somchai 6th years report (thai)

15
รายงาน 6 ป การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร : ความลมเหลวของกระบวนการยุติธรรมไทย ในการคนหาความจริง การเยียวยา และการปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เผยแพร มีนาคม 2553 อังคณา นีละไพจิตร คณะทํางานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ Working group on justice for peace

Upload: working-group-on-justice-for-peace

Post on 18-Mar-2016

216 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

Somchai 6th years report (Thai)

TRANSCRIPT

Page 1: Somchai 6th years  report (Thai)

รายงาน

6 ป การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร : ความลมเหลวของกระบวนการยุติธรรมไทย ในการคนหาความจริง

การเยียวยา และการปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

เผยแพร มีนาคม 2553 อังคณา นีละไพจิตร

คณะทํางานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ Working group on justice for peace

Page 2: Somchai 6th years  report (Thai)

6 ป การบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร : ความลมเหลวของกระบวนการยุติธรรมไทย ในการคนหาความจริง

การเยียวยา และการปองกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย * ความเปนมา นายสมชาย นีละไพจิตร เริ่มตนประกอบวิชาชีพทนายความ นับแตป 2520 โดยไดมีโอกาสรวมงานกับ นายทองใบ ทองเปาว ทนายความนักสิทธิมนุษยชนผูเคยไดรับรางวัลแมกไซไซ ในการใหความชวยเหลือดานกฎหมายแกประชาชนมาโดยตลอด โดยเฉพาะการใหความชวยเหลือเก่ียวกับคดีความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใตของประเทศไทย ซึ่งผูตองหาสวนใหญเปนคนยากจน การศึกษานอย การทํางานของนายสมชายเปนเรื่องที่ตองใชความเสียสละและความกลาหาญอยางสูง เนื่องจากชวงเวลานั้นมีทนายความจํานวนนอยมากที่ใหความสําคัญ และความสนใจในการใหความชวยเหลือตอปญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต สวนใหญคดีที่นายสมชายรับผิดชอบศาลจะพิพากษายกฟองเนื่องจากขาดพยานหลักฐานที่นาเชื่อถือ และขาดหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร พบวาสวนใหญของพยานเปนพยานซัดทอด อีกทั้งผูตองหาคดีความมั่นคงเหลานี้มักถูกซอมทรมานเพ่ือใหรับสารภาพ ดังนั้นเมื่อคดีถูกนําข้ึนสูศาล คดีสวนใหญจึงถูกศาลยกฟอง นอกจากการวาความในฐานะทนายความในศาล นายสมชายยังไดแสดงความคิดเห็นตอสังคม เก่ียวกับการปฎิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจ และเรียกรองใหมีการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยเฉพาะการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจ ในฐานะพนักงานสอบสวน ซึ่งถือเปนตนทางของกระบวนการยุติธรรม ซึ่งจะมีผลในการคุมครองสิทธิมนุษยชนและพัฒนากระบวนการยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือที่จะสามารถใหความเปนธรรมแกประชาชนไดอยางแทจริง อีกทั้งยังเรียกรองตอบรรดาทนายความวาควรใหความสําคัญ และมีความเสียสละในการใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชนผูถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนในจังหวัดชายแดนภาคใต ใหมากข้ึน ภายหลังเหตุการณปลนปน และเผาโรงเรียน เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 ที่จังหวัดนราธิวาส เหตุการณในภาคใตทวีความรุนแรงมากข้ึน พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดมีคําสั่งใหเจาหนาที่ตํารวจจากสวนกลางลงไปปฏิบัติหนาที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต ชวงเวลานั้นมีการรองเรียนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบของเจาหนาที่ตํารวจ ไมวาจะเปนการควบคุมตัวประชาชน *

นางอังคณา นีละไพจิตร รวบรวม ในโอกาสครบรอบ 6 ป การบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละไพจิตร ทนายความนักสิทธิมนุษยชน

Page 3: Somchai 6th years  report (Thai)

ตามอําเภอใจ การซอมทรมานผูตองหา การอุมฆา หรือแมแตการสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม มูลเหตุการบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับใหสูญหาย เมื่อเวลาประมาณ 20.30 น.วันที่ 12 มีนาคม 2547 บนถนนรามคําแหง เย้ืองกับสถานีตํารวจนครบาลหัวหมาก กรุงเทพมหานคร โดยมีมูลเหตุที่นายสมชายไดรองเรียนเรื่องการซอมทรมานผูถูกกลาวหาซึ่งเปนประชาชนในจังหวัดนราธิวาสในคดีปลนปน เผาโรงเรียน 5 คน คือนายมักตา ฮารง ,นายอับดุลเลาะ อาบูคารี, นายมะนาเซ มามะ, นายซูดือรามัน มาและ และนายสุกรี มะมิง โดยนายสมชายไดไปเย่ียมผูตองหาทั้ง 5 ที่กองบังคับการปราบปราม และผูถูกกลาวหาทั้ง 5 ไดเลาใหนายสมชายฟงวาถูกเจาหนาที่ตํารวจชุดจับกุมซอมทรมานอยางหนักเพ่ือใหรับสารภาพ ซึ่งทั้งหมดถูกทรมานและถูกทํารายรางกายดวยวิธกีารชอตไฟฟาที่อวัยวะเพศ บางคนถูกใชเชือกแขวนคอ ใหเปลือยกายยืนบนเกาอ้ี ในลักษณะเขยงปลายเทา หรือปสสาวะใสปาก เปนตน ทั้งนี้สอดคลองกับ พล.ต.อ สมบัติ อมรวิวัฒน อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ ซึ่งเปนประธานคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงเก่ียวกับการหายตัวไปของนายสมชาย ไดใหถอยคํากับกรรมาธิการวุฒิสภาวา สาเหตุของการเขาไปชวยผูตองหา 5 คน เปนสาเหตุหนึ่งของการหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งตามหนังสือรองเรียนของผูตองหา 5 คน นั้น หากมีการดําเนินการตามหนังสือรองเรียนแลวพบความจริงจะเปนความผิดทางอาญา ซึ่งผูเก่ียวของจะตองถูกดําเนินคดีทางอาญา สวนผูถูกกลาวหาทั้ง 5 คน ภายหลังอัยการมีคําสั่งไมฟอง ในหนังสือที่นายสมชาย นีละไพจิตร เขียนรองเรียนเพ่ือขอความเปนธรรมใหผูถูกกลาวหาทั้ง 5

คน ไปยังองคกรตางๆเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2547 กอนจะถูกบังคับใหสูญหายเพียงวันเดียวระบุวา “ ...ผลจากการกระทําดังกลาว(การทรมาน) จําเลยทั้ง 5 คนตองยอมรับสารภาพตามที่เจาพนักงานตํารวจประสงค เปนการแสดงคํารับสารภาพและทําแผนประกอบคํารับสารภาพโดยการทํารายรางกาย ขมขูบังคับ มิไดรับการเย่ียมญาติ และไมมีโอกาสไดพบทนายความในขณะสอบปากคํา ยอมเปนการละเมิดสิทธิของผูตองหาทั้งสิ้น การกระทําเชนนี้มิชอบดวยกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญาแตอยางใด อันเปนการทําลายกระบวนการยุติธรรมเบ้ืองตนโดยสิ้นเชิง... “ นอกจากการรองเรียนเรื่องการซอมทรมานแลว นายสมชาย นีละไพจิตร ยังไดดําเนินการลารายชื่อ 50,000 รายชื่อ(ตามรัฐธรรมนูญป 2540 ) เพ่ือขอยกเลิกการประกาศใชกฎอัยการศึกในจังหวัดชายแดนภาคใตดวย โดยนายสมชายใหเหตุผลวากฎอัยการศึกใหอํานาจกับเจาหนาที่ทหารมาก สามารถควบคุมตัวประชาชนได 7 วันโดยไมตองมีหมายศาล ไมตองมีขอกลาวหา

Page 4: Somchai 6th years  report (Thai)

ใดๆ อีกทั้งไมอนุญาตใหญาติและทนายเย่ียมอีกดวย ประชาชนสวนใหญที่ถูกควบคุมตัวจึงมักรองเรียนวามีการซอมทรมาน และมีรายงานของการสูญหายของประชาชนในระยะเวลาของการควบคุมนั้น กระบวนการยุติธรรมข้ันตน ภายหลังนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกลักพาตัวเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 ตอมาเจาหนาที่ตํารวจไดพบรถยนตรของเขาจอดอยูในที่หามจอด หลังสถานีขนสงหมอชิตเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ปเดียวกัน ซึ่งรถของเขาถูกสงไปตรวจสอบเพ่ือหาหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตรที่กองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ และถูกสงไปตรวจสอบตอที่สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2547 แมเจาหนาที่ตํารวจระดับสูงที่ทําหนาที่พนักงานสอบสวน จะใหขาวตอสื่อมวลชนในขณะนั้นวามีวัตถุพยานสําคัญยืนยันผูกระทําผิด แตผลการตรวจสอบที่ปรากฏตอศาลในการพิจารณาคดีในศาล กลับไมพบหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตรใดๆที่สามารถเชื่อมโยงไปยังผูกระทําความผิด แมดูเหมือนวารัฐบาลซึ่งมี พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี จะมีความพยายามในการคลี่คลายคดีการบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร โดยการออกหมายจับเจาหนาที่ตํารวจ 5 นายภายใตแรงกดดันจากสาธารณชน รวมถึงนักสิทธิมนุษยชนทั้งในและตางประเทศ เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2547 อันประกอบดวย พ.ต.ต.เงิน ทองสุก จําเลยที่ 1 พ.ต.ท.สินชัย น่ิมปุญญกําพงษ จําเลยที่ 2 จ.ส.ต.ชัยเวง พาดวง จําเลยที่ 3 ส.ต.อ.รันดร สิทธิเขต จําเลยที่ 4 และ พ.ต.ท.ชัดชัย เลี่ยมสงวน จําเลยที่ 5 ตํารวจกองปราบปราม ตกเปนจําเลยที่ 1-5 ฐานรวมกันปลนทรัพย และขมขืนใจผูอ่ืน โดยใชกําลังประทุษราย แตไมสามารถตั้งขอหาฆาตกรรมหรือขอหาอ่ืนที่หนักกวาไดเนื่องจากยังไมพบศพหรือหลักฐานที่บงชี้วานายสมชายไดเสียชีวิตแลว สุดทายผูตองหาทุกคนก็ไดรับอนุญาตใหไดรับการปลอยตัวชั่วคราว โดยที่มีจําเลยที่ 5 ซึ่งเมื่อออกจากเรือนจําหลังถูกควบคุมตัวแลว 30 วันสามารถกลับเขารับราชการไดทันที่ราวกับวาระยะเวลาที่อยูในเรือนจํานั้นเปนการปฏิบัติหนาที่ราชการตามปกติ แมกฏ ก.พ.จะระบุวาหามขาราชการขาดงานเกิน 15 วันโดยไมมีเหตุอันควรก็ตาม

การสืบพยานในชั้นศาล คดีการลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ไดถูกนําเขาสูการพิจารณาของศาลยุติธรรมครั้งแรกเมื่อเดือนสิงหาคม 2548 โดยเปนการสืบพยานอยางตอเนื่องจนสิ้นสุดคดีเมื่อเดือน ธันวาคม 2548 จากพยานหลักฐานที่ปรากฏในการสืบพยานในชั้นศาลปรากฏหลักฐานวาจําเลยบางคนไดลงไปปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต และมีความเก่ียวของกับการทรมานผูถูก

Page 5: Somchai 6th years  report (Thai)

กลาวหาที่นายสมชายไดรองเรียน ดังปรากฏขอเท็จจริงตามเอกสารซึ่งโจทกสงศาลหมาย จ.128 อางถึงหนังสือคําสั่งแตงตั้งใหจําเลยที่ 5 ในคดีนี้เปนคณะกรรมการสืบสวนและสอบสวนเพ่ือหาตัวผูกระทําผิดหลังเหตุการณปลนปนวันที่ 4 มกราคม 2547 โดยมีจําเลยที่ 1 เปนผูรวมจับกุมผูตองหาทั้ง 5 ในคดีปลนปนดังกลาว ทั้งนี้นายซูดีรือมัน มาเละ หนึ่งในผูตองหา 5 คน ยืนยันวาจําเลยที ่1 เปนหนึ่งในผูที่รวมทํารายรางกาย ตามเอกสารสงศาลหมาย จ.26 และระหวางถูกคุมขังที่เรือนจํากรุงเทพฯ ภายหลังที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทําใหสูญหายแลวนั้นจําเลยที่ 1 และ 5 ไดเคยเขาไปเย่ียมนายสุกรี มะมิง ตามเอกสารหมาย จ. 23 และในวันที่จําเลยที่ 1 ,2 และ 4 เขามอบตัวนั้นก็มีจําเลยที่ 5 พรอมทั้งพ.ต.อ. พิสิษฐ พิสุทธิศักด์ิ (ยศขณะนั้น) ซึ่งเปนหนึ่งในชุดจับกุมนายมะกะตา ฮารงกับพวก (ตามเอกสารหมาย จ.1) เปนผูนําเขามอบตัวดวย

หลักฐานความเชื่อมโยงการใชโทรศัพท ตามคําเบิกความตอศาลของพนักงานสอบสวนในคดีนี้ซึ่งไดตรวจสอบความถูกตองจากผูชํานาญการพิเศษ องคการโทรศัพแหงประเทศไทย พบวา การใชโทรศัพทพรอมพิกัดสถานที่การใชโทรศัพทนั้นเปนขอมูลซึ่งบันทึกดวยระบบคอมพิวเตอร สามารถตรวจสอบความถูกตองได แสดงใหเห็นวานับแตชวงเชาวันที่ 12 มีนาคม 2547 จําเลยทั้ง 5 ไดใชโทรศัพทติดตอกัน และมีลักษณะการเคลื่อนไหวและติดตามตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ตั้งแตเวลาเชาจนถึงเวลาเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุจําเลยที่5 ไดติดตอกับ พ.ต.อ.พิสิษฐ พิสุทธิ์ศักด์ิ (ยศขณะนั้น) ซึ่งในวันที่ 6 ถึงวันที่ 11 มีนาคม 2547 มีการติดตอกันระหวางกลุมบุคคลดังกลาวนอยมาก แตในวันที่ 12 มีนาคม 2547 ซึ่งเปนวันเกิดเหตุมีการติดตอกันทางโทรศัพทมากถึง 75 ครั้ง และหลังเกิดเหตุวันที่ 13 ถึง 15 มีนาคม มีการใชโทรศัพทติดตอกันนอยมาก แตในวันที่ 16 และ 17 มีนาคม 2547 ซึ่งเปนชวงของการพบรถนายสมชาย นีละไพจิตร พบมีการติดตอกันระหวางกลุมบุคคลดังกลาวมากถึง 36 ครั้ง

หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร แมจะพบรถของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งถูกนํามาจอดทิ้งไว แตการตรวจสอบทางนิติวิทยาศาสตรกลับไมพบอะไรเลย นอกจากลายนิ้วมือ และเสนผมของนายสมชาย และบุคคลในครอบครัว ทั้งที่ตามคําใหการของประจักษพยานซึ่งเห็นวาจําเลยที่ 2 เปนผูขับรถนายสมชาย ออกไป หลังจากที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกผลักข้ึนรถที่จําเลยทั้งง 5 ไดเตรียมมา จากการพิจารณาคดีในศาลพนักงานอัยการ และเจาหนาที่กองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติไดแถลงตอศาลวาคดีนี้ไมสามารถหาหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตรมาผูกมัดผูกระทําความผิดได เนื่องจากจําเลยทั้ง 5 นั้นเปนพนักงานสืบสวนสอบสวน อีกทั้งจําเลยที่ 5 เองก็เคยเขารับการอบรมการสืบสวนและหาหลักฐานจากสถาบัน FBI ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงทําให

Page 6: Somchai 6th years  report (Thai)

สามารถทราบถึงวิธีการทําลายหลักฐานเชน ลายนิ้วมือแฝง และอาจเปนสาเหตุที่ทําใหไมพบหลักฐานหรือวัตถุพยานในรถยนตของนายสมชาย นีละไพจิตร

ประจักษพยานในคดี เนื่องจากนายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับใหสูญหายบริเวณใจกลางกรุงเทพมหานคร ในเวลาที่การจลาจรติดขัดและผูคนพลุกพลาน ทําใหมีประชาชนจํานวนไมนอยเห็นเหตุการณที่เกิดข้ึน เชนจากการใหการของพยานรายหนึ่งที่เห็นเหตุการณไดโทรศัพแจงเหตุแกศูนยแจงเหตุ 191 แตพบวามิไดมีการตรวจสอบ นอกจากเจาหนาที่ไดบันทึกวา ไดมาตรวจสอบสถานที่รับแจงเหตุแลว แตไมพบเหตุรายใดๆ นอกจากนี้ยังพบมีประจักษพยานซึ่งพบเห็นเหตุการณในที่เกิดเหตุหลายคน แตดวยความลมเหลวของการคุมครองพยานในประเทศไทย จึงทําใหพยานหลายคนกลับคําใหการในชั้นศาลและไมกลามาใหการเปนพยาน อยางไรก็ดีมีผูหญิงคนหนึ่งที่เห็นเหตุการณและยินดีใหการเปนพยาน โดยไดชี้จําเลยที่ 1 วาคลายคนที่ผลักนายสมชาย นีละไพจิตร ข้ึนรถที่เตรียมมา ในขณะที่ชายอีกคนหนึ่งขับรถของนายสมชายออกไป

การคุกคาม และการแทรกแซงการทําหนาทีข่องพนักงานสอบสวน ไมเพียงแตพยานที่ถูกคุกคาม แมแตพนักงานสอบสวนซึ่งทําคดีนี้เองก็มีความรูสึกไมปลอดภัยเชนกัน ดังปรากฎตามเอกสารคําพิพากษาคดีหมายเลขดําที่ ๑๔๖๙/๒๕๔๗ ระหวางพล.ต.อ.สันต ศรุตานนท โจทก กับ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ที่ ๑ นางสาวสโรชา พรอุดมศักด ที่ ๒ จําเลยคดีหมิ่นประมาทความผิดตอเจาพนักงาน โดยในคําพิพากาษาหนาที่ ๒๑ บรรทัดที่ ๑๑-๑๘ และในหนาที่ ๒๒ บรรทัด ๑-๑๐ วา

"...และอดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรีฝายความมั่นคง ซึ่งเคยกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติ คนเดียวกับคนที่ใหขอเท็จจริงเก่ียวกับปญหาภาคใตในคําฟองขอ ๓.๔ ไดเบิกความวาในกรณีของนายสมชาย นีละไพจิตร ที่หายตัวไป พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรีสั่งใหมีการดําเนินคดีในเรื่องนี้ใหได ซึ่งหัวหนาพนักงานสอบสวนผูบัญชาการตํารวจนครบาลและผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติซึ่งรับผิดชอบเรื่องนี้ขอพบกับพล.อ.ชวลิตในที่ลับ และรายงานวามีอุปสรรคในการดําเนินคดีมากขอใหพล.อ.ชวลิต ใหการสนับสนุนในการปฎิบัติหนาที่และชวยคุมครองใหพวกเขาถูกกดดันซึ่งพยานเห็นวาการที่มาขอพบในที่ลับ อาจเปนเพราะไดรับแรงกดดันและไดมีอุปสรรคมาก..." และ

"...นอกจากนี้การที่พนักงานสอบสวนผูบัญชาการตํารวจนครบาลและผูชวยผูบัญชา

ตํารวจแหงชาติซึ่งรับผิดชอบเรื่องของนายสมชาย นีละไพจิตร ขอเขาพบพล.อ.ชวลิต เปนการ

Page 7: Somchai 6th years  report (Thai)

ลับและขอใหชวยคุมครองทําใหมีเหตุอันควรเชื่อไดวามีผูมีอํานาจมากกวาพนักงานสอบสวนดังกลาวไดเขามาเก่ียวของในการปฎิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนในอันที่จะไมทําใหเกิดความชัดเจนโปรงใสของเรื่องดังกลาว..."

คําพิพากษา หลังจากใชเวลาในการพิจารณาคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร เปนเวลา 7 เดือน นับแตเดือนสิงหาคม 2548 ในคดีความผิดตอเสรีภาพ และปลนทรัพย ศาลอาญากรุงเทพฯไดอานคําพิพากษา คดีหมายเลขดําที่ 1952 / 2547 และคดีหมายเลขแดงที่ อ. 48 / 2549 เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 โดยมีความสรุปวา

“ ศาลพิเคราะหพยานหลักฐานแลว โจทกมีพยานเปนพนักงานสอบสวน เบิกความสอดคลองตรงกัน ทั้งเวลาและสถานที่ ทําใหเชื่อโดยปราศจากขอสงสัยวานายสมชายหายตัวไปจริง สวนการที่โจทกนําขอมูลการใชโทรศัพทเคลื่อนที่ของจําเลยทั้ง 5 ที่ติดตอกันหลายครั้งในสถานที่ตางๆ ในชวงวันเวลากอนเกิดเหตุและในวันเกิดเหตุที่นายสมชายหายตัวไป ศาลเห็นวายังมีขอสงสัยในเอกสารหลักฐานการใชโทรศัพท เนื่องจากโจทกไมไดนํา ผูชวยผูบัญชาการ สํานักงานตํารวจแหงชาติ(ผช ผบ ตร.) และ รอง ผูบัญชาการตํารวจนครบาล (ผบ บชน.)ที่อางวาเปนผูประสานขอเอกสารดังกลาว จากบริษัทโทรศัพทเคลื่อนที่มาเบิกความยืนยันในชั้นศาล ทําใหฝายทนายจําเลยไมสามารถซักคานในประเด็นดังกลาวได จึงไมมีน้ําหนักเพียงพอ “

“ ...นอกจากนี้ ศาลยังมีประจักษพยาน 3 คน ระบุรูปพรรณสัณฐานของจําเลยที่ 1 คือ พ.ต.ต.เงิน ไดชัดเจนวาเปนคนรูปรางใหญ ศีรษะลาน รวมถึงชี้ภาพไดถูกตองและยืนยันวา ขณะเกิดเหตุเห็น พ.ต.ต.เงิน(จําเลยที ่1)เปนผูที่ผลักนายสมชายเขาไปในรถ โดยประจักษพยานทั้ง 3 ไมเคยมีเรื่องหรือมีสาเหตุโกรธเคืองกันมากอน เชื่อไดวาเปนการเบิกความโดยสุจริตใจ สวนที่จําเลยอางวาสาเหตุที่พนักงานสอบสวนของ บช.น. ทําสํานวนคดีเพ่ือปรักปรําใหจําเลยทั้งหมดไดรับโทษ เนื่องจากความขัดแยงระหวาง กองปราบปราม กับ บช.น. เปนการกลาวอางเพียงลอยๆ ไมมีน้ําหนักแตอยางใด สวนในขอหารวมกันปลนทรัพยนั้น โจทกไมมีประจักษพยานที่สามารถยืนยันไดวา พ.ต.ต.เงินไดรวมกับพวกกอเหตุดังกลาว จึงยกประโยชนแหงความสงสัยใหจําเลย ..”

“ .. ศาลพิเคราะหแลวเห็นวา พ.ต.ต.เงินกระทําผิด ฐานทํารายรางกายผูอ่ืน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 319 วรรค 1 และรวมกันขมขืนใจผูอ่ืน ใหกระทําการใด หรือไมกระทําการใด โดยใชกําลังประทุษราย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 309 วรรค 2 ให

Page 8: Somchai 6th years  report (Thai)

ลงโทษในบทหนักสุด ฐานกักขังหนวงเหน่ียวเปนเวลา 3 ป สวนจําเลยที่ 2-5 ใหยกฟอง เนื่องจากไมมีพยานหลักฐาน ในการกระทําผิดตามฟอง”

ความลมเหลวของกลไกรัฐในการอํานวยความยุติธรรม

จากการที่เจาหนาที่ตํารวจซึ่งตกเปนจําเลยในคดีลักพาตัวนายสมชาย สามารถกลับเขารับราชการไดตามปกติ ยกเวนจําเลยที่ 1 คือพ.ต.ต.เงิน ทองสุก ที่ศาลพิพากษาจําคุก 3 ป และไดรับการประกันตัวระหวางรออุทธรณ ทางผูเสียหายเห็นวา ยังไมไดรับความเปนธรรม เนื่องจากการที่เจาหนาที่ตํารวจอีก 4 นาย ยังคงรับราชการ จึงอาจสงผลใหพยานเกิดความหวาดกลัว และอาจมีการคุกคามพยาน ซึ่งจะสงผลตอคําใหการของพยานได จึงไดรองเรียนยังหนวยงานที่เก่ียวของ รวมถึงองคกรอิสระ เชน กองบังคับการปราบปราม ศาลปกครอง และผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา(ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540)

กองบังคับการปราบปราม

กองบังคับการปราบปราม มีหนังสือเลขที่ 0026/ 4010 ลงวันที่ 18 กันยายน 2549 แจงสรุปผลการสอบสวนทางวินัยตํารวจทั้ง5 นายที่ตกเปนจําเลยในคดีกักขังหนวงเหนี่ยวฯ นายสมชาย นีละไพจิตร สรุปวา .... ยังรับฟงไมไดวา ผูถูกกลาวหาทั้ง 5 นาย กระทําผิดวินัยอยางรายแรง แตเปนกรณีกลาวหาในความผิดวินัยอยางรายแรง อันเน่ืองจากตองหาคดีอาญา ซ่ึงอยูในการพิจารณาของศาล คณะกรรมการสอบสวนวินัยรายแรง จึงเสนอเห็นควร รอฟงผลคดีอาญาถึงที่สุดกอน เพื่อนํามาประกอบการพิจารณาตอไป....

ศาลปกครอง

วันที่ 12 มีนาคม 2550 นางอังคณา นีละไพจิตร ไดย่ืนฟอง สํานักงานตํารวจแหงชาติ และผูบัญชการตํารวจแหงชาติ ตอศาลปกครองกรณีไมดําเนินการทางวินัยกับเจาหนาที่ตํารวจที่ตกเปนจําเลยคดีลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร

วันที่ 4 เมษายน 2550 ศาลปกครองชั้นตนมีคําสั่ง ตามคดีหมายเลขดําที่ 475/ 2550 คดีหมายเลขแดงที่ 533/ 2550 ไมรับคํารองของนางอังคณา นีละไพจิตร กรณีสํานักงานตํารวจแหงชาติไมดําเนินการทางวินัยแกเจาหนาที่ตํารวจทั้ง 5 นาย ในคดีกักขังหนวงเหนี่ยว และปลนทรัพย นายสมชาย นีละไพจิตร โดยศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวเห็นวา “ ... การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ( ผบ ตร ) มีคําสั่งใหนายตํารวจทั้ง ๕ นาย กลับเขารับราชการในสังกัดเดิมเปนดุลยพินิจของผูบัญชาในการบริหารงานบุคคลตามขั้นตอนปกติที่กฎหมายใหอํานาจไว

Page 9: Somchai 6th years  report (Thai)

คําสั่งของผูถูกฟองคดีที่๒ ดังกลาว จึงไมมีผลกระทบตอสถานสภาพของสิทธิหรือหนาที่ของผูฟองคดี ซ่ึงเปนบุคคลภายนอกกระบวนการพิจารณาทางปกครอง ผูฟองคดีจึงมิใชผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายจากคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ที่สั่งใหเจาหนาที่ตํารวจทั้ง ๕ นายกลับเขารับราชการ จึงไมมีสิทธิฟองคดีตอศาลเพื่อใหเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดังกลาว สวนที่ผูฟองคดีมีคําขอใหผูถูกฟองคดีทั้งสองดําเนินการทางวินัยแกเจาหนาที่ตํารวจที่เก่ียวของขางตนและใหมีคําสั่งพักราชการหรือใหออกจากราชการไวกอน จนกวาการพิจารณาคดีอาญาของศาลยุติธรรมและกรมสอบสวนคดีพิเศษจะเสร็จสิ้นน้ัน เห็นวาการดําเนินการทางวินัยเปนเรื่องระหวางรัฐกับเจาหนาที่ของรัฐที่ผูบังคับบัญชาจะใชดุลยพินิจดําเนินการตามที่มีเหตุผลอันสมควร และมิไดมีผลเปนการเยียวยาทุกขใหแกผูฟองคดีโดยตรง ผูฟองคดีจึงไมมีสิทธิฟองผูถูกฟองคดีทั้งศาลตอศาลตามมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒”

ผูเสียหายอุทธรณ

22 กรกฎาคม 2550 ศาลปกครองสูงสุด มีคําสั่งที่ 501 / 2550 ยืนตามศาลปกครองชั้นตนไมรับคําฟองไวพิจารณา และใหจําหนายคดีออกจากสารบบความ

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา

22 มีนาคม 2549 นางอังคณา นีละไพจิตร ไดรองเรียนตอผูตรวจการแผนดินรัฐสภา กรณีเจาหนาที่ตํารวจซึ่งตกเปนจําเลยในคดีอาญา ไมไดรับการลงโทษางวินัย

วันที่ 18 มกราคม 2550 มีหนังสือ ดวนที่สุด เลขที่ ผร 22 / 581 จากสํานักงานผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ความยาวสามหนากระดาษสงมาพรอม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๒ มีใจความสรุปสามบรรทัดวา “......ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ( นายพูลทรัพย ปยะอนันต ) พิจารณาแลวเห็นวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ไดสิ้นสุดลงแลว กรณีจึงไมมีเหตุใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาพิจารณาและดําเนินการตอไป .....”

Page 10: Somchai 6th years  report (Thai)

การดําเนินการดานยุติธรรม

คดีกักขังหนวงเหน่ียว ความผิดตอเสรีภาพ ภายหลังศาลชั้นตนมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549 ผูเสียหายอุทธรณ ปจจุบันคดีอยูในระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณ

คดีฆาตกรรม คดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร ซึ่งเชื่อวานายสมชาย นีละไพจิตร ไดเสียชีวิตแลวนั้น กรมสอบสวนคดีพิเศษ ไดรับเปนคดีพิเศษเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2548 ปจจุบันอยูระหวางการสืบสวนสอบสวน พบวากรมสอบสวนคดีพิเศษไดมุงเนนในการหาชิ้นสวนศพ และถังน้ํามัน ซึ่งเชื่อวาใชทําลายศพของนายสมชาย ที่แมน้ําแมกลอง จังหวัดราชบุรี ตามคําใหการของพยาน ปจจุบันกรมสอบสวนคดีพิเศษไดพบถังน้ํามันขนาด 200 ลิตร แลวจํานวน 4 ถัง กับเศษกระดูกมนุษยจํานวนหนึ่งซึ่งตรวจสอบแลวไมพบวามีสารพันธุกรรมตรงกับนายสมชาย นีละไพจิตร

การรองเรียนการทรมานผูตองหา กรมสอบสวนคดีพิเศษไดสงเรื่องรองเรียนกรณีการซอมทรมาน นายมักตา ฮารง กับพวก โดยเจาหนาที่ตํารวจระดับสูง และเชื่อวาเปนสาเหตุที่ทํ าใหนายสมชายนีละไพจิตร ถูกทําใหหายตัวไป ตอ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.) ปจจจุบันอยูระหวางการสอบสวนของ ปปช. เปนระยะเวลา เกือบ 3 ป โดย ปปช. ไดเรียกเจาหนาที่ตํารวจ 14 นายมารับทราบขอกลาวหาแลว

การเปนบุคคลสาบสูญตามคําสั่งศาล วันที่ 18 พฤษภาคม 2552 ศาลแพงไดมีคําสั่ง คดีหมายเลขดําที่ 1206 / 2552 คดีหมายเลขแดงที่ 2050/ 2552 สรุปความวา “.. นับแตนายสมชาย นีละไพจิตร หายตัวไปจนปจจุบันเปนเวลา 5 ปเศษ จึงมีคําสั่งใหนายสมชาย นีละไพจิตร เปนคนสาบสูญตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 61 วรรคแรก “

คณะทํางานดานคนหายของสหประชาชาติ UN Working Group on

Enforced or Involuntary Disappearance (UN WGEID)ไดพิจารณากรณีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร และมีมติรับคดีนายสมชาย นีละไพจิตร เปนคดีคนหายของคณะทํางานดานผูสูญหายของสหประชาติ เมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2548 หมายเลขคดี 1003249 ( case no. 1003249) ทั้งนี้คณะทํางานไดติดตามสอบถามความกาวหนาในการสืบสวน สอบสวน การสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร จากรัฐบาลไทย

ปญหาและอุปสรรคในการเขาถึงความยุติธรรม

Page 11: Somchai 6th years  report (Thai)

วันที่ 12 มีนาคม 2553 เปนเวลา 6 ปเต็มที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกบังคับใหหายตัวไป และนับแตเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2548 ที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไดกลาวแกนางอังคณา นีละไพจิตร ที่บานพิษณุโลก วา เชื่อวานายสมชาย นีละไพจิตร ไดเสียชีวิตแลว แมระหวาง 6 ปที่ผานมา ประเทศไทยจะมีนายกรัฐมนตรีมาแลวถึง 5 คน และมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม 7 คน กลับพบความจริงวาคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร ไมมีความกาวหนาทางคดี แมรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จะแสดงความสนใจในการคลี่คลายคดีนี้นับแตเขารับตําแหนงนายกรัฐมนตรี แตก็ไมพบวาคดีมีความคืบหนาแตอยางใด จากการติดตามคดีอยางใกลชิด พบขอสังเกตุในสิ่งที่เปนปญหา และอุปสรรคสําคัญที่ทําใหคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร มีความลาชา และไมสามารถเขาถึงความยุติธรรมได

ความไมเต็มใจของรัฐในการดําเนินการ

นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทําใหหายตัวไปในขณะที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี แมดูเหมือนวารัฐบาลขณะนั้นพยายามคลี่คลายคดี โดยการตั้งขอกลาวหาเจาหนาที่ตํารวจ 5 นาย ขอหากักขังหนวงเหนี่ยว และปลนทรัพย แตเมื่อคดีถูกนําข้ึนสูการพิจารณาของศาล กลับพบขอเท็จจริงที่ปรากฎวา พยานหลักฐานตางๆในคดีถูกทําลายจนไมมีน้ําหนักเพียงพอที่จะสามารถนํามาใชเพ่ือประกอบในการนําผูกระทําผิดมาลงโทษได อีกทั้งการที่จําเลยซึ่งเปนเจาหนาที่ตํารวจไดรับการประกันตัวระหวางการพิจารณาคดี เปนสาเหตุที่ทําใหพยานเกิดความหวาดกลัว และพยานบางคนกลับคําใหการในชั้นศาล

รวมถึงการที่มีพยานคนหนึ่งใหการตอชั้นศาลชั้นตน โดยเชื่อวาจําเลยทั้ง 5 ไดทราบคําใหการของพยานในคดีทั้งหมดมากอนลวงหนาการพิจารณาคดี ตามเอกสารของจําเลยที่ 5 ที่ย่ืนไวตอศาลตามเอกสารหมายเลข ล.107 แผนที่ 2 ซึ่งมีขอความระบุวา พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวัฒน อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ ไดนําคําใหการของพยานโจทกในสํานวนการสอบสวนมาใหแกฝายจําเลย จึงสอดคลองกับคําพิพากษาในคดีนี้ หนาที่ 72-73 ซึ่งระบุวา “ทางทนายฝายจําเลยไดมีการขอใหศาลหมายเรียกเอกสารดังกลาวมาจากพนักงานอัยการ ซึ่งพนักงานอัยการไดจัดสงเอกสารมาใหและจําเลยไดอางสงเปนพยานตอศาลแลวซึ่งแสดงวาเอกสารดังกลาวไดมีอยูในสํานวนการสอบสวนที่พนักงานสอบสวนมอบใหแกพนักงานอัยการแลว มิฉะนั้นคงจะไมมีเอกสารดังกลาวจากสํานวนการสอบสวนที่พนกังานอัยการจะสงศาลตามหมายเรียกได”

แมหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนท จะใหความสําคัญแกคดีนี้โดยตั้งคณะกรรมการเพ่ือสอบสวนคดีนี้โดยเฉพาะ แตก็ยังปรากฏวาคดีการฆาตกรรมนายสมชาย นีละไพจิตร ไมมีความคืบหนาแตประการใด

Page 12: Somchai 6th years  report (Thai)

หลังการเลือกตั้งป 2550 รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศสวัสด์ิ มีทาทีชัดเจนในการไมเต็มใจ(unwilling) ในการคลี่คลายคดีการสูญหายของนายสมชาย นีละไพจิตร อีกทั้งยังแสดงใหเห็นถึงการแทรกแซงการสืบสวน สอบสวนจากฝายการเมืองมาโดยตลอด แมตามพระราชบัญญัติกรมสอบสวนคดีพิเศษ จะใหอิสระและใหอํานาจแกพนักงานสอบสวนกรมสอบสวนคดีพิเศษ ในการทําหนาที่กรณีประชาชนไมไดรับความเปนธรรมจากการปฏิบัติของเจาหนาที่รัฐ และผูมีอิทธิพล แตที่ผานมาจนปจจุบันกรมสอบสวนคดีพิเศษก็ประสบความลมเหลวในการทําคดีที่เก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนมาโดยตลอด และพิสูจนใหเห็นวาไมสามารถทําหนาที่ไดตามที่สังคมคาดหวัง

ความลมเหลวในการคุมครองพยาน

ความลมเหลวในการคุมครองพยาน ทําใหพยานในคดีการบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร ไดรับการคุกคามมาโดยตลอด โดยเฉพาะพยานซึ่งนายสมชายไดทําการรองเรียนเรื่องการถูกซอมทรมานระหวางการควบคุมตัวโดยเจาหนาที่ตํารวจ แมพยานเหลานี้จะอยูในโครงการคุมครองพยานของกรมสอบสวนคดีพิเศษ แตก็ดูเหมือนไมมีพยานคนใดมีความมั่นใจในความปลอดภัยในการใหการเปนพยาน เพ่ือนําผูกระทําผิดมาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม เชนกรณี นายซูดือรามัน มาและ ซึ่งถูก พลตํารวจโทภาณุพงศ สิงหรา ณ อยุธยา และ พลตํารวจตรีจักรทิพย ชัยจินดา ฟองตอศาลอาญา ในขอหาใหการอันเปนเท็จตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ(ปปช.) ปจจุบันคดีที่ พลตํารวจโทภาณุพงศ สิงหรา ณ อยุธยา ฟองนายซูดือรามัน ศาลไดยกคํารอง สวนคดีที่ พลตํารวจตรีจักรทิพย ชัยจินดา ฟอง ศาลนัดไตสวนคํารองในวันที่ 15 มีนาคม 2553 ที่ศาลอาญากรุงเทพฯ

นอกจากนั้นพยานสําคัญอีกคนในคดีซึ่งอยูภายใตการคุมครองพยาน ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ คือนายอัลดุลเลาะ อาบูคารี ก็ไดหายสาบสูญไปจากบานพักที่จังหวัดนราธิวาส ตั้งแตวันที่ 11

ธันวาคม 2552 หลังจากที่เขาไดกลับไปเย่ียมครอบครัวเนื่องในโอกาสวันสําคัญทางศาสนา ซึ่งจนถึงปจจุบันยังไมมีผูใดทราบชะตากรรมของนายอับดุลเลาะ อีกทั้งกรมสอบสวนคดีพิเศษซึ่งตองรับผิดชอบโดยตรงในฐานะที่นายอับดุลเลาะ อยูระหวางการคุมครองพยานยังไมมีทาทีในการแสดงความรับผิดชอบแตอยางใด

ความไรประสิทธิภาพของการหาพยานหลักฐานทางคดี

การลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร ไดทิ้งหลักฐานไวมากมาย แตหลักฐานทางคดีทั้งหมดก็ดูเหมือนถูกทําลายไปจนเกือบหมด เชน

รถยนตรของนายสมชายที่ผูกระทําผิดไดนํามาจอดทิ้งไว ปรากฏเมื่อนํามาตรวจสอบทางนิติวิทยาศาสตร ที่กองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ และ

Page 13: Somchai 6th years  report (Thai)

ที่สถาบันนิติวิทยาศาสตร กระทรวงยุติธรรม แลวกลับไมพบหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร ไมวาจะเปนลายนิ้วมือ รอยนิ้วมือแฝง หลักฐานทางพันธุกรรม(DNA) ของผูกระทําผิด อีกทั้งในข้ันตอนของเก็บพยานหลักฐาน พบวาจนถึงปจจุบันไมพบมีการตรวจหาพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร เชนการตรวจหาสารพันธุกรรม(DNA) ของผูตองหาทั้ง 5 คน อีกทั้งไมมีการถอนผม หรือขน เพ่ือนํามาเปรียบเทียบกับเสนผมที่พบในรถของนายสมชายตามคําใหการของประจักษพยานที่ใหการวาเห็นจําเลยที่ 2 เปนผูขับรถของนายสมชาย นีละไพจิตร ออกไป

หลักฐานความเชื่อมโยงการใชโทรศัพท ของผูมีสวนรวมในการกระทําผิด ถูกลบทิ้งไปเกือบหมดทั้งที่คดีการลักพาตัวนายสมชาย นีละไพจิตร เปนคดีสําคัญ และคดีการฆาตกรรมมีอายุความถึง 20 ป แตพนักงานสอบสวนกลับปลอยใหขอมูลสําคัญถูกทําลาย หรือแมกระทั่งการตวจสอบการใชโทรศัพทของกลุมผูกระทําผิด พบมีการจํากัดการตรวจสอบเฉพาะการใชโทรศัพทที่จําเลยทั้ง 5 คนติดตอกัน แตมิไดมีการตรวจสอบไปถึงบุคคลอ่ืนี่เก่ียวของที่เชื่อวาเปนเจาหนาที่ตํารวจระดับสูง และอาจเปนผูบงการในการลักพาตัว การฆาตกรรม และการทําลายศพนายสมชาย นีละไพจิตร

ความลาชาในกระบวนการยุติธรรม และการสืบสวนสอบสวนคดีการบังคับสูญหาย นายสมชาย นีละไพจิตร

การอุทธรณคดี คดีกักขังหนวงเหนี่ยว และความผิดตอเสรีภาพ ปจจุบันอยูระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณ ภายหลังศาลชั้นตนมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2549

กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) นับเปนเวลาเกือบ 5 ปที่กรมสอบสวนคดีพิเศษไดรับคดีการบังคับสูญหายนายสมชาย นีละไพจิตร เปนคดีพิเศษตั้งแตวันที่ 19 กรกฎาคม 2548 โดยแนวทางการสอบสวนเชื่อวานายสมชายถูกทําใหเสียชีวิตแลว กรมสอบสวนคดีพิเศษจึงมุงเนนการหาหลักฐานการเสียชีวิต เชนชิ้นสวนของศพ หรือพยานหลักฐานอ่ืนที่มีสวนเก่ียวของกับการทําลายศพ จนปจจุบันที่กรมสอบสวนคดีพิเศษรับผิดชอบคดี ไดพบถังน้ํามันซึ่งเชื่อวาใชเผาทําลายศพนายสมชายแลวทั้งสิ้น 4 ใบ กับเศษกระดูกมนุษยจํานวนหนึ่ง แตไมปรากฏความพยายามในการหลักฐานสําคัญอ่ืน เชน ความเชื่อมโยงการใชโทรศัพทของบุคคลที่เก่ียวของ หรือทรัพยสินที่ติดตัวนายสมชาย หรือแมแตรถที่ใชในการลักพาตัวนายสมชายในวันเกิดเหตุ เปนตน การทํางานของกรมสอบสวนคดีพิเศษในระยะเวลาเกือบ 5 ปที่ผานมาจึงไมสามารถสรางความม่ันใจแกครอบครัว

Page 14: Somchai 6th years  report (Thai)

และสาธารณชนไดเลยวาไดมีความพยายาม และความเต็มใจ ในการคลี่คลายคดีน้ี

คณะกรรการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ(ปปช.) กรมสอบสวนคดีพิเศษไดสงขอรองเรียนเรื่องการซอมทรมานผูถูกควบคุมตัว ในคดีปลนปนเผาโรงเรียน ในเหตุการณวันที่ 4 มกราคม 2547 ซึ่งนายสมชาย นีละไพจิตร ไดรองเรียนเจาหนาที่ตํารวจ และเชื่อวาเปนสาเหตุที่นายสมชาย นีละไพจิตร ถูกทําใหหายตัวไป ตอ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.) จนปจจุบันเปนเวลาประมาณ 3 ป ผลการสอบยังอยูระหวางการพิจารณา ทําใหระหวางนี้พยานตางถูกคุกคามโดยมีขอมูลวามีเจาหนาที่ตํารวจกลุมหนึ่งเขาไปพบกับครอบครัวของพยานที่บานในจังหวัดนราธิวาส เพ่ือขอใหพยานกลับคําใหการที่ไดใหการไวกับ ปปช. อีกทั้งปจจุบันพยานคนหนึ่งที่อยูในความคุมครองของกรมสอบสวนคดีพิเศษไดถูกเจาหนาที่ตํารวจระดับสูง 2 นายฟองรองตอศาลในกลาวขอหาวาพยานใหการเท็จตอ ปปช. ในขณะที่พยานสําคัญอีกคนหนึ่ง คือ นายอับดุลเลาะ อาบูคารี ไดหายตัวไปอยางไรรองรอยที่บานที่จังหวัดนราธิวาสเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ระหวางที่ยังอยูในความคุมครองของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ทําใหพยานคนอ่ืนๆเกิดความหวาดกลัวเปนอยางมาก

การพิจารณาของ ปปช.เปนไปอยางลาชา เม่ือเทียบกับคดีอ่ืนที่ ปปช. รับไวพิจารณา ซ่ึงบางคดีมีการตัดสินชี้มูลอยางรวดเร็ว ความลาชาของ ปปช. จึงสงผลกระทบอยางสูงตอความปลอดภัยของพยานทุกคนในคดี

นอกจากการสูญหายของพยานสําคัญในคดีแลว ยังปรากฏการสูญหายของจําเลยที่ 1 คือ พ.ต.ต.เงิน ทองสุก ดังปรากฏตามขาวสารตามสื่อมวลชน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 แตเปนที่นาสังเกตุวาไมปรากฏการแจงความตอพนักงานสอบสวนเพ่ือคนหาตัว พ.ต.ต.เงิน ทองสุก จากครอบครัวของ พ.ต.ต.เงิน ทองสุก แตอยางใด

การเยียวยาจากรัฐ

ภายหลังศาลแพงมีคําสั่งใหสมชาย นีละไพจิตร เปนบุคคลสาบสูญ นางอังคณา นีละไพจิตร ไดย่ืนคําขอรับคาทดแทนและคาใชจายแกผูเสียหายในคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหายและคาทดแทนและคาใชจาย แกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 ณ สํานักงานชวยเหลือทางการเงินแกผูเสียหายและจําเลยในคดีอาญา กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพประชาชน กรณีความผิดตอชีวิต ซึ่งในข้ันตอนการย่ืนเอกสารเพ่ือรับความชวยเหลือ ไดถูกปฏิเสธจากเจาหนาที่สํานักงานชวยเหลือทางการเงินฯ ดวยเหตุผลวาไมปรากฏวานาย

Page 15: Somchai 6th years  report (Thai)

สมชาย นีละไพจิตร ไดรับบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต อีกทั้งการย่ืนคําขอเกินระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดคือ 1 ป ตอมา ตอมาคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนผูเสียหายฯ ที่มีรองปลัดกระทรวงยุติธรรม เปนประธาน ไดมีการพิจารณาโดยยึดหลักขอเท็จจริง ประกอบกับขอกฎหมาย พิจารณาเห็นควรจายคาตอบแทนแกนางอังคณา นีละไพจิตร กรณีการเสียชีวิตจากการกระทําของผูอ่ืน และการขาดคาอุปการะเลี้ยงดู ทั้งนี้งดเวนการจายคาทําศพ เนื่องจากไมพบศพนายสมชาย นีละไพจิตร

นับเปนครั้งแรกที่ผูสูญหายในประเทศไทยไดรับการเยียวยาจากรัฐตามพระราชบัญญัติฉบับนี้

…………………