การคา

Page 111: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 10

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

บริษัท ทีพ็อท สตู ดิ โอ จํากัด

ดําเนินธุรกิจพัฒนาและรับจาง

พัฒนาซอฟตแวร ผลิตภัณฑ

เกี่ยวกับการตูน สิ่งพิมพ

นายณยศ มังคโลดม กรรมการและผู

ถือหุนของบริษัท บลูวิซารด สตูดิโอ

จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทโดน

ถือหุนจํานวน 1 หุน เปนกรรมการผูมี

อํ านาจลงนามของบริษั ท ทีพ็ อท

สตูดิโอ จํากัด ทั้งนี้ ณ 30 มิถุนายน

2552 นายณยศ มิไดเปนเปนกรรมการ

และผูถือหุนในบริษัทยอยของบริษัท

แลว

1. เจาหนี้การคา

2. ซื้อสินทรัพยที่ไมมี

ตัวตน

-

3.15

-

0.92

- รายการที่เกิดขึ้นดังกลาวทั้งรายการที่ 1 และ 2 เปนการวาจาง

บริษัท Outsource ในการพัฒนาเกม ซึ่งโดยทั่วไปแลวบริษัทจะทํา

การ Outsource ใหแกบุคคลภายนอกเพื่อบริหารกําลังคนของ

บริษัท โดยการ Outsource จะชวยใหบริษัทสามารถควบคุมตนทุน

ในการดําเนินงานและควบคุมคุณภาพของชิ้นงานไดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้

บริษัทไดวาจางบริษัทดังกลาว ผลิตภาพกราฟกและอนิเมชั่น

สําหรับเกมของบริษัทจํานวน 27 เกม โดยมีเงื่อนไขการสงมอบงาน

และชําระเงินคาจางตามขั้นความสําเร็จของงาน โดยกลุมบริษัทจะ

ทําการจายชําระคาจางภายใน 30 วันหลังจากการสงมอบงานใน

แตละงวด ทั้งนี้ รูปแบบของสัญญาเปนไปตามมาตรฐานที่บริษัทใช

กับบริษัททั่วไป โดยในแตละสัญญาอาจมีความแตกตางในดาน

เงื่อนไขการสงมอบงานและชําระเงินคาจาง โดยจะพิจารณาตาม

ความเหมาะสมของแตละชิ้นงานเปนหลัก

ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวา รายการ

ดังกลาวเปนรายการที่กอใหเกิดประโยชนตอการดําเนินงานของ

บริษัท โดยมีความสมเหตุสมผลและเปนไปตามเงื่อนไขปกติทาง

การคา

Page 112: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 11

บริษัท/บุคคลที่เกี่ยวของ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ขนาดรายการ ป 2551

(ลานบาท)

ขนาดรายการ ป 2552

(ลานบาท)

ความเห็นกรรมการตรวจสอบและ ความสมเหตุสมผลและความจําเปน

นางสาวศศิวิมล เกิดผล เปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามใน

บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด และ

เปนบุคคลที่เกี่ยวของตามมาตรา 258

ของคุณชนินทรเดช วานิชวงศ ผูถือหุน

ใหญของบริษัท โดยคุณชนินทรเดช

และนางสาวศศิ วิมล เกิดผลถือหุน

รวมกันจํานวน 52.48 ลานหุน คิดเปน

สัดสวนรอยละ 23.86 ของทุนจด

ทะเบียนชําระแลวของบริษัท

1. ภ า ร ะ ผู ก พั น ใ น

คาลิขสิทธิ์

- 0.03 - รายการดังกลาวเปนคาลิขสิทธิ์ของบริษัทยอย ในหลักสูตรวิชา

ภาษาอังกฤษ แบบฝกหัดทางดานไวยากรณพรอมเฉลย และ

คําศัพทวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาปที่ 1-6 โดยมีเงื่อนไข

การจายชําระในอัตรารอยละ 10 และรอยละ 12 ของคาการศึกษา

ทั้งหลักสูตรของผูศึกษาแตละคนหลังหักคาอุปกรณ ในปที่ 1 และป

ที่ 2-10 ตามลําดับ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ - กรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณาแลวเห็นวา รายการ

ดังกลาวเปนรายการที่เปนไปเพื่อการดําเนินธุรกิจ ซึ่งโดยปกติทั่วไป

แลวในการพัฒนาซอฟตแวรโปรแกรมตางๆ ในกรณีที่มีการนํา

เนื้อหา (Content) หรือ รูปแบบตัวละคร (Character) ของบุคคล

อื่นมาใชนั้น จะตองมีการจายคาลิขสิทธิใหแกเจาของเนื้อหา หรือ

รูปแบบตัวละครนั้นๆ ในสวนของอัตราคาลิขสิทธิ์นั้น ถือวามีความ

เหมาะสมทั้งนี้มีการเปรียบเทียบกับคาลิขสิทธิ์ที่กลุมบริษัทเคยมี

การจายชําระในอดีตในกรณีนําเนื้อหา หรือรูปแบบตัวละครของ

ผูอื่นมาใชในการพัฒนาซอฟตแวรที่อัตราประมาณรอยละ 10-15

ของรายไดจากการจําหนาย

Page 113: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.11 หนา 12

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน

กรณีที่รายการระหวางกันของบริษัทกับบริษัทยอยและบริษัทรวมเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

ทางผลประโยชนมีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคต บริษัทจะใหคณะกรรมการ

ตรวจสอบเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการนั้นภายหลังการเกิดรายการใน

ทุกๆไตรมาส ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบ ไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่อาจ

เกิดขึ้น บริษัทจะจัดใหมีผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชีของบริษัท เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวาง

กันนั้นกอนใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการ

ดังกลาว เพื่อนําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ หรือผูถือหุนตามแตกรณี โดยในการประชุม

คณะกรรมการหรือผูถือหุนเพื่ออนุมัติการทํารายการ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงซึ่งมีสวนไดเสียจะไมสิทธิออก

เสียงลงคะแนน

นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต

บริษัทคาดวาในอนาคตอาจมีรายการระหวางกันของบริษัทและบริษัทยอย ซึ่งเปนไปตามรายการคา

ปกติที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ บริษัทจะใหคณะกรรมการตรวจสอบหรือผูสอบบัญชีของบริษัทหรือผูเชี่ยวชาญอิสระ

พิจารณาตรวจสอบและใหความเห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทํารายการดวย

โดยรายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริษัทตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายวาดวย

ตลาดหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และขอบังคับ ประกาศ คําส่ัง หรือขอกําหนดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

รวมถึงการปฏิบัติตามขอกําหนดเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลการทํารายการเกี่ยวโยง และการไดมาหรือจําหนาย

ทรัพยสินที่สําคัญของบริษัทหรือบริษัทยอยหรือบริษัทรวมตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดโดยสมาคมนักบัญชี

และผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย

Page 114: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 1

12. สรุปฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

งบการเงิน

• รายงานของผูสอบบัญชีสําหรับงบการเงินป 2549 ซึ่งตรวจสอบโดย นางสาวรัชนี แสนศิลปชัย

ผูสอบบัญชีอนุญาตเลขทะเบียน 5772 ไดใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขวางบการเงินไดจัดทําขึ้น

โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

• รายงานของผูสอบบัญชีสําหรับงบการเงินป 2550 ซึ่งตรวจสอบโดยนายสมชาย คุรุจิตโกศล

ผูสอบบัญชีอนุญาตเลขทะเบียน 3277 จากบริษัท เอส. เค. แอคเคานแตนท เซอรวิสเซส จํากัด

ไดใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขวา งบการเงินของบริษัทไดจัดทําขึ้นโดยถูกตองตามที่ควรใน

สาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ทั้งนี้ไดใหสังเกตตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน

ขอ 11 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ฝายบริหารของบริษัทเชื่อวา เงินลงทุนในบริษัท ไซเบอรแพลน

เน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด ราคาทุน 18.0 ลานบาท ที่บริษัทลงทุนตามมูลคาที่ตราไวของหุนสามัญใน

บริษัทยอยแหงนั้น ไมเกิดการดอยคา เนื่องจากปจจุบัน ฝายบริหารของบริษัทอยูระหวางการ

เจรจาเพื่อดําเนินการรวมธุรกิจของบริษัทยอยดังกลาวกับบริษัทอื่น โดยการแลกเปลี่ยนหุนสามัญ

ในบริษัทยอยแหงนั้นกับหุนสามัญของบริษัทอื่นนั้นในราคาตามมูลคาที่ตราไวของหุนสามัญของ

แตละฝาย ดังนั้น มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของเงินลงทุนในบริษัทยอยดังกลาวจึงขึ้นอยูกับ

ผลสําเร็จของการรวมธุรกิจดังกลาว

• รายงานของผูสอบบัญชีสําหรับงบการเงินป 2551 ซึ่งตรวจสอบโดยนายชนันทกรณ สถิรประภา

กุล ผูสอบบัญชีอนุญาตเลขทะเบียน 6554 จากบริษัท แกรนด ออดิท จํากัด ไดใหความเห็นวา

งบการเงินของบริษัทไดจัดทําขึ้นโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรอง

ทั่วไป

• รายงานของผูสอบบัญชีสําหรับงบการเงินป 2552 ซึ่งตรวจสอบโดยนายชนันทกรณ สถิรประภา

กุล ผูสอบบัญชีอนุญาตเลขทะเบียน 6554 จากบริษัท แกรนด ออดิท จํากัด ไดใหความเห็นอยาง

ไมมีเงื่อนไขวา งบการเงินของบริษัทไดจัดทําขึ้นโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการ

บัญชีที่รับรองทั่วไป

หมายเหต ุ งบการเงินของบริษัทสําหรับป 2549 ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีรับอนุญาตซึ่งมิไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

Page 115: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 2

(1) ตารางสรุปงบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย และงบการเงินเฉพาะบริษัท

หนวย : ลานบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม รายการ

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2550* ป 2551 ป 2552

ฐานะทางการเงิน

เงินสด/รายการเทียบเทาเงินสด 0.77 0.41% 22.40 12.62% 17.59 8.80% 8.95 4.16% 22.57 14.27% 18.42 9.69% 11.30 5.66%

ลูกหนี้การคา-สุทธิ 43.82 23.43% 40.92 23.06% 25.73 12.87% 32.78 15.23% 40.92 25.87% 25.73 13.53% 32.78 16.41%

เงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับกิจการที่

เกี่ยวของกัน 25.69 13.74% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00%

สินคาคงเหลือ-สุทธิ 9.90 5.30% 7.42 4.18% 0.91 0.46% 0.09 0.04% 7.42 4.69% 0.91 0.48% 0.09 0.05%

เงินทดรองจายใหกิจการที่เกี่ยวของกัน 2.58 1.38% 3.88 2.18% 0.31 0.16% - 0.00% - 0.00% 0.01 0.01% - 0.00%

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 1.95 1.04% 2.85 1.61% 1.46 0.73% 3.36 1.56%

2.14 1.35% 1.56 0.82% 3.95 1.98%

สินทรัพยหมุนเวียนรวม 84.71 45.30% 77.46 43.65% 46.00 23.01% 45.19 21.00% 73.05 46.18% 46.63 24.52% 48.13 24.09%

เงินลงทุนในบริษัทยอย 34.86 18.64% 30.73 17.32% 13.48 6.74% 21.66 10.06% - 0.00% - 0.00% - 0.00%

เงินลงทุนทั่วไป 0.00 0.00% 0.00 0.00% 17.99 9.00% 17.99 8.36% - 0.00% 17.99 9.46% 17.99 9.01%

สินทรัพยที่ไมมีตัวตน-สุทธิ 33.16 17.73% 28.94 16.31% 67.97 34.00% 94.85 44.07% 43.66 27.60% 70.18 36.90% 96.12 48.12%

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ 25.15 13.45% 29.75 16.77% 35.85 17.93% 32.57 15.13% 30.12 19.04% 36.75 19.32% 34.02 17.03%

เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกัน 8.81 4.71% 10.56 5.95% 18.03 9.02% 1.79 0.83% 10.56 6.68% 18.03 9.48% 1.79 0.90%

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 0.29 0.16% 0.02 0.01% 0.60 0.30% 1.18 0.55%

0.80 0.51% 0.60 0.31% 1.72 0.86%

สินทรัพยไมหมุนเวียนรวม 102.28 54.70% 100.01 56.35% 153.92 76.99% 170.04 79.00% 85.14 53.82% 143.55 75.48% 151.64 75.91%

สินทรัพยรวม 186.98 100% 177.47 100% 199.92 100% 215.23 100% 158.19 100% 190.18 100% 199.77 100%

Page 116: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 3

หนวย : ลานบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม รายการ

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2550* ป 2551 ป 2552

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น 4.53 2.42% 5.71 3.22% 5.18 2.59% 8.91 4.14% 7.11 4.49% 5.18 2.72% 8.91 4.46%

เจาหนี้การคา 19.40 10.38% 20.65 11.63% 13.92 6.96% 17.31 8.04% 9.81 6.20% 6.59 3.46% 6.79 3.40%

เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน - 0.00% 10.83 6.10% 7.60 3.80% 10.97 5.10% - - 0.19 0.10% - 0.00%

เจาหนี้การคา - กิจการอื่น 19.40 10.38% 9.81 5.53% 6.33 3.16% 6.34 2.94% 9.81 6.20% 6.40 3.36% 6.79 3.40%

เจาหนี้จากการซื้อทรัพยสิน

- กิจการที่เกี่ยวของ - 0.00% - 0.00% 3.35 1.68% - 0.00% - 0.00% 3.35 1.76%

- 0.00%

เจาหนี้คาหุน 1.03 0.48% - 0.00%

รายไดรับลวงหนา - 0.00% 5.32 3.00% 1.19 0.60% - 0.00% 5.32 3.37% 1.19 0.63% 0.55 0.27%

เงินกูสถาบันการเงินที่ถึงกําหนดใน 1 ป 2.05 1.09% 2.27 1.28% 2.62 1.31% 0.17 0.08% 2.27 1.43% 2.62 1.38% 0.17 0.08%

สัญญาเชาซื้อที่ถึงกําหนดภายใน 1 ป 0.22 0.12% 0.24 0.13% 0.25 0.13% 0.22 0.10% 0.24 0.15% 0.25 0.13% 0.22 0.11%

เงินกูยืมระยะสั้นจากกรรมการ 2.00 1.07% - 0.00%- - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00%

เงินทดรองรับจากกิจการที่เกี่ยวของกัน 10.06 5.38% 10.95 6.17% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00%

คาใชจายคางจาย 3.41 1.82% 1.58 0.89% 1.93 0.97% 1.96 0.91% 1.96 1.24% 2.34 1.23% 2.34 1.17%

เจาหนี้จากการซื้อทรัพยสิน - 0.00% 7.16 4.04% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00%

หนี้สินหมุนเวียนอื่น 3.60 1.92% 0.36 0.20% 0.44 0.22% 0.23 0.11%

0.78 0.49% 0.61 0.32% 0.30 0.15%

หนี้สินหมุนเวียนรวม 45.27 24.21% 54.24 30.56% 28.89 14.45% 29.81 13.85% 27.49 17.38% 22.13 11.64% 19.26 9.64%

เจาหนี้การคาสวนที่ครบกําหนดกวา 1 ป - 0.00% - 0.00% 2.73 1.37% 0.68 0.32% - - 2.73 1.44% 0.68 0.34%

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 13.29 7.11% 11.02 6.21% 9.44 4.72% 10.77 5.00% 11.02 6.97% 9.44 4.96% 10.77 5.39%

หนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ 0.71 0.38% 0.47 0.27% 0.22 0.11% - 0.00%

0.47 0.30% 0.22 0.12% - 0.00%

หนี้สินไมหมุนเวียนรวม 14.00 7.49% 11.50 6.48% 12.40 6.20% 11.45 5.32% 11.50 7.27% 12.40 6.52% 11.45 5.73%

หนี้สินรวม 59.28 31.70% 65.74 37.04% 41.29 20.65% 41.26 19.17% 38.99 24.65% 34.53 18.15% 30.71 15.37%

Page 117: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 4

หนวย : ลานบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม รายการ

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2550* ป 2551 ป 2552

ทุนจดทะเบียน 100.00 - 100.00 - 110.00 - 140.00 65.05% 100.00 - 110.00 - 140.00 70.08%

ทุนจะทะเบียนเรียกชําระแลว 100.00 53.48% 100.00 56.35% 110.00 55.02% 110.00 51.11% 100.00 63.22% 110.00 57.84% 110.00 55.06%

สวนเกินมูลคาหุน 17.15 9.17% 10.40 5.86% 31.90 15.96% 31.90 14.82% 10.40 6.57% 31.90 16.77% 31.90 15.97%

กําไรสะสม 10.56 5.65% 1.33 0.75% 16.73 8.37% 32.07 14.90% 2.61 1.65% 13.75 7.23% 27.16 13.59%

รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ 127.71 68.30% 111.73 62.96% 158.63 79.35% 73.97 80.83% 113.01 71.44% 155.65 81.85% 169.06 84.63%

สวนของผูถือหุนสวนนอย - 0.00%- - 0.00% - 0.00% - 0.00% 6.19 3.91% - 0.00% - 0.00%

สวนของผูถือหุน 127.71 68.30% 111.73 62.96% 158.63 79.35% 173.97 80.83% 119.20 75.35% 155.65 81.85% 169.06 84.63%

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 186.98 100% 177.47 100% 199.92 100% 215.23 100% 158.19 100% 190.18 100% 199.77 100%

หมายเหตุ

* งบการเงินดุลรวมป 2550 จัดทําโดยผูบริหารของบริษัท

งบกําไรขาดทุนรวมป 2549 และ ป 2550 จัดทําโดยผูบริหารของบริษัท

Page 118: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 5

หนวย : ลานบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม รายการ

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2549* ป 2550* ป 2551 ป 2552

รายไดจากการขาย 58.00 100.00% 8.57 12.60% 9.82 13.55% 0.64 1.10% 11.77 16.24% 8.57 11.66% 9.08 11.23% 0.64 1.06%

รายไดจากการบริการ - 0.00% 59.44 87.40% 62.66 86.45% 57.57 98.90% 60.68 83.76% 64.90 88.34% 71.76 88.77% 59.98 98.94%

กําไร : จําหนายเงินลงทุนบริษัทยอย - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% 5.73 7.09% - 0.00%

กําไร : จําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน - 0.00% - 0.00% - 0.00% 1.02 1.76% - 0.00% - 0.00% - 0.00% 1.02 1.69%

ดอกเบี้ยรับ - 0.00% - 0.00% - 0.00% 1.76 3.02% - 0.00% - 0.00% - 0.00% 1.77 2.91%

รายไดอื่น 2.36 4.07% 4.89 7.19% 3.95 5.45% 5.01 8.60% 1.06 1.46% 4.47 6.08% 3.32 4.10% 3.58 5.91%

รายไดรวม 60.36 104.07% 72.89 107.19% 76.43 105.45% 66.00 113.39% 73.51 101.46% 77.93 106.08% 89.88 111.19% 67.00 110.51%

ตนทุนขายและตนทุนการใหบริการ 31.41 54.16% 30.85 45.36% 29.47 40.66% 21.39 36.74% 46.31 63.92% 35.56 48.40% 37.48 46.37% 22.01 36.31%

คาใชจายในการขายและบริหาร 23.72 40.89% 34.05 50.07% 33.53 46.26% 24.71 42.45% 33.43 46.14% 39.32 53.53% 39.82 49.26% 27.02 44.57%

- คาใชจายในการขาย - 0.00% 7.43 10.93% 10.63 14.66% 3.92 6.74% - 0.00% 7.43 10.12% 11.07 13.69% 4.83 7.96%

- คาใชจายในการบริหาร - 0.00% 26.62 39.14% 22.90 31.60% 20.79 35.71% - 0.00% 31.89 43.41% 28.76 35.57% 22.19 36.60%

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) 0.51 0.87% 6.35 9.33% (2.45) -3.38% 3.11 5.35% 0.51 0.70% 6.75 9.19% (2.45) -3.03% 3.11 5.13%

ดอยคาเงินลงทุน/สินคา (โอนกลับ) 2.94 5.06% 4.13 6.08% (0.75) -1.04% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00%

ขาดทุน : จําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% 4.64 5.74% - 0.00%

รวมคาใชจาย 58.57 100.99% 75.38 110.84% 59.79 82.50% 49.21 84.54% 80.25 110.77% 81.63 111.12% 79.49 98.34% 52.14 86.01%

กําไรกอนคาใชจายทางการเงิน 1.79 3.08% (2.49) -3.65% 16.64 22.96% 16.79 28.85% (6.74) -9.31% (3.70) -5.03% 10.39 12.85% 14.85 24.50%

คาใชจายทางการเงิน (0.68) -1.17% (1.67) -2.45% (1.24) -1.71% (1.45) -2.49% (0.33) -0.46% (1.74) -2.36% (1.26) -1.55% (1.45) -2.39%

ภาษีเงินไดนิติบุคคล - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% (0.09) -0.11% - 0.00%

กําไร(ขาดทุน)สุทธิ 1.11 1.91% (4.15) -6.11% 15.40 21.25% 15.34 26.35% (7.07) -9.76% (5.43) -7.40% 9.04 11.19% 13.40 22.11%

สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ 1.11 1.91% (4.15) -6.11% 15.40 21.25% 15.34 26.35% (6.90) -9.52% (4.94) -6.72% 11.14 13.79% 13.40 22.11%

สวนของผูถือหุนสวนนอยบริษัทยอย - 0.00% - 0.00% - 0.00% - 0.00% (0.18) -0.24% (0.50) -0.68% (2.10) -2.60% - 0.00%

กําไร(ขาดทุน) ผูถือหุนใหญ (บาท/หุน) (0.02) 0.07 0.07 (0.02) 0.05 0.06

Page 119: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 6

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม รายการ

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2550 ป 2551 ป 2552

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน

กําไร(ขาดทุน)สุทธิกอนภาษี (4.15) 15.40 15.34 (5.43) 9.13 13.40

รายการปรับกระทบกําไร(ขาดทุน)สุทธิเปนเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

คาเสื่อมราคา 2.67 3.82 4.00 2.96 4.12 4.32

คาตัดจําหนาย 4.54 11.07 18.09 7.28 13.72 19.48

หน้ีสงสัยจะสูญ(โอนกลับ) 6.35 (2.45) 3.11 6.75 (2.45) 3.11

ตัดจําหนายภาษีถูกหัก ณ ท่ีจาย 0.07 0.07

ขาดทุนจากคาเผื่อการลดมูลคาในสินคาคงเหลือ 0.34 0.60 (0.82) 1.10 0.60 (0.82)

ขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุน (โอนกลับ) 4.13 (0.75) (1.15) - - 0.00

ขาดทุนจากการดอยคาในสินทรัพยไมมีตัวตน 2.56 0.59 0.00 2.56 1.29 0.00

(กําไร) ขาดทุนท่ียังไมเกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยน - (0.33) 0.59 - (0.33) 0.59

(กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายอุปกรณ - - 0.00 - - 0.00

(กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายบริษัทยอย - 0.01 (1.02) - (5.73) (1.02)

(กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน - - 0.03 - 4.64 0.03

(กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยถาวร (0.00) 0.40 0.03 0.03 0.40 0.03

ตัดจําหนายสินทรัพยถาวร 0.00 0.00

โอนสินทรัพยไมมีตัวตนเปนตนทุนขาย 0.14 1.96 1.12 0.14 1.96 1.12

คาใชจายดอกเบี้ย 1.67 1.24 1.74 1.26

กําไรจากการดําเนินงานกอนเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและ

หน้ีสินดําเนินงาน 18.24 31.56 39.38 17.13 28.63 40.31

สินทรัพยดําเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง)

ลูกหนี้การคา (3.45) 18.13 (24.83) (2.99) 18.13 (24.84)

สินคาคงเหลือ 2.15 5.90 1.64 5.21 (2.07) 1.64

เงินทดรองจายกิจการที่เกี่ยวของกัน (1.30) 3.57 0.31 - (0.01) 0.01

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (0.79) 0.77 (1.74) 0.40 (0.43) (2.22)

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 0.27 - (0.58) 0.53 0.20 (1.12)

หน้ีสินดําเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง)

เจาหนี้การคากิจการที่เกี่ยวของกัน 10.83 (3.29) 0.00 - 0.19 0.00

เจาหนี้การคากิจการอื่น (9.59) (0.76) (2.05) (2.46) (0.74) (2.05)

เจาหนี้คาหุน - - - - - (0.65)

รายไดรับลวงหนา 5.32 (4.13) (1.19) 5.32 (4.13) 0.00

เงินทดรองรับกิจการที่เกี่ยวของกัน 0.89 (10.95) - - -

Page 120: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 7

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม รายการ

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2550 ป 2551 ป 2552

คาใชจายคางจาย (1.85) 0.38 (0.04) (1.57) 0.66 (0.07)

หน้ีสินหมุนเวียนอื่น (3.24) 0.08 (0.22) (4.34) (0.06) (0.31)

เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 17.49 41.27 10.68 17.22 40.37 10.70

จายดอกเบี้ย (1.65) (1.26) (0.40) (1.62) (1.56) (0.40)

จายภาษีเงินไดหัก ณ ท่ีจาย (0.12) (0.07) (0.24) (0.14) (0.07) (0.24)

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน 15.46 38.74 10.04 15.46 38.74 10.06

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

เงินลงทุนระยะสั้นเพิ่มขึ้น - - - - -

เงินใหกูยืมและดอกเบี้ยคางรับบุคคลที่เกี่ยวของกันลดลง 25.69 - - 25.69 - -

เงินสดจายซื้อเงินลงทุนในบริษัทอื่น - (17.99) (6.00) - (17.99) -

เงินสดรับจากการจําหนายบริษัทยอย - 17.99 - -

สุทธิจากเงินสดคงเหลือในบริษัทยอย - - - 16.99

เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน (11.11) (52.74) (31.03) (11.33) (51.29) (34.67)

เงินสดจายซื้ออาคารและอุปกรณ (3.97) (14.28) (0.86) (7.69) (11.48) (1.73)

เงินสดรับจากการจําหนายอุปกรณ 0.11 0.24 0.09 4.10 0.24 0.09

เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน - - 1.20 - - 1.20

เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) (1.75) (7.47) 16,24 (1.75) (7.47) 16.24

เงินสดสุทธิไดมา(ใชไปใน)กิจกรรมลงทุน 8.98 (74.25) (20.37) 9.01 (70.99) (18.88)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น - - - - - -

จากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) 1.18 (0.54) 3.73 1.20 (1.93) 3.73

เงินสดจายชําระเงินกูยืมจากบุคคลที่เกี่ยวของกัน (2.00) 0.00 - (2.00) 0.00 -

เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 0.00 1.33 11.00 0.00 1.33 11.00

เงินสดจายจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (2.05) (2.56) (12.75) (2.05) (2.56) (12.75)

เงินสดจายชําระหนี้สินภายใตสัญญาเชาซื้อ (0.22) (0.24) (0.27) (0.22) (0.02) (0.27)

เงินสดรับจากการเพิ่มทุน 0.00 31.50 - 0.00 31.50 -

เงินสดสุทธิไดมา(ใชไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน (3.09) 29.49 1.70 (3.07) 28.31 1.70

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มข้ึน(ลดลง)-สุทธิ 21.62 (4.81) (8.63) 21.41 (4.15) (7.12)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป 0.77 22.40 17.59 1.17 22.57 18.42

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันส้ินป 22.40 17.59 8.95 22.57 18.42 11.30

Page 121: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 8

งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio)

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552

อัตราสวนแสดงสภาพคลอง (Liquidity Ratio)

อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) 1.87 1.43 1.59 1.52 2.66 2.11 2.50

อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) 0.98 1.17 1.50 1.40 2.31 2.00 2.29

อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) N/A 0.47 1.44 0.32 0.79 2.34 0.37

อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) 1.22 1.48 1.91 2.98 1.58 2.11 3.11

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) 294.69 243.65 188.19 120.62 227.39 170.51 115.83

อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) 3.11 5.34 10.62 63.91 5.05 13.50 65.77

ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) 115.69 67.38 33.91 5.63 71.35 26.66 5.47

อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา) 2.41 2.31 2.56 2.05 4.83 6.85 4.94

ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) 149.36 155.80 140.78 175.22 74.55 52.52 72.93

Cash Cycle (วัน) 261.02 155.23 81.32 (48.97) 224.19 144.65 48.38

อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร(Profitability Ratio)

อัตรากําไรขั้นตน (%) 45.84 54.64 59.34 63.26 36.08 51.60 53.63 63.69

อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) 4.94 4.57 13.09 20.81 (10.07) (1.93) 4.23 19.12

อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) N/A 506.28 421.08 52.43 N/A N/A 1,133.43 43.88

อัตรากําไรอื่น(%) (1.79) (7.67) 9.36 7.09 0.75 (2.92) 12.79 4.87

อัตรากําไรสุทธิ (%) 1.83 (5.70) 20.15 23.24 (9.62) (6.97) 9.93 20.00

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%) 1.30 (5.21) 17.09 13.84 (8.33) (6.76) 9.74 12.38

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratio)

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) 0.99 (3.42) 12.24 11.09 (14.87) (5.01) 7.68 10.31

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) 8.12 (2.21) 22.70 17.91 (32.92) (4.51) 17.11 24.02

อัตราการหมุนของสินทรัพย (เทา) 0.54 0.60 0.61 0.48 0.71 0.72 0.77 0.52

Page 122: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 9

งบการเงินเฉพาะ งบการเงินรวม อัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratio)

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552

อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Ratio)

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) 0.46 0.59 0.26 0.24 0.37 0.33 0.22 0.18

อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) N/A 10.42 33.23 5.38 N/A 9.90 31.76 4.51

อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (เทา) N/A 0.91 0.45 0.22 N/A 0.73 0.46 0.20

อัตราการจายเงินปนผล (%) N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A

มูลคาตามบัญชีสุทธิ/หุน(บาท)(Par : 0.50บาท) 0.64 0.56 0.72 0.79 0.61 0.60 0.71 0.77

Page 123: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 10

1) ภาพรวมการดําเนินงานที่ผานมา

กลุมบริษัทถือเปนหนึ่งในผูประกอบการชาวไทยที่มีชื่อเสียงและไดรับการยอมรับจากผูผลิตและ

จําหนายเกมชั้นนําทั่วโลก ในดานการพัฒนาซอฟทแวรเกม โดยกลุมบริษัทมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงรูปแบบ

ของเกมอยางตอเนื่องตลอดระยะเวลาที่ผานมา เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสอดคลองกับ

พฤติกรรมการเลนเกมของผูบริโภค

ในอดีตที่ผานมากลุมบริษัททําการพัฒนาและจําหนายเกมสําหรับอุปกรณเครื่องเลนเกมใน 3 ลักษณะ

ไดแก เกมสําหรับคอมพิวเตอร เกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ และเกมคอนโซล ในชวงแรกของการดําเนินธุรกิจ

กลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาเกมตลอดจนนําเขาและจําหนายเกมสําหรับคอมพิวเตอรเปนหลัก โดยกลุมบริษัท

ทําการผลิตและจําหนายเกมคอมพิวเตอรใหแกผูผลิตคอมพิวเตอรชั้นนําหลายราย ตอมาในป 2546 จากการที่

รูปแบบการใชงานของโทรศัพทเคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเพิ่มเติมคุณสมบัติทางดานความบันเทิงเพื่อ

การผอนคลายใหแกผูใชงานเพิ่มขึ้นนอกเหนือจากการใชโทรศัพทเคลื่อนที่เพื่อการติดตอส่ือสาร รวมทั้งความ

นิยมใชงาน Pocket PC ที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหกลุมบริษัทขยายขอบเขตการพัฒนาเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่

และ Pocket PC เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงลักษณะการใชงานดังกลาว โดยกลุมบริษัทถือไดวาเปน

ผูประกอบการไทยรายเดียวที่ทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ใหแกผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่

เพื่อนําไปติดตั้งในโทรศัพทของตน อาทิเชน Nokia Samsung และ Dupod เปนตน จากการพัฒนาการผลิตเกม

บนอุปกรณเครื่องเลนตางๆ ใหแกผูผลิตคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่ชั้นนําอยางตอเนื่องตลอดระยะเวลาที่

ผานมา ประกอบกับการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของผูเลนเกมประเภทคอนโซล ทําใหกลุมบริษัทเล็งเห็น

โอกาสในการดําเนินธุรกิจ และกลุมบริษัทมีศักยภาพเพียงพอที่จะขยายขอบเขตการดําเนินธุรกิจไปยังการ

พัฒนาเกมคอนโซล โดยในป 2550 กลุมบริษัทเริ่มพัฒนาเกมคอลโซลสําหรับเครื่องเลน Playstaion 2 และขยาย

ตอเนื่องมายังเครื่องเลน PSP ของโซนี่ และไดรับอนุญาตจากนินเทนโด อยางเปนทางการใหมีสิทธิในการพัฒนา

เกมคอนโซลสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล Nintendo DS และ Nintendo Wii เพื่อจําหนายในตางประเทศ ทั้งใน

ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกาผานผูจัดจําหนายเกมชั้นนําทั่วโลก ตอมาในป 2551 กลุมบริษัทไดรับอนุญาตจาก

ไมโครซอฟตใหมีสิทธิในการพัฒนาเกมคอนโซล สําหรับเครื่องเลน XBOX โดยปจจุบันกลุมบริษัทถือวาเปน

ผูประกอบการไทยรายเดียวที่ไดรับสิทธิในการพัฒนาเกมคอนโซลใหแกผูผลิตเครื่องเลนเกมคอนโซลรายใหญทั้ง

3 ราย อันไดแก โซนี่ นินเทนโด และไมโครซอฟต

จากการเปลี่ยนแปลงลักษณะการประกอบธุรกิจบนอุปกรณเครื่องเลนเกมประเภทตางๆ ทําให

โครงสรางรายไดของกลุมบริษัทมีการเปลี่ยนแปลงโดยเมื่อพิจารณากลุมรายไดโดยแบงตามเครื่องเลน พบวา

ปจจุบันรายไดจากการพัฒนาเกมคอนโซลถือเปนรายไดหลักของกลุมบริษัทโดยมีสัดสวนประมาณรอยละ 54.57

และรอยละ 78.97ของรายไดจากการขายและบริการรวมของกลุมบริษัทในป 2551 และป 2552 และจากการที่

ลูกคาหลักของการพัฒนาเกมคอนโซล คือ ผูจัดจําหนายเกมคอนโซลชั้นนําทั่วโลก ทําใหกลุมบริษัทมีรายไดจาก

ตางประเทศเพิ่มขึ้นจากสัดสวนรอยละ 9.03 ของรายไดจากการขายและบริการรวมในป 2550 เปนรอยละ 54.14

และรอยละ 81.12 ในป 2551 และป 2552 ตามลําดับ

Page 124: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 11

นอกจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะการประกอบธุรกิจบนอุปกรณเครื่องเลนเกมประเภทตางๆ แลวนั้น

กลุมบริษัทยังมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบธุรกิจ โดยในชวงระหวางป 2546-2551 กลุมบริษัทมีการ

ประกอบธุรกิจใน 2 รูปแบบหลัก คือ

• การพัฒนาซอฟตแวรเกมบนอุปกรณเครื่องเลนเกมประเภทตางๆ ใหแกเจาของสินคาหรือตัวแทน

จําหนายของเจาของสินคา เชน ผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอร ผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือผูผลิต

เครื่องเลนเกมคอนโซล เปนตน

• การนําเขาเกมคอมพิวเตอรจากตางประเทศ โดยไดรับสิทธิในการผลิตและจัดจําหนายเกมในลักษณะ

แผนซีดีเกมสําเร็จรูปบรรจุกลอง เชน เกมในชุดของ Barbie ซึ่งไดลิขสิทธิ์จากบริษัท Activision Value

Publishing, Inc และเกมตางๆ ของ Walt Disney เปนตน เพื่อจําหนายใหแกรานคา หรือลูกคาราย

ยอย

ซึ่งการประกอบธุรกิจใน 2 รูปแบบนั้น การดําเนินธุรกิจจะมีความแตกตางกัน โดยการดําเนินธุรกิจผลิต

และจําหนายเกมในลักษณะแผนซีดีเกมสําเร็จรูปบรรจุกลองเพื่อจําหนายแกรานคา หรือลูกคารายยอยนั้น กลุม

บริษัทตองใชเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานเพิ่มขึ้นเพื่อทําการผลิตและจัดเก็บแผนซีดีเกมใหเพียงพอตอการ

จําหนายใหแกลูกคา และเมื่อแผนซีดีเกมที่บริษัททําการผลิตและจําหนายไดรับความนิยมจากผูเลนเกม กลุม

บริษัทยังมีแนวโนมที่จะไดรับผลกระทบจากการละเมิดลิขสิทธิโดยผูผลิตแผนเกมที่ผิดกฎหมาย นอกจากนั้นใน

การทําการตลาดของแผนซีดีเกมสําเร็จรูปเพื่อการจําหนาย กลุมบริษัทตองมีการบริหารชองทางการจําหนายทั้ง

รูปแบบการมีรานคาเปนของตนเอง หรือทําการฝากขาย หรือจําหนายใหแกรานคาชั้นนํา เชน B2S, 7-11, ราน

ซีพลัส เน็ตเวิรค, และรานซีเอ็ดบุคเซ็นเตอร เปนตน ซึ่งการบริหารสินคาคงคลัง และการบริหารชองทางการ

จําหนายในลักษณะดังกลาวนั้น ทําใหกลุมบริษัทมีตนทุนการดําเนินงานที่เพิ่มขึ้น

จากลักษณะการประกอบธุรกิจที่มีความแตกตางกัน ทําใหกลุมบริษัทมีการปรับเปล่ียนโครงสรางการ

ดําเนินธุรกิจ โดยลดบทบาทในธุรกิจดังกลาวลงตั้งแตป 2549 โดยมุงเนนในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมใหแก

เจาของสินคาหรือตัวแทนจําหนายของเจาของสินคา ตอมาในป 2551 กลุมบริษัททําการจําหนายหุนสามัญของ

บริษัทบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจการนําเขาและจําหนายเกม จํานวน

17,999,940 หุนคิดเปนสัดสวนรอยละ 75 ของทุนชําระแลวมูลคา 24,000,0000 บาทของบริษัทดังกลาว ที่ราคา

10 บาทตอหุน (ราคาที่จําหนายมีการเทียบเคียงกับราคาที่ไดจากการประเมินโดยวิธีมูลคาตามบัญชี รวมกับคา

ลิขสิทธิที่คงคางอยูของบริษัทดังกลาว โดยราคาหุนสามัญที่ประเมินไดเทากับ 10 บาทตอหุน) คิดเปนมูลคารวม

17.99 ลานบาท ใหแก บริษัท ซี-ทู วิชชั่น จํากัด ซึ่งถือเปนหนึ่งในผูจัดจําหนายเกมรายใหญของประเทศไทย และ

เปนบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับบริษัท อยางไรก็ตามกลุมบริษัทยังคงเห็นถึงศักยภาพและโอกาสในการขยายตัวของ

ธุรกิจผลิตและจําหนายแผนซีดีเกม จึงทําการซื้อหุนของบริษัท ซี-ทู วิชช่ัน จํากัด จํานวน 17,990,000 หุน ใน

ราคา 10 บาทตอหุน (ราคาที่ลงทุนมีการเทียบเคียงกับราคาที่ไดจากการประเมินโดยวิธีการจัดทําประมาณการ

รายไดในอนาคตของบริษัทดังกลาวและบริษัทยอย โดยมีการปรับปรุงงบดุลของปฐาน โดยการกันสํารองคาเผื่อ

ดอยคาของสินคาคงคลัง โดยราคาหุนสามัญที่ประเมินไดเทากับ 10.05 บาทตอหุน ) เปนมูลคาเงินลงทุน 17.99

ลานบาท ทําใหบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 19.02 ของทุนชําระแลวมูลคา 94,630,000 บาทของบริษัท

ดังกลาว แทน ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบธุรกิจในชวงปลายป 2551 สงผลใหตั้งแตป 2552 เปนตน

Page 125: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 12

ไป กลุมบริษัทจะไมมีรายไดจากการนําเขาและจัดจําหนายเกม โดยระหวางป 2549 – 2551 กลุมบริษัทมีรายได

จากการนําเขาและจัดจําหนายเกมประมาณปละ 8-12 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 11-16 ของ

รายไดจากการขายและบริการของกลุมบริษัท

2) ผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงิน

2.1) ผลการดําเนินงาน

• รายได

รายไดของกลุมบริษัทสามารถจําแนกไดเปน 3 ลักษณะ คือ รายไดจากการบริการ รายไดจากการขาย

และรายไดอื่น โดยสัดสวนรายไดแตละประเภทระหวางป 2549 – ป 2552 สามารถแสดงไดดังนี้ ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 รายไดของกลุม

บริษัท ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

รายไดจากการบริการ 60.68 82.55% 64.90 83.27% 71.76 79.83% 59.98 89.52%

รายไดจากการขาย 11.77 16.01% 8.57 10.99% 9.08 10.10% 0.64 0.96%

รายไดอื่นๆ 1.06 1.44% 4.47 5.74% 9.04 10.06% 6.38 9.52%

รายไดรวม 73.51 100.00% 77.93 100.00% 89.88 100.00% 67.00 100.00%

จากตารางขางตนระหวางป 2549 – 2551 กลุมบริษัทมีรายไดรวมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก 73.51

ลานบาท เปน 77.93 ลานบาท และ 89.88 ลานบาทตามลําดับ คิดเปนการเติบโตในอัตรารอยละ 6.01 และรอย

ละ 15.34 ตามลําดับ โดยการเพิ่มขึ้นของรายไดรวมของกลุมบริษัทเปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของรายไดจากการ

บริการอันเกดิจากธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม ในขณะที่รายไดจากการขายมีการปรับตัวลดลง ทั้งนี้เนื่องจากกลุม

บริษัทมีการปรับเปลี่ยนโครงสรางการดําเนินธุรกิจโดยมุงเนนในธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม และลดบทบาทใน

ธุรกิจผลิต นําเขาและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป ดังที่ไดกลาวมาแลวในสวนภาพรวมของการประกอบธุรกิจ

สําหรับในป 2552 รายไดรวมของกลุมบริษัทปรับตัวลดลง เปนผลตอเนื่องจากการลดลงของรายไดจากการขาย

จากการหยุดประกอบธุรกิจ นําเขาและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป ประกอบกับการลดลงของรายไดจากการ

บริการ เนื่องจากกลุมบริษัทมีนโยบายใหความสําคัญกับการเติบโตของผลกําไรมากกวาการขยายตัวของ

ยอดขาย จึงบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทคอนโซล ซึ่งเปนซอฟตแวรเกมที่แนวโนมที่จะมีอายุ

การจําหนายยาวกกวาซอฟตแวรเกมประเภทอื่น และมีแนวโนมที่จะสรางผลการดําเนินงานที่ดีกวาจากการที่

สามารถกําหนดราคาจําหนายตอเกมไดสูงกวาเกมประเภทอื่น ในขณะที่ตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมสูง

กวาการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทอื่นไมมากนัก

รายไดจากการบริการ

รายไดจากการบริการเปนรายไดที่เกิดจากการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม ซึ่งถือเปนรายได

หลักของกลุมบริษัท โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 82.55 รอยละ 83.27 รอยละ 79.83 และรอยละ 89.52 ของ

รายไดรวมในป 2549 – 2552 ตามลําดับ โดยมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก 60.68 ลานบาทในป 2549

เปน 64.90 ลานบาท และ 71.76 ลานบาทในป 2550 และ 2551 ตามลําดับ หรือคิดเปนการปรับตัวเพิ่มขึ้นใน

อัตรารอยละ 6.95 และรอยละ 10.57 ตามลําดับ สําหรับในป 2552 รายไดจากคาบริการมีการปรับตัวลดลงจาก

การที่กลุมบริษัทมุงเนนพัฒนาซอฟตแวรเกมที่ใหผลการดําเนินงานที่ดีมากกวาการขยายตัวของยอดขาย

Page 126: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 13

ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม สามารถแบงรูปแบบการดําเนินธุรกิจได 2 รูปแบบหลัก

คือ การพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนาย และการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกม ซึ่งการพัฒนาซอฟตแวรนั้นจะมี

ความแตกตางในแงการเปนเจาของลิขสิทธิ์ของเกม โดยในกรณีของการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนาย

ลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรเกมจะเปนของกลุมบริษัท ขณะที่ในกรณีของการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมลิขสิทธิ์ใน

ซอฟตแวรเกมจะเปนของลูกคา ดวยลักษณะการดําเนินธุรกิจที่แตกตางกันนั้น ทําใหกลุมบริษัทกําหนดนโยบาย

ในการรับรูรายไดที่แตกตางกัน กลาวคือ การพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายจะรับรูรายไดเมื่อสงมอบตนฉบับ

เกมที่พัฒนาเสร็จสมบูรณ (Master Copy) ใหแกลูกคา โดยหากระหวางการพัฒนาซอฟตแวรเกม กลุมบริษัทมี

การทําสัญญาจําหนายเกมดังกลาวใหแกลูกคาและลูกคามีการจายชําระคาพัฒนาซอฟตแวร กลุมบริษัทจะทํา

การบันทึกรายการในรายการรายไดรับลวงหนาซึ่งแสดงในงบดุลและจะบันทึกเปนรายไดจากการขายบริการเมื่อ

กลุมบริษัททําการสงมอบงานใหแกลูกคา ในขณะที่การรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมจะรับรูรายไดตามขั้น

ความสําเร็จของงานซึ่งสอดคลองกับการจายชําระคาพัฒนาซอฟตแวรของลูกคา

รายไดจากการใหบริการแบงตามรูปแบบการพัฒนาซอฟตแวรเกม และประเภทเครื่องเลนระหวางป

2549 – 2552 สามารถแสดงไดดังนี้

• แบงตามรูปแบบการพัฒนา ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 รายไดจากการ

ใหบริการ ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

พัฒนาเพื่อจําหนาย 50.94 83.95% 60.01 92.47% 49.38 68.81% 54.65 91.11%

- เกมคอนโซล - 0.00% 5.09 7.84% 26.43 36.83% 48.22* 80.39%

- เกมคอมพิวเตอร 41.88 69.02% 53.70 82.74% 20.44 28.48% 6.26 10.44%

- เกมโทรศัพทเคลื่อนที ่ 9.06 14.93% 1.22 1.88% 2.51 3.50% 0.17 0.28%

รับจางพัฒนา 9.74 16.05% 4.89 7.53% 22.38 31.19% 5.33 8.89%

- เกมคอนโซล - 0.00% - 0.00% 17.68 24.64% 2.04 3.40%

- เกมคอมพิวเตอร 9.74 16.05% 4.89 7.53% 4.70 6.55% 3.30 5.50%

- เกมโทรศัพทเคลื่อนที ่ - 0.00% - 0.00% - 0.00% -

รวม 60.68 100.00% 64.90 100.00% 71.76 100.00% 59.98 100.00%

• แบงตามประเภทอุปกรณเครื่องเลน ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 รายไดจากการ

ใหบริการ ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

เกมคอนโซล - 0.00% 5.09 7.84% 44.11 61.47% 50.26 83.79%

- เพื่อจําหนาย - 0.00% 5.09 7.84% 26.43 36.83% 48.22* 80.39%

- รับจางผลิต - 0.00% - 0.00% 17.68 24.64% 2.04 3.40%

เกมคอมพิวเตอร 51.62 85.07% 58.59 90.28% 25.14 35.03% 9.56 15.92%

- เพื่อจําหนาย 41.88 69.02% 53.70 82.74% 20.44 28.48% 6.26 10.44%

- รับจางผลิต 9.74 16.05% 4.89 7.53% 4.70 6.55% 3.29 5.49%

Page 127: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 14

ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 รายไดจากการใหบริการ ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

เกมโทรศัพทเคลือ่นที ่ 9.06 14.93% 1.22 1.88% 2.51 3.50% 0.17 0.28%

- เพื่อจําหนาย 9.06 14.93% 1.22 1.88% 2.51 3.50% 0.17 0.28%

- รับจางผลิต - 0.00% - 0.00% - 0.00% -

รวม 60.68 100.00% 64.9 100.00% 71.76 100.00% 59.98 100.00%

* รวมรายไดของธุรกิจสถาบันพัฒนาทักษะบนเครื่องเลนเกมคอนโซล

ในป 2549 รายไดจากการใหบริการของกลุมบริษัทจะมาจากการพัฒนาเกมสําหรับคอมพิวเตอร และ

โทรศัพทเคลื่อนที่ ในสัดสวนประมาณรอยละ 85.07 ตอรอยละ 14.93 และโดยกลุมลูกคาหลักของกลุมบริษัทใน

ป 2549 ไดแกผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ และ Pocket PC ชั้นนํา อาทิเชน ACER, HP, Nokia,

Samsung และ Sony Ericsson เปนตน โดยกลุมบริษัทจะทําสัญญาจําหนายแผนซีดีเกมหรือใหสิทธิในการ

ติดตั้งเกมของกลุมบริษัทลงในเครื่องคอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ และ Pocket PC กับผูผลิตเพื่อเปนการเพิ่ม

มูลคาใหแกสินคาและเปนการสงเสริมการขายผลิตภัณฑของผูผลิตดังกลาวภายในระยะเวลาที่กําหนดไวใน

สัญญา

สําหรับป 2550 การขยายตัวเพิ่มขึ้นของรายไดจากการใหบริการเปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของรายได

จากการพัฒนาเกมสําหรับคอมพิวเตอรเปนสําคัญ ประกอบกับกลุมบริษัทเริ่มทําการพัฒนาเกมคอนโซลเพิ่มขึ้น

ในขณะที่รายไดจากการพัฒนาเกมสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ปรับตัวลดลง โดยสัดสวนรายไดจากการพัฒนาเกม

สําหรับคอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่องคอนโซลในป 2550 อยูที่รอยละ 90.28 รอยละ 1.88 และรอยละ

7.84 ตามลําดับ ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของรายไดจากการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร เปนผลมาจากการทําสัญญา

จําหนายแผนซีดีเกมใหกับผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอรรายใหญรายหนึ่งซึ่งไดจัดการสงเสริมการขายโดยมอบแผน

ซีดีเกมของกลุมบริษัทใหกับลูกคาที่ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร

การขยายตัวเพิ่มขึ้นของรายไดคาบริการในป 2551 เปนผลจากการเขาสูธุรกิจการพัฒนาเกมคอนโซล

โดยกลุมบริษัทมีรายไดจากการพัฒนาเกมคอนโซลทั้งส้ิน 41.78 ลานบาทเพิ่มขึ้นจาก 5.09 ลานบาทในป 2550

ในขณะที่รายไดจากการพัฒนาเกมคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่มีแนวโนมลดลง โดยสัดสวนรายไดจาก

การพัฒนาเกมสําหรับคอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ เครื่องคอนโซลในป 2551 อยูที่รอยละ 35.03 รอยละ 3.50

และรอยละ 61.47 ตามลําดับ ทั้งนี้ ในป 2551 กลุมบริษัทมีการพัฒนาเกมคอนโซลจํานวน 35 เกม ทั้งในสวน

การนําเกมคอมพิวเตอรมาพัฒนาและปรับปรุงตอเนื่องและการพัฒนาเกมใหม โดยเกมคอนโซลที่สรางรายได

ใหแกกลุมบริษัทสูงสุด 3 ลําดับแรก ไดแก เกม Barbie Fashion show เกม Nursery Mania และเกม Ocean

Commander ตามลําดับ ซึ่งเกม Barbie Fashion Show และเกม Nursery Mania นั้น เปนการรับจางพัฒนา

ซอฟตแวรเกมใหแก Activision Value Publishing, Inc. และ Mindscape ซึ่งถือเปนผูจัดจําหนายเกมคอนโซล

ชั้นนําของโลก ในสวนของการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายนั้น กลุมบริษัททําการจําหนายเกมคอนโซล

ใหแกตัวแทนจําหนายเกมคอนโซลชั้นนําทั่วโลก เชน Zoo Games, Inc. และ THQ, Inc.เปนตน ดวยคุณลักษณะ

ของเกมคอนโซลนั้นจะเปนเกมที่มีรายละเอียดของกราฟก คุณภาพของชิ้นงาน และความซับซอนของโปรแกรมที่

เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเกมคอมพิวเตอรและเกมโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหมูลคาการจําหนายตอเกมของกลุม

บริษัทมีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับการจําหนายเกมคอนโซลนั้นจะทําการจําหนายโดยใหสิทธิตัวแทน

Page 128: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 15

จําหนายทําการกระจายเกมในแตละภูมิภาค เชน ยุโรป อเมริกา ทําใหกลุมบริษัทสามารถทําการจําหนายเกม

เดียวกันใหแกตัวแทนจําหนายในภูมิภาคอื่นไดเพิ่มขึ้น

สําหรับป 2552 นั้น รายไดจากการใหบริการของกลุมบริษัทอยูที่ 59.98 ลานบาทการปรับตัวลดลง

เล็กนอยจาก 71.76 ลานบาทเมื่อเทียบกับป 2551 ซึ่งเปนผลกระทบจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจโลก

ประกอบกับการมุงเนนพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลมากกวาการพัฒนาซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร ดวย

วัตถุประสงคเพื่อการสรางผลการดําเนินงานที่ดี โดยกลุมบริษัทมีรายไดจากการพัฒนาเกมคอนโซล 50.26 ลาน

บาท และรายไดจากการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร 9.56 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 83.79 และรอยละ

15.92 ของรายไดจากการใหบริการ โดยในป 2552 กลุมบริษัทมีสัดสวนการพัฒนาซอฟตแวรในลักษณะรับจาง

ผลิตในสัดสวนรอยละ 8.89 โดยสวนใหญมาจากการรับจางพัฒนาเกม Paddle Pop ใหแก Unilever

ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 - 30 เมษายน กลุมบริษัทมีงานระหวางการพัฒนาในสวนของเกม

คอนโซลและเกมคอมพิวเตอร ตามรายละเอียดดงัตอไปนี้ ประเภทของโครงการ ประเภท

(Platform) ภูมิภาค ระยะเวลาที่คาดวา

จะสงมอบ

รับจางพัฒนาซอฟตแวร

PC

DS

PC

PC

ประเทศไทย

USA

USA

ประเทศไทย

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

พัฒนาซอฟตแวรเพื่อจําหนาย

DS

DS

PC

DS

USA

USA

USA

ไตรมาส 1

ไตรมาส 1

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

รวมมูลคางานระหวางพัฒนา (ลานบาท) 35-45 ลานบาท

รายไดจากการขาย

รายไดจากการขายของกลุมบริษัทปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง จาก 11.77 ลานบาทในป 2549 เปน

8.56 ลานบาท และ 9.08 ลานบาท ในป 2550 และ ป 2551 ตามลําดับ โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 16.01 รอยละ

10.99 และรอยละ 10.10 ของรายไดรวม ในชวงเวลาดังกลาวตาม

ทั้งนี้รายไดจากการขายสวนใหญของกลุมบริษัทเปนรายไดที่เกิดจากการขายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป

ใหแกรานคาหรือลูกคารายยอย โดยแผนซีดีเกมที่กลุมบริษัททําการจําหนายเปนแผนซีดีเกมสําเร็จรูปของ

ผูพัฒนาซอฟตแวรเกมชั้นนํา เชน Activision Blizzard, Inc. และ Walt Disney เปนตน โดยกลุมบริษัทจะไดรับ

สิทธิในการซื้อกลองหรือบรรจุภัณฑใสเกมสําเร็จรูปจากบริษัทดังกลาว และทําการผลิตแผนซีดีตามจํานวนที่

ไดรับ ทั้งนี้สาเหตุการลดลงของรายไดจากการขาย เปนผลจากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางธุรกิจของกลุมบริษัท

โดยการประกอบธุรกิจ นําเขา ผลิตและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูปนั้น บริษัทตองมีการจัดเก็บและดูแลสินคา

ใหเพียงพอตอความตองการของลูกคา รวมทั้งตองทําการบริหารชองทางการจําหนาย ประกอบกับตองเผชิญกับ

ปญหาการถูกละเมิดลิขสิทธิสําหรับเกมที่ไดรับความนิยม ดังนั้นกลุมบริษัทจึงลดบทบาทในการประกอบธุรกิจ

ดังกลาวลงตั้งแตป 2549 และจําหนายเงินลงทุนในบริษัท ไซเบอร แพลนเน็ต พับบลิชชิ่ง จํากัด ซึ่งเดิมเปนบริษัท

Page 129: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 16

ยอยของบริษัทเพื่อประกอบธุรกิจนําเขา ผลิตและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป ในป 2551 ใหแกบริษัท ซี-ทู

วิชช่ัน จํากัด ซึ่งถือเปนหนึ่งในผูจัดจําหนายเกมรายใหญของประเทศไทย และเปนบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับบริษัท

ทั้งนี้ รายไดจากการขายที่เกิดขึ้นในป 2550-2551 สวนใหญมาจากการจําหนายแผนซีดีเกมที่กลุมบริษัทเปน

ผูพัฒนาและการนําเขาลิขสิทธิ์เกมคอมพิวเตอรที่ยังคงเหลือ ทั้งนี้ปจจุบันกลุมบริษัทไมมีการผลิตแผนซีดีเกม

สําเร็จรูป หรือมีแผนซีดีเกมสําเร็จรูปเพื่อจัดจําหนาย อยางไรก็ตามในป 2552 กลุมบริษัทมีการจําหนายบัตร Tel

runner Card (บัตรเติมเงินเกม) ซึ่งบันทึกเปนสินคาคงคลังของกลุมบริษัทเปนเงินประมาณ 0.63 ลานบาท ทําให

ป 2552 กลุมบริษัทแสดงรายไดจากการขายอยูที่ 0.64 ลานบาท

รายไดอื่นๆ

รายไดอื่นๆ ของกลุมบริษัทมีมูลคาเทากับ 1.06 ลานบาท 4.47 ลานบาท 9.04 ลานบาท และ 6.38

ลานบาท ในป 2549 – 2552 ตามลําดับ

ในป 2551 รายไดอื่นๆ มีมูลคา 9.04 ลานบาท ประกอบดวย รายไดอื่นมูลคา 3.32 ลานบาท และกําไร

จากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอยมูลคา 5.73 ลานบาท โดยรายไดอื่นในป 2551 ไดแก เงินไดรับจากการที่

กลุมบริษัทชนะคดีฟองรองกรณีบริษัท ไทยซัมซุง อิเล็กทรอนิกส จํากัด ซึ่งถือเปนดอกเบี้ยรับตามคําส่ังศาลและ

คาธรรมเนียมศาลไดรับคืน 0.90 ลานบาท ดอกเบี้ยรับ 0.59 ลานบาท กําไรจากอันตราแลกเปลี่ยน 0.74 ลาน

บาท การปรับปรุงเจาหนี้ 0.32 ลานบาท และการปรับปรุงการบันทึกบัญชีอื่นๆ เชน เงินมัดจําคาเชาอาคาร ซึ่ง

ทําการบันทึกเปนคาใชจาย แตบริษัทไดรับคืนเมื่อยายออก เปนตน มูลคา 0.77 ลานบาท สําหรับรายการกําไร

จากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอยนั้น เกิดจากการที่กลุมบริษัททําการจําหนายเงินลงทุนในบริษัท ไซเบอร

แพลนเน็ต พลับบลิชิ่ง จํากัด (“CPP”) ที่ราคา 10 บาทตอหุน ซึ่งสูงกวามูลคาทางบัญชีของ CPP ณ วันที่ทําการ

จําหนายออกอยางไรก็ตาม กอนการปรับโครงสรางการดําเนินธุรกิจโดยการจําหนายเงินลงทุนใน CPP นั้น

บริษัทไดทําการซื้อสินทรัพยไมมีตัวตนจาก CPP อันไดแก โปรแกรม G3 เนื่องจากเล็งเห็นโอกาสในการนํามาใช

งานตอในอนาคต ที่ราคา 3.35 ลานบาทต่ํากวามูลคาทางบัญชีที่แสดงในงบ CPP เทากับ 7.99 ลานบาท

กอใหเกิดผลขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยที่ไมมีตัวตนแก CPP เปนมูลคา 4.64 ลานบาทสงผลตอเนื่องให

มูลคาทางบัญชีของ CPP มีการปรับตัวลดลง ทั้งนี้รายการขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนดังกลาว

แสดงในงบกําไรขาดทุนรวมของกลุมบริษัทที่มูลคา 4.64 ลานบาทดวยเชนกัน ดังนั้นเมื่อพิจารณาผลสุทธิ ที่

แสดงในงบกําไรขาดทุนรวมของกลุมบริษัทสําหรับรายการจําหนายเงินลงทุนใน CPP จึงมีมูลคาเทากับ 1.09

ลานบาท

ในสวนของรายไดอื่นๆ ของป 2552 มูลคา 6.38 ลานบาท ประกอบดวย ดอกเบี้ยรับ 1.77 ลานบาท

กําไรจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน 1.02 ลานบาท กลับรายการคาเผื่อดอยคาสินคาคงคลัง 0.82 ลาน

บาท และรายไดอื่น 2.76 ลานบาท ทั้งนี้รายการกําไรจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนอันเปนลักษณะการ

ประกอบธุรกิจปกติของกลุมบริษัท เกิดจากการที่กลุมบริษัททําการจําหนายลิขสิทธิในซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอร

จํานวน 30 รายการใหแกบริษัท ซี ทู วิชชั่น จํากัด เปนมูลคา 4.50 ลานบาทสูงกวาราคาตามบัญชีของลิขสิทธิ

ซอฟตแวรเกมคอมพิวเตอรดังกลาวที่ 3.48 ลานบาท กอใหเกิดผลกําไรซึ่งแสดงในงบกําไรขาดทุนเทากับ 1.02

ลานบาท ในสวนของรายไดอื่น 2.76 ลานบาทนั้น รายการหลักไดแก การปรับปรุงเจาหนี้บริษัทโอริซิส ไวรเลส

จํากัด มูลคา 1.85 ลานบาท โดยเจาหนี้รายดังกลาวเกิดขึ้นจากการพัฒนางานใหแกบริษัท ไทยซัมซุง

Page 130: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 17

อิเล็กทรอนิกส จํากัด ซึ่งมีปญหาในการจายชําระคางาน โดยเมื่อคดีฟองรองกับซัมซุงถึงที่สุด บริษัทไดรับชําระ

หนี้เพียงกึ่งหนึ่ง บริษัทจึงเจรจากับเจาหนี้รายดังกลาวในการชําระหนี้เพียงกึ่งหนึ่งเชนกัน

• ตนทุนในการขายและการใหบริการ

ตนทุนในการขายและการใหบริการของกลุมบริษัทสามารถแบงไดเปน 2 กลุมหลัก ตามลักษณะการ

ประกอบธุรกิจ โดยระหวางป 2549 – 2552 ตนทุนการขายและการใหบริการของกลุมบริษัทสามารถสรุปไดดังนี้ ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ตนทนุในการขาย

และการใหบริการ ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

พัฒนาเกม 37.69 81.39% 28.70 80.71% 28.86 78.13% 21.39 97.18%

นําเขาและจําหนายแผน

เกมสําเร็จรูป 8.62 18.61% 6.86 19.29% 8.62 23.00% 0.62 0.06%

รวม 46.31 100.00% 35.56 100.00% 37.48 100.00% 22.01 100.00%

% ตนทุนผลิตและบริการตอ รายไดของแตละธุรกิจ

- พัฒนาเกม 62.11% 44.22% 40.22% 35.66%

- นําเขาและจําหนาย

แผนเกมสําเร็จรูป 73.24% 80.14% 88.99% 96.04%

ธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม

ตนทุนพัฒนาซอฟตแวรเกม ประกอบดวยคาแรงงานในการพัฒนาและคาเสื่อมราคาของเครื่องมือและ

อุปกรณเปนหลัก ซึ่งคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 75 และรอยละ 25 ของตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกม

โดยรวม

ทั้งนี้ ในการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนาย กลุมบริษัทจะทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมและบันทึก

ตนทุนในการพัฒนาเกมแตละเกมเปนสินทรัพยที่ไมมีตัวตนและงานระหวางทํา โดยเมื่อทําการพัฒนาซอฟตแวร

เกมแลวเสร็จจึงจะทําการตัดจําหนายตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมเปนคาใชจายตัดจําหนาย ซึ่งแสดงใน

รายการตนทุนในการขายและการใหบริการ ซึ่งกลุมบริษัทกําหนดนโยบายในการตัดจําหนายตนทุนในการพัฒนา

เกมเปนคาใชจายตัดจําหนายในอัตราเสนตรงเปนระยะเวลา 3 ป และ 5 ป สําหรับเกมคอมพิวเตอร และเกม

คอนโซลตามลําดับ โดยระยะเวลาในการตัดจําหนายจะมีความสอดคลองกับวงจรอายุทางการตลาดของ

เครื่องเลนเกมแตละประเภท เนื่องจากซอฟตแวรเกมที่พัฒนาขึ้นจะสามารถจําหนายและมีรายไดอยางตอเนื่อง

จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของเครื่องเลนเกม อยางไรก็ตามกลุมบริษัทกําหนดใหมีการทดสอบการ

ดอยคาของสินทรัพยที่ไมมีตัวตนในแตละปเพื่อใหงบการเงินของกลุมบริษัทสะทอนสถานะทางการเงินที่แทจริง

ในสวนการรับจางพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น กลุมบริษัทจะตัดจําหนายตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมและรับรู

รายไดตามขั้นความสําเร็จของงานโดยจะสิ้นสุดเมื่อกลุมบริษัททําการสงมอบแผนตนฉบับใหแกลูกคา เนื่องจาก

ลิขสิทธิสําหรับซอฟตแวรเกมเปนของลูกคา โดยภาพรวมแลวการพัฒนาซอฟตแวรเกมในลักษณะการรับจาง

พัฒนาซอฟตแวรเกมจะมีอัตรากําไรขั้นตนอยูประมาณรอยละ 35 – 45 ของรายได

ทั้งนี้ในป 2549 – 2552 งบการเงินของกลุมบริษัทแสดงตนทุนในการพัฒนาเกมอยูที่ 37.69 ลานบาท

28.70 ลานบาท 28.86 ลานบาท และ 21.39 ลานบาทตามลําดับ โดยสัดสวนตนทุนในการพัฒนาเกมตอรายได

Page 131: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 18

ของธุรกิจดังกลาวในระหวางป 2549 – 2552 อยูที่รอยละ 62.11 รอยละ 44.22 รอยละ 40.22 และรอยละ 35.66

ตามลําดับ

การเปลี่ยนแปลงสัดสวนตนทุนในการขายและการใหบริการตอรายไดจากธุรกิจดังกลาวในแตละป จะ

มีสวนเกี่ยวเนื่องกับสัดสวนการพัฒนาซอฟตแวรเกมของแตละประเภทอุปกรณและรูปแบบการพัฒนาซอฟตแวร

เกม โดยเมื่อเปรียบเทียบการพัฒนาซอฟตแวรเกมในลักษณะการรับจางพัฒนาจะมีแนวโนมที่อัตรากําไรขั้นตน

ต่ํากวาการพัฒนาซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายสําหรับงวดที่มีการสงมอบงาน อยางไรก็ตามจากการที่การพัฒนา

ซอฟตแวรเกมเพื่อจําหนายจะบันทึกตนทุนตัดจําหนายในอัตราคงที่ในแตละงวดบัญชีทําใหอัตรากําไรขั้นตนของ

กลุมบริษัทอาจมีความผันผวนในกรณีที่กลุมบริษัทมิไดมีการสงมอบซอฟตแวรเกมใหแกลูกคาในงวดบัญชีนั้นๆ

และเมื่อเปรียบเทียบการพัฒนาซอฟตแวรเกมแตละประเภทอุปกรณแลวนั้น พบวาการพัฒนาซอฟตแวรเกม

สําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลนั้นมีแนวโนมที่จะมีตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมตอเกมที่สูงกวาซอฟตแวร

เกมสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร และโทรศัพทเคลื่อนที่ แตจากการที่ราคาจําหนายตอเกมที่สูงกวาซอฟตแวรเกม

ประเภทอื่น ประกอบกับระยะเวลาในการตัดจําหนายจากการลาสมัยของเทคโนโลยีที่ยาวนานกวา ทําใหการ

พัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซลมีแนวโนมที่จะมีอัตรากําไรขั้นตนสูงกวาการพัฒนาซอฟตแวร

เกมประเภทอื่น

ในป 2549 สัดสวนตนทุนพัฒนาเกมตอรายไดจากธุรกิจดังกลาวอยูที่รอยละ 62.11 ทั้งนี้เนื่องจากในป

2549 รายไดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัทสวนใหญเปนการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับ

คอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งมีอัตรากําไรขั้นตนในระดับต่ํา

สําหรับในป 2550 – 2552 ตนทุนในการพัฒนาเกมตอรายไดมีการปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องจากป

2549 โดยมีสาเหตุหลัก 3 ประการ คือ

• การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยกลุมบริษัทมีการบริหารทรัพยากรบุคคล

ใน 2 ลักษณะ คือ การพัฒนาเกมโดยพนักงานของกลุมบริษัท (In house) หรือการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมโดยการวาจางผูประกอบการภายนอก (Outsource)

ในอดีตการพัฒนาซอฟตแวรเกมจะทําการพัฒนาโดยพนักงานภายในของกลุมบริษัท โดยจะทํา

การวาจางและสรรหาพนักงานที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการออกแบบซอฟตแวรโปรแกรม

ออกแบบการกราฟก และออกแบบการเคลื่อนไหวตางๆ อยางไรก็ตาม คาตอบแทนกลุมพนักงาน

ที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญดังกลาวมีอัตราคอนขางสูงและถือเปนคาใชจายคงที่ในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกม ทําใหกลุมบริษัทตองทําการบริหารเวลาในการผลิต และออกแบบเกมใหมีความ

เหมาะสม เพื่อใหสามารถใชทรัพยากรบุคคลที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

ณ 31 ธันวาคม 2549 กลุมบริษัทมีบุคคลากรในสวนของการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวร

โปรแกรมทั้งส้ินจํานวน 29 ทาน และลดลงเหลือ 23 ทาน ณ 31 ธันวาคม 2551 อยางไรก็ตามดวย

ลักษณะโดยทั่วไปของธุรกิจที่อาศัยความชํานาญเฉพาะตัวแตละบุคคล เมื่อบุคลากรมี

ประสบการณในการประกอบธุรกิจระยะหนึ่งแลวนั้น มักจะจัดตั้งบริษัทเพื่อดําเนินธุรกิจของตนเอง

กลุมบริษัทจึงมีการปรับเปล่ียนกลยุทธในการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยปรับเปลี่ยนจํานวน

พนักงานภายในของกลุมบริษัทใหสอดคลองกับปริมาณงาน และทําการวาจางผูประกอบการ

Page 132: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 19

ภายนอก (Outsource) เพื่อรับงานบางสวนของการผลิตซอฟตแวรเกม เชน งานออกแบบกราฟก

หรือการทําโปรแกรม ซึ่งสวนใหญผูประกอบการภายนอกจะเปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นของอดีต

พนักงานของกลุมบริษัท ทําใหสามารถเชื่อถือไดในเรื่องคุณภาพของชิ้นงาน อยางไรก็ตาม

เนื่องจากผูประกอบการภายนอกมักมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ประกอบกับกลุมบริษัทไมมี

นโยบายในการวาจางผูประกอบการรายใดรายหนึ่งทําการพัฒนาซอฟตแวรเกมใหแกกลุมบริษัท

ทั้งเกม ดังนั้น กลุมบริษัทจะกําหนดใหกระบวนการการประกอบชิ้นงานทําโดยหนวยงานภายใน

ของกลุมบริษัทเสมอ

การเปลี่ยนแปลงกลยุทธในการบริหารทรัพยากรบุคคลดังกลาว นอกจากชวยใหกลุมบริษัทมี

ตนทุนในการผลิตโดยรวมลดลงจากการลดลงของคาใชจายคงที่ในรูปเงินเดือนรายเดือนลดลง

แลว ยังทําใหกลุมบริษัทสามารถควบคุมคุณภาพของชิ้นงาน และระยะเวลาในการผลิตไดดียิ่งขึ้น

อีกดวย สงผลใหตนทุนการผลิตและบริการตอช้ินเกมของกลุมบริษัทลดลง

• การที่กลุมบริษัทมีประสบการณในการประกอบธุรกิจมาเปนเวลากวา 10 ป ทําใหมีความ

เชี่ยวชาญและความชํานาญในการพัฒนาซอฟตแวรเกม ตลอดจนมีการวิจัยและพัฒนาชุดคําส่ัง

(Source Code) และเครื่องมือ (Game Engine) ในการออกแบบและพัฒนาเกมสะสมไวอยาง

ตอเนื่อง ดังที่ไดมีการจดลิขสิทธิ์ไวจํานวน 3 รูปแบบ โดยแบงเปน ลิขสิทธิ์ในดานวรรณกรรม

จํานวน 20 รายการ ลิขสิทธิ์ในดานโสตทัศนวัสดุ จํานวน 179 รายการ และลิขสิทธิ์ดานศิลปกรรม

จํานวน 16 รายการ โดยกลุมบริษัทสามารถนําชุดคําส่ังและเครื่องมือตางๆ มาใชในการพัฒนา

เกมใหมไดเพิ่มขึ้น ทั้งในลักษณะการพัฒนาเกมตอเนื่องหรือการพัฒนาเกมในรูปแบบที่มีความ

คลายคลึงกัน ดังเชน กลุมบริษัทสามารถนําชุดคําส่ังสําหรับการเคลื่อนไหวในการแตงหนาที่

ทําการศึกษาและวิจัยในเกม Barbie Fashion Show มาปรับปรุงเพื่อใชในเกม Beauty Salon

หรือ การพัฒนาเกมภาคตอของเกม Paddle Pop The Pytrata ที่สามารถนํากราฟก การ

เคลื่อนไหวของตัวละครในเกมดังกลาวมาทําการปรับปรุงและเปลี่ยนฉาก หรือการพัฒนา

ปรับปรุงเกมคอมพิวเตอรเชน เกม Ocean Commander ใหสามารถใชงานบนเกมคอนโซลได

เปนตน ซึ่งการนําการสะสมชุดคําส่ัง เครื่องมือ ของการเคลื่อนไหว รูปแบบ หรือกราฟกของเกม ที่

มีการศึกษาและวิจัยพัฒนาไวแลวในอดีต จะสงผลใหกลุมบริษัทมีความรวดเร็วยิ่งขึ้นในการ

พัฒนาเกมออกสูทองตลาดในอนาคต โดยการลดลงของระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมแต

ละเกมนั้น จะสงผลกระทบโดยตรงตอการปนสวนคาแรงงานและคาเสื่อมราคาของเครื่องมือและ

อุปกรณตอเกม รวมทั้งมีสวนสนับสนุนการเพิ่มขึ้นของโอกาสในการหารายไดเพิ่มขึ้นของกลุม

บริษัทจากการที่กลุมบริษัทมีเกมที่ทําการพัฒนาแลวเสร็จออกสูตลาดเพิ่มขึ้นอีกดวย

• การเพิ่มขึ้นของศักยภาพในการพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัท ทําใหกลุมบริษัทมีการพัฒนา

เกมที่มีรายละเอียดของกราฟก การเคลื่อนไหว ความซับซอนของโปรแกรม และคุณภาพของ

ชิ้นงานที่เพิ่มขึ้นซึ่งจะสงผลโดยตรงตอมูลคาจําหนายตอเกม ทําใหกลุมบริษัทสามารถกําหนด

มูลคาการจําหนายที่สูงขึ้นไดมากกวาการเพิ่มขึ้นของตนทุนในการพัฒนาชิ้นงานจากความ

ซับซอนของงานที่เพิ่มขึ้น สงผลใหอัตรากําไรขั้นตนของกลุมบริษัทปรับตัวเพิ่มขึ้น

Page 133: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 20

ทั้งนี้ ความซับซอนและคุณภาพของชิ้นงานที่เพิ่มขึ้นของกลุมบริษัทสามารถจําแนกไดเปน 2

ลักษณะ กลาวคือ การพัฒนาซอฟตแวรเกมบนเครื่องเลนเกมที่มีความซับซอนของเทคโนโลยีและ

โปรแกรมเพิ่มขึ้น และการพัฒนาซอฟตแวรเกมบนเครื่องเลนเกมประเภทเดิมแตมีระดับคุณภาพ

ของเกมที่เพิ่มขึ้น

โดยในชวงป 2550-2552 กลุมบริษัทมุงเนนการพัฒนาซอฟตแวรเกมสําหรับเครื่องเลนเกม

คอนโซล จากเดิมที่สวนใหญเปนการพัฒนาเกมสําหรับคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งเกม

คอนโซลจะเปนเกมที่มีรายละเอียด ความคมชัด สมจริงของภาพ ความซับซอนของโปรแกรม และ

คุณภาพของชิ้นงานที่ สูงกวา ทําใหสามารถกําหนดมูลคาจําหนายไดสูงกวาเกมสําหรับ

คอมพิวเตอร และโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยในป 2551 มูลคาการจําหนายเฉลี่ยตอเกมคอมพิวเตอรจะ

อยูที่ประมาณ 0.50 – 1.00 ลานบาท ในขณะที่มูลคาการจําหนายเฉลี่ยตอเกมคอนโซลจะอยูที่

ประมาณ 1.00 - 2.50 ลานบาท โดยสําหรับงานในลักษณะการรับจางพัฒนามูลคางานอาจเพิ่ม

สูงถึง 5.00 ลานบาทตอเกม นอกจากนี้ในชวงปลายป 2551 กลุมบริษัทเริ่มมีการพัฒนาเกม

คอนโซลที่มีความรายละเอียดเพิ่มขึ้น จากในชวงแรกเกมคอนโซลที่พัฒนาสวนใหญเปนเกมที่

ปรับปรุงมาจากเกมคอมพิวเตอรซึ่งรายละเอียดของภาพ และการเคลื่อนไหวยังไมสมจริงมากนัก

ทําใหมูลคาการจําหนายตอเกมมีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้น สงผลใหอัตราสวนตนทุนขายและการ

ใหบริการตอรายไดมีแนวโนมลดลง

ทั้งนี้ตนทุนในการขายและการใหบริการตอรายไดเมื่อพิจารณาแตละไตรมาส อาจมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น

ซึ่งการแกวงตัวดังกลาวเปนตามลักษณะการดําเนินธุรกิจโดยทั่วไปของกลุมบริษัทซึ่งมีการตัดจําหนายสินทรัพย

ไมมีตัวตนอยางตอเนื่องในแตละงวดบัญชี

โดยในป 2553 กลุมบริษัทจะมีคาตัดจําหนายสําหรับสินทรัพยที่ไมมีตัวตนที่แสดง ณ ส้ินป 2552

เทากับ 21.58 ลานบาทหรือเฉลี่ยประมาณไตรมาสละ 5.39 ลานบาท ในขณะที่การรับรูรายไดจะเกิดขึ้นเมื่อกลุม

บริษัทมีการสงมอบงานใหแกลูกคา

ธุรกิจนําเขา ผลิตและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป

ตนทุนหลักในการขายและการใหบริการสําหรับธุรกิจนําเขา ผลิตและจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป จะ

ประกอบดวย ตนทุนคาสินคาในกรณีนําเขาแผนซีดีเกมจากผูผลิตตางประเทศ ตนทุนคาบรรจุภัณฑและคาผลิต

แผนซีดีเกมในกรณีที่กลุมบริษัทไดรับสิทธิในการจําหนาย หรือตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมและผลิตแผน

ซีดีเกมและบรรจุภัณฑในกรณีที่กลุมบริษัททําการพัฒนาเกมสําเร็จรูปดังกลาวเอง สัดสวนตนทุนในการผลิตและ

บริการรายไดจากธุรกิจดังกลาวในระหวางป 2549 – 2551 อยูที่รอยละ 73.24 รอยละ 80.14 และรอยละ 88.99

ตามลําดับ โดยการเพิ่มขึ้นของอัตราสวนดังกลาวในป 2550 และ 2551 เปนผลมาจากการที่กลุมบริษัทลด

บทบาทในธุรกิจดังกลาว จึงทําการเรงจําหนายสินคาคงเหลือในธุรกิจดังกลาว

Page 134: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 21

• คาใชจายในการขายและบริหาร

คาใชจายในการขาย

คาใชจายในการขายของกลุมบริษัท ประกอบดวยคาใชจายหลัก 4 กลุม ไดแก คาตอบแทนพนักงาน

ฝายขาย คานายหนาและคาคอมมิชชั่น คาสงเสริมการขาย และคาใชจายในการเดินทาง โดยคานายหนาและคา

คอมมิชช่ันถือสวนประกอบหลักของคาใชจายในการขาย ทั้งนี้คาใชจายในการขายของกลุมบริษัทสวนใหญเปน

คาใชจายที่ผันแปร แตอาจไมมีความสัมพันธโดยตรงกับรายไดในแตละงวดบัญชี ทั้งนี้เนื่องจากคาใชจายในการ

ขายสวนใหญจะเกิดขึ้นกอนการรับรูรายไดของกลุมบริษัท เชน คาใชจายในการเดินทางในการรวมงานแสดงเกม

ในตางประเทศเพื่อแนะนําสินคาของกลุมบริษัท คาประสานงานในการติดตอผูจัดจําหนายซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อกลุม

บริษัทไดรับสัญญาวาจางในการพัฒนาซอฟตแวรเกมจากลูกคา เปนตน

คาใชจายในการขายของกลุมบริษัทในป 2549 – 2552 มีมูลคาอยูที่ 7.26 ลานบาท 7.43 ลานบาท

9.55 ลานบาท และ 4.83 ลานบาทตามลําดับ โดยคิดเปนอัตราสวนรอยละ 10.01 รอยละ 10.12 รอยละ 11.81

และรอยละ 7.96 ของรายไดจากการขายและบริการของกลุมบริษัท

คาใชจายในการบริหาร

คาใชจายในการบริหารของบริษัท ประกอบดวย คาใชจายหลัก 4 กลุม ไดแก คาใชจายเกี่ยวกับ

พนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายสํานักงาน และคาใชจายอื่นๆ โดยคาใชจายเกี่ยวกับ

พนักงาน ถือเปนสวนประกอบหลักของคาใชจายในการบริหาร โดยมีสัดสวนประมาณรอยละ 40– 50 ของ

คาใชจายในการบริหารในแตละชวงเวลา ทั้งนี้คาใชจายในการบริหารของกลุมบริษัทสวนใหญในสัดสวน

ประมาณรอยละ 70-80 เปนคาใชจายคงที่

คาใชจายในการบริหารของกลุมบริษัทสําหรับป 2549 – 2552 มีมูลคาเทากับ 26.18 ลานบาท 30.39

ลานบาท 28.75 ลานบาท และ 22.19 ลานบาทตามลําดับ โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 36.13 รอยละ 43.40 รอย

ละ 37.60 รอยละ 36.60 และ ของรายไดจากการขายและบริการตามลําดับ

สัดสวนคาใชจายในการขายและบริหารตอรายไดจากการขายและบริการ สามารถแสดงไดดังนี้ ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552

คาใชจายในการขาย 10.01% 10.12% 11.81% 7.96%

คาใชจายในการบริหาร 36.13% 43.40% 37.60% 36.60%

รวม 46.14% 53.52% 49.41% 44.57%

มูลคา (ลานบาท) 33.43 39.32 39.94 27.02

การเพิ่มขึ้นของคาใชจายในการขายและบริหารของกลุมบริษัทในป 2550 เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้น

ของคาใชจายในการบริหารจากการตั้งคาเผื่อสําหรับการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือเปนมูลคา 2.48 ลานบาท

และตั้งคาเผื่อสําหรับการดอยคาของสินทรัพยไมมีตัวตนเปนมูลคา 2.56 ลานบาท

Page 135: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 22

ในป 2551 คาใชจายขายของกลุมบริษัทมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มขึ้นในสวนของคานายหนา

และคาคอมมิชชั่น และคาใชจายในการเดินทางไปตางประเทศจากการที่กลุมบริษัทขยายขอบเขตในการพัฒนา

ซอฟตแวรเกมไปยังเครื่องเลนเกมคอนโซลซึ่งลูกคาโดยสวนใหญอยูตางประเทศ อยางไรก็ตามกลุมบริษัทมี

สัดสวนคาใชจายบริหารเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดจากการขายและบริหารที่ลดลงจากการบริหารจัดการภายในที่

มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นทําใหการเติบโตของรายไดมีอัตราเพิ่มขึ้นสูงกวาการเพิ่มขึ้นของคาใชจายในการ

ดําเนินงาน ทําใหอัตราสวนคาใชจายในการขายและบริหารของกลุมบริษัทมีการปรับตัวลดลงจากป 2550

สําหรับป 2552 สัดสวนคาใชจายในการขายและบริหารตอรายไดรวมของกลุมบริษัทมีการปรับตัวลดลง ซึ่งเปน

ผลมาจากบริษัทลดบทบาทในธุรกิจนําเขาและจําหนายแผนซอฟตแวรเกม ซึ่งเปนธุรกิจที่มีตนทุนคาใชจายใน

การบริหารจัดการสูง ประกอบกับการปรับลดอัตราคานายหนาในการขาย และการบริหารการจําหนายที่ดีขึ้น

เนื่องจากกลุมบริษัทไดรับการยอมรับจากผูจัดจําหนายเกมและเปนที่รูจักของเพิ่มขึ้นในตลาดโลก ทําให

ระยะเวลาในการเจรจาการคาลดลง รวมทั้งสามารถติดตอซ้ือขายผานชองทางการสื่อสารอื่นๆ ไดเพิ่มขึ้น

• ความสามารถในการทํากําไร

จากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบธุรกิจโดยลดบทบาทในการประกอบธุรกิจผลิต นําเขา และ

จําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป และการขยายการดําเนินธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมไปยังเครื่องเลนเกมประเภท

คอนโซล ซึ่งมีแนวโนมที่จะมีอัตรากําไรขั้นตนที่สูงกวานั้น ทําใหผลประกอบการโดยภาพรวมของกลุมบริษัทมีการ

ปรับตัวเพิ่มขึ้น และสามารถแสดงผลการประกอบการที่มีผลกําไรจากการดําเนินงานไดตั้งแตป 2551 เปนตนมา

โดยใน 2549 และป 2550 กลุมบริษัทแสดงผลขาดทุนจากการดําเนินงานที่ (7.29) ลานบาทและ (1.41) ลาน

บาทตามลําดับ เปนผลมาจากการที่ในป 2549 – 2550 กลุมบริษัททําการพัฒนาซอฟตแวรโปรแกรมเกมสําหรับ

คอมพิวเตอรเปนหลัก ซึ่งเกมดังกลาวโดยทั่วไปจะมีอัตรากําไรขั้นตนในระดับที่ต่ํากวาเกมคอนโซล จากการที่มี

ราคาจําหนายตอเกมที่ต่ํากวา และมีอายุในการตัดจําหนายตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรเกมที่ส้ันกวา ในขณะ

ที่ตนทุนในการพัฒนาซอฟตแวรโปรแกรมของเกมทั้ง 2 ประเภทอาจมีความแตกตางกันไมมากนักสําหรับเกม

คุณภาพเดียวกัน นอกจากนี้ ในชวงเวลาดังกลาว กลุมบริษัทยังคงดําเนินธุรกิจผลิต นําเขาและจําหนายแผนซีดี

เกมสําเร็จรูป ซึ่งมีอัตรากําไรขั้นตนอยูในระดับต่ํา แตมีคาใชจายในการดําเนินงานที่คอนขางสูง ทั้งในสวน

คาใชจายในการทําการตลาด และการจัดเก็บสินคา อยางไรก็ตามจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบ

ธุรกิจ และการมุงเนนพัฒนาซอฟตแวรเกมคอนโซลเพิ่มขึ้นดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ทําใหในป 2551 และป

2552 กําไรจากการดําเนินงานของกลุมบริษัทเริ่มแสดงแนวโนมที่ดีขึ้น โดยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเปน 3.42 ลาน

บาทและ 11.59 ลานบาทตามลําดับ

Page 136: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 23

อัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไรของกลุมบริษัทระหวางป 2549 – 2552 สามารถแสดงได

ดังนี้ อัตรากําไร ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552

กําไรขั้นตน 36.08% 51.60% 53.63% 63.69%

กําไรจากการดําเนินงาน -10.07% -1.93% 4.23% 19.12%

กําไรสุทธิ* -9.62% -6.97% 9.93% 20.00% * คํานวณจากรายไดรวม

อัตรากําไรขั้นตนของกลุมบริษัทในป 2550 – 2552 มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากป 2549 อยางตอเนื่อง มา

อยูในระดับประมาณรอยละ 50 ของรายไดจากการขายและบริการในป 2550 – 2551 และปรับตัวเพิ่มขึ้นเปน

รอยละ 63.69ในป 2552 จากการที่กลุมบริษัทมีการขยายขอบเขตการประกอบธุรกิจไปยังการพัฒนาซอฟตแวร

เกมคอนโซลที่มีแนวโนมมีอัตรากําไรขั้นตนที่สูงกวาการพัฒนาซอฟตแวรเกมประเภทอื่น รวมทั้งการลดลงของ

ระยะเวลาในการพัฒนาซอฟตแวรเกมโดยเฉลี่ยจากการที่กลุมบริษัทมีการสั่งสมทรัพยสินไมมีตัวตนในรูปแบบ

ชุดคําส่ังและเครื่องมือตางๆ ซึ่งมีสวนชวยใหสามารถพัฒนาซอฟตแวรเกมที่มีลักษณะคลายคลึงกันไดรวดเร็ว

ยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีผลโดยตรงตอตนทุนการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ในสวนของอัตรากําไรจากการดําเนินงานของกลุมบริษัทระหวางป 2549 – 2552 นั้น มีการปรับตัว

เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจากการบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทําใหกลุมบริษัทสามารถแสดงผล

กําไรจากการดําเนินงานไดในป 2551 ตอเนื่องมายังป 2552 ซึ่งมีอัตรากําไรจากการดําเนินงานเทากับรอยละ

4.23 และรอยละ 19.12 ตามลําดับ

จากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตรากําไรขั้นตนและอัตรากําไรจากการดําเนินงานตามสาเหตุดังที่ไดกลาว

มาแลวขางตน ประกอบกับการที่กลุมบริษัทมีผลสุทธิระหวางรายไดอื่นๆ และคาใชจายอื่นๆ โดยในป 2551 เปน

มูลคาเทากับ 6.85 ลานบาท (รายไดอื่นๆ 9.05 ลานบาท และคาใชจายอื่นๆ 2.19 ลานบาทอันไดแกรายการหนี้

สงสัยจะสูญโอนกลับและรายการขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน) และในป 2552 เปนมูลคาเทากับ

3.26 ลานบาทตามลําดับ ทําใหกลุมบริษัทมีผลประกอบการที่ดีขึ้น และ โดยระหวางป 2549 – 2551 กลุมบริษัท

มีผลการดําเนินงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากที่มีผลขาดทุนสุทธิ 7.07 ลานบาทในป 2549 ลดลงเหลือขาดทุนสุทธิ

5.43 ลานบาทในป 2550 และสามารถแสดงผลการดําเนินงานที่เปนกําไรไดในป 2551 และป 2552 เปนมูลคา

9.04 ลานบาท และ 13.40 ลานบาทตามลําดับ ทําใหอัตรากําไรสุทธิตอรายไดรวมระหวางป 2549 – 2552

เทากับ รอยละ (9.62) รอยละ (6.97) รอยละ 9.93 และรอยละ 20.00 ตามลําดับ ทั้งนี้แมวาการปรับเพิ่มขึ้นของ

ผลกําไรสุทธิสวนหนึ่งมิไดเปนผลจากการดําเนินงานโดยตรงของกลุมบริษัท แตเปนผลมาจากการผลสุทธิของ

รายไดอื่นๆ และคาใชจายอื่นๆ ดังที่กลาวมาแลวขางตน อยางไรก็ตามในอนาคตผลกําไรจากการดําเนินงาน

โดยตรงของกลุมบริษัทมีแนวโนมที่จะปรับตัวเพิ่มขึ้น จากการลดลงของตนทุนในการพัฒนาตอเกมเนื่องจาก

ความสามารถและศักยภาพในการพัฒนาเกมที่รวดเร็วขึ้นของกลุมบริษัท ประกอบกับการบริหารและจัดการ

ภายในที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดย ในป 2551 และป 2552 กลุมบริษัทมีอัตรากําไรตอหุนเทากับ 0.05 บาทตอ

หุน และ 0.06 บาทตอหุนตามลําดับ (ราคาที่ตราไว 0.50 บาทตอหุน)

Page 137: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 24

2.2) ฐานะทางการเงิน

• สินทรัพย

สินทรัพยรวมของงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ณ ส้ินป 2549 - 2552 เทากับ 186.98 ลานบาท

177.47 ลานบาท 199.92 ลานบาท และ 215.23 ลานบาท ตามลําดับ ในขณะที่สินทรัพยรวมของงบการเงินรวม

ของกลุมบริษัท ณ ส้ินป 2550 – 2552 อยูที่ 158.19 ลานบาท 190.18 ลานบาท และ 199.77 ลานบาท

ตามลําดับ

โดยสวนประกอบหลักของสินทรัพยของกลุมบริษัทสามารถแสดงไดดังนี้

% ตอสินทรัพยรวม สินทรัพย

สิ้นป 2549* สิ้นป 2550 สิ้นป 2551 ป 2552

เงินสดและเงินฝากธนาคาร 0.41% 14.27% 9.69% 5.66%

ลูกหนี้การคา-สุทธิ 23.43% 25.87% 13.53% 16.41%

สินคาคงเหลือ-สุทธิ 5.30% 4.69% 0.48% 0.05%

สินทรัพยหมุนเวยีน 45.30% 46.18% 24.52% 24.09%

สินทรัพยที่ไมมีตัวตน-สุทธิ 17.73% 27.60% 36.90% 48.12%

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ 13.45% 19.04% 19.32% 17.03%

สินทรัพยไมหมุนเวียน 54.70% 53.82% 75.48% 75.91%

* ป 2549 : งบการเงินเฉพาะกิจการ

สวนประกอบของสินทรัพยของกลุมบริษัท มีการเปลี่ยนแปลงโดยสัดสวนของสินทรัพยหมุนเวียนมีการ

ปรับตัวลดลงจากรอยละ 46.18 ของสินทรัพยรวม ณ ส้ินป 2550 เหลือรอยละ 24.52 และรอยละ 24.09 ณ ส้ิน

ป 2551 และส้ินป 2552 ตามลําดับ ในขณะที่สัดสวนของสินทรัพยไมหมุนเวียนมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากรอยละ

53.82 ณ ส้ินป 2550 เปนรอยละ 75.48 และรอยละ 75.91 ณ ส้ินป 2551 และส้ินป 2552 ตามลําดับ ทั้งนี้มี

สาเหตุหลัก 3 ประการไดแก

• การลดลงของลูกหนี้การคา

จากการที่กลุมบริษัทใหความสําคัญกับการเรงรัดและติดตามหนี้สินที่คางชําระอยางเขมงวด

สงผลใหลูกหนี้การคาของกลุมบริษัทปรับตัวลดลง โดยในป 2551 กลุมบริษัทไดรับชําระหนี้จาก

ลูกหนี้ที่เกินกําหนดชําระจากการชนะคดีที่ฟองรอง และมีการเจรจาใหลูกหนี้ที่เกินกําหนดชําระทํา

การชําระหนี้ หรือทําการทยอยผอนชําระหนี้บางสวน สงผลใหสัดสวนลูกหนี้การคาของกลุมบริษัท

ปรับตัวลดลง

• การลดลงของสินคาคงคลัง

สินคาคงคลังของกลุมบริษัทประกอบดวยแผนซีดีเกมสําเร็จรูปสําหรับธุรกิจผลิต นําเขาและ

จําหนายแผนซอฟตแวรเกมสําเร็จรูป และซอฟตแวรเกมที่อยูระหวางการพัฒนาและยังไมไดสง

มอบของบริษัทยอยสําหรับธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกม ทั้งนี้บริษัทยอยของกลุมบริษัทจะทําการ

บันทึกซอฟตแวรเกมที่ยังไมไดสงมอบเปนงานระหวางทําที่แสดงในรายการสินคาคงคลัง เนื่องจาก

ลิขสิทธิ์ของซอฟตแวรเกมดังกลาวมิไดเปนของบริษัทยอย จากการเปลี่ยนแปลงโครงสรางการ

Page 138: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 25

ประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท โดยลดบทบาทลงในธุรกิจนําเขา ผลิตและจําหนายเกมสําเร็จรูป ทํา

ใหกลุมบริษัทไมตองทําการเก็บรักษาแผนซีดีเกมสําเร็จรูปไวสําหรับการจําหนาย ทั้งนี้ ตั้งแตป

2549 กลุมบริษัทมิไดมีการผลิตแผนซีดีเกมสําเร็จรูปเพิ่มเติม โดยทยอยจําหนายแผนซีดีเกม

สําเร็จรูปที่คงเหลืออยางตอเนื่องจนหมดในป 2551 พรอมทั้งการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอย

ที่ทําธุรกิจดังกลาว ทําใหสินคาคงคลังของกลุมบริษัทปรับตัวลดลงจากสัดสวนประมาณรอยละ

4.69 ของสินทรัพยรวม ณ ส้ินป 2550 เหลือรอยละ 0.06 ณ ส้ินป 2552

• การเพิ่มขึ้นของสินทรัพยที่ไมมีตัวตน

จากการขยายตัวของกลุมบริษัทอยางตอเนื่อง ทําใหกลุมบริษัทมีการผลิตและพัฒนาซอฟตแวร

เกม ชุดคําส่ังและเครื่องมือตางๆ เพิ่มขึ้นอยางมากเปนผลใหมูลคาสินทรัพยไมมีตัวตนของกลุม

บริษัทเพิ่มขึ้น

• สินทรัพยไมมีตัวตน

สินทรัพยไมมีตัวตนเปนสวนประกอบหลักของสินทรัพยของกลุมบริษัทและเปนทรัพยสินที่สําคัญในการ

ประกอบธุรกิจผลิตและพัฒนาเกม โดย ณ ส้ินป 2549 ของงบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพยไมมีตัวตนมีมูลคา

เทากับ 33.16 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 17.73 ของสินทรัพยรวม ในสวนงบการเงินของกลุมบริษัท ณ ส้ิน

ป 2550 -2551 และไตรมาส 2 ป 2552 สินทรัพยไมมีตัวตนมีมูลคาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจาก 43.66 ลานบาท ณ

ส้ินป 2550 เปน 70.18 ลานบาท และ 96.12 ลานบาท ณ ส้ินป 2551 และส้ินป 2552 ตามลําดับ หรือคิดเปน

สัดสวนรอยละ 27.60 รอยละ 36.90 และรอยละ 48.12 ของสินทรัพยรวมของกลุมบริษัท

ทั้งนี้ สินทรัพยไมมีตัวตนของกลุมบริษัท ประกอบดวย ซอฟตแวรเกมที่พัฒนาแลวเสร็จ และอยูระหวาง

การพัฒนา รวมทั้งชุดคําส่ัง (Source Code) และเครื่องมือในการพัฒนาเกมตางๆ (Game Engine) การเพิ่มขึ้น

ของสินทรัพยที่ไมมีตัวตนอยางมากในป 2551 เปนผลมาจากการขยายการประกอบธุรกิจไปยังการพัฒนาเกม

คอนโซลของกลุมบริษัท โดยในปดังกลาวกลุมบริษัทมีการพัฒนาเกมจํานวนทั้งส้ิน 38 เกม ซึ่งเปนเกมสําหรับ

เครื่องคอนโซลจํานวน 35 เกม

ในการประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟตแวรเกมนั้น ชุดคําส่ัง และเครื่องมือในการพัฒนาเกม ถือเปน

สินทรัพยสําคัญในการดําเนินงาน โดยชุดคําส่ังของซอฟตแวรเกมที่พัฒนาเสร็จสมบูรณแลวนั้น สามารถถูกนําไป

ประยุกตใชหรือปรับปรุงเปล่ียนแปลงเพื่อพัฒนาตอเปนซอฟตแวรเกมอื่นๆ ไดหลากหลาย ทําใหสามารถลด

ตนทุนและระยะเวลาในการผลิตของกลุมบริษัทในอนาคตได รายละเอียดสินทรัพยที่ไมมีตัวตนของกลุมบริษัท

สามารถแสดงไดดังนี้

มูลคา (ลานบาท)

สินทรัพยที่ไมมีตวัตน สิ้นป 2550 สิ้นป 2551 สิ้นป 2552

โปรแกรมคอมพิวเตอร 1.29 1.11 0.68

ซอฟตแวรเกมที่พัฒนาแลวเสร็จ 27.03 49.39 72.16

ซอฟตแวรเกมระหวางการพัฒนา 15.34 19.67 23.29 รวม 43.69 70.18 96.12

Page 139: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 26

กลุมบริษัทกําหนดนโยบายตัดจําหนายสินทรัพยที่ไมมีตัวตนโดยประเมินจากอายุการใชประโยชน และ

จะมีการประเมินการดอยคาของสินทรัพยที่ไมมีตัวตนทุกป โดยซอฟตแวรเกมที่พัฒนาและระหวางการพัฒนา

สําหรับเกมคอมพิวเตอร และเกมคอนโซลจะตัดจําหนายในระยะเวลา 3-5 ป และ 5 ป ตามลําดับ และโปรแกรม

คอมพิวเตอรจะทาํการตัดจําหนายในระยะเวลาไมเกิน 5 ป ทั้งนี้ สินทรัพยที่ไมมีตัวตน ณ ส้ินป 2552 จะมีการตัด

จําหนายในป 2553 - 2557 เปนมูลคา 21.58 ลานบาท 18.40 ลานบาท 15.97 ลานบาท 12.73 ลานบาท และ

4.15 ลานบาทตามลําดับ

• ลูกหนี้การคา

ลูกหนี้การคาของกลุมบริษัท ไดแก ผูจัดจําหนายเกมทั้งในประเทศและตางประเทศ ตลอดจนผูผลิต

เครื่องคอมพิวเตอร โทรศัพทเคลื่อนที่ หรือผูประกอบการที่ตองการใชเกมเปนส่ือในการประชาสัมพันธสินคา โดย

ลูกหนี้การคาของบริษัทที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ ส้ินป 2549 มีมูลคาเทากับ 43.82 ลานบาทคิดเปน

สัดสวนรอยละ 23.43 ของสินทรัพยรวม สําหรับงบการเงินของกลุมบริษัท ณ ส้ินป 2550 – 2552 มีลูกหนี้การคา

อยูที่ 40.92 ลานบาท 25.73 ลานบาทและ 32.78 ลานบาทตามลําดับ คิดเปนสัดสวนรอยละ 25.87 รอยละ

13.53 และรอยละ 16.41 ของสินทรัพยรวม ณ ชวงเวลาดังกลาวตามลําดับ การลดลงของลูกหนี้การคา อยาง

ตอเนื่องเปนผลจากการเรงรัดติดตามหนี้สิน ทําใหกลุมบริษัทไดรับชําระหนี้จากลูกหนี้ที่เกินกําหนดชําระ สงผล

ใหคุณภาพของลูกหนี้เมื่อพิจารณาจากอายุของหนี้แลวมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้น ดังจะเห็นไดจากหนี้ที่ยังไมถึง

กําหนดชําระและคางชําระไมเกิน 3 เดือนมีสัดสวนที่เพิ่มขึ้น ดังแสดงตามตารางขางลางนี้ โดยกลุมบริษัทมี

นโยบายในการใหระยะเวลาเครดิตสําหรับลูกคาภายในประเทศและลูกคาในตางประเทศเทากับ 60 วัน และ 120

วันตามลําดับ

สิ้นป 2549 สิ้นป 2550 สิ้นป 2551 สิ้นป 2552

ลานบาท

% ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท

%

ยังไมครบกําหนดชําระ 20.78 46.39% 4.65 9.58% 9.23 32.91% 23.89 62.51%

คางชําระ 0.00%

ไมเกิน 3 เดือน 6.24 13.93% 14.42 29.72% 4.45 15.86% 4.52 11.83%

3 - 6 เดือน 2.61 5.83% 1.92 3.96% 3.38 12.05% 3.86 10.10%

6 - 12 เดือน 3.26 7.28% 2.94 6.06% 2.59 9.23% 2.00 5.23%

มากกวา 12 เดือน 11.9 26.57% 24.59 50.68% 8.40 29.95% 3.94 10.31%

รวม 44.79 100.00% 48.52 100.00% 28.05 100.00% 38.22 100.00%

หัก: คาเผื่อ (0.51) (1.14%) (7.60) (15.66%) (2.32) (8.27%) (5.43) -14.21%

ลูกหนี้การคาสุทธิ 44.28 98.86% 40.92 84.34% 25.73 91.73% 32.78 85.77%

Page 140: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 27

ณ ส้ินป 2550 ลูกหนี้สวนใหญของกลุมบริษัทเปนลูกหนี้ที่เกิดจากการพัฒนาเกมคอมพิวเตอรเพื่อ

จําหนายใหแกผูประกอบการในประเทศ ซึ่งกลุมบริษัทมีนโยบายในการใหเครดิตการคาประมาณ 60 วันภายหลัง

จากการสงมอบตนฉบับ อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติแลวลูกคาจะทําการทดสอบการใชงานของโปรแกรม

ซอฟตแวรเกมขั้นสุดทายเพื่อใหม่ันใจในการใชงานอีกครั้ง รวมทั้งอาจมีการปรับปรุงแกไขรายละเอียดของ

ซอฟตแวรเกมเพิ่มเติม ทําใหการจายชําระเงินอาจมีความลาชากวากําหนดได

• ลูกหนี้การคาที่อยูในกําหนดชําระและคางชําระไมเกิน 3 เดือน ณ ส้ินป 2550 มีมูลคารวมทั้งส้ิน

19.07 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 39.30 ของลูกหนี้การคารวมของกลุมบริษัท โดยลูกคา

รายใหญที่ทําการจายชําระเกินกําหนดแตไมเกิน 3 เดือนเนื่องจากอยูระหวางการสอบทานการใช

งานของซอฟตแวรเกมขั้นสุดทาย ไดแก บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีมูลคา 9.09 ลานบาท

ซึ่งกลุมบริษัทจําหนายเกมใหแกบริษัทดังกลาวเพื่อใหลูกคาที่ใชบริการอินเตอรเน็ตบรอดแบนด

ของบริษัทดังกลาวสามารถดาวนโหลดเกมของกลุมบริษัทผานทางเว็บไซตที่ตั้งขึ้น

• ลูกหนี้การคาที่เกินกําหนดชําระเกินกวา 3 เดือน ณ ส้ินป 2550 มีมูลคาทั้งส้ิน 29.45 ลานบาท

หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 60.70 ของลูกหนี้รวมของกลุมบริษัท ซึ่งประกอบดวยลูกหนี้ 9 ราย โดย

เปนลูกหนี้หลัก 4 รายซึ่งมีมูลคาคงคางรวมทั้งส้ิน 25.45 ลานบาท ไดแก

- บริษัท ไทยซัมซุง อิเล็กทรอนิกส จํากัด และ บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดีย จํากัด ซึ่ง

ลูกหนี้ 2 รายดังกลาวอยูระหวางการดําเนินคดีฟองรอง โดยมีมูลหนี้คางชําระรวม

ทั้งส้ิน 13.05 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.89 ของลูกหนี้การคารวมของกลุม

บริษัท ทั้งนี้ บริษัท ไทยซัมซุง อิเล็กทรอนิกส จํากัด ไดทําการจายชําระหนี้คงคาง

มูลคา 10.27 ลานบาทใหแกกลุมบริษัทเรียบรอยแลวในป 2551 ในขณะที่บริษัท มี

เดีย ออฟ มีเดีย จํากัด ยังคงอยูระหวางการพิจารณาคดี ทั้งนี้ กลุมบริษัทไดมีการตั้ง

คาเผื่อสํารองหนี้สูญสําหรับบริษัท มีเดีย ออฟ มีเดีย จํากัด ในอัตรารอยละ 50 ของ

มูลหนี้ที่คางชําระ

- บริษัท ซี-ทู วิชชั่น จํากัด และบริษัท ซี พลัส เน็ตเวิรค จํากัด ซึ่งมีมูลหนี้คางชําระ

รวม 12.39 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 25.53 ของลูกหนี้การคารวมของ

กลุมบริษัท หนี้คางชําระดังกลาวเกิดขึ้นจากการจําหนายเกมคอมพิวเตอรที่บริษัท

เปนผูพัฒนาขึ้นและที่นําเขาจากตางประเทศ ทั้งนี้บริษัท ซี-ทู วิชชั่น จํากัด ไดทํา

การจายชําระหนี้คงคางใหแกกลุมบริษัทเรียบรอยแลวในป 2551 และบริษัท ซี พลัส

เน็ตเวิรค จํากัด ไดมีการเจรจาขอผอนจายชําระบางสวนในป 2551 และจะจาย

ชําระครบจํานวนภายในป 2552

สําหรับป 2551 นั้น กลุมบริษัทมีการขยายการประกอบธุรกิจไปยังการพัฒนาเกมสําหรับเครื่อง

คอนโซล ทําใหลูกหนี้การคาของกลุมบริษัทเปนลูกหนี้ตางประเทศอันไดแกตัวแทนจําหนายของผูผลิตเครื่อง

คอนโซลเพิ่มขึ้น กลุมบริษัทมีนโยบายการใหเครดิตการคากับลูกคาตางประเทศเปนระยะเวลา 120 วัน โดยใน

การประกอบธุรกิจนั้น เมื่อตัวแทนจําหนายไดรับตนฉบับของซอฟตแวรโปรแกรมจากกลุมบริษัทแลว จะสงให

ผูผลิตเครื่องคอนโซล เชน นินเทนโด โซนี่ ทําการตรวจสอบคุณภาพ และทดสอบการใชงานของซอฟตแวร

Page 141: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 28

โปรแกรมดังกลาว โดยผูจัดจําหนายสวนใหญจะรอใหซอฟตแวรเกมไดรับการอนุมัติใหทําการจําหนายไดกอน

การจายชําระเงินงวดสุดทายใหแกกลุมบริษัท ซึ่งระยะเวลาในการตรวจสอบคุณภาพและทดสอบการใชงานนั้น

จะประมาณ 1-4 เดือนขึ้นอยูกับรายละเอียดและความซับซอนของเกม ทําใหระยะเวลาในการเก็บชําระหนี้ของ

กลุมบริษัทอาจเกินกวากําหนดได โดย ณ ส้ินป 2551 กลุมบริษัทมีสัดสวนลูกหนี้การคาตามอายุหนี้ดังนี้

• ลูกหนี้การคาที่อยูในกําหนดชําระและคางชําระไมเกิน 3 เดือน ณ ส้ินป 2551 มีมูลคารวมทั้งส้ิน

13.68 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 48.77 ของลูกหนี้การคารวมของกลุม

• ลูกหนี้การคาที่เกินกําหนดชําระเกินกวา 3 เดือน ณ ส้ินป 2551 มีมูลคาทั้งส้ิน 14.37 ลานบาท

หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 51.23 ของลูกหนี้รวมของกลุมบริษัท ซึ่งเปนผลตอเนื่องจากป 2550

ณ ส้ิน ป 2552 คุณภาพของลูกหนี้ของกลุมบริษัทมีแนวโนมที่ดีขึ้น ดังจะเห็นไดจากสัดสวนของลูกหนี้

แบงตามอายุของหนี้ดังนี้

• ลูกหนี้การคาที่อยูในกําหนดชําระและคางชําระไมเกิน 3 เดือน ณ ส้ินป 2552 คิดเปนมูลคารวม

ทั้งส้ิน 28.41 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 74.33 ของลูกหนี้การคารวมของกลุมบริษัท

• สําหรับลูกหนี้การคาที่เกินกําหนดชําระเกินกวา 3 เดือน ซึ่งมีมูลคาทั้งส้ิน 9.80 ลานบาท คิดเปน

สัดสวนรอยละ 25.64 ลูกหนี้การคารวมของกลุมบริษัท

นโยบายการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7 /2552 ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 21 กันยายน 2552 กลุมบริษัทมีการ

กําหนดนโยบายในการตั้งสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยพิจารณาจากอายุหนี้ประกอบกับการพิจารณาลูกหนี้

แตละราย โดย หากลูกหนี้การคารายใดมีการเจรจาประนอมหนี้ โดยกําหนดเงื่อนไขในการผอนจายชําระภาระ

หนี้ หรืออยูระหวางการดําเนินคดีฟองรอง คณะกรรมการบริ ษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารพิจารณา

การตั้งสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้รายดังกลาว โดยการวิเคราะหสถานะลูกหนี้รายนั้นๆ ตาม

ความเหมาะสม

ณ ส้ินป 2552 กลุมบริษัทมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยใชการวิเคราะหสถานะของลูกหนี้การคา

จํานวน 1 ราย ไดแก บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดีย จํากัด ซึ่ง มีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวในอัตรารอยละ 50 ของ

มูลหนี้ เนื่องจากปจจุบันอยูระหวางการฟองรอง และผูบริหารของกลุมบริษัทยังเชื่อม่ันวามีแนวโนมที่จะไดรับ

ชําระหนี้ดังกลาว โดยในกรณีที่กลุมบริษัทตองทําการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในสวนที่คงคางอยูในมูลคา 1.39

ลานบาท นั้นจะทําใหกําไรสุทธิของกลุมบริษัทลดลงในมูลคาที่เทากัน

ในระหวางป 2550 – 2552 กลุมบริษัทมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเปนมูลคา 7.60 ลานบาท 2.32

ลานบาท และ 5.43 ลานบาทตามลําดับ โดยการลดลงของคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญระหวางป 2550 และ ป 2551

นั้น เกิดจากการรับชําระหนี้ของลูกหนี้ที่กลุมบริษัทมีการตั้งสํารองไว อันไดแก บริษัท ไทยซัมซุง อิเล็กทรอนิกส

จํากัด และลูกหนี้การคารายยอยอีก 2 ราย

Page 142: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 29

• เงินลงทุน

เงินลงทุนในบริษัทยอย

ณ ส้ินป 2551 และสิ้นป 2552 งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท มีเงินลงทุนในบริษัทยอยทั้งส้ิน

13.48 ลานบาท และ 21.66 ลานบาทตามลําดับ คิดเปนสัดสวนรอยละ 6.74 และรอยละ 10.05 ของสินทรัพย

รวมตามลําดับ การเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนในบริษัทยอยเปนผลมาจากการที่บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด มี

การเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 5.00 ลานบาท เปน 9.00 ลานบาทในเดือนมีนาคม 2552 ทั้งนี้บริษัทมีการตั้งดอย

คาเงินลงทุนเปนมูลคา 6.52 ลานบาท จากการเปรียบเทียบมูลคาเงินลงทุนกับมูลคาทรัพยสินสุทธิของบริษัท

ยอย โดยรายละเอียดเงินลงทุนในบริษัทยอยของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2552 สามารถแสดงไดดังนี้ สัดสวน

การลงทุน ทุนชําระแลว (ลานบาท)

คาเผื่อดอยคาเงินลงทุน

มูลคาเงินลงทุนสทุธ ิ

บจก. บลูวิซารด สตูดิโอ 99.99% 5.00 - 5.00

บจก . อิ นฟอร เ มติ ก ซ

พลัส

99.99% 12.025 2.75 9.33

บจก. แพลนเน็ต จี 99.99% 10.00 2.62 7.33

รวมเงินลงทุนในบริษัทยอย 5.37 21.66

เงินลงทุนทั่วไป

ณ ส้ินป 2551 และส้ินป 2552 กลุมบริษัทมีเงินลงทุนทั่วไปจํานวน 17.99 ลานบาท ซึ่งเปนเงินลงทุนใน

บริษัท ซี-ทูวิชั่น จํากัด จํานวน 1,800,000 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.02 ของทุนที่ออกและชําระแลวของ

บริษัท ซี-ทูวิชั่น จํากัด ทั้งนี้การลงทุนในบริษัทดังกลาว เปนผลสืบเนื่องจากการปรับโครงสรางการประกอบธุรกิจ

ของกลุมบริษัท โดยบริษัททําการจําหนายเงินลงทุนในบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต พับลิชชิ่ง จํากัด ซึ่งประกอบ

ธุรกิจการนําเขาและจําหนายเกม คิดเปนมูลคารวม 18.00 ลานบาท ใหแก บริษัท ซี-ทู วิชชั่น จํากัด และทําการ

ลงทุนในบริษัทดังกลาวแทน โดยบริษัท ซี-ทู วิชชั่น จํากัด ถือเปนผูจําหนายปลีกเกมคอมพิวเตอรรายใหญของ

ประเทศไทย โดยจําหนายเกมคอมพิวเตอรผานราน “ซีพลัสเน็ตเวิรค” ซึ่งกลุมบริษัทดังกลาวเปนเจาของมีจํานวน

สาขา 10 สาขาในกรุงเทพมหานคร และวางจําหนายในหางสรรพสินคาและรานคาอื่นๆ อาทิเชน เซ็นทรัลดีพารท

เมนตสโตร เดอะมอลลดีพารทเมนตสโตร ราน B2S เปนตน

• ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ของกลุมบริษัท ณ ส้ินป 2550 – 2552 อยูที่ 30.12 ลานบาท 36.75 ลาน

บาท และ 34.02 ลานบาทตามลําดับ โดยคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 18-20 ของสินทรัพยรวมตลอด

ชวงเวลาดังกลาว ทั้งนี้ สวนประกอบหลักของที่ดิน อาคาร และอุปกรณของกลุมบริษัท ไดแก ที่ดินและอาคาร

เลขที่ 67/2 สุขุมวิทซอย 8 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 106.50 ตารางวา

ซึ่งใชเปนที่ตั้งของสตูดิโอสําหรับพัฒนาเกมและอนิเมชั่นของกลุมบริษัท โดย ณ ส้ินป 2552 มีมูลคารวมประมาณ

26.21 ลานบาท

Page 143: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 30

• แหลงที่มาของเงินทุน

โครงสรางและแหลงที่มาของเงินทุนเพื่อการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท สามารถแสดงไดดังนี้

% ตอสินทรัพยรวม

สิ้นป 2549* สิ้นป 2550 สิ้นป 2551 สิ้นป 2552

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น 2.42% 4.49% 2.72% 4.46%

เจาหนี้การคา 10.38% 6.20% 3.46% 3.40%

รายไดรับลวงหนา 3.37% 0.63% 0.27%

หนี้สินหมุนเวียน 24.24% 17.38% 11.64% 9.64%

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ครบ

กําหนดเกินกวา 1 ป 7.11% 6.97% 4.96% 5.73%

หนี้สินไมหมุนเวียน 7.49% 7.27% 6.52% 5.73%

หนี้สินรวม 31.70% 24.65% 18.15% 15.37%

สวนของผูถือหุน 68.30% 75.35% 81.85% 84.63%

อัตราสวนหนี้สนิตอสวนของผูถือหุน 0.46 เทา 0.33 เทา 0.22 เทา 0.18 เทา

* ป 2549 : งบการเงินเฉพาะกิจการ

โครงสรางของเงินทุนของกลุมบริษัทถือไดวามีความมั่นคงสูง มีความเสี่ยงต่ํา ดังจะเห็นไดจาก

แหลงที่มาของเงินทุนสวนใหญของกลุมบริษัทเปนแหลงเงินทุนระยะยาว ซึ่งคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 80-

90 ของเงินทุนทั้งส้ินของกิจการ ทั้งนี้ ประมาณรอยละ 75-85 ของเงินทุนของกิจการจะมาจากสวนของผูถือหุน

โดยกลุมบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนในระดับต่ําอยูที่ประมาณ 0.46 เทาในป 2549 และปรับตัว

ลดลงเหลือ 0.18 เทา ณ ส้ินป 2552 ทั้งนี้ โครงสรางของเงินทุนของกลุมบริษัทถือไดวามีความสอดคลองกับ

แหลงที่ใชไปของเงินทุน โดยพิจารณาจากสวนประกอบของสินทรัพย ซึ่งสวนใหญเปนสินทรัพยไมหมุนเวียนใน

สัดสวนประมาณรอยละ 75 ของสินทรัพยรวม ณ ส้ินป 2551และ ส้ินป 2552

• หนี้สิน

ณ ส้ินป 2549 บริษัทมีหนี้สินรวมทั้งส้ิน 59.28 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 31.70 ของสินทรัพย

รวมของบริษัท สําหรับงบการเงินรวมของกลุมบริษัทหนี้สินรวมมีมูลคาลดลงอยางตอเนื่องจาก 38.99 ลานบาท

หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 24.65 ของสินทรัพยรวมของกลุมบริษัท ณ ส้ินป 2550 เปน 34.53 ลานบาทและ

30.71 ลานบาท ณ ส้ินป 2551 และส้ินป 2552 ตามลําดับ โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 18.15 และรอยละ 15.37

ของสินทรัพยรวมของกลุมบริษัท ทั้งนี้การลดลงของภาระหนี้สินของกลุมบริษัทเปนผลมาจากการลดลงของ

เจาหนี้การคาจากการที่กลุมบริษัทลดบทบาทในการดําเนินธุรกิจนําเขา ผลิต และจําหนายแผนซีดีเกมสําเร็จรูป

รวมทั้งการลดลงของเงินกูยืมจากสถาบันการเงินจากการทยอยชําระหนี้ตามกําหนดของกลุมบริษัท ทั้งนี้ภาระ

หนี้สินสวนใหญของบริษัทเปนหนี้สินหมุนเวียนระยะสั้น อันไดแก เจาหนี้การคา และเงินเบิกเกินบัญชีและเงิน

กูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเปนหลัก โดยกลุมบริษัทมีภาระหนี้ที่มีดอกเบี้ยในสัดสวนประมาณรอยละ 55

ของหนี้สินรวม

Page 144: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 31

• สวนของผูถือหุน

ณ ส้ินป 2549 – 2552 บริษัทมีสวนของผูถือหุน เทากับ 122.11 ลานบาท 119.20 ลานบาท 155.65

ลานบาท และ 169.06 ลานบาทตามลําดับ การเพิ่มขึ้นของสวนของผูถือหุนในป 2551 เปนผลมาจากการที่

บริษัททําการเสนอขายหุนเพิ่มทุนใหแก บริษัท เอเซีย อควิตี้ เวนเจอร จํากัด จํานวน 100,000 หุน(ราคาที่ตราไว

ตอหุน : 100 บาท) หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 9.09 ของทุนชําระแลวปจจุบันของบริษัท ที่ราคา 121.50 บาท

เปนผลใหทุนจดทะเบียนของบริษัทเพิ่มขึ้น 10 ลานบาทและมีสวนเกินมูลคาหุนเพิ่มขึ้น 21.50 ลานบาท

ประกอบกับในป 2551 กลุมบริษัทมีผลการดําเนินงานที่แสดงผลกําไร 9.04 ลานบาท ทําใหกําไรสะสมของบริษัท

ปรับตัวเพิ่มขึ้น สําหรับการเพิ่มขึ้นของสวนของผูถือหุนในป 2552 เปนผลมาจากการที่ผลการดําเนินงานกลุม

บริษัทที่เพิ่มขึ้น

• สภาพคลอง

กระแสเงินสด

ณ ส้ินป 2550 กลุมบริษัทมีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิเทากับ 21.41 ลานบาท โดยกลุมบริษัทมีกระแส

เงินสดไดมาจากกิจกรรมการดําเนินงาน และกิจกรรมลงทุน และมีกระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมการจัดหา

เงินทุน

กลุมบริษัทมีกระแสเงินสดไดมาจากการดําเนินงานทั้งส้ิน 15.46 ลานบาท ทั้งนี้แมวาในปดังกลาวกลุม

บริษัทจะมีผลขาดทุนจากการดําเนินงาน แตเนื่องจากลักษณะการประกอบธุรกิจสวนใหญคาใชจายมิไดจายใน

รูปกระแสเงินสด ซึ่งในป 2550 เปนมูลคาทั้งส้ิน 22.56 ลานบาท ในสวนของกิจกรรมลงทุนนั้น ในป 2550 กลุม

บริษัทมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนทั้งส้ิน 9.01 ลานบาท โดยเปนการรับชําระคืนเงินใหกูยืมและดอกเบี้ย

คางรับจากบุคคลที่เกี่ยวของกัน 25.69 ลานบาท และใชไปในการผลิตและพัฒนาเกมและซื้อทรัพยสินถาวรเปน

มูลคา 11.33 ลานบาท และ 7.69 ลานบาทตามลําดับ สําหรับกิจกรรมจัดหาเงินนั้นกลุมบริษัทมีกระแสเงินสดใช

ไปทั้งส้ิน 3.07 ลานบาทเปนผลมาจากการจายชําระคืนเงินกูยืมกรรมการและสถาบันการเงิน

ณ ส้ินป 2551 กลุมบริษัทมีกระแสเงินสดลดลงสุทธิเทากับ 4.15 ลานบาท โดยกลุมบริษัทมีกระแสเงิน

สดไดมาจากกิจกรรมการดําเนินงานและกิจกรรมการจัดหาเงิน และมีกระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุน

ทั้งนี้ กิจกรรมการดําเนินงานมีกระแสเงินสดไดมาสุทธิ 38.74 ลานบาท จากการที่กลุมบริษัทมีผลกําไร

จากการดําเนินงาน 9.13 ลานบาท ประกอบกับในป 2551 กลุมบริษัทมีรายการปรับปรุงคาใชจายที่มิไดจายใน

รูปกระแสเงินสดรวมทั้งส้ิน 19.49 ลานบาท โดยสวนใหญของคาใชจายดังกลาวเปนคาตัดจําหนายสินทรัพยไมมี

ตัวตนจากการผลิตและพัฒนาเกมซึ่งแฝงอยูในตนทุนการผลิตและบริการ อีกทั้ง ในป 2551 กลุมบริษัทให

ความสําคัญในการเรงรัดติดตามหนี้ที่เขมงวดเพิ่มขึ้น ทําใหไดรับชําระหนี้จากลูกหนี้ที่เกินกําหนดชําระ และชนะ

คดีในการฟองรองกับลูกหนี้รายหนึ่ง เปนผลใหลูกหนี้การคาของกลุมบริษัทลดลง 18.13 ลานบาท ในสวนของ

กิจกรรมการจัดหาเงิน ซึ่งมีกระแสเงินสดไดมาสุทธิ 28.10 ลานบาทนั้น เปนผลจากการเพิ่มทุนจํานวน 100,000

หุนใหแก บริษัท เอเซีย อควิตี้ เวนเจอร จํากัด ในราคาหุนละ 121.50 บาท เปนมูลคาทั้งส้ิน 31.50 ลานบาท

ในขณะที่กิจกรรมลงทุน มีกระแสเงินสดใชไปทั้งส้ิน 70.99 ลานบาท ซึ่งเปนการลงทุนในสินทรัพยที่ไมมีตัวตน

เพิ่มขึ้น 51.29 ลานบาท และมีเงินลงทุนในอาคารและอุปกรณเพิ่มขึ้น 11.48 ลานบาท โดยสวนใหญเปนการ

กอสรางและปรับปรุงอาคารสตูดิโอในการพัฒนาซอฟตแวรเกมของกลุมบริษัท

Page 145: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 32

ณ ส้ินป 2552 กลุมบริษัทมีกระแสเงินสดลดลงสุทธิ 7.12 ลานบาท เปนผลมาจากมีกระแสเงินสดไดมา

จากการดําเนินงาน 10.06 ลานบาท กระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุน 18.88 ลานบาท และกระแสเงินสด

ไดมาในการจัดหาเงินทุน 1.70 ลานบาท โดยสวนใหญของกระแสเงินสดที่ใชไปเกิดจากการพัฒนาซอฟตแวรเกม

ซึ่งถือเปนสินทรัพยไมมีตัวตนของบริษัทที่เพิ่มขึ้น

อัตราสวนสภาพคลอง

กลุมบริษทัมีอัตราสวนสภาพคลอง (Current Ratio) ณ ส้ินป 2550 – 2552 อยูที่ระดับประมาณ 2.11 –

2.66 เทาตลอดชวงเวลาดังกลาว ทั้งนี้กลุมบริษัทถือไดวามีสภาพคลองในการประกอบธุรกิจอยูในเกณฑที่ดี

คาตอบแทนผูสอบบัญชี

ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2552 ในวันที่ 10 กุมภาพันธ 2552 และที่ประชุมสามัญประจําป

2552 ในวันที่ 22 เมษายน 2552 มีมติอนุมัติแตงตั้ง นายชนันกรณ สถิรประภากุล หรือ นางอรวรรณ อัศนียา

นนท หรือ นางขวัญตา สมจิตชอบ ผูสอบบัญชี แหงบริษัท แกรน ออดิท จํากัด เปนผูสอบบัญชีของกลุมบริษัท

เพื่อตรวจสอบงบการเงินของบริษัทและบริษัทยอยสําหรับป 2551 และ 2552 ตามลําดับ โดยมีคาตอบแทนของ

ผูสอบบัญชีในอัตรา 1,000,000 บาทตอป

ปจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลตอการดําเนินงานในอนาคต

• ปจจุบันกลุมบริษัททําการพัฒนาเกมสําหรับเครื่องเลนเกมคอนโซล โดยมุงเนนการจําหนายในภูมิภาคยุโรป

และอเมริกาเปนหลัก อยางไรก็ตาม ภูมิภาคเอเชีย ถือเปนอีกหนึ่งชองทางการจําหนายที่สําคัญที่กลุมบริษัท

อยูระหวางการศึกษาการทําการตลาดในพื้นที่ดังกลาว โดยทั่วไปแลวการนําเกมที่ทําการพัฒนาไวแลว

จําหนายในภูมิภาคตางๆ นั้น ตนทุนหลักที่เพิ่มขึ้นจะเปนการพากยเสียง และคําส่ังที่ปรากฏบนหนาจอ

ในขณะที่ราคาจําหนายตอเกมในแตละภูมิภาคมิไดมีความแตกตางกันมากนัก ดังนั้นการพัฒนาซอฟตแวร

เกมและทําการจําหนายในหลายภูมิภาคจะมีสวนชวยใหความสามารถในการทํากําไรของกลุมบริษัทมี

แนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้น

• กลุมบริษัทมีการขยายการดําเนินธุรกิจไปยังธุรกิจสถาบันเสริมทักษะการเรียนรูสําหรับเด็ก ในไตรมาส 2 ป

2552 (รายละเอียดแสดงในหัวขอ 2.6 โครงการในอนาคต) ซึ่งดําเนินธุรกิจโดยบริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส

จํากัด โดยบริษัทถือหุนในบริษัทดังกลาวในอัตรารอยละ 99 ของทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัทดังกลาว

ทําใหผลการประกอบการของธุรกิจดังกลาวจะสะทอนอยูในงบการเงินรวมของกลุมบริษัท ดังนั้นการ

ขยายตัวเพิ่มขึ้นของรายไดและผลกําไรของกลุมบริษัทในอนาคต อาจมีความแตกตางจากผลประกอบการที่

แสดงในอดีตได

• บริษัทคาดวาจะมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับรองงบการเงินสอบทานงวด 3 เดือน ส้ินสุดวันที่

31 มีนาคม 2553 ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ทั้งนี้ผูบริหารของบริษัทแจงวารายไดและผลประกอบการที่

เกิดขึ้นในไตรมาส 1 ป 2553 ไมมีผลกระทบในทางลบตอการตัดสินใจลงทุนของผูถือหุน

Page 146: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2.12 หนา 33

• การเสนอขายหุนสามัญแกประชาชนจํานวน 60 ลานหุน คิดเปนมูลคา 30 ลานบาทในครั้งนี้ มีสัดสวนเปน

เปนรอยละ 21.43 ของทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลวภายหลังการเพิ่มทุนเพื่อเสนอขายแกประชาชน ดังนั้น

อัตราผลตอบแทนตาง ๆ ที่เปรียบเทียบกับสวนของผูถือหุนหรือจํานวนหุนของบริษัทจะลดลงรอยละ 21.43

ตามผลจากการเพิ่มทุนดังกลาว (Dilution effect) ซึ่งหากพิจารณากําไรสุทธิของป 2552 ตามงบการเงินรวม

แลว กําไรสุทธิจะลดลงจาก 0.06 บาทตอหุน (จํานวนหุนทั้งหมด 220.00 ลานหุน ราคาที่ตราไวหุนละ 0.50

บาทตอหุน) เปน 0.05 บาทตอหุน (จํานวนหุนทั้งหมด 280.00 ลานหุน ราคาที่ตราไวหุนละ 0.50 บาทตอ

หุน)

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

Page 147: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 1

สวนที่ 3

ขอมูลเกี่ยวกบัการเสนอขายหลักทรพัย

1. รายละเอียดของหลักทรัพยที่เสนอขาย

ผูเสนอขายหลักทรัพย คือ บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) มีชื่อเปน

ภาษาอังกฤษวา CyberPlanet Interactive Public Company Limited ที่ตั้งสํานักงานใหญ เลขที่ 999/9 อาคาร

ดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด ชั้นที่ 24 หองเลขที่ เอ็มแอล 2407 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน

กรุงเทพมหานคร ประสงคที่จะเสนอขายหุนสามัญของบริษัท โดยมีรายละเอียดการเสนอขายหลักทรัพยดังนี้

1.1 ลักษณะสําคัญของหลักทรัพยที่เสนอขาย

การเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนภายใตแบบแสดงรายการขอมูลฉบับนี้ เปนการเสนอขายหุน

สามัญเพิ่มทุนของ บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) มีรายละเอียดดังนี้

ประเภทหลักทรัพยที่เสนอขาย : หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด

(มหาชน)

จํานวนหุนออกใหมที่เสนอขาย : 60,000,000 หุน

มูลคาที่ตราไว : หุนละ 0.50 บาท

ราคาเสนอขายตอประชาชน : หุนละ 1.60 บาท

มูลคารวมของหุนใหมที่เสนอขาย : 96,000,000 บาท

หุนที่เสนอขายคิดเปนรอยละ : 21.43 ของจํานวนหุนที่เรียกชําระแลวทั้งหมดภายหลังการเสนอขายในครั้ง

นี้

ระยะเวลาเสนอขาย : ตั้งแตเวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น. ของวันที่ 11 – 13 พฤษภาคม 2553

สิทธิ ผลประโยชนและเงื่อนไขอื่น : หุนสามัญของบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) ที่

เสนอขายในครั้งนี้ จะไดรับสิทธิและผลประโยชนเทาเทียมกับหุนสามัญเดิม

ของบริษัท ทุกประการ

1.2 สัดสวนการเสนอขายหุน

การเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนทั้งหมดในครั้งนี้ เปนการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนผานผูจัด

จําหนายหลักทรัพย จํานวน 60,000,000 หุน ในราคาหุนละ 1.60 บาท ซึ่งมีสัดสวนการเสนอขาย เปนดังนี้

เสนอขายตอผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย : 2,000,000 หุน

เสนอขายใหกับผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพยและ/หรือนักลงทุนสถาบัน : 58,000,000 หุน

Page 148: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 2

การเสนอขายหุนในครั้งนี้ มิไดเสนอขายตอนักลงทุนรายยอยหรือประชาชนเปนการทั่วไป เนื่องจากจํานวนหุน

ที่เสนอขายในครั้งนี้มีจํากัดไมเพียงพอตอการเสนอขายตอประชาชนทั่วไปในวงกวาง

ทั้งนี้ ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายขอสงวนสิทธิในการใชดุลยพินิจในการเปลี่ยนแปลง

จํานวนหุนสามัญที่จัดสรรใหแกผูลงทุนแตละประเภทขางตน เพื่อใหการจองซื้อหุนสามัญครั้งนี้ประสบความสําเร็จใน

การขายสูงสุด

นิยามที่ใชพิจารณาประเภทของนักลงทุนมีดังตอไปนี้

ผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย หมายถึง บุคคลธรรมดา และ/หรือ นิติบุคคล ที่มี

ความสัมพันธทางธุรกิจอันดีกับ บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) เชน ลูกคา คูสัญญา

บริษัทคูคา สถาบันการเงินที่ติดตอ ผูใหคําปรึกษาทางธุรกิจ ผูใหการสนับสนุนขอมูลทางธุรกิจ ผูแนะนําลูกคาและ

ธุรกิจ ทั้งที่ติดตอในปจจุบัน ที่เคยติดตอ หรือผูที่คาดวาจะได ติดตอ และพนักงานของผูมีอุปการคุณของบริษัท

รวมถึงพนักงานของบริษัท ทั้งนี้ไมรวมถึงกรรมการ ผูบริหาร ผูถือหุน รายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม บริษัทใหญ และผูที่

เกี่ยวของกันตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 70/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และ

วิธีการจัดจําหนายหลักทรัพย ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2552 และตามประกาศสํานักงาน ก.ล.ต. ที่ ทจ. 29/2551 เรื่องการ

จอง การจัดจําหนายหลักทรัพยและการจัดสรรหลักทรัพยที่ออกใหม ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (รวมถึงที่มีการแกไข

เพิ่มเติม) ซึ่งจองซื้อหุนผานผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย และ ผูจัดการรวมการจัดจําหนาย

และรับประกันการจําหนายตามที่ระบุไวในขอ 5.2

ผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพย หมายถึง บุคคลธรรมดา และ/หรือ นิติบุคคลทั่วไป ซึ่งมิใช

นักลงทุนสถาบันตามคําจํากัดความที่ระบุไวขางลาง แตเปนลูกคา คูสัญญา บริษัทคูคา ผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจ

หรือผูที่มีอุปการคุณไมวาทางตรงหรือทางออมของผูจัดจําหนายหลักทรัพย บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม และ

บริษัทที่เกี่ยวของ ตลอดจนผูถือหุนใหญ ผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุม หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลตาง ๆ ดังกลาว

ขางตน ทั้งที่ติดตอในปจจุบัน ที่เคยติดตอ หรือผูที่คาดวาจะไดติดตอ ซึ่งจองซื้อหุนสามัญผานผูจัดการการจัด

จําหนายและรับประกันการจําหนาย และ ผูจัดการรวมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ

5.2 ทั้งนี้ จะไมจัดสรรหุนที่เสนอขายใหแกตนเอง ผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุมบริษัทใหญ บริษัทยอย

ของตนเอง และผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว และจะไมจัดสรรหุนสามัญที่เสนอขายใหแกบุคคลที่บริษัทถูกหามมิให

จัดสรรหุน และจะจัดสรรตามดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 โดยการจัดสรรใหแก

บุคคลใด ในจํานวนมากนอยเทาใด หรือจะปฏิเสธการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใด จะพิจารณาตามขนาดของ

ผลประโยชนที่ไดรับ เคยไดรับ หรือคาดวาจะไดรับตอจากบริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ

ตลอดจนผูถือหุนใหญหรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลตาง ๆ ดังกลาวขางตน

นักลงทุนประเภทสถาบัน หมายถึง ผูลงทุนประเภทสถาบันหรือที่มีลักษณะเฉพาะดังตอไปนี้

1. ธนาคารพาณิชย

2. บริษัทเงินทุน

3. บริษัทหลักทรัพยเพื่อเปนทรัพยสินของตนเอง หรือเพื่อการบริหารกองทุนสวนบุคคล หรือเพื่อการจัดการ

โครงการลงทุนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร

4. บริษัทเครดิตฟองซิเอร

5. บริษัทประกันภัย

6. สวนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะ

Page 149: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 3

จัดตั้งขึ้น

7. ธนาคารแหงประเทศไทย

8. สถาบันการเงินระหวางประเทศ

9. กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

10. กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ

11. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

12. กองทุนรวม

13. ผูลงทุนตางประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผูลงทุนตาม (1) ถึง (12) โดยอนุโลม

1.3 สิทธิ ผลประโยชน และเงื่อนไขอื่น

หุนสามัญของบริษัทที่เสนอขายจํานวน 60,000,000 หุนในครั้งนี้ มีสิทธิและผลประโยชนเทาเทียมกับหุน

สามัญเดิมของบริษัททุกประการ

1.4 ตลาดรองของหุนที่เสนอขาย

บริษัทจะนําหุนสามัญเพิ่มทุนไปจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยเอ็ม เอ ไอ ซึ่งบริษัท

ไดยื่นคําขออนุญาตและเอกสารประกอบตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2552 ให

พิจารณารับหุนของบริษัทเปนหลักทรัพยจดทะเบียน โดยบริษัทจะดําเนินการใหรับหุนเปนหลักทรัพยจดทะเบียน

ตอไป ทั้งนี้บริษัท ฟนเน็กซ แอดไวเซอรี่ จํากัด ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินไดพิจารณาคุณสมบัติของบริษัทแลว

พบวา บริษัทมีคุณสมบัติครบถวนตามขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การรับหลักทรัพย

จดทะเบียนใน ”ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ” พ.ศ. 2546 ฉบับลงวันที่ 24 มีนาคม 2546 เวนแตคุณสมบัติเรื่องการ

กระจายการถือหุนใหแกนักลงทุนรายยอย ซึ่งบริษัทจะตองมีผูถือหุนสามัญรายยอยไมนอยกวา 300 ราย และถือหุน

รวมกันไมนอยกวา รอยละ 20 ของทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว และผูถือหุนดังกลาวแตละรายตองถือหุนไมนอยกวา

1 หนวยการซื้อขาย เมื่อบริษัทไดจําหนายหุนสามัญตอประชาชน ซึ่งทําใหบริษัทมีคุณสมบัติครบถวนตามเกณฑการ

กระจายหุนรายยอยแลว บริษัทจะดําเนินการใหรับหุนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนตอไป

2. ขอจํากัดการโอนหลักทรัพยที่เสนอขาย

หุนของบริษัท จะโอนไดโดยเสรี โดยไมมีขอจํากัดการโอน อยางไรก็ดี การโอนหุนสามัญของบริษัท จะกระทํามิได

หากวาการโอนหุนดังกลาวจะมีผลทําใหสัดสวนการถือหุนของบุคคลที่ไมใชบุคคลสัญชาติไทยในบริษัทมีจํานวนเกินกวารอยละ 49 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท

การโอนหุนของบริษัทจะสมบูรณเมื่อผูโอนไดสลักหลังใบหุน โดยระบุชื่อผูรับโอนลงลายมือชื่อของผูโอนกับผูรับโอน

และสงมอบใบหุนใหแกผูรับโอน การโอนหุนจะใชยันกับบริษัทได เมื่อบริษัทไดรับคํารองขอใหลงทะเบียนการโอนหุนแลว

แตจะใชยืนยันบุคคลภายนอกไดเมื่อบริษัท ไดลงทะเบียนการโอนหุนแลว โดยบริษัท จะลงทะเบียนการโอนหุนภายใน 14

วัน นับแตวันไดรับการรองขอนั้น หรือหากบริษัท เห็นวาการโอนหุนนั้นไมถูกตองสมบูรณ บริษัทจะแจงแกผูยื่นคํารองขอ

ภายใน 7 วัน การโอนหุนที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพยใหเปนไปตามกฎขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ

พระราชบัญญัติหลักทรพัยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535

Page 150: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 4

3. ที่มาของการกาํหนดราคาหลกัทรัพยที่เสนอขาย

การเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทในครั้งนี้เปนการเสนอขายหุนตอประชาชนเปนครั้งแรก จึงไมมีราคาตลาด

ของหลักทรัพยดังกลาว วิธีการกําหนดราคาเสนอขายในครั้งนี้ คือวิธีการเปรียบเทียบราคาตลาดที่สามารถอางอิงได

(Market Comparable) ดวยอัตราสวนราคาหุนตอกําไรสุทธิตอหุน (Price/Earnings Ratio: P/E) และอัตราสวนราคาหุนตอ

มูลคาตามบัญชีสุทธิตอหุน (Price/Book Value : P/BV)

การเสนอขายหุนสามัญของบริษัทในครั้งนี้ ณ ราคาเสนอขายที่ 1.60 บาท เมื่อเปรียบเทียบกับผลการดําเนินงาน

ของบริษัทประจําป 2552 ส้ินสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึ่งมีผลกําไรสุทธิเทากับ 13,402,167.79 บาท หรือคิดเปนกําไร

สุทธิตอหุนเทากับ 0.0479 บาทตอหุน (จํานวนหุนที่ใชในการคํานวณมาจากจํานวนหุนทั้งหมดภายหลังการเสนอขายหุน

สามัญเพิ่มทุนครั้งนี้ ซึ่งเทากับ 280 ลานหุน) ทําใหสามารถคํานวณคา P/E ของบริษัทไดเทากับ 33.40 เทา โดยคา P/E ของ

ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ ณ วันที่ 30 เมษายน 2553 มีคาเทากับ 16.69 เทา และเมื่อเปรียบเทียบกับมูลคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึ่งมีสวนของผูถือหุนเทากับ 169,055,524.23 บาท หรือคิดเปนมูลคาตามบัญชีตอหุนเทากับ

0.77 บาทตอหุน (จํานวนหุนที่ใชในการคํานวณเทากับ 220 ลานหุนมาจากจํานวนหุนกอนการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน

ในคร้ังนี้) และเทากับ 0.66 บาทตอหุน (จํานวนหุนที่ใชในการคํานวณเทากับ 280 ลานหุนมาจากจํานวนหุนทั้งหมด

ภายหลังการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ โดยมิไดทําการปรับปรุงสวนของผูถือหุนที่จะเพิ่มขึ้นจากการเกิดสวนเกิน

มูลคาหุน) ทําใหสามารถคํานวณคา P/BV ของบริษัทไดเทากับ 2.08 เทา และ 2.65 เทาตามลําดับ) โดยคา P/BV ของ

ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ ณ วันที่ 30 เมษายน 2553 มีคาเทากับ 1.49 เทา

ทั้งนี้อัตราสวนราคาหุนตอกําไรสุทธิตอหุนและอัตราสวนราคาหุนตอมูลคาตามบัญชีสุทธิดังกลาว คํานวณจากผล

ประกอบการและฐานะทางการเงินในอดีตโดยที่ยังไมไดพิจารณาถึงผลการดําเนินงานในอนาคต ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ

ประการหนึ่งที่นักลงทุนควรพิจารณากอนการตัดสินใจลงทุน

4. ราคาหุนสามญัในตลาดรอง

-ไมมี-

5. การจอง การจําหนายและการจัดสรร

ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจัดจําหนายขอสงวนสิทธิในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดวิธีการจองซื้อ

หุนและวิธีการจัดสรรหุนตามที่ระบุไวในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้ตามความเหมาะสม ในกรณีที่เกิดปญหา อุปสรรคหรือขอจํากัด

ในการดําเนินงาน ทั้งนี้ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกนักลงทุนอยางเปนธรรม และเพื่อใหการเสนอขายหุนครั้งนี้ประสบ

ความสําเร็จสูงสุด

5.1 วิธีการเสนอขายหลักทรัพย

การเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) ในครั้งนี้เปน

การเสนอขายโดยผานผูจัดจําหนายหลักทรัพย

Page 151: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 5

5.2 ผูจัดจําหนายหลักทรัพย

5.2.1 ผูจัดการการจดัจําหนายและรับประกันการจําหนาย

บริษัทหลักทรัพย ไอ วี โกลบอล จํากัด (มหาชน) เลขที่ 540 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร ชั้น 18

ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี

เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

5.2.2 ผูจัดการรวมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย บริษัทหลักทรัพย เคที ซีมิโก จํากัด เลขที่ 287 อาคารลิเบอรตี้สแควร ชั้น 15

ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

บริษัทหลักทรัพย พัฒนสิน จํากัด (มหาชน) เลขที่ 25 อาคารกรุงเทพประกันภัย ชั้น 15-17

ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120

บริษัทหลักทรัพย ฟนันเซีย ไซรัส จํากัด (มหาชน) เลขที่ 999/9 อาคาร ดิ ออฟฟสเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด ชั้น 18

ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

บริษัทหลักทรัพย บีฟท จํากัด (มหาชน) เลขที่ 191 อาคารสีลมคอมเพล็กซ ชั้น 16

ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500

บริษัทหลักทรัพย นครหลวงไทย จํากัด เลขที่ 999/9 อาคาร ดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด ชั้น 9

ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

5.3 เงื่อนไข และคาตอบแทนในการจัดจําหนายหลักทรัพย

5.3.1 เงื่อนไขในการจัดจําหนายหลักทรัพย

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) ไดตกลงมอบหมายใหผูจัดจําหนาย

หลักทรัพยตามที่ระบุในขอ 5.2 เปนผูดําเนินการจําหนายหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ซึ่งจะเสนอขายแก

ประชาชนจํานวน 60,000,000 หุน ตามราคาที่ปรากฏในขอ 1 ผูจัดจําหนายหลักทรัพยมีขอตกลงการ

Page 152: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 6

จําหนายหุนใหเปนไปตามเงื่อนไขที่ระบุไวในหนังสือสัญญาแตงตั้งผูจัดจําหนายหลักทรัพย โดยในการเสนอ

ขายครั้งนี้เปนการจัดจําหนายแบบรับประกันผลการจําหนายแบบแนนอนทั้งจํานวน (Firm Underwriting)

5.3.2 คาตอบแทนในการจัดจาํหนาย

บริษัทตกลงจายเงินคาตอบแทนการรับประกันการจําหนายและจัดจําหนาย ใหแกผูจัดการการจัด

จําหนายและรับประกันการจําหนาย ผูจัดการรวมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ผูประกันการ

จําหนายและจัดจําหนาย ผูจัดจําหนาย และตัวแทนผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 รวมเปน

เงินทั้งส้ินประมาณ 2,880,000 บาท โดยจะชําระภายใน 5 วัน นับแตวันปดการเสนอขาย

5.3.3 ประมาณการจํานวนเงนิคาหุนที่บริษัทจะไดรับ

หุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 60,000,000 หุน ในราคาหุนละ 1.60 บาท 96,000,000 บาท

หัก คาใชจายในการเสนอขายหลักทรัพย ประมาณ 4,017,176 บาท

จํานวนเงินคาหุนที่บริษัท จะไดรับประมาณ 91,982,824 บาท

จํานวนเงินคาหุนที่บริษัท จะไดรับตอหุน ประมาณ 1.53 บาท

5.4 ประมาณการคาใชจายในการเสนอขายหลักทรัพย *

คาธรรมเนียมคําขออนุญาตเสนอขายหุนที่ออกใหม* 50,000 บาท

คาธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการขอมูลเสนอขายหลักทรัพย* 82,176 บาท

คาธรรมเนียมการจดทะเบียนเพิ่มทุน 30,000 บาท

คาพิมพหนังสือช้ีชวน ใบจองซื้อหุน โดยประมาณ 100,000 บาท

คาธรรมเนียมการขออนุญาตใหรับหลักทรัพยเปนหลักทรัพยจดทะเบียน* 25,000 บาท

คาธรรมเนียมแรกเขาของการเปนหลักทรัพยจดทะเบียน* 50,000 บาท

คาธรรมเนียมการรับประกันการจําหนายและจัดจําหนาย 2,880,000 บาท

คาใชจายอื่น ๆ** โดยประมาณ 800,000 บาท

รวมคาใชจายทั้งส้ิน 4,017,176 บาท

หมายเหตุ : คาใชจายขางตนไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม

* ไมรวมคาธรรมเนียมรายป

**คาใชจายอื่น ๆ รวมถึง คาธรรมเนียมที่ปรึกษาทางการเงิน คาโฆษณา ประชาสัมพันธ เปนตน

5.5 วิธีการขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหลักทรัพย

สําหรับผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย

สามารถติดตอขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน ไดที่สํานักงานและสาขาของผูจัดการการ

จัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 โดยใบจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน สามารถรับไดตั้งแต

วันที่หนังสือชี้ชวนมีผลใชบังคับ จนถึงวันส้ินสุดการเสนอขาย และสําหรับหนังสือชี้ชวนสามารถรับไดตั้งแตวันที่

หนังสือชี้ชวนมีผลใชบังคับ เปนตนไป

Page 153: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 7

สําหรับผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพย

สามารถติดตอขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน ไดที่สํานักงานและสาขาของผูจัดจําหนาย

หลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 โดยใบจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน สามารถรับไดตั้งแตวันที่หนังสือชี้ชวนมีผลใชบังคับ

จนถึงวันส้ินสุดการเสนอขาย และสําหรับหนังสือช้ีชวนสามารถรับไดตั้งแตวันที่หนังสือช้ีชวนมผีลใชบังคับ เปนตนไป

สําหรับนักลงทุนประเภทสถาบัน

สามารถติดตอขอรับหนังสือชี้ชวนและใบจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน ไดที่สํานักงานและสาขาของผูจัดการการ

จัดจําหนายและรับประกันการจําหนายตามที่ระบุไวในขอ 5.2 โดยใบจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน สามารถรับไดตั้งแต

วันที่หนังสือชี้ชวนมีผลใชบังคับ จนถึงวันส้ินสุดการเสนอขาย และสําหรับหนังสือชี้ชวนสามารถรับไดตั้งแตวันที่

หนังสือชี้ชวนมีผลใชบังคับ เปนตนไป

ทั้งนี้ ประชาชน ผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย ผูมีอุปการคุณของผูจัดการการจัดจําหนายหรือ

ผูจัดจําหนาย และ นักลงทุนประเภทสถาบัน สามารถดาวนโหลด (Download) หนังสือชี้ชวนจาก Website ของ

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่ www.sec.or.th เพื่อศึกษารายละเอียดการเสนอ

ขายหุนสามัญครั้งนี้ไดกอนการจองซื้อหุนสามัญ

5.6 วิธีการจัดสรรหลักทรัพย

การจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) ในคร้ังนี้ ผูจัด

จําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 จะไมจัดสรรหุนที่เสนอขายใหแกตนเอง ผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมี

อํานาจควบคุมบริษัทใหญ บริษัทยอยของตนเอง และผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว และจะไมจัดสรรหุนสามัญที่

เสนอขายใหแกบุคคลที่บริษัทถูกหามมิใหจัดสรรหุน ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 70/2552

เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการจัดจําหนายหลักทรัพย ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2552 และประกาศคณะกรรมการ

กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ ทจ. 29/2551 เรื่องการจอง การจัดจําหนายหลักทรัพยและการจัดสรร

หลักทรัพยที่ออกใหม ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (รวมถึงที่มีการแกไขเพิ่มเติม) เวนแตเปนการจัดสรรหุนสามัญที่

เหลือจากการจองซื้อของผูจองซื้อหุนทั้งหมด

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) มีวัตถุประสงคในการจัดสรรหุนในครั้งนี้ โดยแบง

ออกเปน 2 สวน คือ (1) เสนอขายตอผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย จํานวน 2,000,000 หุน และ (2)

เสนอขายตอผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพย/นักลงทุนสถาบันจํานวน 58,000,000 หุน อยางไรก็ดี

ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย ขอสงวนสิทธิในการใชดุลยพินิจในการเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนที่

จดัสรรใหแกนักลงทุนในแตละประเภท เพื่อทําใหการจองซื้อหุนครั้งนี้ประสบความสําเร็จในการขายสูงสุด

อนึ่ง การจัดสรรหุนสามัญในครั้งนี้เปนการปฏิบัติเพื่อใหสอดคลองกับคุณสมบัติที่กําหนดตาม ขอ 5 (3) เรื่อง

การกระจายการถือหุนรายยอย ของขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การรับหุนสามัญหรือหุน

บุริมสิทธิเปนหลักทรัพยจดทะเบียน พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 22 มกราคม 2544 (รวมทั้งที่มีการแกไขเพิ่มเติม)

5.6.1 วิธีจัดสรรหุนสามัญใหแกผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย

การจัดสรรหุนใหแก ผู มีอุปการคุณของบริษัทและ /หรือบริษัทยอย ใหอยู ในดุลยพินิจของ

คณะกรรมการบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) โดยจะทําการจัดสรรใหแกบุคคลใด

ในจํานวนมากนอยเทาใดก็ได หรือปฏิเสธการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใดก็ได และหากยอดการจองซื้อหุนของผูมี

Page 154: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 8

อุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย ครบตามจํานวนที่กําหนดแลว ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามขอ 5.2

ขอสงวนสิทธิในการปดรับจองซื้อหุนสามัญของผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอยกอนครบกําหนด

ระยะเวลาการจองซื้อ

5.6.2 วิธีจัดสรรหุนสามัญใหแกผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพย

การจัดสรรหุนใหแกผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพย ใหอยูในดุลยพินิจของผูจัดจําหนาย

หลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 โดยจะทําการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใดในจํานวนมากนอยเทาใดก็ได หรือ

จะปฏิเสธการจัดสรรหุนใหแกบุคคลใดก็ได และหากยอดการจองซื้อหุนของผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนาย

หลักทรัพยครบตามจํานวนที่กําหนดแลว ผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามขอ 5.2 ขอสงวนสิทธิในการปดรับจอง

ซื้อหุนสามัญกอนครบกําหนดระยะเวลาการจองซื้อ

5.6.3 วิธีจัดสรรหุนสามัญใหแกนักลงทุนสถาบัน

การจัดสรรหุนใหแกนักลงทุนสถาบัน ใหอยูในดุลยพินิจของผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกัน

การจําหนาย ตามขอ 5.2.1 และหากยอดการจองซื้อหุนของนักลงทุนสถาบันครบตามจํานวนที่กําหนดแลว

ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายขอสงวนสิทธิในการปดรับจองซื้อหุนกอนครบกําหนด

ระยะเวลาการจองซื้อ

5.7 วิธีการจอง และการชําระเงินคาจองซื้อหลักทรัพย

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) ไดเปดบัญชีเพื่อรับเงินคาจองซื้อหุนในครั้งนี้โดยมี

รายละเอียด ดังนี้

ช่ือบัญชี "บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) เพ่ือ จองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน”

ธนาคาร บมจ.ธนาคารกสิกรไทย สาขายอยเซ็นทรัลเวิลด

บัญชีประเภท ออมทรัพย

เลขที่ 772-214-4451

ผูจองซื้อหุนที่ประสงคจะจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด

(มหาชน) จะตองจองซื้อหุนขั้นต่ําเปนจํานวน 100 หุน และทวีคูณของ 100 หุน โดยผูจองซื้อหุนจะตองปฏิบัติตาม

วิธีการดังตอไปนี้

(1) ผูจองซื้อ 1 ราย สามารถจองซื้อได 1 ใบจองตอ 1 ผูจัดจําหนายหลักทรัพยเทานั้น โดยผูจองซื้อตอง

กรอกรายละเอียดการจองซื้อในใบจองซื้อหุนใหถูกตองครบถวนและชัดเจน พรอมลงลายมือชื่อและ

ประทับตราบริษัท (ถามี) และแนบเอกสารประกอบการจองดังตอไปนี้

• ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย : สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนพรอมลงนามรับรอง

สําเนาถูกตอง หรือในกรณีที่ไมมีบัตรประจําตัวประชาชน ใหแนบสําเนาทะเบียนบานที่มีเลข

ประจําตัวประชาชน 13 หลัก หรือสําเนาเอกสารทางราชการอื่นที่มีเลขประจําตัวประชาชน 13

หลัก พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง (กรณีผูจองซื้อเปนผูเยาว จะตองแนบคํายินยอมของ

Page 155: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 9

ผูปกครอง (บิดา/มารดา) สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูปกครองที่ผูปกครองลงนามรับรอง

สําเนาถูกตอง และสําเนาทะเบียนบานที่ผูเยาวอาศัยอยูพรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตอง

• ผูจองซื้อประเภทบุคคลธรรมดาสัญชาติตางดาว : สําเนาใบตางดาวหรือหนังสือเดินทาง พรอมลง

นามรับรองสําเนาถูกตอง

• ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทย : สําเนาหนังสือรับรองที่ออกโดยกระทรวง

พาณิชยที่ออกไมเกิน 3 เดือนกอนวันจองซื้อ พรอมลงนามรับรองสําเนาถูกตองโดยผูมีอํานาจลง

นามของนิติบุคคลนั้นและประทับตราสําคัญของนิติบุคคล (ถามี) พรอมแนบสําเนาบัตรประจําตัว

ประชาชน สําเนาใบตางดาว หรือหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ของผูมีอํานาจลงนามของนิติ

บุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง

• ผูจองซื้อประเภทนิติบุคคลที่จดทะเบียนในตางประเทศ : สําเนาหนังสือสําคัญการจัดตั้งบริษัท

หนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับ และหนังสือรับรอง ที่ออกไมเกิน 3 เดือนกอนวันจองซื้อ พรอมลง

นามรับรองสําเนาถูกตองโดยผูมีอํานาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสําคัญของนิติ

บุคคล (ถามี) พรอมแนบสําเนาใบตางดาว หรือหนังสือเดินทาง (แลวแตกรณี) ของผูมีอํานาจลง

นามของนิติบุคคลดังกลาว พรอมรับรองสําเนาถูกตอง

(2) ผูจองซื้อตองชําระเงินคาจองซื้อหุนครั้งเดียวเต็มจํานวนที่จองซื้อ ณ วันจองซื้อ ตั้งแตเวลา 09.00 น.

ถึงเวลา 16.00 น. ของวันที่ 11 – 13 พฤษภาคม 2553 ดังนี้

• หากทําการจองซื้อในวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. และวันที่

12 พฤษภาคม 2553 ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึงเวลา 12.00 น. ผูจองซื้อจะตองชําระเงินคาจองซื้อ

ครั้งเดียวเต็มจํานวนที่จองซื้อ โดยชําระเปนเงินสด เงินโอน เงินโอนผานรายการโอนอัตโนมัติ

(Automatic Transfer System หรือ ATS) เช็ค หรือแคชเชียรเช็ค (หรือที่เรียกวา “เช็คธนาคาร”)

หรือ ดราฟท ที่สามารถเรียกเก็บเงินไดจากสํานักหักบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครไดภายใน 1 วัน

ทําการ โดยหากชําระเปนเช็ค แคชเชียรเช็ค หรือดราฟท ใหลงวันที่วันเดียวกันกับวันจองซื้อหุน

ทั้งนี้ การชําระเงินคาจองซื้อเปนเช็ค หรือแคชเชียรเช็ค หรือ ดราฟท ใหขีดครอมส่ังจายผูจัด

จําหนายหลักทรพัย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 พรอมทั้งเขียนชื่อ นามสกุล ที่อยูและเบอรโทรศัพทที่

ติดตอไดไวดานหลัง โดยบุคคลดังกลาวขางตน จะเปนผูทําการโอนเงินของยอดซื้อรวมในสวน

ของตนเขา “บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) เพื่อ จองซื้อหุนสามัญ

เพิ่มทุน”

• หากทําการจองซื้อในวันที่ 12 พฤษภาคม 2553 หลังเวลา12.00 น. และวันที่ 13 พฤษภาคม

2553 ตั้งแตเวลา 09.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. ผูจองซ้ือจะตองชําระเงินคาจองซื้อครั้งเดียวเต็ม

จํานวนที่จองซ้ือ โดยชําระเปนเงินสด เงินโอน เงินโอนผานรายการโอนอัตโนมัติ (Automatic

Transfer System หรือ ATS) เทานั้น

(3) ผูจองซื้อจะตองนําใบจองซื้อตามขอ 5.7(1) พรอมเงินคาจองซื้อหุนตามขอ 5.7(2) สงไปยังสํานักงาน

ของผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ตั้งแตเวลา 9.00 น.ถึงเวลา 16.00 น.ของวันที่ 11 –

13 พฤษภาคม 2553

Page 156: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 10

(4) ผูจองซ้ือที่ยื่นความจํานงในการจองซื้อหุนและดําเนินการตามขอ (3) แลวจะขอยกเลิกการจองซื้อหุน

และขอรับเงินคืนไมได ทั้งนี้ ผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 มีสิทธิยกเลิกการจอง

ซื้อหุนของผูจองซื้อรายที่กรอกขอความ และดําเนินการไมครบถวนตามขอ (1) – (3)

5.8 การจัดสรรในกรณีที่มีผูจองซื้อหุนสามัญเกินกวาจํานวนหุนสามัญที่เสนอขาย

5.8.1 สําหรับผูจองซื้อประเภทผูมีอุปการคุณของบริษัทและ/หรือบริษัทยอย

ในกรณีที่มีการจองซื้อหุนสามัญเกินกวาจํานวนหุนสามัญที่เสนอขายแกผูมีอุปการคุณของบริษัท

และ/หรือบริษัทยอย ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการของบริษัท

5.8.2 สําหรับผูจองซื้อประเภทผูมีอุปการคุณของผูจัดจําหนายหลักทรัพย

ในกรณีที่มีการจองซื้อหุนสามัญเกินกวาจํานวนหุนสามัญที่เสนอขายแกผูจัดจําหนายหลักทรัพย ให

อยูในดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุไวในขอ 5.2 ซึ่งดุลยพินิจของผูจัดจําหนายหลักทรัพยจะ

พิจารณาจากปจจัยไดแก ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพยผานผูจัดจําหนายหลักทรัพยหรือการมีธุรกิจที่

เกี่ยวของทางดานวาณิชธนกิจ หรือดานอื่น ๆ กับผูจัดจําหนายหลักทรัพย เปนตน

5.8.3 สําหรับผูจองซื้อประเภทนักลงทุนสถาบัน

ในกรณีที่มีการจองซื้อหุนสามัญเกินกวาจํานวนหุนสามัญที่เสนอขายแกนักลงทุนสถาบัน ใหอยูใน

ดุลยพินิจของผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายตามที่ระบุไวในขอ 5.2.1

5.9 วิธีการคืนเงินคาจองซื้อหุนสามัญ

5.9.1 ในกรณีที่ผูจองซื้อไมไดรับการจัดสรรหุนสามัญ

ผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 จะคืนเงินคาจองซื้อหุนโดยไมมีดอกเบี้ยหรือ

คาเสียหายใด ๆ ใหแกผูจองซื้อที่ไมไดรับการจัดสรรหุนสามัญ โดยสั่งจายเปนเช็คขีดครอมเฉพาะสั่งจายผูจอง

ซื้อตามชื่อที่ระบุไวในใบจองซ้ือ และจัดสงทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูของผูจองซื้อที่ระบุไวในใบจองซื้อ

หุนภายใน 14 วันนับจากวันปดการจองซื้อ ทั้งนี้ กรณีไมสามารถคืนเงินใหแกผูจองซื้อไดในกําหนดเวลา

ดังกลาว ผูจัดจําหนายหลักทรัพยรายที่มีหนาที่รับผิดชอบในการสงคืนเงินดังกลาว จะตองชําระดอกเบี้ยใหแก

ผูจองซื้อหุน ในอัตรารอยละ 7.5 ตอป โดยคํานวณจากจํานวนเงินคาจองซื้อหุนที่ไมไดรับการจัดสรรคืน นับ

จากวันพนกําหนดระยะเวลา 14 วัน จนถึงวันที่สามารถจัดสงได อยางไรก็ดี ไมวาในกรณีใด ๆ หากไดมีการสง

เช็คเงินคาจองซื้อหุนคืนทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูที่ระบุไวในใบจองซื้อหุนโดยถูกตองแลว ใหถือวาผู

จองซื้อไดรับเงินคาจองซื้อคืนแลวโดยชอบ และผูจองซ้ือจะไมมีสิทธิเรียกรองดอกเบี้ยหรือคาเสียหายใด ๆ อีก

ตอไป

5.9.2 ในกรณีที่ผูจองซื้อไดรับการจดัสรรหุนไมครบตามจํานวนหุนที่จองซื้อ

ผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 จะคืนเงินคาจองชื้อหุนสําหรับการจองซื้อหุนในสวน

ที่ไมไดรับการจัดสรรโดยไมมีดอกเบี้ยหรือคาเสียหายใด ๆ ใหแกผูจองซื้อที่ไดรับการจัดสรรหุนไมครบตาม

จํานวนหุนที่จองซื้อ โดยสั่งจายเปนเช็คขีดครอมเฉพาะสั่งจายผูจองซื้อตามชื่อที่ระบุไวในใบจองซื้อ และจัดสง

ทางไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูของผูจองซื้อที่ระบุไวในใบจองซื้อหุนภายใน 14 วันนับจากวันปดการจองซื้อ

ทั้งนี้ กรณีไมสามารถคืนเงินใหแกผูจองซื้อไดในกําหนดเวลาดังกลาว ผูจัดจําหนายหลักทรัพยรายที่มีหนาที่

Page 157: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 11

รับผิดชอบในการสงคืนเงินดังกลาวจะตองทําการชําระดอกเบี้ยใหแกผูจองซื้อหุน ในอัตรารอยละ 7.5 ตอป

โดยคํานวณจากจํานวนเงินคาจองซื้อหุนที่ไมไดรับการจัดสรรคืน นับจากวันพนกําหนดระยะเวลา 14 วัน

ดังกลาว จนถึงวันที่สามารถจัดสงได อยางไรก็ดี ไมวาในกรณีใด ๆ หากไดมีการสงเช็คเงินคาจองซื้อหุนคืนทาง

ไปรษณียลงทะเบียนตามที่อยูที่ระบุไวในใบจองซื้อหุนโดยถูกตองแลว ใหถือวาผูจองซื้อไดรับเงินคาจองซื้อคืน

แลวโดยชอบ และผูจองซื้อจะไมมีสิทธิเรียกรองดอกเบี้ยหรือคาเสียหายใด ๆ อีกตอไป

5.9.3 ในกรณีที่ผูจองซื้อไมไดรับการจดัสรรหุน เนือ่งจากปฏิบัติผิดเงื่อนไขการจองซื้อ และ/หรือ ธนาคารไมสามารถเรียกเก็บเงินคาจองซื้อหุนตามเช็คคาจองซื้อหุน

ผูจัดจําหนายหลักทรัพย ตามที่ระบุไวในขอ 5.2 จะดําเนินการคืนเช็คคาจองซื้อหุนใหแกผูจองซ้ือ

ดังกลาว โดยผูจองซื้อดังกลาวจะตองติดตอขอรับเช็คฉบับดังกลาวคืนจากผูจัดจําหนายหลักทรัพยตามที่ระบุ

ไวในขอ 5.2 ภายใน 14 วันนับจากวันปดการจองซื้อ

5.10 วิธีการสงมอบหลักทรัพย

ปจจุบัน บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด (“ศูนยรับฝากหลักทรัพย”) ไดตกลงรับหนาที่เปน

นายทะเบียนหุนใหกับบริษัท และใหบริการรับฝากหุนที่จองซื้อในการเสนอขายครั้งนี้ กลาวคือ ผูจองซ้ือสามารถใช

บริการของศูนยรับฝากหลักทรัพย และเขาสูระบบซื้อขายแบบไรใบหุน (Scripless System) ไดทันที ทั้งนี้เพื่อใหผูจอง

ซื้อสามารถขายหุนสามัญในตลาดหลักทรัพยไดทันทีที่ตลาดหลักทรัพยอนุญาตใหหุนสามัญของบริษัทเริ่มทําการซื้อ

ขายไดในตลาดหลักทรัพย ซึ่งแตกตางกับกรณีที่ผูจองซื้อประสงคจะขอรับใบหุน ซึ่งผูจองซื้อจะไมสามารถขายหุน

สามัญไดในตลาดหลักทรัพยจนกวาจะไดรับใบหุน

ดังนั้น ในการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ ผูจองซ้ือสามารถเลือกใหบริษัทดําเนินการในกรณีหนึ่งใน

สามกรณี ดังนี้

5.10.1 ในกรณีที่ผูจองซื้อไมประสงคขอรับใบหุน แตประสงคจะใชบริการของศูนยรับฝากหลักทรัพย โดยผู

จองซื้อประสงคที่จะฝากหุนสามัญไวในบัญชีของผูออกหลักทรัพยซึ่งผูจองซื้อมีบัญชีซื้อขาย

หลักทรัพยอยู กรณีนี้ บริษัทจะดําเนินการนําหุนสามัญที่ไดรับจัดสรรฝากไวกับ “บริษัท ศูนยรับฝาก

หลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อผูฝาก” และศูนยรับฝากหลักทรัพยจะบันทึกยอดบัญชีจํานวน

หุนสามัญที่บริษัทหลักทรัพยนั้นฝากหุนสามัญอยู ในขณะเดียวกันบริษัทหลักทรัพยนั้นก็จะบันทึก

ยอดบัญชีจํานวนหุนสามัญที่ผูจองซื้อฝากไว ภายใน 7 วันทําการนับจากวันปดการจองซื้อ ในกรณี

นี้ผูที่ไดรับการจัดสรรจะสามารถขายหุนสามัญที่ไดรับการจัดสรรในตลาดหลักทรัพยไดทันทีที่ตลาด

หลักทรัพยอนุญาตใหหุนสามัญของบริษัททําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพย

ในกรณีที่ผูจองซื้อเลือกใหบริษัทดําเนินการตามขอ 5.10.1 ช่ือของผูจองซื้อในใบจองซื้อจะตอง

ตรงกับช่ือเจาของบัญชีซื้อขายหลักทรัพย ที่ผูจองซื้อประสงคที่จะฝากหุนไวในบัญชีของบริษัท

หลักทรัพยดังกลาว มิฉะนั้นแลว บริษัทขอสงวนสิทธิ์ที่จะดําเนินการออกใบหุนใหแกผูจองซ้ือ ตาม

ขอ 5.10.3 แทน

5.10.2 ในกรณีที่ผูจองซื้อไมประสงคจะขอรับใบหุน แตประสงคจะใชบริการของศูนยรับฝากหลักทรัพย

โดยผูจองซ้ือประสงคที่จะฝากหุนไวในบัญชีของบริษัทหลักทรัพย สมาชิกหมายเลข 600 กรณีนี้

บริษัทจะดําเนินการนําหุนสามัญที่ไดรับการจัดสรรฝากไวกับศูนยรับฝากหลักทรัพย และศูนยรับ

Page 158: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 3 หนา 12

ฝากหลักทรัพยจะบันทึกยอดบัญชีจํานวนหุนสามัญตามจํานวนที่ผูจองซื้อไดรับการจัดสรรไวใน

บัญชีของบริษัทผูออกหลักทรัพย สมาชิกเลขที่ 600 และออกหลักฐานการฝากใหแกผูจองซื้อ

ภายใน 7 วันทําการ นับจากวันปดการจองซื้อ ในกรณีนี้ ผูที่ไดรับการจัดสรรจะสามารถขายหุน

สามัญที่ไดรับการจัดสรรในตลาดหลักทรัพยไดทันทีที่ตลาดหลักทรัพยอนุญาตใหหุนสามัญของ

บริษัททําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพย และหากผูจองซื้อตองการถอนหุนสามัญออกจากบัญชี

ของบริษัทผูออกหลักทรัพย สมาชิกเลขที่ 600 ผูจองซื้อสามารถติดตอไดที่ศูนยรับฝากหลักทรัพย

ซึ่งจะมีคาธรรมเนียมการถอนหุนสามัญตามที่ศูนยรับฝากหลักทรัพยกําหนด

5.10.3 ในกรณีที่ผูจองซ้ือประสงคจะขอรับใบหุนโดยใหออกใบหุนในชื่อของผูจองซื้อ บริษัทโดยศูนยรับ

ฝากหลักทรัพยจะสงมอบใบหุนตามจํานวนที่ไดรับการจัดสรรใหแกผูจองซื้อหุนสามัญทาง

ไปรษณียลงทะเบียนตามชื่อที่อยูที่ระบุไวในใบจองซื้อหุนภายใน 15 วันทําการ นับจากวันปดการ

จองซื้อ ในกรณีนี้ ผูจองซื้อที่ไดรับการจัดสรรจะไมสามารถขายหุนสามัญที่ไดรับการจัดสรรในตลาด

หลักทรัพยไดจนกวาจะไดรับใบหุน ซึ่งอาจจะไดรับภายหลังจากที่หุนสามัญของบริษัทไดเริ่มซื้อขาย

ในตลาดหลักทรัพย

Page 159: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 4 การรับรองความถูกตองของขอมูล

Page 160: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 4 หนา 1

สวนที ่4 การรับรองความถูกตองของขอมูล

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริหารของ

บริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเป

นเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา

(1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่ประกอบเปนสวนหนึ่งของแบบแสดงรายการขอมูล ไดแสดงขอมูล

อยางถูกตองและครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด

ของบริษัทและบริษัทยอยแลว

(2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดีเพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้ง

ควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว

(3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 22

เมษายน 2552 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและ

การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายในรวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอ

การจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย

ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองเปนชุดเดียวกัน

ขาพเจาไดมอบหมายให นายชนินทรเดช วานิชวงศ หรือ นายชนินทร วานิชวงศ ทานใดทานหนึ่งเปนผูลงลายมือชื่อ

กํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายชนินทรเดช วานิชวงศ หรือ นายชนินทร วานิช

วงศ ทานใดทานหนึ่งกํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว”

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ 1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ ประธานกรรมการ/

ประธานเจาหนาที่บริหาร

นายชนินทรเดช วานิชวงศ

2. นายชนินทร วานิชวงศ กรรมการ/กรรมการผูจัดการ นายชนินทร วานิชวงศ

3. นายไกรภพ แพงสภา

กรรมการ/

กรรมการบริหาร นายไกรภพ แพงสภา

4. นางสาวศิริรัตน จันดิษ

กรรมการบริหาร/ผูอํานวยการ

ฝายบัญชีและการเงิน นางสาวศิริรัตน จันดิษ

Page 161: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 4 หนา 2

ผูรับมอบอํานาจ

ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ ประธานกรรมการ/

ประธานเจาหนาที่บริหาร

นายชนินทรเดช วานิชวงศ 2. นายชนินทร วานิชวงศ กรรมการ/กรรมการผูจัดการ นายชนินทร วานิชวงศ

Page 162: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 4 หนา 3

สวนที ่4 การรับรองความถูกตองของขอมูล

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในหนังสือชี้ชวนฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะกรรมการบริษัท ขาพ

เจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวา ขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตอง

แจงในสาระสําคัญ

ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองที่เปนชุดเดียวกัน

ขาพเจาไดมอบหมายให นายชนินทรเดช วานิชวงศ หรือ นายชนินทร วานิชวงศ ทานใดทานหนึ่งเปนผูลงลายมือชื่อ

กํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายชนินทรเดช วานิชวงศ หรือ นายชนินทร วานิช

วงศ ทานใดทานหนึ่งกํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลไว”

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

1. ดร.โสรัชย อัศวะประภา ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการอิสระ ดร.โสรัชย อัศวะประภา

2.นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการตรวจสอบ/

กรรมการอิสระ นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา

3. นายวิลักษณ โหลทอง กรรมการตรวจสอบ/

กรรมการอิสระ นายวิลักษณ โหลทอง

4. นายวิชัย ควรสุวรรณ กรรมการ นายวิชัย ควรสุวรรณ

5. นายภาคภูมิ ภาคยวิศาล กรรมการ นายภาคภูมิ ภาคยวิศาล

6. นายอนันต ล้ีตระกูล กรรมการอิสระ

นายอนันต ล้ีตระกูล

ผูรับมอบอํานาจ

ชื่อ ตําแหนง ลายมือชื่อ

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ ประธานกรรมการ/

ประธานเจาหนาที่บริหาร นายชนินทรเดช วานิชวงศ

2. นายชนินทร วานิชวงศ กรรมการ/กรรมการผูจัดการ นายชนินทร วานิชวงศ

Page 163: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 4 หนา 4

สวนที่ 4 การรับรองความถูกตองของขอมูล

ขาพเจาในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ขอรับรองวา “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลใน

หนังสือช้ีชวนฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว

ถกูตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือ ไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ”

บริษัทฟนเน็กซ แอ็ดไวเซอรี่ จํากัด

ช่ือ-นามสกุล ตําแหนง ลายมือชื่อ

นาย วรชาติ ทวยเจริญ กรรมการ นาย วรชาติ ทวยเจริญ

นางสาวยุพดี รัตนศรีสมโภช กรรมการ นางสาวยุพดี รัตนศรีสมโภช

Page 164: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร และผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท

ขอมูลการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ ผูบรหิาร ในบริษัทยอย และบรษิัทรวม

Page 165: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 หนา 1

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท (สัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2553 )

ประวัติการทํางาน ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท* (%)

ความสัมพันธทางครอบครับระหวางผูบรหิาร ชวงเวลา ตําแหนงและสถานที ่

1. นายชนินทรเดช วานิชวงศ

ประธานกรรมการ

กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ผูกพันบริษัท

39 ปริญญาโท Master Management

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP) รุนที่ 26/2547

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

18.03 พี่ชายของ

นายชนินทร วานิชวงศ

2543 – ปจจุบัน

2541 – 2542

2537 - 2541

ประธานกรรมการ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ประธานเจาหนาที่บริหาร

บริษัท มิเลนเนียม เทเลคอม จํากัด

กรรมการผูจัดการ

บริษัท เซิรฟ อินฟอรมีเดีย จํากัด

2. นายชนินทร วานิชวงศ

กรรมการผูจัดการ

กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

ผูกพันบริษัท

32 ปริญญาโท การตลาด

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP) รุนที่ 70/2551

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

10.95 นองชายของ

นายชนินทรเดช วานิชวงศ

2543 – ปจจุบัน

2541 – 2542

2537 - 2541

กรรมการผูจัดการและผูอํานวยการฝายการตลาด

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทฟี จํากัด (มหาชน)

กรรมการ

บริษัท มิเลนเนียม เทเลคอม จํากัด

กรรมการ

บริษัท เซิรฟ อินฟอรมีเดีย จํากัด

3. นายไกรภพ แพงสภา

กรรมการและกรรมการบริหาร

36 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สถาบัน

บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP)

รุนที่ 72/2551

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

- -ไมม-ี 2551 - ปจจุบัน

2551-ปจจุบัน

2547-2549

2547-2549

2543-2551

กรรมการ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

กรรมการผูจัดการ

บริษัท แพงสภา จํากัด

ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด

กรรมการผูจัดการ

บริษัท อินฟอรเมติกซ พลัส จํากัด

ที่ปรึกษา

Cotton Council International Consultant

Page 166: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 หนา 2

ประวัติการทํางาน ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท* (%)

ความสัมพันธทางครอบครับระหวางผูบรหิาร ชวงเวลา ตําแหนงและสถานที ่

4. นายวิชัย ควรสุวรรณ

กรรมการ

57 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP) รุนที่ 82/2553

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

- -ไมม-ี 2552 –ปจจุบัน

2542- ปจจุบัน

กรรมการ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ผูชวยผูอํานวยการฝายจัดการกองทุนรวมลงทุน

บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม วรรณ จํากัด

5. นายภาคภูมิ ภาคยวิศาล

กรรมการ

31 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ/การเงิน

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

วุฒิบัตร Chartered Financial Analyst

(CFA) Level 1

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP) รุนที่ 80/2552

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

8.93 -ไมม-ี 2552 –ปจจุบัน

2552 –ปจจุบัน

2552 –ปจจุบัน

2552 –ปจจุบัน

2550-2552

2550-2552

2549

กรรมการ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อนิเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

กรรมการผูจัดการ

บริษัท โกลเบล็ก โฮลดิ้ง จํากัด

กรรมการ

บริษัท โกลเบล็ก แอ็ดไวเซอรี่ จํากัด

กรรมการ

บริษัท เอเชีย อิควิตี้ เวนเจอร จํากัด

ผูอํานวยการ

บริษัทหลักทรัพย ทิสโก จํากัด

ผูอํานวยการ

บริษัทหลักทรัพย ซิมิโก จํากัด (มหาชน)

ผูชวยผูอํานวยการ

บริษัทหลักทรัพย สินเอเซีย จํากัด

Page 167: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 หนา 3

ประวัติการทํางาน ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท* (%)

ความสัมพันธทางครอบครับระหวางผูบรหิาร ชวงเวลา ตําแหนงและสถานที ่

6. ดร. โสรัชย อัศวะประภา

กรรมการอิสระและประธาน

กรรมการตรวจสอบ

44 ปริญญาเอก ธุรกิจระหวางประเทศ

United States International

University

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP) รุนที่ 72/2551

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

- -ไมม-ี 2551-ปจจุบัน

2542-ปจจุบัน

2540-2542

2536-2539

กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ประธานเจาหนาที่บริหาร

บริษัท โมโน เจนเนอเรชั่น จํากัด

รองกรรมการผูจัดการ

บริษัท เอส พี อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ผูอํานวยการ

บริษัท ภัทรธนกิจ จํากัด (มหาชน)

7. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา

กรรมการอิสระและกรรมการ

ตรวจสอบ

37 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร

ผ านการอบรมหลั กสู ตร Director

Certification Program (DCP)

รุนที่ 19/2545 , หลักสูตร Audit

Committee Program (ACP) รุนที่

5/2548 และหลักสูตร Improving the

Quality of Financial Reporting

(QFR) รุนที่ 3/2549 จากสมาคม

สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

- -ไมม-ี 2551-ปจจุบัน

2549 - ปจจุบัน

2548-ปจจุบัน

2547– ปจจุบัน

2543-ปจจุบัน

2543-ปจจุบัน

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

กรรมการบริหาร

บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด

นายกสมาคม

สมาคมอสังหาริมทรัพยไทย

กรรมการผูจัดการ

บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)

กรรมการผูจัดการ

บริษัท ธนาคมและการพัฒนา

กรรมการบริหาร

บริษัท ไมเนอรอินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

Page 168: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 หนา 4

ประวัติการทํางาน ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท* (%)

ความสัมพันธทางครอบครับระหวางผูบรหิาร ชวงเวลา ตําแหนงและสถานที ่

8. นายวิลักษณ โหลทอง

กรรมการอิสระและกรรมการ

ตรวจสอบ

36 ปริญญาโทบริหารธุรกิจ

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร

ผานการอบรม Director Accreditation

Program (DAP) รุนที่ 2/2546

จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัทไทย

- -ไมม-ี 2551- ปจจุบัน

2549-ปจจุบัน

2549-ปจจุบัน

2548-ปจจุบัน

2545-ปจจุบัน

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เลขาธิการ

สมาคมนิตยสารแหงประเทศไทย

ประธานกรรมการ

บริษัท สยามสปอรตซินดิเคท จํากัด (มหาชน)

กรรมการ

บริษัท ไอ สปอรต จํากัด

ประธานกรรมการบริหาร

บริษัท อินสไพร เอนเตอรเทนเมนท จํากัด

9. นายอนันต ลี้ตระกูล 69 ปริญญาตรีพาณิชยศาสตรบัณฑิต

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- -ไมม-ี 2553-ปจจุบัน

2552-ปจจุบัน

2551-ปจจุบัน

2545-ปจจุบัน

2542-ปจจุบัน

กรรมการอิสระ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ประธานกรรมการ

บริษัท เอวิชั่น จํากัด

กรรมการ

บริษัท ดีทู ซิสเต็มส จํากัด

กรรมการ

บริษัท ดิจิตอล แอสโซซิเอทส จํากัด

กรรมการ

บริษัท เอโฮสต จํากัด

10. นางสาวศิริรัตน จันดิษ

ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน

และกรรมการบริหาร

35 ปริญญาโทสาขาการบัญชี

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- -ไมม-ี 2552-ปจจุบัน

2548-2551

กรรมการบริหาร

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ผูจัดการฝายบัญชี

Page 169: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 หนา 5

ประวัติการทํางาน ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิการศึกษา สัดสวนการถือหุนในบริษัท* (%)

ความสัมพันธทางครอบครับระหวางผูบรหิาร ชวงเวลา ตําแหนงและสถานที ่

2547-2548

2542-2547

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน)

ผูชวยผูจัดการแผนกบัญชี

บริษัท โทเทิ่ล แอ็กเซจคอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)

สมุหบัญชี

บริษัท แอพพลิเคชั่น โฮสติ้ง เซอรวิส จํากัด

11. นางสาวอริยา วงศวารี

ผูจัดการฝายบัญชี

33 ปริญญาโทสาขาการบัญชี

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- -ไมม-ี 2552-ปจจุบัน

2548-2552

ผูจัดการฝายบัญชี

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ผูจัดการ(ตรวจสอบบัญชี)

บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด

12. นางสุรีพร ศิริภราดร

ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการ

35 ปริญญาตรีสาขาบัญชี มหาวิทยาลัย

กรุงเทพ

- -ไมม-ี 2551- ปจจุบัน

2543-2551

2542-2543

2539-2542

ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการ

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ผูจัดการฝายบัญชี

บริษัท โกลบอล เอสเตท จํากัด

เจาหนาที่บัญชี

บริษัท มิลเลนเนียม เทเลคอม จํากัด

เจาหนาที่บัญชี

บริษัท เงินทุนหลักทรัพยธนนคร จํากัด (มหาชน)

13. นายสมศักดิ์ วงศสินสกุล

ผูอํานวยการฝายผลิต

29 ปริญญาตรีวิศวกรรมคอมพิวเตอร

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา

ลาดกระบัง

- -ไมม-ี 2546-ปจจุบัน

ผูอํานวยการฝายผลิต

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

ทั้งนี้บริษัทขอรับรองวา กรรมการและผูบริหารของบริษัทมีคุณสมบัติเปนไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยวาดวยเรื่องการขออนุญาตและการอนุญาตใหเสนอขายหุนที่ออกใหม

หมายเหตุ * เปนสัดสวนการถือหุนในบริษัทภายหลังการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนในครั้งนี้

Page 170: PROSPECTUS : 2009

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 หนา 6

ขอมูลการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ ผูบริหาร ในบริษัทยอย และบริษัทรวม

บริษัทยอย รายชื่อกรรมการและผูบริหาร

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต

อินเตอรแอคทีฟ จํากัด (มหาชน) บจก. แพลนเน็ต จี บจก. บลู วิซารด สตูดิโอ บจก. อินฟอรเมติกซ พลัส

นาย ชนินทรเดช วานิชวงศ X, /, // / / /

นาย ชนินทร วานิชวงศ /, //, /// / / /

นาย ไกรภพ แพงสภา /, //

นาย วิชัย ควรสุวรรณ /

นาย ภาคภูมิ ภาคยวิศาล /

ดร. โสรัชย อัศวะประภา XX, /

นาย กิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา XX, /

นาย วิลักษณ โหลทอง XX, /

นายอนันต ลี้ตระกูล /

นางสาว ศิริรัตน จันดิษ //, ///, V

นางสาว อริยา วงศวารี ///

นาง สุรีพร ศิริภราดร ///

นาย สมศักดิ์ วงศสินสกุล ///

นางสาวศศิวิมล เกิดผล /, ///

หมายเหตุ:

X = ประธานกรรมการ XX = กรรมการตรวจสอบ / = กรรมการ

// = กรรมการบริหาร /// = ผูบริหาร V = ผูอํานวยการฝายบัญชี

Page 171: PROSPECTUS : 2009

แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน

บริษัท ไซเบอรแพลนเน็ต อินเตอรแอคทีฟ จํากัด วันที่ 23 มีนาคม 2553

แบบประเมินนี้จัดทําโดยคณะกรรมการบริษัทซ่ึงเปนความเห็นของคณะกรรมการเกี่ยวกับ ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน

Page 172: PROSPECTUS : 2009

2

สวนท่ี 1 องคกรและสภาพแวดลอม (Organizational Control and Environment Measure) องคกรและสภาพแวดลอม หมายถึง การมีโครงสรางองคกรและสภาพแวดลอมที่ดีซึ่งเปนรากฐาน

ที่สําคัญของระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ตองสรางสภาวะหรือปจจัยตาง ๆ ซึ่งเอื้อใหระบบการควบคุมภายในดําเนินไปไดตามที่บริษัทมุงหวัง เปนการสรางบรรยากาศการควบคุมเพื่อสงเสริมใหทุกคนในบริษัทตระหนักถึงความจําเปนของระบบการควบคุมภายใน เชน การที่ฝายบริหารใหความสําคัญตอความซื่อสัตยสุจริตและจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ การจัดการโครงสรางขององคกรอยางเหมาะสม การกําหนดหนาที่อยางชัดเจน การมีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่เปนลายลักษณอักษร เปนตน

1.1 คณะกรรมการไดดูแลใหมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจที่ชัดเจนและวัดผลได เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของพนักงาน ใชหรือไม ใช ไมใช คณะกรรมการบริษัทไดดูแลใหมีการกําหนดเปาหมาย การดําเนินธุรกิจที่ชัดเจนและวัดผลได ไมวาจะเปนเปาหมายตาง ๆ ในการดําเนินธุรกิจและนโยบายตาง ๆ อีกทั้งยังสามารถเปนแนวทางเพื่อใหพนักงานยึดถือและปฏิบัติตามได 1.2 คณะกรรมการบริษัทไดทบทวนเปาหมายการปฏิบัติงานแลววา การตั้งเปาหมายไดดําเนินการอยางรอบคอบ และไดพิจารณาถึงความเปนไปไดของเปาหมายที่กําหนด ตลอดจนไดมีการวิเคราะหถึงการใหสิ่งจูงใจหรือผลตอบแทนแกพนักงานวาเปนไปอยางสมเหตุสมผล โดยไมมีการจูงใจหรือใหผลประโยชนตอบแทนที่เกินสมควรแกพนักงานในลักษณะที่อาจนําไปสูการกระทําทุจริตหรือประพฤติมิชอบ (เชน ตั้งเปาหมายยอดขายของบริษัทไวสูงเกินความเปนจริง ทําใหเกิดแรงจูงใจในการตกแตงตัวเลขยอดขาย เปนตน) ใช ไมใช คณะกรรมการบริษัทไดมีการพิจารณาทบทวนเปาหมายในการดําเนินธุรกิจและการบริหารงานตาง ๆ โดยจัดใหมีการประชุมทุก ๆ ไตรมาส เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และปรับแผนการดําเนินงานเพื่อใหไดผลเปนไปตามเปาหมายที่ไดกําหนดไว

Page 173: PROSPECTUS : 2009

3

1.3 บริษัทไดมีการจัดโครงสรางองคกรที่ชวยใหฝายบริหารสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ หรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดมีการจัดโครงสรางองคกรที่เหมาะสมกับการดําเนินงานของบริษัทฯ ทําใหสามารถบริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.4 บริษัทมีขอกําหนดเกี่ยวกับจริยธรรม (code of conduct) และขอกําหนดหามฝายบริหารและพนักงานปฏิบัติตนในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับกิจการเปนลายลักษณอักษร รวมทั้งบทลงโทษหากมีการฝาฝน หรือไม มี ไมมี บริษัทฯ ไดมีขอกําหนดในขอตกลงในการจางงานไวแลวเปนลายลักษณอักษรเพื่อมิใหพนักงานมีการปฏิบัติตนที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตอบริษัทฯ 1.5 บริษัทมีการจัดทํานโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษรในธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารทั่วไปที่รัดกุมและสามารถปองกันการทุจริตไดหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายและระเบียบวิธีการปฏิบัติงานอยางเปนลายลักษณอักษรครอบคลุมถึงการปฏิบัติดานการเงิน การบัญชี การจัดซื้อ จัดจาง การผลิต การบริหารทรัพยากรบุคคล การขายและการตลาด ตลอดจนไดมีการกําหนดโครงสราง อํานาจอนุมัติในเรื่องตาง ๆ อยางเปนลายลักษณอักษร 1.6 ในการกําหนดนโยบายและแผนการปฏิบัติงาน บริษัทไดคํานึงถึงความเปนธรรมตอคูคา เพื่อประโยชนของบริษัทในระยะยาว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดมีการดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตย ความรับผิดชอบ และความเปนธรรมตอคูคา เพื่อความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจในระยะยาวของบริษัทฯ

Page 174: PROSPECTUS : 2009

4

สวนท่ี 2 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) การประกอบธุรกิจของบริษัทยอมดําเนินการอยูทามกลางความเสี่ยงทางธุรกิจตลอดเวลา

โดยสาเหตุของความเสี่ยงอาจมาจากปจจัยภายใน เชน ผูบริหารขาดความซื่อสัตยและจริยธรรม บริษัทขยายงานอยางรวดเร็วเกินไปทําใหระบบงานไมสามารถรองรับได หรือการกํากับดูแลไมทั่วถึง เปนตน และปจจัยภายนอก เชน การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือพฤติกรรมการบริโภคสินคา ทําใหมีผลกระทบตอสวนแบงการตลาด เปนตน ดวยเหตุนี้ การที่จะนําพาใหบริษัทรอดพนจากอันตรายที่เกิดจากความเสี่ยงดังกลาวไดนั้น ฝายบริหารจําเปนตองดําเนินการตอไปนี้อยางสม่ําเสมอ (1) พิจารณาหรือไตรตรองถึงลักษณะความเสี่ยงที่บริษัทประสบอยู หรือคาดวาจะประสบ (Identification of risk) (2) วิ เคราะหผลกระทบของความเสี่ยงนั้น ๆ ตอบริษัท และโอกาสที่ความเสี่ยงนั้น ๆ จะเกิดขึ้น (Analysis of risk) (3) กําหนดมาตรการเพื่อลดความเสี่ยงใหอยูในระดับที่เหมาะสม (Management of risk)

2.1 บริษัทมีการประเมินอยางสม่ําเสมอหรือไมวา การประกอบธุรกิจของบริษัทมีปจจัยใดบางที่เปนปจจัยความเสี่ยงทั้งที่มาจากภายนอกและภายใน ซึ่งอาจมีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ มี ไมมี บริษัทฯ จัดใหมีผูตรวจสอบภายใน (Outsource service) เปนผูประเมินความเสี่ยงในการดําเนินงานดานตาง ๆ อยางสม่ําเสมอ 2.2 บริษัทไดมีการวิเคราะหหรือไมวา เหตุการณใดที่จะทําใหปจจัยที่เปนความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น มี ไมมี บริษัทฯ กําหนดใหมีการวเิคราะหสาเหตทุี่ทําใหเกิดความเสี่ยง เพื่อจดัทําแผนการบริหารความเสี่ยงไดอยางเหมาะสม 2.3 บริษัทกําหนดใหมีมาตรการในการติดตามเหตุการณที ่เปนสาเหตุของปจจัยความเสี ่ยง รวมทั้งมาตรการในการลดความเสี่ยงเหลานั้น ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดมกีารติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการบริหารความเสี่ยงรวมทั้งประเมินผลการควบคุม เพื่อใหความเสี่ยงอยูในระดบัที่ยอมรับได

Page 175: PROSPECTUS : 2009

5

2.4 บริษัทไดแจงใหพนักงานทุกคนที่เกี่ยวของรับทราบและปฏิบัติตามมาตรการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดมกีารแจงผูที่เกีย่วของไดรับทราบและนําไปปฏิบัติ 2.5 บริษัทมีการติดตามวาหนวยงานตาง ๆ ไดปฏิบัติตามแผนการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดมีการติดตามแผนการบริหารความเสี่ยง โดยกําหนดเปนนโยบายใหหนวยงานติดตามและกําหนดใหผูตรวจสอบภายในสอบทานอยางสม่ําเสมอ

Page 176: PROSPECTUS : 2009

6

สวนท่ี 3 การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร (Management Control Activities) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร เปนกิจกรรมที่มีความสําคัญเพื่อใหบริษัทมั่นใจวา

แนวทางที่ฝายบริหารกําหนดไวไดรับการตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัท ซ่ึงแนวทางดังกลาว ไดแก (1) การกําหนดอํานาจและระดับการอนุมัติรายการเปนไปอยางเหมาะสม (2) มีการแบงแยกหนาที่ที่อาจเอื้อใหเกิดการกระทําที่ทุจริตออกจากกัน (3) มีการกําหนดขั้นตอน และวิธีการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวอยางเหมาะสม เพื่อปองกันการถายเทผลประโยชน (4) การกําหนดวิธีการเพื่อใหแนใจวา บริษัทไดปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของ

3.1 บริษัทมีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝายบริหารในแตละระดับไวอยางชัดเจนและเปนลายลักษณอักษร ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ไดจัดทําผังองคกรและกําหนดอํานาจอนุมัติตาง ๆ เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน 3.2 บริษัทมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ดานตอไปนี้ ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเปนการตรวจสอบซึ่งกันและกัน ใชหรือไม (1) หนาที่อนุมัติ (2) หนาที่บันทึกรายการบัญชีและขอมูลสารสนเทศ และ (3) หนาที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพยสิน ใช ไมใช บริษัทฯ ไดมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในดานการอนุมัติ การบันทึกบัญชี และการจัดเก็บทรัพยสินออกจากกัน เพื่อใหมีการตรวจสอบซึ่งกันและกันได 3.3 ในกรณีที่บริษัทมีการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว บริษัทมีมาตรการที่ รัดกุมเพื่อติดตามใหการทําธุรกรรมนั้นตองผานขั้นตอนการอนุมัติที่กําหนด ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว

Page 177: PROSPECTUS : 2009

7

3.4 ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมตาม 3 .3 การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมนั้นไดกระทําโดยผูที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมนั้นเทานั้น ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว 3.5 ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุมัติธุรกรรมนั้น ไดคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทเปนสําคัญและพิจารณาโดยถือเสมือนเปนรายการที่กระทํากับบุคคลภายนอก (on arms’ length basis) ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว 3.6 ในกรณีที่ไดมีการอนุมัติธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวของในลักษณะที่มีผลผูกพันบริษัทในระยะยาวไปแลว (เชน การทําสัญญาซื้อขายสินคา การใหกูยืม การค้ําประกัน) ไดมีการติดตามใหปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงกันไวตลอดระยะเวลาที่มีผลผูกพันบริษัทหรือไม (เชน ติดตามการชําระคืนหนี้ตามกําหนด การทบทวนความเหมาะสมของสัญญา เปนตน) ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว 3.7 กรณีที่บริษัทมีมาตรการเกี่ยวกับการทําธุรกรรมตาม 3.3 มาตรการดังกลาวครอบคลุมไปถึงกรณีที่ผูที่เกี่ยวของดังกลาวนําโอกาสหรือประโยชนของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตัวดวย ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว

Page 178: PROSPECTUS : 2009

8

3.8 ในกรณีที่บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม บริษัทมีการติดตามดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอยหรือบริษัทรวมอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งมีการกําหนดทิศทางใหบุคคลที่บริษัทแตงตั้งใหเปนกรรมการหรือผูบริหารในบริษัทดังกลาวถือปฏิบัติ ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทฯ ไดมกีารติดตามการดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวมอยางสม่ําเสมอ 3.9 บริษัทมีมาตรการที่จะติดตามใหการดําเนินงานของบริษัทเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ หรือไม ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจและรักษาชื่อเสียงของบริษัท มี ไมมี บริษัทฯ กําหนดใหแตละหนวยงานปฏิบตัิงานตามกฎหมายที่เกี่ยวของอยางเครงครัด 3.10 ในกรณีที่บริษัทเคยมีการกระทําที่ฝาฝนกฎหมาย บริษัทมีมาตรการแกไขและปองกันมิใหเกิด การกระทําในลักษณะนั้นอีก หรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว

Page 179: PROSPECTUS : 2009

9

สวนท่ี 4 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล (Information and Communication Measure) หลักการประการหนึ่งของการปฏิบัติหนาที่ดวยความระมัดระวังไมวาจะเปนสําหรับกรรมการ

ผูบริหาร ผูถือหุน หรือผูที่เกี่ยวของ ก็คือ การตัดสินใจบนพื้นฐานที่มีขอมูลที่มีคุณภาพและเพียงพอตอการตัดสินใจ ไมวาจะเปนขอมูลทางการเงินหรือขอมูลอ่ืน ดังนั้น การสื่อสารขอมูลดังกลาวไปยังผูที่เกี่ยวของจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ขอมูลที่มีคุณภาพควรมีคุณสมบัติดังนี้ (1) มีเนื้อหาที่จําเปนเพียงพอตอการตัดสินใจ (2) มีความถูกตองสมบูรณ (3) มีความเปนปจจุบัน (4) มีรูปแบบที่เขาใจงาย (5) มีการจัดเก็บที่ดี

4.1 ในการเสนอเรื่องใหคณะกรรมการพิจารณา บริษัทไดจัดใหมีขอมูลที่สําคัญตาง ๆ อยางเพียงพอเพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ ใชหรือไม (ขอมูลที่สําคัญตาง ๆ ไดแก รายละเอียดของเรื่องที่เสนอใหพิจารณา เหตุผล ผลกระทบตอบริษัท ทางเลือกตาง ๆ เปนตน) ใช ไมใช บริษัทฯ ไดจัดใหมีการประชุมอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเปนการเผยแพรขอมูลที่สําคัญไดอยางทั่วถึง และเพื่อใหคณะกรรมการหรือผูบริหารหนวยงานดานตาง ๆ สามารถพิจารณาวางแผนตาง ๆ ไดในกรณีที่การเผยแพรขอมูลนั้น ๆ มีผลกระทบตอบริษัทฯ 4.2 กรรมการบริษัทไดรับหนังสือนัดประชุมหรือเอกสารประกอบการประชุมที่ระบุขอมูลที่จําเปนและเพียงพอตอการพิจารณากอนการประชุม อยางนอยภายในระยะเวลาขั้นต่ําตามที่กฎหมายกําหนด ใชหรือไม ใช ไดรับกอนวันประชุมโดยเฉลี่ย 7 วัน ไมใช บริษัทฯ กําหนดใหสงหนังสือนัดประชุม พรอมเอกสารประกอบวาระการประชุมใหกรรมการบริษัท กอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน

Page 180: PROSPECTUS : 2009

10

4.3 รายงานการประชุมกรรมการ มีรายละเอียดตามควรที่ทําใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการไดหรือไม เชน ไดมีการบันทึกขอซักถามของกรรมการความเห็นหรือขอสังเกตของกรรมการในเรื่องที่พิจารณา ความเห็นของกรรมการรายที่ไมเห็นดวยกับเร่ืองที่เสนอพรอมเหตุผล เปนตน ใช ไมใช บริษัทฯ มีการจัดทํารายงานการประชุมคณะกรรมการที่แสดงรายละเอียดอยางเพียงพอที่ผูถือหุนสามารถตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการได 4.4 บริษัทจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีตาง ๆ ไวครบถวนเปนหมวดหมู และไมเคยไดรับแจงจากผูสอบบัญชีวามีขอบกพรองในเรื่องนี้ หรือเคยไดรับแจงแตไดแกไขขอบกพรองนั้นอยางครบถวนแลว ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ มีการจัดเก็บเอกสารไวครบถวนเปนหมวดหมู ทั้งนี้ บริษัทฯ เคยไดรับแจงจากผูสอบบัญชีวามีขอบกพรองในเรื่องการจัดเก็บเอกสาร แตไดแกไขขอบกพรองนั้นอยางครบถวนแลว 4.5 คณะกรรมการไดพิจารณาแลวใชหรือไมวา ฝายบริหารไดใชนโยบายบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจของบริษัท โดยไมเลือกใชนโยบายบัญชีที่ทําใหบริษัทแสดง ผลประกอบการที่คลาดเคลื่อนจากความเปนจริง ใช ไมใช คณะกรรมการมีการพิจารณาและหารือกับผูสอบบัญชี และคณะกรรมการตรวจสอบในเรื่องนโยบายบัญชีที่รับรองทั่วไปที่นํามาใชในบริษัทฯ โดยไมเลือกใชนโยบายบัญชีที่ทําใหบริษัทฯ แสดง ผลประกอบการคลาดเคลื่อนจากความเปนจริง

Page 181: PROSPECTUS : 2009

11

สวนท่ี 5 ระบบการติดตาม (Monitoring) การที่บริษัทจะดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บริษัทควรตองติดตาม

อยางสม่ําเสมอวามีการปฏิบัติตามเปาหมายที่วางไว ระบบการควบคุมภายในยังดําเนินอยูอยางตอเนื่อง และมีการปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งขอบกพรองตาง ๆ ไดรับการแกไขอยางทันทวงที

5.1 กรณีที่บริษัทมีการกําหนดเปาหมายการดํา เนินธุรกิจ คณะกรรมการได เปรียบ เทียบผลการดําเนินงานของฝายบริหารวาเปนไปตามเปาหมายการดําเนินธุรกิจที่กําหนดไว ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทฯ จัดใหมีการประชุมอยางสม่ําเสมอเพื่อประเมินผลการดําเนินงานวาเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดหรือไม หากพบวาเปาหมายที่กําหนดไวคลาดเคลื่อนจะไดดําเนินการแกไขอยางมีแผนงานและหลักการ 5.2 กรณีที่ผลการดําเนินที่เกิดขึ้นมีความแตกตางจากเปาหมายที่กําหนดไว บริษัทไดดําเนินการแกไขภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว ในกรณีผลการดําเนินงานคลาดเคลื่อนจากเปาหมาย บริษัทฯ ไดดําเนินการแกไขภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 5.3 บริษัทจัดใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วางไวอยางสม่ําเสมอ ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ มีคู มือในการปฏิบัติงาน และจัดใหมีผูตรวจสอบภายในตรวจสอบและประเมินระบบการควบคุมภายในของหนวยงานตาง ๆ เพื่อออกรายงานใหคณะกรรมการพิจารณาอยูเสมอ 5.4 กรณีที่บริษัทมีการตรวจสอบภายใน บริษัทไดกําหนดใหการรายงานผลการตรวจสอบตองรายงานตรงตอคณะกรรมการหรือคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานไดอยางอิสระและเสนอรายงานผลการตรวจสอบไดอยางตรงไปตรงมา ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว บริษัทฯ ไดกําหนดใหผูตรวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบตอคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ โดยในระหวางที่บริษัทฯ ยังมิไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ใหผูตรวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบตอคณะกรรมการบริษัท

Page 182: PROSPECTUS : 2009

12

5.5 เมื่อมีการตรวจพบขอบกพรองที่ เปนสาระสําคัญ ไดมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท/คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาสั่งการแกไขภายในระยะเวลาอันควร ใชหรือไม ใช ไมใช ไมมีกรณีดังกลาว เมื่อผูตรวจสอบภายในตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ บริษัทฯ ไดกําหนดใหผูตรวจสอบภายในรายงานขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญที่พบตอคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ โดยในระหวางที่บริษัทฯ ยังมิไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ใหผูตรวจสอบภายในรายงานขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญที่พบตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาแกไขและกําหนดเวลาที่เหมาะสมในการแกไข 5.6 บร ิษ ัทต องรายงานความค ืบหน าในการปร ับปร ุงข อบกพร องต อคณะกรรมการบร ิษ ัท /คณะกรรมการตรวจสอบ ใชหรือไม ใช ไมใช บริษัทฯ ตองรายงานความคืบหนาในการปรับปรุงขอบกพรองตอคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการตรวจสอบ 5.7 บริษัทมีนโยบายใหฝายบริหารตองรายงานตอคณะกรรมการบริษัทโดยพลัน ในกรณีที่ เกิดเหตุการณทุจริต หรือสงสัยวามีเหตุการณทุจริต มีการปฏิบัติที่ฝาฝนกฎหมาย และมีการกระทําที่ผิดปกติอ่ืน ซ่ึงอาจกระทบตอช่ือเสียงและฐานะการเงินของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ หรือไม มี ไมมี ไมมีกรณีดังกลาว ในกรณีที่เกิดเหตุการณทุจริตหรือสงสัยวามีเหตุการณทุจริต มีการปฏิบัติที่ฝาฝนกฎหมาย และมีการกระทําที่ผิดปกติอื่น ๆ ที่อาจสงผลกระทบตอชื่อเสียงและฐานะทางการเงินของบริษัทฯ ฝายบริหารตองรายงานตอคณะกรรมการบริษัททันที

Page 183: PROSPECTUS : 2009
Page 184: PROSPECTUS : 2009
Page 185: PROSPECTUS : 2009
Page 186: PROSPECTUS : 2009
Page 187: PROSPECTUS : 2009
Page 188: PROSPECTUS : 2009
Page 189: PROSPECTUS : 2009
Page 190: PROSPECTUS : 2009
Page 191: PROSPECTUS : 2009
Page 192: PROSPECTUS : 2009
Page 193: PROSPECTUS : 2009
Page 194: PROSPECTUS : 2009
Page 195: PROSPECTUS : 2009
Page 196: PROSPECTUS : 2009
Page 197: PROSPECTUS : 2009
Page 198: PROSPECTUS : 2009
Page 199: PROSPECTUS : 2009
Page 200: PROSPECTUS : 2009
Page 201: PROSPECTUS : 2009
Page 202: PROSPECTUS : 2009
Page 203: PROSPECTUS : 2009
Page 204: PROSPECTUS : 2009
Page 205: PROSPECTUS : 2009
Page 206: PROSPECTUS : 2009
Page 207: PROSPECTUS : 2009
Page 208: PROSPECTUS : 2009
Page 209: PROSPECTUS : 2009
Page 210: PROSPECTUS : 2009
Page 211: PROSPECTUS : 2009
Page 212: PROSPECTUS : 2009
Page 213: PROSPECTUS : 2009
Page 214: PROSPECTUS : 2009
Page 215: PROSPECTUS : 2009
Page 216: PROSPECTUS : 2009
Page 217: PROSPECTUS : 2009
Page 218: PROSPECTUS : 2009
Page 219: PROSPECTUS : 2009
Page 220: PROSPECTUS : 2009
Page 221: PROSPECTUS : 2009
Page 222: PROSPECTUS : 2009
Page 223: PROSPECTUS : 2009
Page 224: PROSPECTUS : 2009
Page 225: PROSPECTUS : 2009
Page 226: PROSPECTUS : 2009
Page 227: PROSPECTUS : 2009
Page 228: PROSPECTUS : 2009
Page 229: PROSPECTUS : 2009
Page 230: PROSPECTUS : 2009
Page 231: PROSPECTUS : 2009
Page 232: PROSPECTUS : 2009
Page 233: PROSPECTUS : 2009
Page 234: PROSPECTUS : 2009
Page 235: PROSPECTUS : 2009
Page 236: PROSPECTUS : 2009
Page 237: PROSPECTUS : 2009
Page 238: PROSPECTUS : 2009
Page 239: PROSPECTUS : 2009
Page 240: PROSPECTUS : 2009
Page 241: PROSPECTUS : 2009
Page 242: PROSPECTUS : 2009
Page 243: PROSPECTUS : 2009
Page 244: PROSPECTUS : 2009
Page 245: PROSPECTUS : 2009
Page 246: PROSPECTUS : 2009
Page 247: PROSPECTUS : 2009
Page 248: PROSPECTUS : 2009
Page 249: PROSPECTUS : 2009
Page 250: PROSPECTUS : 2009
Page 251: PROSPECTUS : 2009
Page 252: PROSPECTUS : 2009
Page 253: PROSPECTUS : 2009
Page 254: PROSPECTUS : 2009
Page 255: PROSPECTUS : 2009
Page 256: PROSPECTUS : 2009
Page 257: PROSPECTUS : 2009
Page 258: PROSPECTUS : 2009
Page 259: PROSPECTUS : 2009
Page 260: PROSPECTUS : 2009
Page 261: PROSPECTUS : 2009
Page 262: PROSPECTUS : 2009
Page 263: PROSPECTUS : 2009
Page 264: PROSPECTUS : 2009
Page 265: PROSPECTUS : 2009
Page 266: PROSPECTUS : 2009
Page 267: PROSPECTUS : 2009
Page 268: PROSPECTUS : 2009
Page 269: PROSPECTUS : 2009
Page 270: PROSPECTUS : 2009
Page 271: PROSPECTUS : 2009
Page 272: PROSPECTUS : 2009
Page 273: PROSPECTUS : 2009
Page 274: PROSPECTUS : 2009
Page 275: PROSPECTUS : 2009
Page 276: PROSPECTUS : 2009
Page 277: PROSPECTUS : 2009
Page 278: PROSPECTUS : 2009
Page 279: PROSPECTUS : 2009
Page 280: PROSPECTUS : 2009
Page 281: PROSPECTUS : 2009
Page 282: PROSPECTUS : 2009
Page 283: PROSPECTUS : 2009
Page 284: PROSPECTUS : 2009
Page 285: PROSPECTUS : 2009
Page 286: PROSPECTUS : 2009
Page 287: PROSPECTUS : 2009
Page 288: PROSPECTUS : 2009
Page 289: PROSPECTUS : 2009
Page 290: PROSPECTUS : 2009
Page 291: PROSPECTUS : 2009
Page 292: PROSPECTUS : 2009
Page 293: PROSPECTUS : 2009
Page 294: PROSPECTUS : 2009
Page 295: PROSPECTUS : 2009
Page 296: PROSPECTUS : 2009
Page 297: PROSPECTUS : 2009
Page 298: PROSPECTUS : 2009
Page 299: PROSPECTUS : 2009
Page 300: PROSPECTUS : 2009
Page 301: PROSPECTUS : 2009
Page 302: PROSPECTUS : 2009
Page 303: PROSPECTUS : 2009
Page 304: PROSPECTUS : 2009
Page 305: PROSPECTUS : 2009
Page 306: PROSPECTUS : 2009
Page 307: PROSPECTUS : 2009