research proposal l_kriengsak_.update

49
1 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ แบบ -1แบบเสนอโครงการวิจัย (Research project) ประกอบการเสนอของบประมาณ ประจําปงบประมาณ .. 2552 ตามมติคณะรัฐมนตรี ------------------------------------ ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) พฤติกรรมและการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป สําหรับระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรม (ภาษาอังกฤษ) Behavior and Design of Joints of Precast Reinforced Concrete Beams for Industrial Construction System ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) ……......... ไมมี – ……………………………………...................... (ภาษาอังกฤษ) ................. ไมมี ............................................................................... สวน : ลักษณะโครงการวิจัย โครงการวิจัยใหม โครงการวิจัยตอเนื่องระยะเวลา…3…ปนี้เปนปที....1....รหัสโครงการวิจัย…...….. I ระบุความสอดคลองของโครงการวิจัยกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที10 (. . 2550-2554) ( ผนวก 2) ซึ่ง ประกอบดวย 5 ยุทธศาสตร (กรุณาระบุความสอดคลองเพียง 1 ยุทธศาสตร ที่มี ความสอดคลองมากที่สุด โดยทําเครื่องหมาย ในชอง และระบุความสําคัญ กับเรื่องที่สอดคลองมากที่สุดในยุทธศาสตรนั้น ) ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและ การเรียนรู ใหความสําคัญกับ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) การพัฒนาคนใหมีคุณธรรมนําความรูเกิดภูมิคุมกัน การเสริมสรางสุขภาวะคนไทยใหมีสุขภาพแข็งแรงทั ้งกายและใจ มี ความสัมพันธทางสังคมและอยูในสภาพแวดลอมที่นาอยู การเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติสุข ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานทีมั่นคงของประเทศ ใหความสําคัญกับ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) การเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน การสรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน (ฉบับปรับปรุงป .. 2550)

Upload: tarapong-pata

Post on 07-Aug-2015

30 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

1

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ แบบ ว-1ด

แบบเสนอโครงการวิจัย (Research project)

ประกอบการเสนอของบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตามมติคณะรัฐมนตร ี

------------------------------------

ชื่อโครงการวจัิย (ภาษาไทย) พฤติกรรมและการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปสําหรับระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรม

(ภาษาอังกฤษ) Behavior and Design of Joints of Precast Reinforced Concrete Beams for Industrial Construction System

ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) ……......... – ไมมี – ……………………………………...................... (ภาษาอังกฤษ) ................. – ไมมี –...............................................................................

สวน ก : ลักษณะโครงการวิจัย

โครงการวิจยัใหม

โครงการวิจัยตอเนื่องระยะเวลา…3…ป ปนี้เปนปที่....1....รหัสโครงการวิจัย…...…..

I ระบุความสอดคลองของโครงการวิจัยกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554) (ผนวก 2) ซ่ึง ประกอบดวย 5 ยุทธศาสตร (กรุณาระบุความสอดคลองเพียง 1 ยุทธศาสตร ที่มี ความสอดคลองมากที่สุด โดยทําเครื่องหมาย ในชอง และระบุความสําคัญ กับเรื่องที่สอดคลองมากที่สุดในยุทธศาสตรนั้น ๆ)

ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและ การเรียนรู ใหความสําคัญกับ (ทําเครื่องหมาย ในชอง )

การพัฒนาคนใหมีคุณธรรมนําความรูเกดิภูมิคุมกัน การเสริมสรางสุขภาวะคนไทยใหมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ มี

ความสัมพันธทางสังคมและอยูในสภาพแวดลอมที่นาอยู การเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติสุข

ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่ ม่ันคงของประเทศ ใหความสําคัญกับ (ทาํเครื่องหมาย ในชอง )

การเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน การสรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน

(ฉบับปรับปรุงป พ.ศ. 2550)

2

การเสริมสรางศักยภาพของชมุชนในการอยูรวมกนักับทรพัยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมอยางสันติและเกื้อกูล

ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยนื ใหความสําคัญ กับ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) การปรับโครงสรางการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพ และคุณคาของสินคาและ บริการบนฐานความรูและความเปนไทย การสรางภูมิคุมกันของระบบเศรษฐกิจ การสนับสนนุใหเกิดการแขงขันที่เปนธรรม และการกระจายผลประโยชน จากการพัฒนาอยางเปนธรรม ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสราง ความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ใหความสําคัญกับ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) การรักษาฐานทรัพยากรและความสมดุลของระบบนิเวศน การสรางสภาพแวดลอมที่ดีเพื่อยกระดับคณุภาพชวีิต และการพัฒนาที่ ยั่งยืน การพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปญญาทองถ่ิน ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ให ความสําคัญกับ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) การเสริมสราง และพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล ใหเปนสวนหนึ่งของวิถีการดําเนินชวีิตในสังคมไทย

เสริมสรางความเขมแข็งของภาคประชาชน ใหสามารถเขารวมในการ บริหารจัดการประเทศ สรางภาคราชการที่มีประสิทธิภาพและมธีรรมาภิบาล เนนการบริการ

แทนการกํากับควบคุม และทาํงานรวมกับหุนสวนการพฒันา การกระจายอาํนาจการบริหารจัดการประเทศสูภูมิภาค ทองถ่ิน และ

ชุมชนเพิ่มขึ้นตอเนื่อง สงเสริมภาคธุรกิจเอกชนใหเกิดความเขมแข็ง สุจริต และมีธรรมาภิบาล การปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบและขั้นตอน กระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อสรางความสมดุลในการจัดสรรประโยชนจากการพัฒนา

การรักษาและเสริมสรางความมั่นคง เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการประเทศสูดุลยภาพและความยั่งยืน

3

II ระบุความสอดคลองของโครงการวิจัยกับนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) (ผนวก 3) ซ่ึงประกอบดวย 5 ยุทธศาสตร (กรุณาระบุ ความสอดคลองเพยีง 1 ยุทธศาสตร ที่มีความสอดคลองมากที่สุด โดยทาํเครื่องหมาย ในชอง และระบุกลยุทธการวิจัยที่สอดคลองมากที่สุดในยุทธศาสตรนั้น ๆ พรอมทั้งระบุแผนงานวิจัยที่สอดคลองมากที่สุดในกลยุทธการวิจยันัน้ ๆ) ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 1 การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) กลยุทธการวิจัยท่ี 1 การสรางมูลคาผลผลิตทางการเกษตรและประมง และการพัฒนาศักยภาพในการแขงขันและการพึ่งพาตนเองของสนิคา เกษตรและประมง (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาการผลิตพชืเศรษฐกิจ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มและนาํไปสูการแขงขันและการพึ่งพาตนเอง เชน ขาว ยางพารา ปาลมน้ํามัน ออย มันสําปะหลัง พืชผัก ผลไม ไมดอกไมประดับ เปนตน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับปศุสัตวเพื่อสราง มูลคาเพิ่มและนําไปสูการแขงขันและการพึ่งพาตนเอง เชน สุกร โคเนื้อ โคนม สัตวปก แพะ เปนตน แผนงานวิจัยที่ 3 การวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับประมงและการ เพาะเลี้ยงชายฝงเพื่อสรางมูลคาเพิ่มและนําไปสูการแขงขันและ การพึ่งพาตนเอง แผนงานวิจัยที ่4 การวิจยัเกีย่วกบัการเพิ่มประสทิธิภาพดานการ จัดการเก็บเกีย่วผลผลิตทางการเกษตรและประมง แผนงานวิจัยที ่5 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานสินคา เกษตรและประมง แผนงานวิจัยที ่6 การวิจยัเกีย่วกบัการผลิตอาหารปลอดภัย แผนงานวิจัยที ่7 การวิจยัเกีย่วกบัเกษตรอินทรีย แผนงานวิจัยที่ 8 การวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการระบบ ชลประทานที่เหมาะสมในพืน้ที่และการใชน้ําชลประทานอยางม ี ประสิทธิภาพ เพื่อการผลิตทางการเกษตรและประมง กลยุทธการวิจัยท่ี 2 การพัฒนาองคกรความรูและภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อเปนพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอยางยั่งยืน (ทําเครื่องหมาย ในชอง )

4

แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกบัการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยีง แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบักระบวนการสรางองคความรู และตอยอดภมูิปญญาทองถ่ิน แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกบัมาตรฐานผลิตภัณฑสินคาของ ทองถ่ิน แผนงานวิจัยที ่4 การวิจยัเกีย่วกบัการจัดการผลิตและการตลาด สินคาในระดบัชุมชนทีเ่หมาะสม โดยใชองคความรูและภูมปิญญา ทองถ่ิน กลยุทธการวิจัยท่ี 3 การพฒันาประสิทธิภาพการผลติทางอตุสาหกรรม ใหเอ้ือตอการดาํเนนิธุรกิจอยางยัง่ยืน (ทําเครือ่งหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที่ 1 การวิจยัเกีย่วกบัการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทางอุตสาหกรรมเปาหมาย แผนงานวิจยัที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการเพิ่มศักยภาพของการเปน ฐานการผลิตภาคอุตสาหกรรม แผนงานวิจัยที ่3 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาวตัถุดิบในประเทศ และการเพิ่มมลูคาสินคาเพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาด กลยุทธการวิจัยท่ี 4 การพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจจากการทองเที่ยว (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกบัการพัฒนาศักยภาพการบริหาร จัดการดานการทองเที่ยว แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชนกับการพัฒนา การทองเที่ยว แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพแหลง ทองเที่ยวอยางยั่งยืน กลยุทธการวิจัยท่ี 5 การพัฒนาอตุสาหกรรมผลิตพลังงานชีวภาพและ พลังงานทางเลือกอ่ืน (ทาํเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิต พลังงานชีวภาพ แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิต พลังงานทางเลือกอื่น แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับการประหยัดการใชพลังงาน ประเภทตาง ๆ

5

กลยุทธการวิจัยท่ี 6 การยกระดับประสิทธิภาพและมาตรฐานการให บริการดานโลจิสติกสท่ีมีคุณภาพ (ทําเครือ่งหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานและยก ระดับประสิทธิภาพการใหบริการดานโลจสิติกส แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ดานโลจิสติกส แผนงานวิจัยที ่3 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาโครงขายคมนาคม และระบบการจัดสงและกระจายสินคาที่มีมาตรฐาน และการเพิ่ม ประสิทธิภาพดานการขนสงผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธการวิจัยท่ี 7 การเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ทํา เครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวจิยัเกีย่วกบัการเพิ่มสมรรถนะและพัฒนา ศักยภาพขีดความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัและพฒันาเกีย่วกับระบบฐานขอมูลและ การเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานภาครฐั เอกชนและผูใชบริการ กลยุทธการวิจัยท่ี 8 การพฒันาเศรษฐกิจระหวางประเทศ (ทาํเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจและ แนวทางการแกไขปญหา อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ทางการคา ขอตกลงการคาเสรี และการเชื่อมอาเซียนสูสากล แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัการสรางสัมพันธภาพและการ พัฒนาทางเศรษฐกิจทีย่ั่งยนืรวมกับประเทศเพื่อนบาน แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกบักลไกที่เหมาะสมในการพัฒนา เศรษฐกิจระหวางประเทศ ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 2 การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนา ทางสังคม (ทาํเครื่องหมาย ในชอง ) กลยุทธการวิจัยท่ี 1 การปฏิรูปการศึกษา กระบวนการเรียนการสอน ท้ังในและนอกระบบ ตลอดจนการพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู ตลอดชีวิต ท่ีสอดคลองกับวิถีชีวิตในแตละทองถิ่น (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัการปฏิรูปการศึกษา

6

แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาคณุภาพการศึกษาที่ เหมาะสมกับทองถ่ิน กลยุทธการวิจัยท่ี 2 การสงเสริม อนุรักษและพัฒนาคุณคาทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณท่ีหลากหลาย (ทําเครื่องหมาย ใน ชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัการสงเสริม อนุรักษ และพฒันา คุณคาทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณของชาติ บนฐาน ภูมิปญญาทองถ่ิน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกบัองคความรูทางศิลปวัฒนธรรม ประเพณี คานยิม และสรางสรรคงานศิลป ระดับทองถ่ิน ระดับชาต ิ และระดับนานาชาติ กลยุทธการวิจัยท่ี 3 การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรคอุบตัิใหม การ รักษาพยาบาล การฟนฟูสมรรถภาพทางกายและจิตใจ รวมถึงการ คุมครองผูบริโภค (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพและเพิ่ม ประสิทธิภาพการใหบริการทางการแพทยและสาธารณสุข แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัสุขภาพของประชาชนในภาค การเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกบัการเฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยงตอ การติดเชื้อเอดส แผนงานวิจัยที ่4 การวิจยัเกีย่วกบัการปองกันโรคอุบัติใหม แผนงานวิจัยที ่5 การวิจัยเกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพทางกาย และจิตใจ แผนงานวิจัยที ่6 การวิจยัเกีย่วกบัการคุมครองผูบริโภค กลยุทธการวิจัยท่ี 4 การพัฒนาและการคุมครองภูมิปญญาการแพทย แผนไทย การแพทยพื้นบาน การแพทยทางเลือก และสมุนไพร (ทํา เครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัการแพทยแผนไทย การแพทย พื้นบาน และการแพทยทางเลอืก เพื่อสรางองคความรูจากภมูิปญญา ทองถ่ินและการคุมครองภูมิปญญา แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพรเพื่อประโยชนทาง การแพทยและสาธารณสุข

7

กลยุทธการวิจัยท่ี 5 การพัฒนาศักยภาพทางการกีฬา (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัการกีฬาเพื่อการพัฒนาสังคม แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัวิทยาศาสตรการกีฬา กลยุทธการวิจัยท่ี 6 การพัฒนาขีดสมรรถนะและศักยภาพของหนวยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐและภาคเอกชน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกบัการพัฒนากฎหมายและระบบ งานยุติธรรม แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับการมีคุณธรรมและจริยธรรม และการเสริมสรางธรรมาภิบาลในสังคม แผนงานวิจัยที ่4 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนารปูแบบการบรหิาร จัดการเพื่อการตอตานและปองกันการทุจริตและการประพฤติมิชอบ ของภาคราชการและภาคเอกชน แผนงานวิจัยที ่5 การวิจัยเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธการวิจัยท่ี 7 การจัดการปญหายาเสพติด ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน และปญหาผูมีอิทธิพล (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเครือขายบริหาร จัดการปญหายาเสพติด แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการแกปญหาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม ผูมีอิทธิพล โดยใชมาตรการทางสังคม และกระบวนการมสีวนรวม ของชมุชน กลยุทธการวิจัยท่ี 8 การสงเสริมความเขมแข็งและการเสริมสราง ภูมิคุมกันของทองถิ่นและสังคม (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการสรางเสริมความเขมแข็ง ของทองถ่ิน กระบวนการและกลไกสนับสนุนการมีสวนรวมของ ประชาชน และการพัฒนาระเบียบชุมชน

8

แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัการสงเสริมกระบวนการออม และการสรางหลักประกนัรายได ตลอดจนความมั่นคงในครัวเรือน แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ผูดอยโอกาส ผูพิการและผูสูงอายุ แผนงานวิจัยที ่4 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาองคความรูดาน ประชาสังคม และการจัดการความรูเพื่อขจัดความยากจนและ เสริมสรางภูมิคุมกันของทองถ่ินและสังคม กลยุทธการวิจัยท่ี 9 การเสรมิสรางความมัน่คงและบูรณาการการแกไข ปญหาสถานการณความไมสงบในประเทศ (ทําเครื่องหมาย ใน ชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัความมั่นคงในประเทศ แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัหลักการ “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” คุณภาพชีวติและสังคม และการสรางความสมานฉนัทที่สอดคลอง กับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชุมชนในพืน้ที่จังหวัดชายแดนและ ในประเทศ แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกบัการบริหารจัดการและผลกระทบ อันเนื่องมาจากผูลักลอบเขาเมือง แรงงานตางดาวและแรงงาน ตางถิ่น แผนงานวิจัยที ่4 การวิจัยเกี่ยวกบัศักยภาพและประสิทธภิาพงาน การขาวและการประชาสัมพันธภาครัฐ ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 3 การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนา ทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล (ทําเครือ่งหมาย ในชอง ) กลยุทธการวิจัยท่ี 1 การพัฒนานวัตกรรมและองคความรูใหมทาง วิทยาศาสตร ทางสังคมศาสตร และการพัฒนาองคความรูใหมใน วิทยาการตาง ๆ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและองคความรู ใหมทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน เทคโนโลยีชีวภาพ วัสดุศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่สาร นาโนเทคโนโลยี วิทยาศาสตรการแพทยและสาธารณสุข เทคโนโลยีดานอาวุธ ยุทโธปกรณ เปนตน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและองคความรู ใหมทางสังคมศาสตร

9

แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและองคความรู ใหมทางวิทยาการอื่น ๆ แผนงานวิจัยที ่4 การวิจยัเพื่อตอยอดภูมิปญญาของประเทศเพื่อ การใชประโยชนในการพัฒนาประเทศ กลยุทธการวิจัยท่ี 2 การสรางศักยภาพและความสามารถของทรัพยากร บุคคลในวิทยาการตาง ๆ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพและความ สามารถของนักวิจัยรุนใหม นักวิจัย และนักบริหารการวิจัย ใน วิทยาการตาง ๆ ของภาครัฐและภาคเอกชน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาผูชวยนักวิจัยใน ภาครัฐและภาคเอกชน ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 4 การเสริมสรางและพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) กลยุทธการวิจัยท่ี 1 การบริหารจัดการและการใชประโยชนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยัง่ยนื (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาองคความรูดานความ หลากหลายทางชีวภาพและการใชประโยชนความหลากหลาย ทางชีวภาพอยางยั่งยืน แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรเพื่อ เสริมสรางคุณคา (Value Creation) ของผลผลิตและทรัพยากร แผนงานวิจัยที ่4 การวิจยัเกีย่วกบัการใชมาตรการทางสิ่งแวดลอม เพื่อแกปญหาการกีดกนัทางการคา แผนงานวจิัยที ่5 การวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ กับการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรทางการเกษตร ประมง และ ชายฝง แผนงานวิจัยที ่6 การวิจัยเกี่ยวกับการสรางจิตสํานึกในการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แผนงานวิจัยที ่7 การวิจยัเกีย่วกบัการอนุรักษพื้นที่ที่สําคัญและ มีความเปราะบางเชิงนิเวศ

10

แผนงานวิจัยที ่8 การวิจัยเพื่อฟนฟูและเพิ่มความสมบูรณของ พื้นที่ปาอนุรักษ ปาสงวนแหงชาติ ปาชายเลน และทรัพยากร ชายฝง และการจัดการไฟปา แผนงานวิจัยที ่9 การวิจัยเกี่ยวกับมลพิษ การจัดการมลพิษ และ ผลกระทบสิ่งแวดลอมจากมลพิษ กลยุทธการวิจัยท่ี 2 การสรางองคความรูเก่ียวกับการฟนฟูบํารุงดิน รวมท้ังการใชประโยชนท่ีดนิ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัวิทยาศาสตรทางดิน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการปรับปรุงคุณภาพและการ ฟนฟูบํารุงดิน แผนงานวิจัยที ่3 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการใชประโยชน ทรัพยากรที่ดนิอยางมีประสิทธิภาพ กลยุทธการวิจัยท่ี 3 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้าํ แบบบูรณาการและสรางความเปนเอกภาพในการบริหารจัดการน้ํา ของประเทศ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบและกลไก การบริหารจัดการน้าํของประเทศที่มีประสิทธิภาพ แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกบัผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการ สรางเขื่อนและฝาย กลยุทธการวิจัยท่ี 4 การสรางองคความรูเก่ียวกับภัยพบิัติจากธรรมชาติ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจัยเกี่ยวกับภัยพิบัติจากธรรมชาติและ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบฐานขอมูล ระบบการพยากรณเตือนภัยและระบบการเฝาระวังเกี่ยวกับ อุบัติภัยทางธรรมชาติ ยุทธศาสตรการวิจัยท่ี 5 การบริหารจัดการความรู ผลงานวิจัย ทรัพยากร และภูมิปญญาของประเทศ สูการใชประโยชนดวยยุทธวิธีท่ีเหมาะสม (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) กลยุทธการวิจัยท่ี 1 การพัฒนาระบบบริหารงานวิจัยของประเทศ ตลอดจนการบริหารจัดการความรู ผลงานวจัิย ทรัพยากร และภูมิปญญา

11

ของประเทศ และจากตางประเทศสูการใชประโยชน (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาระบบบริหารงานวิจัย ของประเทศ ตลอดจนการบริหารจัดการความรู ผลงานวิจัย ทรัพยากร และภูมิปญญาของประเทศ สูการใชประโยชน แผนงานวิจัยที ่2 การวิจยัเกีย่วกบัระบบการคุมครองสิทธิประโยชน และทรัพยสินทางปญญา และแนวทางการผลักดันสูการนําทรัพยสิน ทางปญญาไปใชประโยชนในเชิงพาณิชย แผนงานวิจัยที ่3 การวิจยัเกีย่วกบัการพัฒนาฐานขอมูลและดัชนี ดานการวิจัยทีเ่หมาะสมแกการพัฒนาประเทศ แผนงานวิจัยที ่4 การวิจัยเกี่ยวกับการเขาถึงทรัพยากรทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และวิทยาการสาขาตาง ๆ ตลอดจน องคความรูในประเทศและจากตางประเทศ แผนงานวิจัยที ่5 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาองคกรวิจัยระดับ ชุมชน กลยุทธการวิจัยท่ี 2 การวิเคราะหและประเมินผลเพื่อการพัฒนา ศักยภาพและความสามารถดานการวิจัยของประเทศที่มีประสิทธิภาพ (ทําเครื่องหมาย ในชอง ) แผนงานวิจัยที ่1 การวิจยัเกีย่วกบัระบบการวิเคราะหและประเมิน ผลเพื่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถดานการวิจัยของ ประเทศที่มีประสิทธิภาพ แผนงานวิจัยที ่2 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนามาตรฐานการวิจัย ของประเทศ III ระบุความสอดคลองของโครงการวิจัยกับกลุมเร่ืองท่ีควรวิจัยเรงดวนตามนโยบาย และยุทธศาสตรการวิจัยของชาต ิ(พ.ศ. 2551-2553) ซ่ึงประกอบดวย 10 กลุมเร่ือง (หากสอดคลองกับกลุมเรื่องใดมากที่สุดใหทําเครื่องหมาย ในชอง ) การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสรางธรรมาภิบาล การปฏิรูปการศึกษา การจัดการน้ํา การพัฒนาพลงังานทดแทน การเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรเพื่อการสงออกและลดการนําเขา

12

การปองกันโรคและการรักษาสุขภาพ การบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและการพัฒนาคุณคาความหลากหลายทาง ชีวภาพ เทคโนโลยีใหมและเทคโนโลยีท่ีสําคัญเพื่ออุตสาหกรรม การบริหารจัดการการทองเที่ยว

สวน ข : องคประกอบในการจัดทําโครงการวิจัย 1. ผูรับผดิชอบ

หัวหนาโครงการ ผศ.ดร. เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย สัดสวนที่ทํางานวิจยั 60% ผูรวมวิจัย รศ.ดร. สถาพร โภคา สัดสวนที่ทํางานวิจยั 20% หนวยงาน: คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมารค ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 โทรศัพท: 045-353300 โทรสาร: 045-353333 Email: [email protected] ผูรวมวิจัย รศ.ดร. สิทธิชัย แสงอาทิตย สัดสวนที่ทํางานวิจยั 20% หนวยงาน: สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถ. มหาวทิยาลัย ต. สุรนารี อ. เมือง จ. นครราชสีมา 30000 โทรศัพท 044-224326

2. ประเภทของการวิจัย

การวิจยัประยกุต (Applied research) 3. สาขาวิชาการและกลุมวิชาท่ีทําการวิจัย

วิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย 4. คําสําคัญ (keywords) ของโครงการวิจัย

คอนกรีตเสริมเหล็ก Reinforced Concrete คอนกรีตหลอสําเร็จ Precast Concrete

13

ช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูป Precast Concrete Member รอยตอคาน Beam Joint แรงเสียดทานเฉือน Shear Friction ระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรม Industrial Construction System 5. ความสําคัญ และท่ีมาของปญหาที่ทําการวิจัย

ธุรกิจการกอสรางเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง บริษัทรับเหมากอสรางจึงตองพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของระบบการกอสรางของตนเองเพื่อลดตนทุนการกอสราง คอนกรีตเปนวัสดุหลักที่สําคัญสําหรับอุตสาหกรรมการกอสรางในประเทศไทย โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กนับวาเปนโครงสรางที่แพรหลายและเปนที่คุนเคยมากที่สุด โดยในปจจุบันระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมไดเร่ิมมีบทบาทสําคัญตอระบบการกอสรางโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กในประเทศไทย ระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมเปนระบบการกอสรางที่อาศัยผลผลิตจากโรงงานที่มีกระบวนการควบคุมคุณภาพตลอดขั้นตอนการผลิต แลวนํามาประกอบติดตั้ง ณ สถานที่กอสราง ซ่ึงชวยลดเวลาและขั้นตอนการกอสรางลงไดมาก ตัวอยางระบบกอสรางแบบอุตสาหกรรมไดแกระบบการกอสรางโดยใชช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูป ระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาอุตสาหกรรมการกอสรางของไทยในปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากการที่มีผูประกอบการจํานวนมากหันมาใชระบบชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปในโครงการกอสรางของตนเอง อยางเชน โครงการบานจัดสรรตาง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดย บริษัท สยามธานี พร็อพเพอรตี้ จํากัด บริษัท ไรมอน แลนด จํากัด บริษัท แลนด แอนด เฮาส จํากัด บริษัท ควอลิตี้ เฮาส จํากัด บริษัท กฤษดามหานคร จํากัด บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด และบริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอรตี้ จํากัด โครงการกอสรางศูนยกีฬาเอเชี่ยนเกมส และโครงการอาคารชุดพักอาศัย 5 ช้ัน การเคหะแหงชาติ โดย บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด โครงการบานเอื้ออาทร การเคหะแหงชาติ โดย บริษัท เอกประจิม จํากัด และโครงการบานเอื้ออาทรอีกหลายโครงการ อาทิเชน โครงการสระสี่มุม โครงการจังหวัดอุบลราชธานี โครงการจังหวัดรอยเอ็ด และโครงการจังหวัดมุกดาหารที่หันมาใชระบบชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป ระบบการกอสรางโดยใชช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูปในประเทศไทยประกอบดวย 2 ระบบใหญ ๆ ไดแกระบบผนังรับน้ําหนักคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast concrete load bearing wall) ดังแสดงในรูปที่ 5.1 และ ระบบเสา-คานคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast concrete column and

beam) ดังแสดงในรูปที่ 5.2 ระบบชิ้นสวนสําเร็จรูปมีขอไดเปรียบระบบการกอสรางแบบดั่งเดิม (Conventional system) เนื่องจากสามารถกอสรางไดรวดเร็วกวา (ลดขั้นตอนการติดตั้งค้ํายัน การตั้งแบบหลอ การผูกเหล็ก การเทคอนกรีต และการบมคอนกรีต) ซ่ึงชวยลดเวลากอสรางและจํานวนคนงานลง ทําใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชงานไดภายในระยะเวลาอันสั้น และมีตนทุนการกอสรางที่ถูกลงในกรณีที่มีหนวยการกอสรางที่เหมือนกันจํานวนมาก อีกทั้งยัง

14

ชวยลดมลภาวะเรื่องฝุนและเสียงซึ่งเกิดในสถานที่กอสรางซึ่งเปนมลภาวะสิ่งแวดลอมที่เปนปญหาหลักในเมืองใหญที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูง และที่สําคัญระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมชวยลดขยะจากงานกอสรางเนื่องจากเศษปูน และไมแบบได ซ่ึงจะสงเสริมการรักษาสภาพแวดลอมที่ดีในสถานที่กอสรางและชุมชนใกลเคียงไดอีกดวย

รูปที่ 5.1 การกอสรางบานพักอาศัยดวยระบบผนังรับน้ําหนักคอนกรีตสาํเร็จรูป เนื่องจากระบบการกอสรางโดยใชช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูปจะใชช้ินสวนยอย ๆ มาตอกัน

เปนโครงสราง ดังนั้นระบบการกอสรางระบบเสา-คานคอนกรีตสําเร็จรูป จะมีสวนที่สําคัญที่สุดก็คือ จุดตอ (Connection) และรอยตอ (Joint) ระหวางชิ้นสวนคานและเสา จุดเชื่อมตอเหลานี้โดยปกติแลวจะเปนตําแหนงที่ออนแอที่สุดของโครงสราง ซ่ึงแตกตางจากโครงสรางที่สรางจากระบบการกอสรางแบบดั่งเดิมที่มีความตอเนื่องระหวางคานและเสาจึงทําใหจุดเชื่อมตอเหลานี้มีความแข็งแรง รูปที่ 5.3 แสดงตัวอยางการหลอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

15

รูปที่ 5.2 การกอสรางบานพักอาศัยดวยระบบคาน-เสาคอนกรีตสําเร็จรูป

รูปที่ 5.3 แบบหลอคานและคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป รอยตอ (Joint) สําหรับชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปมีดวยกัน 2 ชนิดคือ รอยตอแบบเปยก

(Wet joint) และรอยตอแบบแหง (Dry joint) โดยที่รอยตอแบบแหงจะใชการตอระหวางช้ินสวนสําเร็จรูปดวยการใชสลักเกลียวยึด หรือใชการเชื่อมซึ่งตองมีการฝงเหล็กสําหรับการเชื่อมไวลวงหนาตั้งแตขั้นตอนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปในโรงงาน รอยตอแบบแหงนี้จะไมมีการเทคอนกรีตที่หนางานแตอยางใด ในขณะที่รอยตอแบบเปยกจะมีการเทคอนกรีตสดที่หนางานเพื่อเปนตัวประสานรอยตอของชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปเขาดวยกัน โดยที่รอยตอแบบนี้จะลดปญหาในดานการประกอบชิ้นสวนสําเร็จรูปเขาดวยกัน (ลดปญหาคาผิดพลาดของขนาดชิ้นงาน)

16

รูปที่ 5.4 แสดงตัวอยางรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่ใชกันอยางแพรหลายในขณะนี้ โดยคานคอนกรีตสําเร็จรูปมีการเปลือยสวนปลายบริเวณจุดตอสําหรับทํารอยตอแบบเปยก (บริเวณหัวเสา) โดยเหล็กยื่นที่ปลายจะถูกอมดวยคอนกรีตในขั้นตอนการเทคอนกรีต ซ่ึงเหล็กยื่นเหลานี้อาจจะใชการเชื่อมตอหรือไมเชื่อมตอกับเหล็กอื่น ๆ จากลักษณะของรอยตอจะพบวาคอนกรีตใหมที่ใชทํารอยตอจะไมผสมเขากับคอนกรีตเกาในคานสําเร็จรูป ดังนั้นจะเกิดความไมตอเนื่องของเนื้อคอนกรีตขึ้นซึ่งจะมีผลตอกําลังรับน้ําหนักของรอยตอ ดวยเหตุนี้การออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปในลักษณะนี้ตองมีการพิจารณาถึงผลของกําลังรับน้ําหนักที่ลดลงของรอยตอเนื่องจากความไมตอเนื่องของเนื้อคอนกรีตที่รอยตอ

รูปที่ 5.4 ตัวอยางรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปแบบเปยก

ปญหาที่พบในการใชรอยตอรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปแบบเปยกซึ่งใชกันอยางแพรหลายในอุตสาหกรรมกอสรางไทยโดยเฉพาะในการกอสรางโครงการบานเอื้ออาทร การเคหะแหงชาติก็คือ ผูประกอบการรับเหมากอสรางไดประยุกตใชการกอสรางระบบเสา-คานคอนกรีตสําเร็จรูปกับแบบกอสรางที่ออกแบบโดยใชระบบการกอสรางแบบดั่งเดิมโดยปราศจากการพิจารณาถึงผลของกําลังรับน้ําหนักที่ลดลงของรอยตอเนื่องจากความไมตอเนื่องของเนื้อคอนกรีตที่รอยตอและความไมตอเนื่องของเหล็กเสริมดังแสดงในรูปที่ 5.5 ซ่ึงผลของการปฏิบัติในลักษณะนี้จะทําใหกําลังของโครงสรางลดลง สงผลใหคาความปลอดภัย (Factor of Safety) ใน

17

การใชอาคารมีคาลดลงดวย โดยคาความปลอดภัยที่ลดลงนั้นเปนอันตรายอยางยิ่งตอชีวิตและทรัพยสินของผูใชอาคาร

สาเหตุสําคัญของปญหาที่เกิดขึ้นไดแกการขาดขอมูลงานวิจัยที่แสดงถึงผลการทดสอบดานกําลังของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป ซ่ึงจะทําใหทราบถึงพฤติกรรมดานกําลังและทราบถึงความสามารถในการตานทานแรงตาง ๆ ของรอยตอแบบเปยก รวมถึงเปนแนวทางสําหรับการออกแบบรอยตอ โดยผลการศึกษาสามารถบงชี้ถึงคาความปลอดภัย (Factor of Safety) ที่ลดลงของโครงสราง ซ่ึงเปนดรรชนีช้ีวัดถึงประสิทธิภาพในการใชงานวามีความเหมาะสมและปลอดภัยตอชีวิตของผูใชอาคารหรือไม ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมการรับน้ําหนักของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปจะชวยเติมเต็มองคความรูที่ขาด ชวยรักษาคาความปลอดภัยของอาคารใหอยูในระดับเดิม ชวยพัฒนาศักยภาพของระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมของไทย และสงเสริมระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมใหเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางขึ้น โดยสามารถลดมลภาวะเรื่องฝุนและเสียงซึ่งเกิดในสถานที่กอสราง และยังลดขยะจากงานกอสรางซึ่งชวยรักษาสภาพแวดลอมที่ดีในสถานที่กอสรางและชุมชนใกลเคียงไดอีกดวย

รูปที่ 5.5 การแกไขการกอสรางแบบดั่งเดิมมาเปนการกอสรางระบบเสา-คานคอนกรตีสําเร็จรูป

เหล็กยืน่ที่ปลายคานสําเร็จรูป รอยตอแบบเปยก

18

โครงการวิจัยนี้มุงเนนที่จะศึกษาทําความเขาใจถึงพฤติกรรมการรับน้ําหนักของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปแบบเปยกในรูปแบบตาง ๆ พรอมนําเสนอแนวทางการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปเพื่อใหมีความปลอดภัยและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และเปนแหลงขอมูลใหความรู เผยแพรและสงเสริมความเขาใจดานการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปแกผูที่สนใจ สามารถนําองคความรูที่ไดไปใชในการกอสราง และเปนฐานขอมูลการวิจัยเพื่อพัฒนารอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปตอไป

6. วัตถุประสงคของโครงการวจัิย

6.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับน้ําหนักของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป 6.2 เพื่อศึกษากําลังรับโมเมนตดดัรวมแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป 6.3 เพื่อศึกษาผลของรูปแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสาํเร็จรูปที่มีตอกําลังของรอยตอ 6.4 เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป 6.5 เพื่อเสนอแนวทางการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป 6.6 เพื่อใหวิศวกรและบริษัทรับเหมากอสรางสามารถออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

สําเร็จรูปไดอยางถูกตองและปลอดภยั 6.7 เพื่อสงเสริมการใชระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรมใหเปนทีย่อมรับในอุตสาหกรรม

กอสรางของไทย 7. ขอบเขตของโครงการวิจัย

7.1 ศึกษาเฉพาะพฤติกรรมของรอยตอแบบเปยก (Wet joint) ของคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปเทานั้น

7.2 ใชขนาดและรายละเอียดของเหล็กเสริมของคานและเสาคอนกรีตเสริมเหล็กของอาคารที่พักอาศัยขนาดเล็กทั่วไปเปนตัวแทนในการศึกษา (ขนาดประมาณ 0.2x0.4 ม.)

7.3 ในการศึกษาจะใชคากําลังรับแรงอัด ( 'cf ) ของคาน เสา และรอยตอคาเดียวกัน โดยมีคา

ระหวาง 180 – 220 กก./ซม.2

7.4 ใชเหล็กเสริมเกรด SR24 สําหรับเหล็กปลอก และเกรด SD30 สําหรับเหล็กตามยาว 7.5 การศึกษาครั้งนี้ไมไดพิจารณาถึงเทคนิคการประกอบและติดตั้งชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป

ในขั้นตอนการกอสราง 7.6 ไมพิจารณาแรงแบบสลับทิศ (Cyclic load) ที่เกิดจากแรงแผนดินไหว

8. ทฤษฎี สมมุติฐาน และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย

19

รอยตอ (Joint) สําหรับชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปมีดวยกัน 2 ชนิดคือ รอยตอแบบเปยก (Wet joint) และรอยตอแบบแหง (Dry joint) โดยที่รอยตอแบบแหงจะใชการตอระหวางช้ินสวนสําเร็จรูปดวยการใชสลักเกลียวยึด หรือใชการเชื่อมซึ่งตองมีการฝงเหล็กสําหรับการเชื่อมไวลวงหนาตั้งแตขั้นตอนการผลิตชิ้นสวนสําเร็จรูปในโรงงาน รอยตอแบบแหงนี้จะไมมีการเทคอนกรีตที่หนางานแตอยางใด ในขณะที่รอยตอแบบเปยกจะมีการเทคอนกรีตสดที่หนางานเพื่อเปนตัวประสานรอยตอของชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปเขาดวยกัน โดยที่รอยตอแบบนี้จะลดปญหาในดานการประกอบชิ้นสวนสําเร็จรูปเขาดวยกัน (ลดปญหาคาผิดพลาดของขนาดชิ้นงาน) รูปที่ 8.1 (ก) แสดงตัวอยางรอยตอแบบแหงของจุดตอระหวางชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป ซ่ึงจะเห็นวามีการใชเหล็กฉากเชื่อมติดกับแผนเหล็กที่ฝงในชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูป เพื่อยึดชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปทั้ง 2 ช้ินเขาดวยกัน รูปที่ 8.1 (ข) แสดงตัวอยางรอยตอแบบเปยกซึ่งจะมีชองวางเหลือไวสําหรับการเทคอนกรีตสด ซ่ึงเอื้อประโยชนตอความคลาดเคลื่อนของระยะตาง ๆ ของชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปที่จะนํามาประกอบเขาดวยกัน

(ก) รอยตอแบบแหง (ข) รอยตอแบบเปยก รูปที่ 8.1 รอยตอแบบแหงและรอยตอแบบเปยก

จุดตอ (Connection) ระหวางชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปสามารถทําไดหลายวิธีขึ้นอยูกับ

การออกแบบการตานทานแรง อาทิเชน จุดตอรับแรงกด จุดตอรับแรงดึง จุดตอรับแรงเฉือน หรือจุดตอรับโมเมนตดัด รูปแบบของจุดตอมีจํานวนมากโดยรูปแบบหลัก ๆ สามารถแบงไดดังนี้ คือ

- จุดตอระหวางเสาหรือผนังตอกับฐานราก - จุดตอระหวางเสาตอกับเสา - จุดตอระหวางคานตอกับเสาหรือผนัง - จุดตอระหวางคานตอกับคาน - จุดตอระหวางแผนพื้นหรือบันไดตอกับคานหรือผนัง - จุดตอระหวางแผนพื้นตอกับแผนพื้น

20

รูปที่ 8.2 (ก) – (ง) แสดงตัวอยางรอยตอและจุดตอระหวางเสาตอกับฐานราก จุดตอระหวางเสาตอกับเสา จุดตอระหวางคานตอกับเสา และจุดตอระหวางคานตอกับคาน

(ก) จุดตอระหวางเสาตอกับฐานราก (รอยตอแบบแหง)

(ข) จุดตอระหวางคานตอกับเสา (รอยตอแบบแหง)

(ค) จุดตอระหวางคานตอกับเสา (รอยตอแบบเปยก)

21

(ง) จุดตอระหวางคานตอกับคาน (รอยตอแบบแหง)

รูปที่ 8.2 ตัวอยางจุดตอระหวางชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปตาง ๆ กําลังรับแรงเฉอืนของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

กําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีต cV มีคาเทากับ bdfc′53.0 ซ่ึงกําลังตานทานแรงเฉือน

ของคอนกรีตเสริมเหล็กสามารถหาไดจาก

scn VVV +=

sdfA

V yvs =

โดยที ่ vA คือ พื้นที่หนาตัดของเหล็กเสริมในกรณีรับแรงเฉือน, ซม.2 yf คือ กําลังคลากของเหล็กเสริมรับแรงเฉือน, กก./ซม.2 s คือ ระยะหางระหวางเหล็กเสริมรับแรงเฉือน, ซม. d คือ ระยะจากผวิดานที่เกิดแรงอัดกับจุดศนูยถวงของเหลก็เสริมรับแรงดึง, ซม.

กําลังรับโมเมนตดดัของคานคอนกรีตเสรมิเหล็ก

As

Strain Diagram

ε′s A′s

M

εc = 0.003 d′

c

d - c

εs

b d′

d

Section

22

รูปที่ 8.3 รูปแสดงความเคนและความเครยีดบนหนาตัดคานภายใตแรงดัด โดยอาศัยสมดุลของแรงคูควบ (C = T) เปนพฤติกรรมการวิบัติของวัสดุเหนียวในกรณีเหล็กเสริมรับแรงดึงคราก

จะไดวา ysc fAabf =′85.0

bf

fAa

c

ys

′=85.0

ภายใตโมเมนตดัดที่สูงที่สุด nΜ มีแขนโมเมนต 2adjd −=

จะได ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ −⋅=Μ

2adfA ysn

⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡′×

−=Μbf

fAdfA

c

ysysn

85.02

ในกรณีพิจารณาเหล็กเสริมรับแรงอัดดวย จะไดวา

( )( ) ( )2n s y s s s s s s sMa

A f A f d A f d d′ ′ ′ ′ ′= − − + −

ผนงั หรือกําแพงภายใตแรงอัดตามแกน

ผนังหรือกําแพงที่หนาตัดทึบรูปสี่เหล่ียมผืนผา อาจคํานวณออกแบบโดยใชสมการ Empirical ดังนี้คือ

Cs

Cc

d′

d - d′

a = β1c 0.85ƒ′c

T

Stress Diagrams

T

ƒ′c

Cs

Cc c

⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡⎟⎠⎞

⎜⎝⎛

⋅⋅

−⋅Α⋅′=Ρ2

32155.0

hlkf c

gcnw

2ad −

23

โดยที ่ nwΡ คือ กําลังตานทานน้ําหนัก หรือแรงตามแกน, นิวตัน φ คือ ตัวคูลดกําลัง (0.70) h คือ ความหนาทั้งหมดของผนัง หรือกําแพง, มิลลิเมตร

cl คือ ระยะระหวางที่รองรับตามแนวดิ่ง, มิลิเมตร k คือ ตัวคูณความยาวประสิทธิผล (Effective length factor)

ทฤษฎีแรงเสียดทานเฉือน (Shear friction method) การตรวจสอบรอยตอช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูปรับแรงเฉือน อาจใชทฤษฎีแรงเสียดทานเฉือนในการออกแบบดานกําลัง โดยทฤษฎีแรงเสียดทานเฉือนมีขอสมมุติฐานวาเกิดรอยราว (Crack) บริเวณรอยตอซ่ึงจะสมมุติใหกําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตมีคาเทากับศูนย นั่นคือไมสามารถรับแรงเฉือนได

vfA

Shear plane(assumed crack)

รูปที่ 8.4 รูปแสดงแนวรอยตอรับแรงเฉือน (Shear plane) ระหวางผิวคอนกรีต จากรูปที่ 8.4 ใช ทฤษฎีแรงเสียดทานเฉือน

yvfn fAV μ=

เมื่อ nV เปนกําลังตานทานแรงเฉือนระบุ =μ 0.7 เปนคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของคอนกรีต vfA เปนหนาตดัของเหล็กเสริมตานการเฉือน =yf 3,000 กก./ตร.ม.

จากทฤษฎีการคํานวณดานกําลังจะพบวารอยตอระหวางคอนกรีตใหมและคอนกรีตเกาในคานสําเร็จรูปไมเปนเนื้อเดียวกัน จึงตองใชทฤษฎีแรงเสียดทานเฉือนในการคํานวณกําลังตานทานแรงเฉือน อยางไรก็ตามทฤษฎีแรงเสียดทานเฉือนอาศัยกําลังของเหล็กเสริมตาม

24

แนวนอนในการตานแรงเฉือน (ไมคิดผลของกําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีต) ดังนั้นจึงมีผลตอกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอเนื่องจากสวนหนึ่งของเหล็กเสริมตามแนวนอนที่ใชตานทานโมเมนตดัดถูกใชในการตานทานแรงเฉือน ดวยเหตุนี้การออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปในลักษณะนี้ตองมีการพิจารณาถึงผลของกําลังรับน้ําหนัก (โมเมนต) ที่ลดลงของรอยตอเนื่องจากความไมตอเนื่องของเนื้อคอนกรีตที่รอยตอ รวมทั้งรูปแบบการจัดวางตําแหนงของคานคอนกรีตสําเร็จรูปก็อาจมีผลตอการเพิ่มหรือลดลงของกําลังของรอยตอ ทั้งนี้การเพิ่มเหล็กเดือยและการทํา Shear key ในชิ้นสวนคานคอนกรีตสําเร็จรูปจะชวยเพิ่มกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอได

9. การทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของ

จุดตอของชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปเปนหนึ่งสิ่งที่สําคัญที่สุดในการใชระบบการกอสรางชนิดนี้ อาจมีลักษณะของจุดตอไดหลายแบบในการประยุกตใชสําหรับงานหนึ่ง ๆ โดยมีวัตถุประสงคหลักในการสงถายแรงและใหเสถียรภาพแกโครงสรางซึ่งภายในจุดตอ หนึ่ง ๆ อาจมีการสงผานของแรงไดหลายลักษณะ เชนแรงอัด แรงดึง หรือแรงเฉือน หรือผลรวมของแรงเหลานั้น รูปแบบของจุดตอจํานวนมากไดถูกรวบรวมไวในเอกสารของ (Martin 1982) และ (PCI, 1988) โดยลักษณะพื้นฐานของจุดตอสารถพิจารณาได ดังนี้ (Elliott, 2000)

จุดตอรับแรงอัด เปนจุดตอที่ทําหนาที่ในการถายแรงอัดโดยตรงจากน้ําหนักบรรทุกหรือจากคอนกรีตสดที่

เทเพิ่มในรอยตอแบบเปยก วัสดุที่ใชระหวางจุดตอของชิ้นสวนอาจใช ปูนทราย แผน PU แผนยาง หรือวัสดุอุดอื่น ๆ รูปที่ 9.1 แสดงลักษณะแรงที่สงผานจุดตอรับแรงอัดที่มีคาโมดูลัสยืดหยุน (Modulus of Elasticity, E) แตกตางกันระหวางจุดตอและชิ้นสวนสําเร็จรูป โดยรูป (a) เปนกรณีที่คา E ของวัสดุนอยกวาคา E ของชิ้นสวนสําเร็จรูป รูป (b) เปนกรณีที่คา E ของวัสดุเทากับคา E ของชิ้นสวนสําเร็จรูป และรูป (c) เปนกรณีที่คา E ของวัสดุมากกวาคา E ของชิ้นสวนสําเร็จรูป

รูปที่ 9.1 ลักษณะแรงที่สงผานจุดตอรับแรงอัดที่มีคาโมดูลัสยืดหยุนแตกตางกัน

25

จุดตอรับแรงดงึ จุดตอรับแรงดึงโดยมากจะใชการตอทาบของเหล็กเสริม หรือตอโดยใชตัวตอทางกลเหล็ก

โดยช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูปจะมีเหล็กเดือยฝงติดมาในขั้นตอนการผลิต เพื่อใชในการตอทาบ โดยลักษณะการเชื่อมอาจทําไดดังแสดงในรูปที่ 9.2 สําหรับรูป 9.2(a) แสดงการตอทาบของเหล็กเสริมหรือเหล็กเดือยโดยตรง อาจใชการเชื่อม 1 แนวหรือ 2 แนว รูป 9.2(a) แสดงการตอทาบโดยใชเหล็กฉากเปนตัวชวยสงผานแรง

รูปที่ 9.2 ลักษณะการเชื่อมโดยใชการตอทาบของเหล็ก จุดตอรับแรงเฉือน

การถายแรงเฉือนระหวางชิ้นสวนคอนกรีตสําเร็จรูปอาจสงผานโดยอาศัยแรงยึดเหนี่ยวระหวางผิว แรงเสียดทาน การเชื่อม หรือการใชสลักเกลียวและเหล็กรับแรงเฉือน ดังแสดงในรูปที่ 9.3 โดยไมคิดถึงผลของกําลังรับแรงเฉือนของตัวช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูป รูปที่ 9.3 (a) แสดงจุดตอรับแรงเฉือน

26

รูปที่ 9.3 ลักษณะของจดุตอรับแรงเฉือนที่ใชการเชื่อม ใชแรงเสียดทาน และใชเหล็กรับแรงเฉือน

การศึกษาเกี่ยวกับจุดตอช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูปเริ่มมาพรอม ๆ กับการศึกษาดานระบบช้ินสวนสําเร็จรูป (Hartland, 1975) งานวิจัยในสวนของจุดตอสําหรับระบบโครงสรางเสา-คานสําเร็จรูปสามารถแบงออกไดเปน 2 กรณี ไดแกจุดตอรับแรงเฉือนอยางเดียวและจุดตอรับแรงเฉือนรวมโมเมนตดัด ปริมาณงานวิจัยเกี่ยวกับจุดตอช้ินสวนคอนกรีตสําเร็จรูปมีจํานวนมากโดยสวนใหญมุงเนนไปยังพฤติกรรมการรับแรงแบบวัฏจักร (แรงสลับทิศ) สําหรับตานแผนดินไหว (เชน Stanton 1986, Bull 1986, Kurose 1991, Restrepo 1995 และ Park 1995) โดยรายการอางอิงขอมูลงานวิจัยเหลานี้สามารถดูไดจากเอกสารของ Martin (1982) และ เอกสารของ PCI (1988) จุดตอสําหรับตานทานแรงแผนดินไหวนี้ตองมีการสรางความตอเนื่องของชิ้นสวนใหสามารถสงถายแรงดึงที่เกิดจากโมเมนตดัดได ซ่ึงโดยปกติจะใชการตอเหล็กตามตัวอยางที่แสดงในรูปที่ 9.2 และ รูปที่ 8.2 ค) โดยใชการตอทาบของเหล็กเสริมหรือใชตัวตอทางกล ซ่ึงจุดตอรับโมเมนตดัดสําหรับตานแผนดินไหวก็สามารถประยุกตใชไดกับจุดตอรับโมเมนตดัดที่เกิดจากน้ําหนักบรรทุกปกติไดเชนกัน แตจะมีความสิ้นเปลืองในการทํารายละเอียดของจุดตอ โดยรูปที่ 9.4 แสดงตัวอยางลักษณะของจุดตอรับโมเมนตดัดตานแรงแผนดินไหวรูปแบบตาง ๆ

27

รูปที่ 9.4 ตัวอยางลักษณะของจุดตอรับโมเมนตดัดตานแรงแผนดินไหวรูปแบบตาง ๆ

ในประเทศไทยมีการศึกษาเกี่ยวกับรอยตอช้ินสวนสําเร็จรูป อาทิเชน วิญู ทัตธนานุรัตน

(2545) ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับออกแบบระบบเสาและคานสําเร็จรูปซึ่งรวมถึงรายละเอียดจุดตอ ทรงพล มั่นศรี และคณะ (2546) ศึกษาจุดตอของชิ้นสวนสําเร็จรูปชนิดตาง ๆ โดยอธิบายถึงขอดี ขอเสียและแนวทางการออกแบบจุดตอแบบตาง ๆ สมเกียรติ รุงทองใบสุรีย และ สุธน รุงเรือง (2547) ไดศึกษาจุดตอระหวางองคอาคารเหล็กและคอนกรีตเสริมเหล็ก ซ่ึงสรุปไดวาการเสื่อมสภาพจะเกิดบริเวณสลักเกลียวยึดและแผนเหล็ก หากขาดการดูแลรักษาหรือออกแบบรายละเอียดใหเหมาะสม กรรณ คําลือ และ สิทธิชัย แสงอาทิตย (2548) ไดศึกษาพฤติกรรมของคานคอนกรีตสําเร็จรูปแบบอัดแรงบางสวนภายใตแรงกระทําตามขวาง ซ่ึงสรุปไดวามีประสิทธิภาพเหนือกวาคานคอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา ปรีดา ไชยมหาวัน และคณะ (2549) ทดสอบการรับแรงสลับทิศของจุดตอคาน-เสาคอนกรีตสําเร็จรูปโดยใชจุดตอ 2 ชนิด จุดตอทั้ง

28

สองมีความแตกตางกันตรงที่รายละเอียดการเชื่อมตอระหวางคานกับเสา โดยในจุดตอที่ 1 ใชเหล็กเสริมเชื่อมทาบกับเหล็กนอนในคานทั้งสองดาน สวนจุดตอที่ 2 ใชวิธีการดัดเหล็กในคานเปนของอ 90 องศาลวงลงไปในจุดตอ ซ่ึงพบวาทั้ง 2 ตัวอยางมีรูปแบบการวิบัติที่เหมือนกัน คือเกิดการวิบัติที่ปลายคานเนื่องจากแรงเฉือน และจักษดา ธํารงวุฒิ และคณะ (2550) ศึกษาพฤติกรรมทางกลของรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป โดยทดสอบคานตัวอยางเทาขนาดจริงโดยใชรอยตอแบบเปยกรวมกับการทํา shear key ใหกับคานคอนกรีตสําเร็จรูป ดังแสดงในรูปที่ 9.5 จากการศึกษาพบวาการประเมินกําลังรับโมเมนตดัดโดยใชทฤษฎีใหผลใกลเคียงกับผลการทดสอบ ทั้งนี้ผูวิจัยไมไดศึกษาผลกระทบของแรงเฉือนตอกําลังของรอยตอ

รูปที่ 9.5 ตัวอยางคานและการติดตั้งคานสําหรับทดสอบรอยตอ (จักษดา ธํารงวุฒิ 2550)

10. เอกสารอางอิงของโครงการวจัิย [1] กรรณ คําลือ และ สิทธิชัย แสงอาทิตย, 2548. พฤติกรรมของคานคอนกรีตสําเร็จรูปแบบ

อัดแรงบางสวนภายใตแรงกระทําตามขวาง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 10 (NCCE10), จ.ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548

29

[2] จักษดา ธํารงวฒุิ และ สิทธิชัย แสงอาทิตย, 2548. คานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่มีเหล็กรางน้ําฝงที่สวนรองรับภายใตแรงกระทําเปนจดุตามขวาง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 10 (NCCE10), จ.ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548

[3] จักษดา ธํารงวฒุิ และคณะ, 2550. การทดสอบเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางกลของรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 12 (NCCE12), จ.พิษณุโลก 2-4 พฤษภาคม 2550

[4] ทรงพล มั่นศรี และคณะ, 2546. จุดตอของชิ้นสวนสําเร็จรูป, ปริญญานิพนธปริญญาตรี, คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

[5] ปรีดา ไชยมหาวัน ธีระพจน ศุภวิริยะกิจ และ อมร พิมานมาศ, 2549. พฤติกรรมการรับแรงสลับทิศของจุดตอคาน-เสาคอนกรีตสําเร็จรูปขนาดเทาของจริง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 11 (NCCE11),จ.ภเูก็ต, 20-22 เมษายน 2549

[6] วิญู ทตัธนานุรัตน, 2545. การพัฒนาโปรแกรมคอมพวิเตอรเพื่อชวยออกแบบระบบเสาและคานสําเรจ็รูป สําหรับอาคารพักอาศัยในประเทศไทย, วิทยานิพนธปริญญาโท, คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

[7] สมเกียรติ รุงทองใบสุรีย และ สุธน รุงเรือง, 2547. จุดตอโครงสรางระหวางองคอาคารเหล็กและองคอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 9 (NCCE9), ชะอํา, จ.เพชรบุรี, 19-21 พฤษภาคม 2547

[8] Bull, D.K. and Park, R. (1986), Seismic Resistance of Frame Incorporating Precast Prestressed Concrete Beam Shells. PCI Journal, July-August, pp. 54-93.

[9] Elliott, K.S. (2000), Multi-Story Precast Concrete Framed Structures, Blackwell Science, Oxford, 375 p.

[10] Hartland, R.A. (1975), Design of Precast Concrete: an introduction to practical design, Surrey University Press, London.

[11] James G. MacGregor. (2006), Reinforced Concrete: Mechanics and Design. 4th ed., Pearson, USA.

[12] Johal, L.S. and Hanson, N.W. (1982), Design for Vertical Load on Horizontal Connections in Large Panel Structures, PCI Journal, V.27, No.1, Jan-Feb.

[13] Kurose, Y., Nagami, K. and Saito, Y. (1991), Beam-Column Joints in Precast Concrete Construction in Japan, ACI Special Publication, Specimen-123, pp.493-514.

[14] Martin, L.D. and Korkosz, W.J. (1982), Connections for Precast Prestressed Concrete Buildings – Including Earthquake Resistance. Technical Report No.2, Prestressed Concrete Institute, Chicago, IL.

30

[15] Park, P. (1995), A Perspective on the Seismic Design of Precast Concrete Structures in New Zealand, PCI Journal, May-June, pp. 40-60.

[16] Prestressed Concrete Institute. (1988), Design and Typical Details of Connections for Precast and Prestressed Concrete, 2nd ed, Prestressed Concrete Institute, Chicago, IL.

[17] Prestressed Concrete Institute. (1992), PCI Design Handbook, 4th ed., Prestressed Concrete Institute, Chicago, IL.

[18] Restrepo, J.I., Park R., and Buchanan, A.H. (1995), Tests on Connections of Earthquake Resisting Precast Reinforced Concrete Perimeter Frames of Buildings, PCI Journal, V. 40, No. 4, July–August, pp. 44–61.

[19] Stanton, J.F., Anderson, R.G., Dolan, C.W. and McCleary, D.E. (1986), Moment Resistant Connections and Simple Connections, Research Project No 1/4, Precast/Prestressed Concrete Institute, Chicago, IL.

11. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ เชน การเผยแพรในวารสาร จดสิทธิบตัร ฯลฯ และหนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน

กลุมเปาหมายที่จะไดประโยชนโดยตรงไดแกนกัวจิัยและหนวยงานทีเ่กีย่วของกับงานกอสรางทั้งภาครัฐและเอกชน โดยประโยชนที่คาดวาจะไดรับคือ 11.1 ไดองคความรู ในเรื่องพฤติกรรมและการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

สําเร็จรูป ซ่ึงสามารถนําไปประยุกตใชกับงานกอสรางได 11.2 ไดฐานขอมูลการวิจัยสําหรับการพัฒนาแนวทางการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริม

เหล็กสําเร็จรูป 11.3 ไดแนวทางและวิธีการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตสําเร็จรูปที่มีความปลอดภัย 11.4 สรางความเชื่อมั่นในการประยุกตใชรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปแบบเปยก

ในอุตสาหกรรมกอสรางไทยมากขึ้น 11.5 มีผลงานวิจัยตีพิมพในวารสารวิชาการสําหรับนักวิจัยและผูสนใจทั่วไปในการวิจัยดาน

พฤติกรรมและการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป 11.6 สงเสริมการใชระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรม ที่ชวยลดมลภาวะเรื่องฝุนและเสียง

ซ่ึงเกิดในสถานที่กอสราง และชวยลดขยะจากงานกอสราง ซ่ึงจะรักษาสภาพแวดลอมที่ดีในสถานที่กอสรางและชุมชนใกลเคียง

12. แผนการถายทอดเทคโนโลยหีรือผลการวิจัยสูกลุมเปาหมาย 12.1 นําเสนอผลงานวิจยัผานการประชุมวิชาการระดับชาติและ/หรือนานาชาติ 12.2 ตีพิมพบทความวิจัยในวารสารวิชาการระดบัชาติและ/หรือนานาชาต ิ

31

12.3 เขียนบทความใหความรูเกี่ยวกับการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปในวิศวกรรมสารและ/หรือโยธาสารของ ว.ส.ท. (วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย)

12.4 จัดทําเอกสารเผยแพรองคความรูเกี่ยวกับการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปแกผูสนใจและผูเกีย่วของในอุตสาหกรรมกอสราง

12.5 จัดทํา Website และฐานขอมลูงานวิจยัเกีย่วกับรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป 13. วิธีการดําเนินการวิจัย และสถานที่ทําการทดลอง/เก็บขอมูล

สถานที่ทําการวิจัยจะอยูที่อาคารปฏิบัติงาน EN1 และอาคาร EN6 คณะวิศวกรรม-ศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยมีวิธีการดําเนินงานในแตละปดังนี้

1. ในปแรกของการวิจัย จะดําเนินการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมทั่วไปของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป โดยมุงเนนศึกษาในดานกําลังรับแรงเฉือน กําลังรับโมเมนตดัด และกําลังรับแรงเฉือนรวมโมเมนตดัดของรอยตอ ซ่ึงจะพิจารณารอยตอทั้งกรณีที่มีการเชื่อมเหล็กตามแนวนอนและกรณีที่ไมมีการเชื่อม โดยใชการทดสอบคานเทาขนาดจริง

2. ในปที่สองของการวิจัย จะดําเนินการศึกษาพฤติกรรมของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป ในกรณีจัดวางคานใหเหล่ือมเขามาในหัวเสาและกรณีจัดวางคานใหเหล่ือมออกไปนอกหัวเสา รวมถึงพฤติกรรมของรอยตอเมื่อทํา Shear key ใหกับคานคอนกรีตสําเร็จรูปสําเร็จรูป โดยมุงเนนศึกษาในดานกําลังรับแรงเฉือน กําลังรับโมเมนตดัด และกําลังรับแรงเฉือนรวมโมเมนตดัด

3. ในปที่สามของการวิจัย จะดําเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของรอยตอ โดยพิจารณาผลของการเพิ่มเหล็กเดือยเพื่อเพิ่มกําลังรับแรงเฉือน (เหล็กเสริมพิเศษ) และผลของการใชเหล็กฉากเชื่อมยึดชิ้นสวนคานคอนกรีตสําเร็จรูปเขากับเสาเพื่อชวยเพิ่มกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอ

14. ระยะเวลาทําการวิจัย และแผนการดําเนินงานตลอดโครงการวิจัย

โครงการวิจัยนี้มีระยะเวลาทําการวิจัยตลอดโครงการวิจัย รวมทั้งสิ้น 3 ป เริ่มตั้งแต เด ือนตุลาคม พ .ศ . 2551 ถึงเด ือนกันยายน พ .ศ . 2554 ซึ ่งปที่ เสนอขอนี้ เปนปที่ 1 ของโครงการวิจัย โดยมีแผนการดําเนินงานตลอดโครงการวิจัยในแตละป ดังนี้

14.1 ปท่ี 1 การศึกษาพฤติกรรมท่ัวไปของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

ตารางที่ 14.1 แผนการดําเนนิงานและขัน้ตอนการดําเนนิงาน ปที่ 1 (ปที่เสนอของบวิจัย)

แผนงาน/กิจกรรม เดือน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

32

1. ศึกษาและทบทวนขอมูลจากเอกสารวิจัยที่เกี่ยวของ

2. ออกแบบและผลิตคานตัวอยางคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

3.ผลิตรอยตอคานคอนกรีตสําเร็จรูป ทั้งแบบที่มีการเช่ือมเหล็กตามแนวนอนและที่ไมมีการเชื่อม

4. ทดสอบกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

5. รายงานความกาวหนารอบ 6 เดือน

6. ทดสอบกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

7. ทดสอบกําลังรับโมเมนตดัดรวมแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

8. สรุปผลการศึกษาและจัดทํารายงานวิจัย

14.2 ปท่ี 2 การศึกษาผลของการจัดวางและลักษณะคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปตอพฤติกรรมรอยตอ

ตารางที่ 14.2 แผนการดําเนนิงานและขัน้ตอนการดําเนนิงาน ปที่ 2

แผนงาน/กิจกรรม เดือน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1. ศึกษาและทบทวนขอมูลจากเอกสารวิจัยที่เกี่ยวของ

2. ออกแบบและผลิตคานตัวอยางคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป โดยมีทั้งแบบที่ทํา Shear key และไมทํา Shear key

3.ผลิตรอยตอคานคอนกรีตสําเร็จรูป โดยแบงเปน 3 กรณีไดแก กรณีจัดวางคานใหพอดีกับขอบหัวเสา กรณีจัดวางคานใหเหลื่อมเขามาในหัวเสา และกรณีจัดวางคานใหเหลื่อมออกไปนอกหัวเสา

4. ทดสอบกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

5. รายงานความกาวหนารอบ 6 เดือน

33

6. ทดสอบกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

7. ทดสอบกําลังรับโมเมนตดัดรวมแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

8. สรุปผลการศึกษาและจัดทํารายงานวิจัย

14.3 ปท่ี 3 การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

ตารางที่ 14.3 แผนการดําเนนิงานและขัน้ตอนการดําเนนิงาน ปที่ 3

แผนงาน/กิจกรรม เดือน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1. ศึกษาและทบทวนขอมูลจากเอกสารวิจัยที่เกี่ยวของ

2. ออกแบบและผลิตคานตัวอยางคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป โดยเพิ่มการฝงเหล็กเดือยในรูปแบบและปริมาณตาง ๆ

3..ผลิตรอยตอคานคอนกรีตสําเร็จรูป โดยแบงเปน 2 กรณีไดแก กรณีไมใชเหล็กฉากชวยยึด และกรณีใชเหล็กฉาก

4. ทดสอบกําลังรับแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

5. รายงานความกาวหนารอบ 6 เดือน

6. ทดสอบกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

7. ทดสอบกําลังรับโมเมนตดัดรวมแรงเฉือนของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป

8. สรุปผลการศึกษาและจัดทํารายงานวิจัย

15. ปจจัยท่ีเอ้ือตอการวิจัย (อุปกรณการวิจัย, โครงสรางพื้นฐาน ฯลฯ)

15.1 อุปกรณการวจิัยที่มีอยูแลว - โมผสมคอนกรีต - ชุดเครื่องทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานของคอนกรีต - เครื่องทดสอบกําลังรับแรงอัด

34

- เครื่องทดสอบ UTM - หองทดสอบโครงสรางเสมือนจริง - ชุดเครื่องมือทดสอบโครงสรางเสมือนจริง

15.2 อุปกรณการวจิัยที่ตองหาเพิม่เติม - ชุดเครื่องมือเกบ็ขอมูลและประมวลผลทางโครงสราง

16. งบประมาณของโครงการวิจัย

16.1 รายละเอียดงบประมาณการวจิัย จําแนกตามงบประเภทตาง ๆ [ปงบประมาณที่เสนอขอ]

ตารางที่ 16.1 รายละเอียดงบประมาณบรหิารแผนงานวจิัย จําแนกตามงบประเภทตาง ๆ

(ปงบประมาณที่เสนอขอ) รายการ จํานวนเงิน (บาท)

1. งบบุคลากร 0 - คาจางชั่วคราว -

2. งบดําเนินงาน 235,000

2.1 คาตอบแทน ใชสอยและวัสดุ 206,500 2.1.1 คาตอบแทน - คาตอบแทนนักวิจัย 20,000 2.1.2 คาใชสอย - คาเบี้ยเลี้ยง คาเชาที่พัก คาพาหนะ 0 - คาจางเหมาผูชวยวิจัย อัตรา 8,000 บาท/เดือน 96,000 - คาใชจายในการสัมมนาและฝกอบรม 0 - คาเขารูปเลม จัดทํารายงาน 500 - คาถายเอกสาร 5,000 2.1.3 คาวัสดุ - วัสดุสํานักงาน 5,000 - วัสดุโฆษณาและเผยแพร 5,000 - วัสดุหนังสือ และคาสืบคนวารสาร 5,000 - วัสดุคอมพิวเตอร 5,000 - วัสดุทดสอบ (ปูน ทราย เหล็ก และ อื่นๆ) 60,000 - วัสดุอื่น ๆ 5,000 2.2 คาสาธารณูปโภค 28,500 - คาสาธารณูปโภค มหาวิทยาลัย (10% ของงบประมาณ) 28,500 - คาโทรศัพท และไปรษณีย 0

35

3. งบลงทุน 50,000

คาครุภัณฑ 50,000

รวมงบประมาณที่เสนอขอ 285,000 * ขอถัวเฉลี่ยทุกรายการ

16.2 รายละเอียดงบประมาณการวิจัย จําแนกตามงบประเภทตาง ๆ ที่เสนอขอในแตละป

ตารางที่ 16.4 รายละเอียดงบประมาณการวจิัยของแผนงานวิจยั จําแนกตามงบประเภทตาง ๆ

ที่เสนอขอในแตละป (กรณีเปนโครงการวจิัยตอเนื่อง)

รายการ

จํานวนเงิน (บาท)

ปที่ 2 ปที่ 3 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553

1. งบบุคลากร 0 0 - คาจางชั่วคราว 0 0

2. งบดําเนินงาน 283,444 283,444

2.1 คาตอบแทน ใชสอยและวัสดุ 251,500 251,500 2.1.1 คาตอบแทน - คาตอบแทนนักวิจัย (2 คน) 60,000 60,000 2.1.2 คาใชสอย - คาเบี้ยเลี้ยง คาเชาที่พัก คาพาหนะ 8,000 8,000 - คาจางเหมาผูชวยวิจัย อัตรา 8,000 บาท/เดือน 96,000 96,000 - คาใชจายในการสัมมนาและฝกอบรม 5,000 5,000 - คาเขารูปเลม จัดทํารายงาน 1,500 1,500 - คาถายเอกสาร 5,000 5,000 2.1.3 คาวัสดุ - วัสดุสํานักงาน 6,000 6,000 - วัสดุโฆษณาและเผยแพร 5,000 5,000 - วัสดุหนังสือ และคาสืบคนวารสาร 6,000 6,000 - วัสดุคอมพิวเตอร 6,000 6,000 - วัสดุทดสอบ (ปูน ทราย เหล็ก และ อื่นๆ) 60,000 70,000 - วัสดุอื่น ๆ 3,000 3,000 2.2 คาสาธารณูปโภค เชน 33,056 34,167 - คาสาธารณูปโภค มหาวิทยาลัย (10% งบประมาณ) 29,456 30,567 - คาโทรศัพท และไปรษณีย 3,600 3,600

36

3. งบลงทุน 0 0 คาครุภัณฑ

รวมงบประมาณที่เสนอขอแตละป 294,556 305,667

17. ผลสําเร็จและความคุมคาของการวิจัยท่ีคาดวาจะไดรับ

17.1 ผลสําเร็จในปที่ 1 การศึกษาในปที่ 1 จะไดองคความรู เกี่ยวพฤติกรรมการรับน้ําหนักของรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปโดยทั่วไป โดยทราบถึงความสามารถในการรับรับแรงเฉือนรวมโมเมนตดัดของรอยตอทั้งกรณีที่มีการเชื่อมเหล็กตามแนวนอนและกรณีที่ไมมีการเชื่อม ผลสําเร็จของงานวิจัยในสวนนี้เปนผลสําเร็จเบื้องตน (P)

17.2 ผลสําเร็จในปที่ 2 ในปที่สองของการวิจัย จะทราบถึงลักษณะการจัดวางคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่มีตอพฤติกรรมของรอยตอ ทั้งในกรณีจัดวางคานใหเหล่ือมเขามาในหัวเสาและกรณีจัดวางคานใหเหล่ือมออกไปนอกหัวเสา และทราบถึงพฤติกรรมของรอยตอเมื่อทํา Shear key ใหกับคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป ซ่ึงผลสําเร็จของงานวิจัยในสวนนี้เปนผลสําเร็จกึ่งกลาง (I)

17.3 ผลสําเร็จในปที่ 3 ผลสําเร็จในปที่สามของการวิจัย จะไดทราบถึงการเพิ่มประสิทธิภาพของรอยตอโดยการเพิ่มเหล็กเดือยเพื่อเพิ่มกําลังรับแรงเฉือนและการใชเหล็กฉากเพื่อชวยเพิ่มกําลังรับโมเมนตดัดของรอยตอ และไดแนวทางการออกแบบรอยตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปซึ่งเปนผลสําเร็จตามเปาประสงค (G)

18. คําชี้แจงอืน่ ๆ

- ไมมี -

……………………………… (ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย) หัวหนาโครงการวิจยั 12 พฤศจิกายน 2550

37

สวน ค : ประวัติคณะผูวิจัย

หัวหนาโครงการ

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) ดร. เกรียงศกัดิ ์แกวกุลชัย (ภาษาอังกฤษ) Dr. Griengsak Kaewkulchai

2. บัตรประจําตัวประชาชน 3-4099-00014-43-1

3. ตําแหนงปจจบุัน ผูชวยศาสตราจารย

4. สถานที่ทํางาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมารค ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 โทรศัพท: 045-353340 โทรสาร: 045-353333 E-mail: [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ปริญญาตร ี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา (เกยีรตินยิมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2538 ปริญญาโท Master of Science in Structural Engineering and Mechanics Colorado State University, USA, 1997 ปริญญาเอก Doctoral of Philosophy in Structural Engineering University of Texas at Austin, USA, 2003

6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - คอนกรีตโครงสราง (Structural Concrete) - พฤติกรรมโครงสราง (Structural Behavior) - ระบบกอสรางชิ้นสวนสําเร็จรูป (Precast & Modular Systems) - เสถียรภาพโครงสราง (Stability of Structures) - การจําลองโครงสราง (Modeling of Structures) - การวิบัติของโครงสราง (Structural Failures) - พลศาสตรโครงสราง (Dynamics of Structures) - วิศวกรรมแผนดินไหว (Earthquake Engineering)

38

7. ประสบการณท่ีเก่ียวของกับการบริหารงานวิจัย หัวหนาโครงการวิจัย: การออกแบบบานประหยัดพลังงานประเภทบานเดี่ยว พ.ศ. 2547-2549

สนับสนุนโดย สํานักนโยบายและแผนพลงังาน งบประมาณรวม 7,500,000 (แลวเสร็จ 100%)

หัวหนาโครงการวิจัย: กําลังรับน้ําหนักบรรทุกโกงเดาะของเสาปลายแหลม พ.ศ. 2550-2552 สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิัย งบประมาณรวม 468,000 (แลวเสร็จ 30%)

ผูรวมโครงการวิจัย: เทคนิคการประเมินสภาพและพฤตกิรรมทางพลศาสตรของสะพานรถไฟ พ.ศ. 2548-2549 สนับสนุนโดย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติงบประมาณรวม 124,050 (แลวเสร็จ 100%)

ผูรวมโครงการวิจัย: การศึกษาและพัฒนาโปรแกรมสําหรับการวิเคราะหความนาเชื่อถือของโครงสราง พ.ศ. 2548-2549 สนับสนุนโดย สํานักงานคณะกรรมการวจิยัแหงชาติ งบประมาณรวม 137,730 (แลวเสร็จ 100%)

ผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการ

• Kaewkulchai, G. and Williamson, E.B. (2006) “Modeling the Impact of Failed Members for Progressive Collapse Analysis of Frame Structures.” Journal of Performance of Constructed Facilities, ASCE, V.20, No.4, 116p.

• Kuntiyawichai, K., Puatatsananon, W., Kaewkulchai, G. and Limkatanyu, S. (2005) “A Comparative Study on Dynamic Response of Different Floor Types Subjected to Walking Load.” KKU Engineering Journal, KhonKaen University, V.33, No.3.

• Kaewkulchai, G. and Williamson, E.B. (2004) “Beam Element Formulation and Solution Procedure for Dynamic Progressive Collapse Analysis.” Computers and Structures, Elsevier Science, V.82, No.7-8, p.639-651.

ผลงานวิจัยอ่ืนๆ

• Kaewkulchai, G. and Bhokha, S. “Applying Simplified Geometric Stiffness Matrix in Flexibility-Based Element Formulation.” The Third Structural Engineers World Congress, SEWC-2007, Bangalore, India, Nov 2 - 7, 2007.

• Kaewkulchai, G., Bhokha, S. and Puatatsananon W. “Design Guidelines of Precast Concrete Load Bearing Walls: A Case Study of Oua Arthorn Project.” The 12th

39

National Convention of Civil Engineering, NCCE12, Phitsanulok, Thailand, May 3-5, 2007.

• Kaewkulchai, G. and Bhokha, S. “A Modified Member Stiffness Procedure for Dynamic Progressive Collapse Analysis of Planar Frames.” The Tenth East Asia-Pacific Conference on Structural Engineering and Construction, EASEC-10, Bangkok, Thailand, Aug 3 - 5, 2006.

• Kuntiyawichai, K., Limkatanyu, S., Bhokha, S., and Kaewkulchai, G. “Dynamic Response of Different Floor Types under Human Activities.” The 11th National Convention of Civil Engineering, NCCE11, Phuket, Thailand, April 20-22, 2006.

• Limkatanyu, S., Kuntiyawichai, K., Kaewkulchai, G. and Puatatsananon, W. “Deformation-Space Uniaxial Constitutive Library for the Inelastic Analysis of RC Structures: Fiber Section and Beam-Column Element.” Technology and Innovation for Sustainable Development Conference, TISD2006, KhonKaen University, KhonKaen, Thailand, Jan 25 - 26, 2006.

• Kaewkulchai, G., Kaewsena, N. and Phannikul, I. “Elastic Buckling Capacity of Tapered Columns.” Australian Structural Engineering Conference 2005, Newcastle, ASEC2005, Australia, Sep 11 – 14, 2005.

• Kaewkulchai, G., Bhokha, S., Puatatsananon W. and Kuntiyawichai, K. “Analysis for Progressive Collapse of Building Frames.” The 10th National Convention of Civil Engineering, NCCE10, Pattaya, Thailand, May 2-4, 2005.

• Kaewsena, N., Kaewkulchai, G., Phannikul, I. and Limkatanyu, S. “Design-Oriented Equations for Buckling of Slender Tapered Columns.” The 10th National Convention of Civil Engineering, NCCE10, Pattaya, Thailand, May 2-4, 2005.

• Kaewkulchai, G., Puatatsananon, W., Kuntiyawichai, K. and Limkatanyu, S. “Progressive Collapse of Building Frames.” The 3rd PSU-Engineering Conference, PEC3, Prince of Songkla University, Songkla, Thailand, Dec 8-9, 2004.

• Kuntiyawichai, K., Kaewkulchai, G., Kaewsena, N., and Limkatanyu, S. “Comparative Study of Seismic Design Codes.” The 3rd PSU-Engineering Conference, PEC3, Prince of Songkla University, Songkla, Thailand, Dec 8-9, 2004.

• Kaewkulchai, G. and Williamson, E.B. “Progressive Collapse Behavior of Planar Frame Structures.” Proceedings, Response of Structures to Extreme Loading Conference, Elsevier Science, Toronto, Canada, Aug 3-6, 2003.

40

• Kaewkulchai, G. and Williamson, E.B. “Dynamic Behavior of Planar Frames during Progressive Collapse.” Proceedings, The 16th Engineering Mechanics Conference, ASCE, University of Washington, Seattle, Washington, USA, July 17-21, 2003.

• Williamson, E.B. and Kaewkulchai, G. “Computational Modeling of Structural Collapse.” The Fifth U.S.-Japan Workshop on Performance-Based Earthquake Engineering Methodology for RC Building Structures, Japan, Sep 10-11, 2003.

• Kaewkulchai, G. and Williamson, E.B. “Dynamic Progressive Collapse of Frame Structures.” Proceedings, The 15th Engineering Mechanics Conference, American Society of Civil Engineers, Columbia University, NY, USA, June 2-5, 2002.

41

ผูรวมวิจัย 1

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) ดร.สถาพร โภคา (ภาษาอังกฤษ) Dr.Sdhabhon Bhokha

2. บัตรประจําตัวประชาชน 3-3499-00451-72-6

3. ตําแหนงปจจบุัน รองศาสตราจารย

4. สถานที่ทํางาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมารค ต.เมืองศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 โทรศัพท: 045-353306 โทรสาร: 045-353333 E-mail: [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ปริญญาตร ี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา เทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี พ.ศ. 2528 ปริญญาตร ี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ. 2527 ปริญญาโท Master of Engineering in Geotechnical and Transportation Engineering Asian Institute of Technology พ.ศ. 2530 ปริญญาเอก Doctoral of Engineering in Structural Engineering and Construction Asian Institute of Technology พ.ศ. 2541

6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ - คอนกรีตโครงสราง (Structural Concrete) - พฤติกรรมโครงสราง (Structural Behavior) - การออกแบบอาคาร (Building Design) - การออกแบบสะพาน (Bridge Design) - การวิบัติของโครงสราง (Structural Failures) - โครงขายประสาทเทียม (Artificial Neural Network)

42

7. ประสบการณท่ีเก่ียวของกับการบริหารงานวิจัย หัวหนาโครงการวิจัย: การศึกษาสภาพและแนวทางแกไขปญหาอทุกภยัจังหวัดอุบลราชธานี

พ.ศ. 2545-2547 สนับสนุนโดยจังหวัดอุบลราชธานี (แลวเสร็จ 100%) ท่ีปรึกษาโครงการวิจัย: การออกแบบบานประหยัดพลังงานประเภทบานเดี่ยว พ.ศ. 2547-2549

สนับสนุนโดย สํานักนโยบายและแผนพลงังาน งบประมาณรวม 7,500,000 (แลวเสร็จ 100%)

นักวิจัยพี่เล้ียง: การควบรวมขอกําหนดความปลอดภัยกับเทคนิคการแสดงแผนงานกอสรางแบบ 4 มิติ พ.ศ. 2550-2552 สนับสนุนโดย สํานกังานกองทุนสนับสนุนการวิจัย งบประมาณรวม 480,000 (แลวเสร็จ 70%)

นักวิจัยพี่เล้ียง: กําลังรับน้ําหนักบรรทุกโกงเดาะของเสาปลายแหลม พ.ศ. 2550-2552 สนับสนุนโดย สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิัย งบประมาณรวม 468,000 (แลวเสร็จ 30%)

ผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการ • Bhokha S. and Ogunlana S.O., Application of Artificial Neural Network to Forecast

Construction Duration of Buildings at the Pre-Design Stage, Journal of Engineering, Construction and Architectural Management (ECAM), Vol. 6: 2, June 1999, pp. 133 - 144.

• Ogunlana S.O. and Bhokha S. and Pinnemitr N., Application of Artificial Neural Network (ANN) to Forecast Construction Cost of Buildings at the Pre-Design Stage, Journal of Financial Management of Property and Construction, Vol. 6: 3, December 2001, pp. 179-192.

ผลงานวิจัยอ่ืน ๆ

• Kaewkulchai, G. and Bhokha, S. “Applying Simplified Geometric Stiffness Matrix in Flexibility-Based Element Formulation.” The Third Structural Engineers World Congress, SEWC-2007, Bangalore, India, Nov 2 - 7, 2007.

• Kaewkulchai, G., Bhokha, S. and Puatatsananon W. “Design Guidelines of Precast Concrete Load Bearing Walls: A Case Study of Oua Arthorn Project.” The 12th National Convention of Civil Engineering, NCCE12, Phitsanulok, Thailand, May 3-5, 2007.

• Bhokha, S., Sangtian, N., Kaewkulchai, G. and Kuntiyawichai, K. “Future Paradigm and Approach for Sustainable Planning, Design And Management of Bridge and other Drainage Structures in Flood Plain, A Case Study: Bridge and Drainage

43

Structures in UbonRatchathani, Thailand.” The Tenth East Asia-Pacific Conference on Structural Engineering and Construction, EASEC-10, Bangkok, Thailand, Aug 3 - 5, 2006.

• Kaewkulchai, G. and Bhokha, S. “A Modified Member Stiffness Procedure for Dynamic Progressive Collapse Analysis of Planar Frames .” The Tenth East Asia-Pacific Conference on Structural Engineering and Construction, EASEC-10, Bangkok, Thailand, Aug 3 - 5, 2006.

• Phannikul I. and Bhokha, S., The Effects of Accumulative Heat in Roof Gravel Cover to RC - Roof Slab, The 10th National Convention on Civil Engineering, NCCE10, Pattaya, Thailand, May 2-4, 2005.

• Kaewkulchai, G., Bhokha, S., Puatatsananon W. and Kuntiyawichai, K. “Analysis for Progressive Collapse of Building Frames.” The 10th National Convention of Civil Engineering, NCCE10, Pattaya, Thailand, May 2-4, 2005.

• Bhokha, S., Housing Policy and Strategy to Remove People and Communities from Flood Plain in Ubon Ratchathani, CIB 2004 Symposium, Bangkok, 17-18 November 2004.

• Bhokha, S. and K. Kuntiyawichai, "Ministerial rule on building assessment under the building code B.E. 2543 and future changes in building regulations in thailand", The 9th National Convention on Civil Engineering, Cha-um, Petchaburi, 2004.

• Kuntiyawichai, K., Bhokha, S. and T. Tubkaew, "Damage detection of cracked concrete using wavelet transformation", The 2nd Seminar on Highway Engineering (Manus Corvanich), Bangkok, 2003.

• Kuntiyawichai, K., Bhokha, S. and Y. Jeerasap, "Engineering guide on dynamic analysis of bridge structure subjected to moving load", The 2nd Seminar on Highway Engineering (Manus Corvanich), Bangkok, 2003.

• Bhokha S. and Ogunlana S.O., Application of Artificial Neural Network to Forecast Construction Cost of Buildings at the Pre-Design Stage, Proc. The Seventh East Asia-Pacific Conference on Structural Engineering & Construction (EASEC-7) Kochi University of Technology, Kochi, Japan, 27-29 August 1999.

• Attasaenewong S. and Sriwattanamakin K. and Bhokha S., "Application of Spreadsheet Programs in Design of Reinforced Concrete Members", The Engineering Institute of Thailand, Bangkok, November 1995.

44

ผูรวมวิจัย 2

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายสิทธิชัย แสงอาทิตย (ภาษาอังกฤษ) Mr. Sittichai Seangatith

2. บัตรประจําตัวประชาชน 3-7699-00019-50-2 3. ตําแหนงปจจุบัน

3.1 ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 3.2 รักษาการแทนหัวหนาสถานวิจัย สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีสุรนารี 3.3 รองศาสตราจารยประจําสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 4. สถานที่ทํางาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถ. มหาวิทยาลัย ต. สุรนารี อ. เมือง จ. นครราชสีมา 30000 โทรศัพท 044-224326 Email: [email protected]

5. ประวัติการศึกษา ปริญญาตร ี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2532 ปริญญาโท Master of Engineering in Civil Engineering University of Texas at Arlington, USA, 1993 ปริญญาเอก Doctoral of Philosophy in Civil Engineering University of Texas at Arlington, USA, 1997

6. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ Experimental and Applied Mechanics and Finite Element Analysis on Civil Engineering FRP Composite, Reinforced Concrete, Masonry and Steel.

7. ประสบการณท่ีเก่ียวของกับการบริหารงานวิจัย 7.1 การบริหารงานวิจัย

1. หัวหนาสถานวิจัย สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ก.ย. 2544-ปจจุบัน

2. รองผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ค. 2546-ก.ย. 2547

45

3. รักษาการแทนผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ต.ค. 2547-2548

7.2 ผูอํานวยการแผนงานวิจัย 1. โครงการศึกษาการจัดทําแผนแมบทดานการจราจรและขนสงเมืองภูมิภาค

ระยะที่ 5 จังหวัดปราจีนบุรี, 2543, รองผูจัดการโครงการ 2. โครงการศึกษาการจัดทําแผนแมบทดานการจราจรและขนสงเมืองภูมิภาค

ระยะที่ 5 จังหวัดสระแกว, 2545, ผูจัดการโครงการ 7.3 หัวหนาโครงการวิจัย

1. "Optimization of Pultruded GFRP Composite Bridge Railing System", 1996

2. "Characterization and Analysis of Composite Beams Subjected to Impact Loads", 1997

3. การพัฒนาโครงสรางอิฐกอ, 2541 4. การหาสวนผสมที่เหมาะสมของอิฐบล็อก, 2542 5. โครงการศึกษาการจัดทําแผนแมบทดานการจราจรและขนสงเมืองภูมิภาค

ระยะที่ 5 จังหวัดสระแกว, 2545 6. การพัฒนาคูมือการออกแบบชิ้นสวนพลาสติกเสริมเสนใยแบบพัลทรูดชัน

หนาตัดรูปตัวซีภายใตแรงอัดและแรงดดั 7.4 งานวิจัยที่ทําเสร็จแลว

1. "Optimization of Pultruded GFRP Composite Bridge Railing System", 1996, หัวหนาโครงการวิจัย

2. "GFRP Composite Columns with Various End Conditions",1996, ผูรวมวิจัย

3. "Characterization and Analysis of Composite Beams Subjected to Impact Loads", 1997, หัวหนาโครงการวิจัย

4. "Tests on FRP Composite Beams and Panels", 1997, ผูรวมวิจัย 5. "Development of Design Equations for FRP Composite Columns", 1997,

ผูรวมวิจัย 6. การพัฒนาโครงสรางอิฐกอ, 2541, หัวหนาโครงการวิจัย 7. การพัฒนาอิฐบล็อก, 2541, ผูรวมวิจัย 8. การพัฒนา Cement-lime Mortar สําหรับใชในประเทศไทย, 2541, ผูรวมวิจัย 9. การหาสวนผสมที่เหมาะสมของอิฐบล็อก, 2542, หัวหนาโครงการวิจัย

46

10. โครงการศึกษาการจัดทําแผนแมบทดานการจราจรและขนสงเมืองภูมิภาค ระยะที่ 5 จังหวัดปราจีนบุรี, 2543, รองผูจัดการโครงการ

11. โครงการศึกษาการจัดทําแผนแมบทดานการจราจรและขนสงเมืองภูมิภาค ระยะที่ 5 จังหวัดสระแกว, 2545, ผูจัดการโครงการ

12. การทดสอบหากําลังของแผนพื้นคอนกรีตสําเร็จรูปอัดแรงโดยการเสริมกําลังภายนอก, 2545, ผูรวมวิจัย

13. เสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่ถูกหอหุมดวยทอซีเมนตใยหินภายใตแรงกดอัดในแนวแกน, 2546, ผูรวมวิจัย

14. การตรวจสอบคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่มีเหล็กหนาตัดรูปตัวซีฝงที่สวนรองรับภายใตแรงกระทําเปนจุดตามขวาง, 2547, ผูรวมวิจัย

15. การพัฒนาคานสําเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําหรับอาคารขนาดเล็ก, 2548, ผูรวมวิจัย

16. โครงการศึกษาการจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรพลังงานระดับจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดชัยภูมิ, 2548, ผูรวมวิจัย

17. โครงการศึกษาการจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรพลังงานระดับจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดมหาสารคาม, 2548, ผูรวมวิจัย

18. “โครงการศึกษาการจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตรพลังงานระดับจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดศรีสะเกษ, 2548, ผูรวมวิจัย

19. คุณสมบัติเชิงกลของคอนกรีตเสริมเสนพลาสติกที่ใชแลวแบบสั้น, 2549, ผูรวมวิจัย

20. การพัฒนาคานสําเร็จรูปแบบคอนกรีตอัดแรงบางสวนสําหรับอาคารขนาดเล็ก, 2549 , ผูรวมวิจัย

21. โครงการจัดทําแผนปฏิบัติการดานการซอมแซมบํารุงรักษาสภาพลําน้ําและคุณภาพน้ําลําตะคอง, 2549 , ผูรวมวิจัย

22. การทดสอบเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางกลของรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป, 2550, ผูรวมวิจัย

23. การทดสอบและพัฒนาเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่ถูกเสริมกําลังโดยใช stainless steel แจ็คเก็ต, 2550, หัวหนาโครงการวิจัย

7.5 งานวิจัยที่กําลังทํา 1. การพัฒนาพื้นแยกสวนสําเร็จรูปพรอมคานยืดหยุน, 80 %, ผูรวมวิจัย 2. การพัฒนาคูมือการออกแบบชิ้นสวนพลาสติกเสริมเสนใยแบบพัลทรูดชัน

หนาตัดรูปตัวซีภายใตแรงอัดและแรงดัด, 25 %, หัวหนาโครงการวิจัย

47

3. การพัฒนากระบวนการผลิตปุยชีวภาพและปุยอินทรียชีวภาพในเชิงธุรกิจ, 50%, ผูรวมวิจัย

บทความวิจัย (ชวง 2547-2551) 1. สิทธิชัย แสงอาทิตย และศาสน สุขประเสริฐ, “กําลังรับแรงดึงของรอยเชื่อม

ไฟฟาที่ใชเชื่อมตอแผนเหล็กโดยชางเชื่อมในจังหวดันครราชสีมา,” วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, ปที่ 11, ฉบับที่ 2, เมษายน-มิถุนายน 2547, หนา 115-124.

2. Seangatith, S., “GFRP Box Columns with Different Supports Subjected to Axial Compression,” The Ninth National Convention on Civil Engineering, Phetchaburi, Thailand, May 19-21, 2004, Vol. 1, pp. STR 17-22.

3. Duangjaras, C., Seangatith, S., and Apichatvullop, A., “Moment Coefficients of Two-way Slabs by Finite Element Method,” The Eight Annual National Symposium on Computational Science and Engineering, Suranaree University of Technology, July 21-23, 2004. (ในรูปแบบ CD-Rom)

4. Seangatith, S., “Buckling Strength of GFRP Equal-leg Angle Structural Members under Concentric Axial Compression,” Suranaree Journal of Science and Technology, Vol. 12, No. 3, July-September, 2004, pp. 230-242.

5. จักษดา ธํารงวุฒิ และสทิธิชัย แสงอาทิตย, “คานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปที่มีเหล็กหนาตดัรูปตัวซีฝงที่สวนรองรับภายใตแรงกระทําเปนจุดตามขวาง,” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 10, พัทยา, ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548, Vol. 1, หนา STR 1-6.

6. กรรณ คําลือ และสิทธิชัย แสงอาทิตย, “พฤติกรรมของคานคอนกรีตสําเร็จรูปแบบอัดแรงบางสวนภายใตแรงกระทําตามขวาง,” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาต ิคร้ังที่ 10, พัทยา, ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548, Vol. 1, หนา ST 58-63.

7. Seangatith, S., “Short-term Behaviors and Design Equations of Mortarless Reinforced Concrete Masonry Walls,” Suranaree Journal of Science and Technology, Vol. 12, No. 3, July-September, 2005, pp. 178-192.

8. หวังแกว บุญสวน และสิทธิชัย แสงอาทิตย, “การคํานวณพฤติกรรมและน้ําหนกัโกงเดาะของชิ้นสวนพลาสติกเสริมเสนใยรูปฉากขาเทากันภายใตการรับน้ําหนักกดอัดตามแนวแกนตรงศูนยโดยใชวิธีไฟไนทอิลิเมนท,” การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย คร้ังที่ 31, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา, 18-20 ตุลาคม 2548. paper no. I0036. (ในรูปแบบ CD-Rom)

48

9. Duangjaras, C., Seangatith, S., and Apichatvullop, A., “Distribution of Moments in Slabs with Elastic Mid-span Beams and Elastic Beams Between All Supports,” Technology and Innovation for Sustainable Development Conference (TISD2006), Faculty of Engineering, Khon Kaen University, January 25-27, 2006. paper no. CIV_61I. (in CD-Rom format)

10. จักษดา ธํารงวุฒิและสิทธิชยั แสงอาทิตย, “ผลของความยาวระยะฝงเหล็กรางน้ําที่มีตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูป,” วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, ปที่ 13, ฉบับที่ 1, มกราคม-มีนาคม 2549, หนา 11-19.

11. อมรรัตน สุริยวิจติรเศรณี สิทธิชัย แสงอาทิตย และอาํนาจ อภิชาตวิัลลภ, “การศึกษาการใชเสนพลาสติกที่ใชแลวแบบสั้นผสมในคอนกรีต,” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาต ิคร้ังที่ 11, ภูเก็ต, 19-21 เมษายน 2549. paper no. MAT003. (ในรูปแบบ CD-Rom)

12. สิทธิชัย แสงอาทิตย และนรศิ พิเชียรโชต,ิ “การตรวจสอบพื้นคอนกรตีอัดแรงสําเร็จรูปเสริมกําลังภายนอกดวยแผนพลาสติกเสริมใยคารบอนภายใตแรงกระทาํตามขวาง,” วิศวกรรมสาร มข., ปที่ 33, ฉบับที่ 5, กันยายน-ตุลาคม 2549. หนา 525-539.

13. สิทธิชัย แสงอาทิตย และศรัณย กําจดัโรค , “พฤติกรรมการรับแรงอัดในแนวแกนและสมการออกแบบของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่ใชทอซีเมนตใยหินเปนแบบหลอถาวร,” วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, ปที่ 13, ฉบับที่ 4, ตุลาคม-ธันวาคม 2549. หนา 351-362.

14. Thumrongvut, J. and Seangatith, S., “Experimental Investigation on Concrete Columns Confined with Steel Jackets Subjected to Concentric Axial Compression,” The 6th National Symposium on Graduate Research, Graduate School, Chulalongkorn University, Bangkok, October 13-14, 2006, paper no. J1_J0028. (in CD-Rom format)

15. จักษดา ธํารงวุฒิและสิทธิชยั แสงอาทิตย, “ผลของการโอบรัดของปลอกเหล็กและปลอก stainless steel ตอพฤติกรรมเสาคอนกรีต,” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจําป คร้ังที่ 2, สมาคมคอนกรีตไทย, อุดรธานี, 25-27 ตุลาคม 2549. paper no. STR-002. (in CD-Rom format)

16. จักษดา ธํารงวฒุิ กรรณ คําลือ สิทธิชัย แสงอาทิตย และวินัย มณีรัตน “การทดสอบเพื่อศึกษาพฤติกรรมทางกลของรอยตอของคานคอนกรีตสําเร็จรูป,” การประชุมวิชาการวศิวกรรมโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 12, พิษณุโลก, 2-4 พฤษภาคม 2550. paper no. STR-028. (in CD-Rom format)

49

17. สิทธิชัย แสงอาทิตย และจักษดา ธํารงวุฒ,ิ “การตรวจสอบ TUBED CONCRETE COLUMN หนาตัดสี่เหล่ียมดานเทาภายใตแรงกดอัดในแนวแกน,” วิศวกรรมสาร มข., ปที่ 35, ฉบับที่ 1, มกราคม-กุมภาพันธ 2551. หนา 81-99.

18. Seangatith, S., “Study on Impact Responses of Pultruded GFRP, Steel and Aluminium Beams By Using Drop-Weight Impact Test,” Suranaree Journal of Science and Technology. (in reviewing process)

19. จักษดา ธํารงวุฒิและสิทธิชยั แสงอาทติย “การทดสอบ TUBED RC COLUMN หนาตัดสี่เหล่ียมจัตุรัสภายใตแรงกดอัดในแนวแกน,” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาต ิคร้ังที่ 13, พัทยา, 14-16 พฤษภาคม 2551. paper no. STR-048. (in CD-Rom format) ทรัพยสินทางปญญา

สิทธิบัตร ศ.ดร.นันทกร บุญเกิด รศ.ดร.หนึ่ง เตียอํารุง ผศ.ดร.โชคชัย วนภู ผศ.ดร.วีรชัย

อาจหาญ รศ.ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย และ กมลลักษณ เทียมไธสง ชุดใบพลิกกลับกองปุย อนุสิทธิบัตร ศ.ดร.นันทกร บุญเกิด รศ.ดร.หนึ่ง เตียอํารุง ผศ.ดร.โชคชัย วนภู ผศ.ดร.วีรชัย

อาจหาญ รศ.ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย และ กมลลักษณ เทียมไธสง ระบบเครนและวิธีการทํางานของระบบเครน