pump storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

76
http://www.sert.nu.ac.th SCHOOL OF RENEWABLE ENERGY TECHNOLOGY ระบบสะสมพลังงานน้ําแบบสูบกลับ (Pumped Hydro Storage) ผูชวยศาสตราจารย ดร. นิพนธ เกตุจอย Lecturer Deputy Director for Research Affairs Head of Photovoltaic System Research Division ระบบสะสมพลังงาน

Upload: qit

Post on 02-Jan-2016

89 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

General information about Pump Storage

TRANSCRIPT

Page 1: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

http://www.sert.nu.ac.th

SCHOOL OF RENEWABLE

ENERGY TECHNOLOGY

ระบบสะสมพลังงานน้ําแบบสบูกลบั

(Pumped Hydro Storage)

ผูชวยศาสตราจารย ดร. นิพนธ เกตุจอยLecturerDeputy Director for Research AffairsHead of Photovoltaic System Research Division

ระบบสะสมพลังงาน

Page 2: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โลกประกอบดวยพื้นดินและพื้นน้ําโดยสวนที่เปนพื้นน้ํา มีอยู

ประมาณ 3 สวน (75%) และเปนพื้นดิน 1 สวน (25%) น้ํามีความสําคัญ

อยางยิ่งกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกรวมทั้งมนุษยดวย น้ําเปนทรัพยากร

ที่สามารถเกิดหมุนเวียนไดเรื่อยๆ ไมมีวันหมดสิ้น

น้ําที่มีสถานะของเหลวพบไดใน มหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ

แมน้ํา ธารน้ํา คลอง สระน้ํา น้ําสวนใหญในโลกอยูในรูปของน้ําทะเล

น้ําที่อยูในบรรยากาศโลกจะอยูทั้งในรูปไอน้ําและ น้ําที่เปนของเหลว น้ํา

ใตดินจะอยูใน ชั้นของดินและหิน ถึงแมปกติน้ําจะมีจุดเดือดที่ 100 OC

แตที่ใตทะเลลึก ซึ่งมีความรอนและความกดดันสูง จุดเดือดของน้ําอาจ

อยูที่ 400 OC และที่ยอดเขาเอเวอเรส (Mount Everest) จุดเดือดของน้ํา

อาจอยูที่ 70 OC

ทรัพยากรน้ํา

Page 3: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

“น้ํ า ” ตามสู ตร เคมี เ รี ยก “H2O” หมายถึ งหนึ่ ง โม เลกุ ลจะ

ประกอบดวย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม มีสถานะเปน

ของเหลวที่เกือบไมมีสี ไมมีรส ไมมีกลิ่น มีอุณหภูมิความดันมาตรฐานที่

อุณหภูมิหอง ปริมาตรโดยประมาณของน้ําในโลก คือ 1,360,000,000 กม³

(326,000,000 ไมล³)

• 1,320,000,000 กม³ (316,900,000 ไมล³ หรือ 97.2%) อยูใน น้ําทะเล

• 25,000,000 กม³ (6,000,000 ไมล³ หรือ 1.8%) อยูใน ธารน้ําแข็ง และลาน

น้ําแข็ง

• 13,000,000 กม³ (3,000,000 ไมล³ หรือ 0.9%) อยูในรูป น้ําใตดิน

• 250,000 กม³ (60,000 ไมล³ หรือ 0.02%) เปน น้ําจืด ในทะเลสาบ และแมน้ํา

• 13,000 กม³ (3,100 ไมล³ หรือ 0.001%) เปนไอน้ําในบรรยากาศ

Page 4: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

พลังงานจากแสงอาทติย

Page 5: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

การเปลี่ยนรูปของพลังงานน้ํา

Page 6: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

Source : NASA’s Aqua Sattellite, 20/02/2006

Page 7: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

Landcover – MODIS (USDA-NASA)

Page 8: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 9: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 10: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

แนวโนมอุณหภูมิผิวโลกที่เพิ่มขึ้น 140 ปที่ผานมา

Page 11: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

WWW.IPCC.CH

Page 12: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ระดับน้ําทวมของประเทศชายฝงทะเล

Adapted from Milliman et al. (1989).From www.ipcc.ch

Page 13: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

หลกัการทางชลศาสตร (Hydraulic Principles)หลกัการทางชลศาสตร (Hydraulic Principles)

ชลศาสตร (Hydraulic) เปนศาสตรแขนงหนึ่ง ที่ได

ศึกษาทดลองเกี่ยวกับแรงหรือพลังงานของ ของเหลว

(Liquid) ซึ่งมีการเคลื่อนที่ หลักการทางชลศาสตรที่คนพบ

สามารถนําไปใชงานในทางปฏิบัติได เชน การนําพลังงาน

จากน้ําไปผลิตเปนพลังงานไฟฟา

Page 14: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

หลกัการอุทกศาสตร ( Hydrology )หลกัการอุทกศาสตร ( Hydrology )

อุทกศาสตร (Hydrology) มาจาก Hydro แปลวาน้ําและ

Logy แปลวาวิชาหรือศาสตร หรือวิทยาศาสตร ฉะนั้น อุทกวิทยา

หมายถึง วิชาทางวิทยาศาสตรแขนงหนึ่งที่วาดวยเรื่องน้ํา เปนหลัก

ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับ การวัด การเคลื่อนที่การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลง

การแผ การกระจายของน้ําและคุณสมบัติของน้ําในบริเวณสวน

ตางๆ ของโลกประกอบดวยน้ําในบรรยากาศ น้ําบนผิวดินและน้ํา

ใตดิน วงจรอุทกศาสตร คือ การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้ํา

อยางตอเนื่องตลอดเวลาจากน้ําในบรรยากาศเปนน้ําบนผิวดินและ

น้ําใตดิน

Page 15: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

การผลิตไฟฟาพลังน้ํา (Hydroelectric) การผลิตไฟฟาพลังน้ํา (Hydroelectric)

Page 16: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand )ความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand )

1) ในสวนของภาพรวมความตองการไฟฟาสูงสุดของระบบ กฟผ.

ในปสุดทายของแผนฯ 9 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

21,648 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 1,104 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้น

เฉลี่ยรอยละ 6.07 ตอป

ในปสุดทายของแผนฯ 10 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

29,321 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 1,535 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้น

เฉลี่ยรอยละ 6.26 ตอป

ในปสุดทายของแผนฯ 11 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

38,851 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 1,906 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้น

เฉลี่ยรอยละ 5.79 ตอป

Page 17: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)

Page 18: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

(2) ในสวนของ กฟน.

ในปสุดทายของแผนฯ 9 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

7,748 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 304 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย

รอยละ 4.46 ตอป

ในปสุดทายของแผนฯ 10 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

9,652 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 381 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย

รอยละ 4.49 ตอป

ในปสุดทายของแผนฯ 11 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

11,528 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 375 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย

รอยละ 3.62 ตอป

Page 19: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)

Page 20: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

(3) ในสวนของ กฟภ.

ในปสุดทายของแผนฯ 9 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

13,134 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 736 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย

รอยละ 6.79 ตอป

ในปสุดทายของแผนฯ 10 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

18,777 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 1,129 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย

รอยละ 7.41 ตอป

ในปสุดทายของแผนฯ 11 ความตองการไฟฟาสูงสุด จะเปน

26,245 เมกะวัตต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 1,494 เมกะวัตต หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย

รอยละ 6.39 ตอป

Page 21: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)

Page 22: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)คาพยากรณความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Peak Demand Forecast)

Page 23: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23time

Page 24: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ความตองการพลังไฟฟาและกําลงัผลิตไฟฟาสํารองต่ําสุดความตองการพลังไฟฟาและกําลงัผลิตไฟฟาสํารองต่ําสุด

หนวย MW GWh

Page 25: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อัตราการเพิ่มขึ้นของความตองการพลังไฟฟาเฉลี่ยตอป อัตราการเพิ่มขึ้นของความตองการพลังไฟฟาเฉลี่ยตอป

Page 26: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

- การสะสมพลังงานสามารถทําไดโดยการสะสมในรูปของพลังงานไฟฟา ความรอน และความ

เย็น เปนตน โดยจะทํากระบวนการสะสมในชวงเวลาที่มีความตองการพลังงานต่ํา และมีตนทุน

การผลิตที่ต่ํา และใชตนกําเนิดที่มาจากพลังงานทดแทน เชน พลังงานแสงอาทิตย ลม เปนตน

และจะนําพลังงานที่สะสมไวมาใชในชวงเวลาที่มีปริมาณความตองการพลังงานที่สูง และมี

ตนทุนการผลิตที่สูง หรือในเวลาที่กําลังผลิตไมเพียงพอตอความตองการ

- ระบบสะสมพลังงานจะใชรวมกับพลังงานทดแทนในพื้นที่หางไกล โดยจะเปนสวนหนึ่งของ

ระบบพลังงานแบบกระจายศูนย (decentralized energy supply) หรือระบบพลังงานแบบยั่งยืน

(sustainable energy supply) ในอนาคต

- ระบบสะสมพลังงานเปนเทคโนโลยีที่จะเขามาชวยลดการใชเชื้อเพลิงในภาคการขนสงใน

อนาคต

การสะสมพลังงานคอือะไร ? (What is energy storage?)

Page 27: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 28: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

การสะสมพลงังานเชิงกล (Mechanical Energy Storage)

• การสะสมพลังงานเชิงกลสามารถสะสมไวในรูปของพลังงานจลน (kinetic

energy) พลังงานศักย (potential energy) หรือ พลังงานภายใน (internal

energy)

• การศึกษาวิจัยและการพัฒนาระบบสะสมพลังงานเชิงกลสวนใหญใหความ

สนใจกับ การสะสมพลังงานจลนใน Flywheels การสะสมพลังงานศักยโดย

การยกระดับความสูงของของเหลว (Pumped Hydro) หรือ การสะสม

พลังงานภายในเชนระบบอัดอากาศ (Compressed Air)

Page 29: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

พลังงานกลสามารถเก็บสะสมไวในระบบไดโดยการปอนงานใหกับระบบ

สามารถเขียนเปนสมการของงาน (W) ดังนี้

W = ∫ F.ds

เมื่อ F คือ แรงที่ใหกับระบบ และ S คือระยะขจัด (displacement)

พลังงานศักยสามารถสะสมไวในรูปของน้ําหนักโดยการใหงานเพื่อยกระดับ

น้ําหนักนั้นใหสูงขึ้นสวนทางกับแรงดึงดูดของโลก สามารถเขียนเปนสมการ

คือW = mgh

เมื่อ m คือ มวล, g คือ ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก, h คือ ความ

สูงของน้ําหนักที่ถูกยกขึ้น

Page 30: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ตัวอยาง น้ําหนึ่งลติร มีมวล 1 kg ถูกยกใหสูงขึ้น 102 m พลังงานศักยมีคา

เพิ่มขึ้นเปนเทาไหร

P.E. = mgh = 1 kg x 9.81 m/s2 x 102 m = 1,000 Nm (1 kJ)

กรณีที่ pump-sets มีประสิทธิภาพ 90% และประสิทธิภาพในกรณีทํางาน

ยอนกลับ (reversed operation) คือ 95% พลังงานที่ตองการใชในการสูบน้ํา

P.E./pump-sets eff. = 1 kJ/kg /0.9 = 1.11 kJ/kg

ในกรณีทํางานยอนกลับพลังงานที่ผลติไดคือ (ผลติไฟฟา)

1 kJ/kg x 0.95 = 0.95 kJ/kg

Page 31: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ประสิทธิภาพรวม (round-trip) ของระบบคือ

0.95/1.11 = 0.855 หรือ 86%

พลังงานศักยที่สะสมในน้ํา 1 kJ/liter ถือวาต่ํามาก เราสามารถเพิ่มปริมาณ

ความจุของพลังงานเปน 3 kJ/liter โดยการเพิ่มความสูงเปน 306 m ซึ่ง

เทียบเทากับ

3 kJ/liter ÷ 3,600 kJ/kWh = 0.000833 kWh/liter

Page 32: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ระบบสะสมพลังงานน้ําแบบสูบกลับ เปน เทคโนโลยีสะสมพลังงานตาม

รูปแบบ (conventional energy storage technology) โดยพลังงานขั้น

สุดทายที่นําไปใชคือพลังงานไฟฟา น้ําในอางเก็บน้ําดานบน (ภูเขา) ถูก

นํามาใชในการขับเครื่องกําเนิดไฟฟา ซึ่งอยูที่แหลงเก็บน้ําดานลาง เมื่อ

มีพลังงานไฟฟาสวนเกินในระบบ ก็จะทําการสูบน้ํากลับขึ้นไปเก็บไวที่

แหลงเก็บน้ําดานบนอีกครั้ง กําลังผลิตไฟฟา ตนทุนการผลิต ของระบบ

สูบกลับขึ้นอยูกับเฮด (difference head) ของระบบ

ระบบสะสมพลังงานน้ําแบบสูบกลับ (Pumped hydro storage)

Page 33: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 34: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

การทํางานของ Pumped Hydro Storage

Page 35: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 36: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 37: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 38: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 39: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

สวนประกอบสําคญัของระบบ

Pumped Hydro Storage

1. อางเก็บน้ํา

2. ทอสงน้ํา

3. กังหัน

4. เครื่องกําเนิดกระแสไฟฟา

5. หมอแปลงไฟฟา

6. ระบบสายสงไฟฟา

Page 40: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 41: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

มีความสําคัญมากในการกักเก็บน้ํา ควบคมุทิศทาง และปริมาณการไหลของน้ํา

1. อางเก็บน้ํา

Page 42: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

เปนทอสงน้ําอยูในตัวเขื่อนหรอืรับน้าํจากเขื่อน สงน้ําเขาสูกังหนั

2. ทอสงน้ํา

Page 44: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

4. เครื่องกําเนิดกระแสไฟฟา

Page 45: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

5. หมอแปลงไฟฟา

Page 46: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

6. ระบบสายสงไฟฟา

Page 47: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสบูกลับในประเทศไทย โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสบูกลับในประเทศไทย

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบรุี

ติดตั้ง จํานวน 2 เครื่อง รวมกําลังผลิต 360,000 กิโลวัตต

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบรุี

ติดตั้ง จํานวน 2 เครื่อง รวมกําลังผลิต 360,000 กิโลวัตต

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก

ติดตั้ง จํานวน 1 เครื่อง รวมกําลังผลิต 171,000 กิโลวัตต

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก

ติดตั้ง จํานวน 1 เครื่อง รวมกําลังผลิต 171,000 กิโลวัตต

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนลําตะคอง จังหวดันครราชสีมา

ติดตั้ง จํานวน 2 เครื่อง รวมกําลังผลิต 500,000 กิโลวัตต

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนลําตะคอง จังหวดันครราชสีมา

ติดตั้ง จํานวน 2 เครื่อง รวมกําลังผลิต 500,000 กิโลวัตต

Page 48: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก

Page 49: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนศรีนครนิทร

Page 50: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาระบบสูบกลับ เขื่อนลําตะคอง

Page 51: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

กรณีศึกษาระบบสะสมพลังงานน้ําแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําแบบสูบน้ํากลับ ลําตะคอง

Page 52: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคอง เปนการผลิตไฟฟาดวยพลังน้ํา

วิธีหนึ่งที่สามารถนําเอาทรัพยากรน้ําที่มีอยู มา หมุนเวียนใชใหเกิด

ประโยชนสูงสุด และเปนการชวยใหระบบการผลิตไฟฟา ดวย

พลังงานความรอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

Page 53: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคอง เปนการผลิตไฟฟาดวยพลังน้ํา

วิธีหนึ่งที่สามารถนําเอาทรัพยากรน้ําที่มีอยู มา หมุนเวียนใช

ใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนการชวยใหระบบการผลิต

ไฟฟา ดวยพลังงานความรอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

Page 54: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ความเปนมา

- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความตองการใชไฟฟามาก กวากําลังผลิตที่มีอยูภายใน

ภูมิภาค อยูเปนจํานวนมาก

- กฟผ . จึงทําการศึกษา โครงการโรงไฟฟาพลังน้ํ าลําตะคองแบบสูบกลับในป

พ.ศ.2528 และนํามา บรรจุไวในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของ กฟผ. (ป พ.ศ. 2535-

2549)

- ในปพ.ศ.2532 องคการความรวมมือระหวางประเทศญี่ปุน (JICA) ไดให ความชวยเหลือ

กฟผ. ในการศึกษาความเหมาะสมโครงการและดําเนินการ แลวเสร็จในป พ.ศ.2534

- จากนั้น กฟผ. ไดวาจางมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษารายละเอียดและวิเคราะห

ผลกระทบสิ่งแวดลอม เพื่อพิจารณากําหนด มาตรการและแนวทางแกไขปญหา

สิ่งแวดลอมแลว จึงวาจางบริษัทวิศวกร ที่ปรึกษาจากประเทศญี่ปุนทําการศึกษา

รายละเอียดโครงการ เพื่อนําเสนอ ขออนุมัติกอนสรางโครงการและคณะรัฐมนตรี มีมติ

อนุมัติใหดําเนินการได เมื่อวันท ี่15 กุมภาพันธ พ.ศ. 2537 วงเงิน 21,000 ลานบาท

Page 55: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ที่ตั้งและลักษณะ โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําลําแบบสูบกลับตะคอง

ตั้งอยูระหวางอําเภอสีคิ้วและอําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา หาง

จากตัว เมืองประมาณ ๗๐ กิโลเมตร ลักษณะของโครงการที่สําคัญ

ประกอบดวย โรงไฟฟาใตดิน อางพักน้ําบนเขา อางเก็บน้ําตอนลาง (อาง

เก็บน้ําลําตะคอง ที่มีอยูเดิม) อุโมงคสงน้ําจากพักน้ําเขาโรงไฟฟา อุโมงค

ทายน้ําจากโรงไฟฟาสูอางเก็บน้ําตอนลาง และสายสงไฟฟาแรงสูง

Page 56: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาลําตะคอง ประกอบดวย

1. อางเก็บน้ําตอนบน

2. โรงไฟฟาใตดิน

3. อุโมงคสงน้ําเขาโรงไฟฟา

4. อุโมงคทายน้ํา

Page 57: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อางเก็บน้าํตอนบน

- อางเก็บน้ําเปนแบบหินถม ดาดดวยยางมะตอย (แอสฟลท) เพื่อปองกัน

น้ําซึมออกจาก

- อางเก็บกักน้าํได 10.3 ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่ผิวน้ํา0.34 ตารางกิโลเมตร

- ความลึก 50 เมตร ความยาว 2,170 เมตร

- ระดับเก็บกกัสูงสุด 660 ม.ระดับเก็บกกัต่ําสุด 620 ม.

- ความจุอางใชงาน 9.9 ลานลูกบาศกเมตร

จงคํานวณพลังงานศักยที่สะสมไวไดสูงสุด ?

Page 58: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟาใตดิน

- ตั้งอยูลึกจากผิวดินประมาณ 350 เมตร มีขนาดกวาง 23 เมตร

ยาว 175 เมตร สูง 47 เมตร

- ภายในโรงไฟฟาติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 250,000 กิโลวัตต รวม 4

เครื่อง ขนาดกวาง 23 เมตร ยาว 175 เมตร สูง 47 เมตร

- กังหันน้ํา/สูบกลับ Vertical Shaft Francis Type/Reversible Pump-

Turbine

- เครื่องกําเนิดไฟฟา 3 Phase AC Synchronous Generator - Motor

กําลังผลิตติดตั้ง ระยะแรก 2 x 250 เมกะวัตต

- ระยะที่สอง 2 x 250 เมกะวัตต พลังงานไฟฟาเฉลี่ย 400 ลานกิโลวัตต -

ชั่วโมง

Page 59: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อุโมงคสงน้ําเขาโรงไฟฟา

เชื่อมระหวางอางเก็บน้ําบนภูเขาและโรงไฟฟาใตดิน เปนอุโมงค

คอนกรีตดาดผิวเหล็ก จํานวน 2 ทอ ความยาวทอละ 651 เมตร

ชนิด คอนกรีตดาดผิวเหล็ก เสนผาศูนยกลางภายใน 17.0 - 6.0 เมตร

ความยาว 52 เมตร จํานวน 2 ชุด

Page 60: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อุโมงคทายน้ํา

เชื่อมระหวางโรงไฟฟาใตดิน และอางเก็บน้ําลําตะคอง จํานวน 2 ทอ

ชนิด คอนกรีตเสริมเหล็ก เสนผาศูนยกลางภายใน 4.4 - 6.8 เมตร

ความยาว 1,430 เมตร จํานวน 2 ทอ

Page 61: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

กรณีศึกษาโรงไฟฟาพลังงานน้าํแบบสูบกลับ Waldeck, Germany

Page 62: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ
Page 63: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อุโมงคทางเขา

Page 64: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ภายในอุโมงคของโรงไฟฟา

Page 65: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ทอสงน้ํา

Page 66: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

โรงไฟฟา

Page 67: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

หองควบคุม

Page 68: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อุโมงคใตดิน

Page 69: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

กังหนั

Page 70: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

เครื่องกําเนิดไฟฟา

Page 71: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ขอมลูทางเทคนิคของโรงไฟฟาสูบกลับ Waldeck

-Waldeck I (ground level system) เปนโรงไฟฟาสูบกลับแหง

แรกของเยอรมัน เริ่มจายไฟฟาครั้งแรกในป ค.ศ. 1931 (64 ปที่

แลว)

- Waldeck II (underground system) สรางในชวงป ค.ศ. 1969 –

1975

Page 72: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ขอมลูทางเทคนิคของโรงไฟฟาสูบกลับ Waldeck

Pumped storage power station Waldeck I Waldeck II

Rate output of generators 140 MW 440 MW

Power requirement of turbines 96 MW 480 MW

Upper basin capacity 0.7 MCM 4.3 MCM

Storage capacity 478 MWh 3,428 MWh

Reservoir datum height difference 298 m 329 m

No. of machine sets 4 2

Max. turbine power 35 MW/turbine 240 MW/turbine

Max. pumping power 24 MWpump 245 MW/pump

RPM 500 500

Page 73: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ขอดีระบบสะสมพลังงานน้ําแบบสูบกลับ

1. คาใชจายในการดําเนินงานต่าํมาก

2. คาบํารุงรักษานอย

3. ไมมีมลภาวะ

4. สามารถเดินเครื่องกําเนดิไฟฟาไดรวดเร็ว

5. ไมตองมีการสํารองเชื้อเพลิงไวใชงาน

6. มีอายุการใชงานนาน

7. มีผลพลอยไดจากอางเกบ็น้ําสําหรับโครงการอเนกประสงค

อื่นๆ

Page 74: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

ขอเสียระบบสะสมพลงังานน้ําแบบสูบกลับ

1. คาใชจายในการกอสรางโรงไฟฟาและเขื่อนสูงมาก

2. กําลังการผลิตไฟฟาไมแนนอน

3. อยูไกลจากผูใชไฟฟา ทําใหเสียคาใชจายสูงในการสราง

สายสงไฟฟา

4. เกดิผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

Page 75: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

อนาคตของการพฒันาระบบ

Pumped Hydro Energy Storage

พลังงานน้ําเปนพลังงานที่สะอาดและไมมีมลภาวะใดๆ

กับสิ่งแวดลอม ดังนั้นความสําคัญของระบบนี้จึงยังคง

มีความจําเปนอยูมาก ที่สําคัญพื้นที่ตางๆในโลกนี้ยัง

สามารถสรางระบบนี้มากกวา 1,000 แหง

Page 76: Pump Storage : ระบบสะสมพลังงานน้ำแบบสูบกลับ

เอกสารอางอิง

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย